ร่วมศึกษาเรียนรู้กับห้องสมุดออนไลน์ ดาวน์โหลดหนังสือ และการค้นหาคำศัพท์ที่สนใจ
ร่วมศึกษาเรียนรู้กับห้องสมุดออนไลน์ ดาวน์โหลดหนังสือ และการค้นหาคำศัพท์ที่สนใจ

อภิธานศัพท์ (Glossary) จัดเป็นฐานข้อมูลด้านโลกุตระที่สมบูรณ์ที่สุดที่คัดมาจากหนังสือ คำเทศน์ ฯ

คู่มือการค้นหาอภิธานศัพท์อโศก หรือ ห้องสมุดโลกุตระ 50 ปี

เอกสาร : https://docs.google.com/document/d/1HLGedxqTAOTOTQKGbO6M4qMremQ8K1jBWKRYDDt6MRQ/edit

วีดีโอ Loom 2 : https://www.loom.com/share/e824e62ec1eb4567848e94af124a7ed5

วีดีโอ Loom 1https://www.loom.com/share/2445744a08e74bca95d2f1d2a0526044

วีดีโอ YouTube : https://youtu.be/QyXcGmzhLmk

 

 

อภิธานศัพท์ (ทั้งหมด) พบ 35,341 รายการ

0 1 2 เป็นเรื่องลึกซึ้งเป็นเรื่องอจินไตย

รายละเอียด

มาถึงการเมืองแล้วนี่ กำลังกะป๊อกกะแป๊ก กระต้วมกระเตี้ยมกระเตาะกระแตะแต่ก็มีใจไม่ได้เพื่ออะไรเลย เพื่อมนุษยชาติเพื่อมวลมนุษยชาติ ไม่ได้เพื่อลาภยศสรรเสริญโลกียสุขอะไร เหน็ดเหนื่อยลำบากลำบน พูดไปแล้วก็เหมือนจะไปอ้อนก็เหนียมๆอยู่อาตมาพูดไปแล้ว 

แม้แต่โลโก้ ของพรรคการเมือง สัมมาธิปไตย ตอนแรกเรามีสีธงชาติพาดเข้าไปแต่งเอาไว้ ทางโน้นเขาก็บอกว่า ไม่ได้ ต้องไปขออนุญาตต่างหาก เราก็บอกว่ามันยากนักก็เอาไว้ก่อน ยังไม่ต้องก็ได้ 

แต่มีตัวเลข 0 1 2 เป็นเรื่องลึกซึ้ง เป็นเรื่องอจินไตย ที่สื่อได้อธิบายได้ แต่วันนี้คงไม่อธิบาย มีเวลาแค่ 7 นาทีเหลือ 

มันเป็นความหมาย สรุปรวมให้ฟังคร่าวๆ ว่า เป็นตัวเลขแทนพฤติกรรม เรื่องปรมัตถ์ เรื่องของจิตวิญญาณที่หมายถึง คนที่กล่าวไปเมื่อกี้คือ เป็นคนไม่มีตัวตนคือเป็นศูนย์ คนที่ทำงานซื่อสัตย์สุจริต ยืนหยัดอยู่ในฐานของการทำงานเหมือนชาวโลก แล้วรู้ความเป็นโลกเรียกว่าเลข 2 ทำงานเหมือนชาวโลกเรียกว่าเลข 1 ถ้าทำงานไม่มีตัวตนคือเป็น 0 

0 นี่คือทั้งหมด ทุกอย่าง Infinity 0นี่คือทั้งหมดที่ประดามนุษย์จะพึงมีเป็นสิ่งที่ดีที่ประเสริฐที่สุด 0 นี่ รวมเอาสิ่งประเสริฐทั้งหมดเอาไว้แล้ว อธิบายย่อๆคร่าวๆไว้อย่างนี้ คำพูดที่อาตมาพูด พอเข้าใจได้ไหม ไม่ใช่เรื่องเล่นลิ้น ไม่ใช่เรื่องตรรกะ ไม่ใช่เรื่องภาษาบัญญัติโก้ๆ แต่เป็นเรื่องที่ทำได้จริง 

ที่มา ที่ไป

รายการปรับทุกข์ ปลุกธรรม ครั้งที่ 12 สัจจะยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติที่เรียกว่าการเมือง วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันขึ้น 1 ค่ำเดือน 4 ปีเถาะ ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 08 เมษายน 2566 ( 17:40:28 )

0 กับ 1 สภาพเชิงซ้อนที่เป็นอันเดียวกัน

รายละเอียด

ความจริงแล้ว 0 กับ 1 เป็นนัย สภาพเชิงซ้อนที่เป็นอันเดียวกัน เป็นแต่เพียงว่า เรายังมีภาวะรับรู้เแล้วก็เป็นหนึ่ง ถ้าเราไม่รับรู้อะไร อยู่ว่างๆ การอยู่ว่างๆนี้ ยากกว่าการดับ การอยู่ว่างๆ โดยที่เราไม่ให้ดับแต่ให้ว่างๆ ขนาดหลับตาอยู่ว่างๆยังยากเลย ลืมตานี่ แล้วคุณก็ทำจิตว่างๆ กระทบอะไรแล้วก็ไม่ต้องรับรู้อะไรเฉยๆ อยู่ว่างๆอย่างลืมตาสว่าง อะไรก็มี กระดึ๊บกระดึ๊บ กระทบสัมผัสตาหูจมูกลิ้นกายใจ แต่คุณไม่รับรู้อะไรเลย มันยากกว่า ลองฝึกดูสิ ลองทำดู มันฝึกยาก เรื่องของจิตใจนี้มันมีความละเอียดมากมาย อาตมาเห็นว่ามันจะต้องบอกกัน เพราะเป็นเรื่องของมนุษยชาติที่มีจิตใจ และก็ต้องเรียนรู้ แล้วสามารถทำได้ เข้าใจได้ แล้วคุณก็เลือกเอาว่าจะเอายังไหนอาตมาบอกนี้ไม่ได้บังคับว่าจะต้องมาเอาอย่างเรา แต่จะไม่ให้เราบอกว่าอย่างเรานี่ดีกว่ามันก็ต้องพูด จะไม่ให้บอกว่าอย่างเรานี่ดีกว่ามันก็ไม่ได้ เราก็ต้องบอกว่าอย่างนี้ดีกว่า เพราะถ้าไม่ดีกว่าเราจะมาอยู่ฝั่งนี้ทำไม ถ้าอยู่อย่างโน้นดีกว่าแล้วมาอยู่ฝั่งนี้ คุณจะบ้าหรือเปล่า มันก็ต้องเป็นสัจจะ เราก็ต้องสื่อออกไป ว่าอย่างนี้เหนือกว่าดีกว่า จะไม่ให้เราไม่พูดไม่ได้ เราก็ต้องพูดความจริง จะหาว่าเรายกตน ก็เราทำจริงจะหาว่าเรายกตน จะทำอย่างไร เราก็ต้องอยู่ในสิ่งที่ยก จะไปอยู่ในสิ่งที่ตกต่ำทำไม มันก็เป็นสัจธรรมแท้ๆจะเป็นเช่นนี้ 

ที่มา ที่ไป

รายการพุทธศาสนาตามภูมิ บ้านราช วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม 2563


เวลาบันทึก 07 กันยายน 2563 ( 09:27:56 )

0 คือความจบของคนที่อาตมาเอาสภาวะมาแจกแจงเป็นภาษาไทย

รายละเอียด

นี่คือความจบของคน อาตมาอธิบายทั้งหลายที่อธิบายนี้เอาสภาวะจริงที่อาตมามี อาตมาไม่ได้ไปอ่านจากตำรามา ท่องมาพูดให้ฟังเลย ตำราก็ไม่ได้อธิบายอย่างอาตมาพูดหรอก ไม่มีตำราไหนอธิบายอย่างที่อาตมาอธิบายเป็นภาษาของอาตมาเอง เอาสภาวะมาแจกแจงเป็นภาษาไทยเป็นภาษาถิ่น ภาษาพ่อภาษาแม่ เอามาพูดอธิบายให้พวกคุณฟัง เข้าใจใช่ไหมเป็นภาษาเรา คนฝรั่งเศสก็พูดฝรั่งเศส คนอังกฤษก็พูดอังกฤษ คนจีนก็พูดจีน สื่อแล้ว mother tongue ซึ่งภาษามันสื่อสภาวะที่ลึกซึ้งนะ ฟังภาษาไหนก็ไม่ลึกซึ้งเท่า ภาษาพ่อภาษาแม่ ภาษาดึกดำบรรพ์ ของตนเอง ดีไม่ดีมันมีสัญชาตญาณของภาษาคนเกิดมา เป็นคนชาตินี้หลายชาติแล้วคุณก็ยิ่งรู้ลึก 

อยากให้คนอื่นจบๆเหมือนอย่างเรา มีชีวิตเบิกบานร่าเริงเหมือนอาตมาไม่มีแม้แต่ วิรชะ ความระเริงไปทางโลกเป็นรสโลกอีก เล็กๆน้อยๆ เสพไปอีก รชะ คือรส เป็นรส รื่นเริงบันเทิงใจเอร็ดอร่อยเป็นทางโลกๆ รชะ พอมาเป็นผู้ที่จะได้โลกเต็มที่ เรียกว่า ราชา บริบูรณ์ไปด้วยลาภยศสรรเสริญโลกียสุข กามคุณ 5 สมบูรณ์แบบ 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ พ่อครูคือพ่อครัวผู้ปรุงอาหารโลกุตระ วันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม 2565 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 30 สิงหาคม 2565 ( 15:26:44 )

0 นี่แหละยิ่งใหญ่มาก

รายละเอียด

0 นี่แหละยิ่งใหญ่มาก พูดถูก พ้นทุกข์อาริยสัจ เพราะฉะนั้นการรู้เรื่องทุกข์อริยสัจ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค แล้วก็เรียกกันว่า หัวใจศาสนา แต่เขาไม่มาจริงจัง กับความเป็นทุกข์เป็นสุข เขายังไปหลงในเรื่องดีเรื่องชั่ว ดีไม่ดีก็ไปหลงลาภยศสรรเสริญ สักการะเยินยอ แล้วก็ไม่รู้ว่า ตัวเองติดสิ่งเหล่านั้น เป็นสุขอันแสนเนียน 

มันมียศก็ได้สุขแสนเนียน เราบอกว่าเราไม่เอาแล้วเขามาเอาให้ก็เอาไปเฉยๆ ก็แบกไป ให้เขาเรียกเรา เป็นเจ้าคุณ เป็นสมเด็จ เป็นชั้นนั้นชั้นนี้ เป็นด็อกเตอร์ เขามาให้เยอะแยะ กิตติมศักดิ์ก็เยอะ ก็ว่าไป 

อาตมาชาตินี้ แหม ช่างยอดจริงๆ ไม่มีใครมาให้อะไรเลย กิตติมศักดิ์ก็ไม่มีใครมาให้ ให้ไปเรียนเอาสอบเอา เราไม่ไปอยู่แล้ว ก็คนเขาจะให้ก็ให้กิตติมศักดิ์ ชาตินี้มันช่างปลอดลาภยศสรรเสริญอะไรจริงๆ เลย สรรเสริญก็มีพวกคุณนั่นแหละมาสรรเสริญ มันคนจริง พวกคุณมาสรรเสริญ ยอมรับความจริงรู้ความจริงเข้ามา สรรเสริญจริงๆ คนเขาไม่รู้เขาไม่มาสรรเสริญหรอก โพธิรักษ์พูดไปเถอะบ้าๆบอๆ โพธิรักษ์ 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ สุดยอดวิชาที่เป็นความจริงแท้ๆ ของพุทธ วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2565 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 17 กันยายน 2565 ( 14:42:49 )

0 เป็นนิพพานหมดพิษภัย

รายละเอียด

เรามาเข้าสู่สภาพนิพพานกันดีกว่า ธาตุที่เป็นวงกลมเป็นตัว 0 เป็นนิพพานหมดพิษภัย จะรู้ก็รู้เต็ม จะถือว่าไม่รู้เลยก็ได้ อย่างอาตมาทุกวันนี้ใช้ความไม่รู้เลยกับพวกเราเยอะ เพราะอาตมาไม่จ่ายแคลอรี่พวกนี้ ให้พวกเรารับแบกหามไป เช่น วันนี้ขี้กี่ครั้ง คนไหนช่วยจำก็จำไป วันนี้กินข้าวหรือยัง กินแล้วก็ใช่ ให้กินก็กินก็จัดมาให้แล้วกัน อะไรอย่างนี้เป็นต้น เป็นเรื่องที่เหมือนไร้สาระ แต่อาตมาอาศัยสิ่งนี้อยู่ อย่าเลียนแบบนะคุณยังไม่ใช่ฐานะไปเลียนแบบก็ตายเปล่า ทำไม่ได้ อาตมามีสิ่งแวดล้อมเป็นเหตุปัจจัยก็เลยทำได้ มาพูดถึง สิ่งที่แจ็คหม่าก็ดี ทรัมป์ก็ดี คิมจองอึนก็ดี เป็นตัวละครของโลกตอนนี้ ไทยเราพวกเรานี่แหละ พูดกันรู้เรื่องก็ศึกษากันไป สังคมสิ่งแวดล้อมพวกเราจะใช้สิ่งเหล่านี้เป็นปรากฏการณ์ศึกษา เป็น phenomena สื่ออธิบายใช้ศึกษากัน พูดถึงเรื่องความสะอาดกับความสกปรก ความบริสุทธิ์กับความสกปรก สกปรกน้อยลงๆๆ จนกระทั่ง เข้าไปหาความสะอาดบริสุทธิ์มันจึงยากขึ้นๆ ที่จะรู้ เพราะฉะนั้นเราจะสามารถอ่านจิตเราเองที่สะอาดจากกิเลส จึงต้องศึกษาจริงๆ จะไปโมเม อย่างไม่มีสัมผัสรู้ของตัวเอง คุณทำไม่ได้หรอก ถ้าไม่ศึกษาเรียนรู้จริงๆ ยิ่งเป็นนามธรรม ที่ใช้ภาษาบาลีว่าอัตตา ภาษาไทยว่าตัว หรือตน

ที่มา ที่ไป

รายการพุทธศาสนาตามภูมิ บ้านราช วันจันทร์ที่ 30 เมษายน 2561


เวลาบันทึก 23 มกราคม 2564 ( 12:22:25 )

0 เป็นหลักประกันเอา 0 เป็นหลังพิง 0 เป็นที่พึ่งสุดท้ายก่อน แล้วสู้กันด้วย 1

รายละเอียด

เอาอย่างนั้นก็ได้สู้กับ 1 แล้วเอา 0 เป็นเทรนเนอร์เป็นโค้ชอยู่ข้างหลังแล้วจะมีกี่ 2 ก็นับคู่ชกมาแล้วเอาทีละ 1 หรือจะมาทีละ 2 ทีละ 3 ถ้าเก่ง เป็นอย่างนั้น 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ บุญกิริยาวัตถุ 7 ข้อที่เป็นเนื้องอกของศาสนาพุทธ วันศุกร์ที่ 28 ตุลาคม 2565 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 12 ปีขาล ที่บวรราชธานีอโศก 


เวลาบันทึก 14 ธันวาคม 2565 ( 12:24:51 )

1 นี้คือยังมีความสุข 2 คือหมดสุขหมดทุกข์

รายละเอียด

เพราะฉะนั้นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือ เทว คำว่า 2 เทวคำนี้พยัญชนะแปลว่า 2 เพราะฉะนั้นจะยิ่งใหญ่เท่าไหร่ก็ 2 แต่เขาปิดประตู 2 ห้ามแตะหน้าพระเจ้ามี 1 เดียว อย่าไปแย้งว่ามี 2 ไม่ได้เลยนะต้องมี 1 เท่านั้น เขาก็เลยแยก 2 นี้ออกไม่ได้เลยเมื่อแยก 2 ไม่ได้เลยคุณก็ทำ 1 ไม่ได้ 1 นี้คือยังมีความสุข 0 คือหมดสุขหมดทุกข์ 0 คือหมด 2 คือหมดสุข ทุกข์ 

ที่มา ที่ไป

รายการพุทธศาสนาตามภูมิ บ้านราชฯ วันจันทร์ที่ 16 กันยายน 2563


เวลาบันทึก 13 พฤศจิกายน 2563 ( 12:04:28 )

1,000 ปี ศาสนาพุทธจะรุ่งเรือง 

รายละเอียด

เมื่อคุณเห็นพระสงฆ์ที่เป็นอาริยสงฆ์ สงฆ์ระดับอาตมา บอกตรงๆพูดความจริงนะ เป็นโพธิสัตว์ระดับนี้ เขาก็ยังเห็นไม่ได้ เข้าใจไม่ได้ยังเข้าใจผิดด้วยว่า เป็นคนละเรื่อง อย่างนี้ไม่ใช่ต้องอย่างโน้น ต้องอย่างมหาบัว ต้องอย่างมหาประยุทธ์อะไรอย่างนี้ ไปโน่นเลย อาตมาก็ว่าโอ้.. มันเป็นจริงสัจธรรมยุคนี้มันเป็นความเสื่อมที่เสื่อมสนิท แต่อาตมาก็บอกแล้วว่าอาตมากอบกู้ขึ้นมาได้ สถาปนาขึ้นมาได้ เพราะฉะนั้นจากนี้ไปอีก 1,000 ปี ศาสนาพุทธจะรุ่งเรือง 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ สัมผัสวิโมกข์ 8 ด้วยกายในบุคคล 7 วันศุกร์ที่ 16 มิถุนายน 2566 แรม 13 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 25 พฤศจิกายน 2566 ( 21:23:16 )

10 ผลงานเด่นของรัฐบาลบิ๊กตู่ 65 

รายละเอียด

มีคนรวม 10 ผลงานเด่นของรัฐบาลบิ๊กตู่ 65 ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี สรุป 10 ผลงานเด่นรัฐบาล“บิ๊กตู่”ปี 65 วันที่ 1 ม.ค.2565 ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี หรือ PMOC สรุป 10 ผลงานเด่นรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ว่า ตลอดปี 2565 ที่ผ่านมา เกิดเรื่องดี ๆ กับประเทศไทยของเราขึ้นมากมาย PMOC คัด10 เรื่องที่ดีที่สุดมาให้คุณ และใน 10 เรื่องนี้ ท่านชื่นชอบเรื่องใดมากที่สุด มาร่วมแสดงความเห็นกัน

1. บัตรสวัสดิการ นโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจต่อเนื่อง ช่วยตอบโจทย์คนไทยทุกระดับได้ตรงจุด

2. WHO ยกย่อง สาธารณสุขไทยสุดเข้มแข็ง แก้ปัญหาโควิดอย่างเป็นระบบ

3. ฟื้นฟูสัมพันธ์ ‘ไทย-ซาอุฯ’ ในรอบ 32 ปี มิตรสหายเก่าหวนคืนมาได้ใน‘รัฐบาลประยุทธ์’

เราต้องยอมรับว่าเขารวยจริง เราก็ทำการช่วยเหลือกันค้าขายต่อกัน 

4. ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมถนน สะพาน รถไฟ

5. มุ่งมั่นพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 5G คนไทยต้องได้ใช้งานทั่วถึงทั้งประเทศ

6. ส่งเสริมรถยนต์พลังงาน EV วางไทยให้เป็น Hub EV แห่งอาเซียน

7. ปราบยาเสพติด ‘วาระแห่งชาติ’ ตัดวงจร ‘ผู้ค้า-เสพ’ แบบเห็นผล

8. IMF มั่นใจเศรษฐกิจไทย ชมว่างงาน 1% ต่ำสุดในโลก

9. ปฏิวัติดอกเบี้ยโหดในรอบ 95 ปี ช่วยแก้ปัญหาลูกหนี้ถูกเอาเปรียบ

10. APEC 2022 ผลงานระดับโลกภายใต้รัฐบาลพลเอกประยุทธ์

(จาก เว็บไซท์สยามรัฐ https://siamrath.co.th/n/411934 )

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ ประชาธิปไตย 3 อย่าง ในโลก วันพุธที่ 4 มกราคม 2566 ขึ้น 13 ค่ำเดือน 2 ปีขาล ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 12 มกราคม 2566 ( 10:47:43 )

10 ล้านคนที่ออกมาช่วยกันแสดงมวลเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก

รายละเอียด

สุเทพ เทือกสุบรรณ ก็นำกำลังพลมาสมทบ มาตั้งหลักตั้งแต่ สถานีรถไฟสามเสนแล้วเคลื่อนขบวนมาสู่ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย พวกเราก็อยู่แล้วก็มาสมทบ พอเคลื่อนมาประชาชนก็คึกคัก รวมกันจนกระทั่งเขาว่าเป็น 10 ล้านเต็มไปหมดในประเทศไทย แล้วสุเทพเขาจบรัฐศาสตร์ด้วย ปริญญาโท ก็เลยทำอะไรได้ถนัดมือ ก็เกิดวิธีการที่เข้าท่า ก็เลยรวมพลได้ตั้งโอ้โห.. ประมาณเป็น 10 ล้านซึ่งไม่เคยมีในโลก ประชาชนมาด้วยความสงบ ออกมาช่วยกันแสดงมวล แค่นี้ก็เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก มันสงบทั้งนั้นเลย เรียบร้อยหมดเลย มันถึงจะแสดงทั้งปริมาณของประชาชน ทั้งคุณภาพของความสงบเรียบร้อย เอาความจริงมายืนยัน

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ วิถีอาริยธรรม เป็นคนจนแบบเป็นไท จึงมีประชาธิปไตยดีสุด วันอาทิตย์ที่ 7 มีนาคม 2564 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 20 มีนาคม 2564 ( 14:54:45 )

10 อย่างที่พระอาริยะต้องใช้

รายละเอียด

ต่อจากนี้ไปเป็นการอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 10 อย่างที่พระอาริยะต้องใช้

โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ ศ 2535
ณ พุทธสถานสันติอโศก ขอเชิญท่านติดตามรับฟังได้ ณ บัดนี้ค่ะ

 

ก็เอาลองฟังดูนะ อาตมาจะอ่านว่า เอาตามนี้ไปทั้งหมดซะก่อนให้ฟังแล้วเดี๋ยวจะได้อธิบายกันขยายความกันนะ ปริยัติสูตรนานในพระไตรปิฎกเล่มที่ 24 อาตมาก็ไม่จําสักทีมันใช่หลายเล่มเล่มที่ 24 ทศกนิบาตพระอาริยะอยู่ด้วยธรรม 10 ประการ อาริยวสัจสูตรนี่หมายความว่าพระอาริยะนี่อยู่ด้วยธรรม 10 ประการหรือธรรมะเป็นที่อยู่ของพระอาริยะก็ได้ หรือว่าพระอาริยะอยู่ด้วยธรรม
เรียกว่าธรรมะที่เป็นที่อยู่ของพระอาริยะหมายความว่า ทรงไว้ซึ่งอย่างนี้แหละลักษณะอย่างนี้แหละ พระอาริยจะอยู่กับคุณลักษณะอย่างนี้สภาพอย่างนี้ ถ้ามีสภาพอย่างนี้แล้ว
พระอาริยอยู่กับอันนี้แหละ เป็นดี ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมะเป็นที่อยู่แห่งพระอาริยะ
ที่พระอาริยะอยู่แล้วก็ดี กําลังอยู่ก็ดี จักอยู่ก็ดี 10 ประการนี้ 10 ประการนี้เป็นไฉน
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ละองค์ 5 ได้แล้ว 1 ประกอบด้วยองค์หก หนึ่ง รักษาแต่อย่างเดียว
หนึ่ง มีธรรมะเป็นที่พักพิง 4 ประการ มีปัจเจกสัจจะบรรเทาได้แล้ว 1 มีการแสวงหาอันสละเสียแล้วด้วยดี
1
มีความดําริไม่ขุ่นมัว 1
มีกายสังขารอันสงบ ระงับแล้ว 1
มีจิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี หนึ่ง
มีปัญญาอันหลุดพ้นแล้วด้วยดี
หนึ่ง
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ธรรมะเป็นที่อยู่แห่งพระอาริยะ
ที่พระอาริยะอยู่แล้วก็ดี
กําลังอยู่ก็ดี
จักอยู่ก็ดี
10 ประการนี้แล
หมายความว่าธรรมะทั้ง 10 ลักษณะ
นี้นี่เป็นธรรมะที่พระอาริยะ
ได้ทํามาแล้ว ก็เรียกว่าอยู่แล้ว
ได้ทํามาแล้ว เป็นอดีต
แล้วก็ได้อาศัย
หรือจักอยู่
หรือว่ากําลัง เอ้ย
ไม่ใช่จักอยู่ กําลังอยู่
ทํามาแล้ว
แล้วก็กําลังเดี๋ยวนี้ก็ยังเป็นอยู่
เป็นปัจจุบัน
แล้วก็จักยูก็หมายความว่าในอนาคตต่อไปจักริจะ
จะอยู่ต่อไปเนี่ยจักริจะ
จะอยู่ต่อไปจะอยู่ก็ดี
นะทั้งอดีตทั้งปัจจุบันทั้งอนาคต
นี่แหละเป็นธรรมะ
ของพระอาริยะทั้งหลายนะ
แล้วทีนี้ข้อยี่สิบ
อาริยสัจสูตรที่สอง
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่นิคมของชาวกุรุ
ชื่อกัมมา กัมมาสะธรรม
ในแคว้นกุรุ

ที่นั้นแลพระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับคําพระดํารัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว
พระผู้มีพระภาคตรตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ธรรมะเป็นที่อยู่แห่งพระอาริยะ
ที่พระอาริยะอยู่แล้วก็ดี
กําลังอยู่ก็ดี จักอยู่ก็ดี
10 ประการนี้ 10 ประการเป็นไฉน
คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นปุระองค์ห้าได้แล้ว
หนึ่งประกอบด้วยองค์หกหนึ่ง
รักษาแต่อย่างเดียวหนึ่ง
มีธรรมะที่เป็นที่พักพิงสี่ประการหนึ่ง
มีปัจเจกสัจจะบรรเทาได้แล้วหนึ่ง
มีการแสวงหาอันสละแล้วด้วยดี 1
มีความดําริไม่ขุ่นมัว 1
มีกายสังขารอันสงบระงับแล้ว 1
มีจิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี 1
มีปัญญาอันหลุดพ้นแล้วด้วยดี 1
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้ละองค์ห้าได้แล้วอย่างไร
พระภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ละกามฉันทะ
ได้แล้ว
1
อ่าเอาเลขข้อที่ 1 ที่อ่านไปก่อน
แล้วเดี๋ยวจะอาตมาจะได้มาย้อนทวนอธิบาย
ขยายความกันอีกทีนึงตอนนี้ท่านขยายแล้ว
นะอันที่ 1 ที่บอกว่าละองค์ 5
นะที่บอกว่า
เป็นผู้ละองค์ 5
ได้แล้ว
นี่ก็คืออย่างนี้
เป็นผู้ละองค์ 5 ได้แล้วอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ละกามฉันทะได้แล้ว
1 เป็นปุระพยาบาทได้แล้ว 1
เป็นผู้ละถีนะมิทะได้แล้ว 1
เป็นผู้ละอุทธัจจะกุกุจจะได้แล้ว
หนึ่งเป็นปุระวิจิกิจฉาได้แล้ว
หนึ่งดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้ละองค์ห้าได้แล้วอย่างนี้แล
ทีนี้ข้อต่อมาดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยองค์หกอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้เห็นรูปด้วยจักษุแล้ว
เป็นผู้ไม่ดีใจ
ไม่เสียใจ มีอุเบกขา
มีสติสัมปชัญญะอยู่
ฟังเสียงด้วยหูก็ดีก็เหมือนกันกับเมื่อกี้ นี่คือเห็นรูปด้วยจักษุนั่นก็คือทวารตา
ต่อมาฟังเสียงด้วยหูก็ทวารหู
ดมกลิ่นด้วยจมูกก็ทวารจมูกลิ้มรสด้วยลิ้นก็ทวารลิ้น ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายสัมผัสทางกาย
ก็ด้วยกาย
เสร็จแล้วขยายความเหมือนกันหมด
คือ
ฟังเสียงด้วยหู ดมด้วยกลิ่นก็ตาม ก็รู้แจ้งธรรมด้วยใจก็เหมือนกัน
แล้วเป็นผู้ไม่ดีใจ
ไม่เสียใจ มีอุเบกขา
มีสติสัมปชัญญะ
สรุปแล้วก็คือเป็นผู้มีฐานนิพพานที่อาตมาว่าแล้ว
เคยอธิบายเคยย้ําแล้วว่าเดี๋ยวนี้ฐานอาศัยพระนิพพานหรือว่าผู้ที่ได้นิพพานแล้ว อาศัยอุเบกขาหรืออาศัยความไม่ดีใจไม่เสียใจ
เป็นคนที่วางไม่ดูดไม่ผลักทั้งหมดนี่แหละ
มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู่
ไม่ใช่ว่าดับ จิตไม่ใช่ว่าไม่รู้เรื่อง
นิโรธนิพพานของท่านมีสติสัมปชัญญะอยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยองค์หกอย่างนี้แล
ต่อมาอันที่ 3
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเป็นผู้รักษาแต่อย่างเดียวอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ประกอบด้วยใจ อันรักษาด้วยสติ
อันนี้ข้อที่ 3 นี้
เป็นผู้รักษาอย่างเดียว
เป็นผู้รักษาแต่อย่างเดียว คือ
มีใจที่มีสติดูแลรักษาอยู่อย่างดี
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้รักษาแต่อย่างเดียว อย่างนี้แล
มีสติเป็นสําคัญที่รักษาดูแลใจด้วยใจ เหมือนได้ฝึกกันแล้ว
พอฝึกกันมาแล้วมันก็จะมีเหลือเท่านี้ เดี๋ยวค่อยขยายความ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีธรรม เป็นที่พึ่ง
4 ประการ เป็นอย่างไร
อันนี้ก็ข้อที่ 4
ภิกษุเป็นผู้มีธรรมะ เป็นที่พึ่ง
เป็นที่พักพิง 4 ประการ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
พิจารณาแล้ว ย่อมเสพของอย่างหนึ่ง
เป็นที่พักพิง หรือเป็นที่อาศัย
อาตมาบอกแล้วว่า
คนนี่ต้องมีที่อาศัย เป็นพระอรหันต์ก็ต้องมีเครื่องอาศัย
เป็นที่อาศัยสุดท้ายมีรูปนามขันธ์ห้า
จะอยู่อย่างไม่มีอะไรอาศัยไม่ได้นะ
ต้องมีที่อาศัย
นี่ท่านก็บอกแล้วว่าถ้าอาศัยแล้วจะอยู่อย่างไรพระอาริยะนี่
จะอยู่อย่างพิจารณาแล้วย่อมเสพของอย่างนึง
1
2
พิจารณาแล้วย่อมอดกลั้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วย่อมเว้นของอย่างหนึ่ง
พิจารณาแล้วย่อมบรรเทาของอย่างนึง
ในสี่สภาพ
หนึ่งเสพ สองอดกลั้น
สามเว้น
สี่บรรเทา
นะ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีธรรมะ
เป็นที่พักพิงสี่ประการอย่างนี้แล
อาตมาที่ 5
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้มีปัจเจกสัจจะบรรเทา
นะ นี่เป็นศัพท์เลย
มันรวมๆ
แปลทับศัพท์ออกมาจากพระบาลีนั่นแหละ
นะ แต่ตอนนี้ยังไม่รู้
บาลีว่าไง
เดี๋ยวได้รู้บาลีทั้งหมดนะ
เราจะเข้าใจตัวความหมายของภาษาบาลีบ้าง
เราก็เรียนบาลีอยู่ด้วยบ้าง
เรียนอะไรไกลอยู่แล้วบ้างตอนนี้
ก็ว่ากันไป
เป็นผู้มี
เป็นผู้มีปัจเจกสัจจะบรรเทาอย่างไร
ปัจเจกสัจจะเป็นอันมาก
ปัจเจกสัจจะ
นี่เป็นคํานึง ปัจเจกสัจจะ
ปัจเจกสัจจะบรรเทา
นี่ก็เป็นคํามาขยายกัน
ทีนี้ปัจเจกสัจจะ
เป็นอันมากเหล่าใดเหล่านึง
คําว่าปัจเจกสัจจะ
คํานึงนี่มันก็คงจะมีความหมายของมันเอง
ปัจเจกสัจจะเป็นอันมากเหล่าใดเหล่านึง
ของสมณพราหมณ์เป็นอันมาก
คือความสมถพราหมณ์ทั้งหลายนี่แหละ
หรือส่วนใหญ่
สมณพราหมณ์เป็นอันมาก คือ
สัจจะว่าโลกเที่ยงบ้าง
โลกไม่เที่ยงบ้าง
โลกมีที่สุดบ้าง
โลกไม่มีที่สุดบ้าง
ชีพก็อันนั้น สรีระก็อันนั้นบ้าง
ชีพเป็นอื่น สรีระเป็นอื่นบ้าง
สัตว์เมื่อตายไปย่อมเป็นอีกบ้าง
สัตว์เมื่อตายไปย่อมไม่เป็นอีกบ้าง
สัตว์เมื่อตายไปย่อมเป็นอีกก็มี
ย่อมไม่เป็นอีกก็มีบ้าง
สัตว์เมื่อตายไปย่อมเป็นอีกก็หามิได้
ย่อมไม่เป็นอีกก็หามิได้ บ้าง
สัจจะเหล่านั้นทั้งหมดเป็นของอันภิกษุในธรรมวินัยนี้บรรเทาได้แล้ว
บรรเทาได้แล้ว
ก็หมายความว่ามีปัจเจกสัจจะ
นี่คือมีจุดอะไร
เดี๋ยวค่อยอธิบายนะ
แล้วก็บรรเทาได้แล้ว
กําจัดออกแล้ว
บรรเทาได้แล้ว กําจัดออกแล้ว
สละได้แล้ว
คลายได้แล้ว
พ้นได้แล้ว
ละได้แล้ว
สลัดได้เฉพาะแล้ว
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีปัจเจกสัจจะบรรเทาได้แล้วอย่างนี้แล
ดูคําว่า บรรเทาด้วยนะ
ดูคําว่าบรรเทา กําจัด สละได้
คลายได้
พ้นได้ ละได้
สลับได้ นี่อีกด้วย
อะดูกรภิกษุทั้งหลาย
ตอนนี้ข้อที่หก
ก็ภิกษุเป็นผู้มีการแสวงหาอันสละได้แล้วด้วยดี
อย่างไร นะ เป็นผู้แสวงหา
ไม่ใช่ว่าภิกษุนี่ไม่
ไม่แสวงหาอะไร
หยุดนิพพานแล้วไม่แสวงหาอะไรเลยเหรอ
ไม่ใช่นะ
ก็ภิกษุเป็นผู้มีการแสวงหา
อันสละได้แล้ว
แสวงหาแต่ท่านวางได้แล้ว
ท่านสละได้แล้ว
แสวงหาแต่ไม่ได้ติดหรอก
เพราะฉะนั้นมันจะต้องมีทั้งสภาพที่เหมือนกับดูดเหมือนกับผลัก
บอกแล้วว่าท่านไม่มีดูดไม่มีผลัก
แต่ก็เหมือนกับท่านดูดเหมือนกับท่านผลักแสวงหาคือดูด
สละได้แล้วก็คือผลัก
อ่า
เนี่ยเดี๋ยวค่อยว่ากันเดี๋ยวค่อยอธิบายกันนะ
ก็พิสูจน์เป็นผู้มีการแสวงหาอันสละได้แล้วด้วยดีอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ละการแสวงหากามได้แล้ว
เป็นผู้ละการแสวงหาภพได้
ได้ ได้แล้ว
แล้วก็พิมพ์ผิดพิมพ์ว่าผิดนะ
เป็นผู้ละกาม
เป็นผู้ละการแสวงหาภพได้แล้ว
เป็นผู้สงบระงับการแสวงหาพรหมจรรย์ได้แล้ว
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีการแสวงหาอันสละได้แล้ว
ด้วยดีอย่างแรง
ดังนี้แล้ว
นะ
เป็นผู้ละ
เป็นผู้สงบระงับการแสวงหาพรหมจรรย์ได้แล้ว
นะ
ภิกษุเป็นผู้มีการแสวงหาอันสละได้แล้วด้วยดีอย่างนี้แล้ว
นะ นี่ข้อ 6 7
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้มีความดําริไม่ขุ่นมัวอย่างไร
ขอพิสูจน์ในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ละความดําริ
ในกามได้แล้วเป็นผู้ละความดําริในพยาบาท
ได้แล้วเป็นผู้ละความดําริในวิหิงสาได้
แล้วดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีความดําริไม่ขุ่นมัว
อย่างนี้ได้
8 ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้มีกายสังขาร
อันสงบระงับแล้วอย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
บรรลุจตุตถฌาน
ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข
เพราะละสุข ละทุกข์
และดับโสมนัส โทมนัสก่อนๆ ได้
มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริบูรณ์ให้สติบริสุทธิ์อยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเป็นผู้มีกายสังขารอันสงบแล้วอย่างนี้แล
เก้าก็เก้า ก็ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเป็นผู้มีจิตอันหลุดพ้นแล้วด้วยดีอย่างไร
จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นธรรมชาติหลุดพ้นแล้วจากราคะหลุดพ้นแล้วจากโทสะหลุดพ้นแล้วจากโมหะดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุเป็นผู้มีจิตอันหลุดพ้นแล้วด้วยดีอย่างนี้แล
สิบนะอันสุดท้าย
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็ภิกษุเป็นผู้มีปัญญาหลุดพ้นแล้วด้วยดี
อย่างไร
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้ชัดว่า
ราคะเราละได้แล้ว
ตัดรากได้ขาดแล้ว
ทําให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน
ทําให้ไม่มี
มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไป
เป็นธรรมดา
ย่อมรู้ชัดว่า
โทสะ
เราละได้แล้ว เหมือนกันกับเมื่อกี้นะ ละได้แล้ว ตัดขาดได้แล้ว ทําให้เป็นเหมือนตามยอดด้วนได้แล้ว
ทําให้ไม่มี
มีอันไม่เกิดขึ้นอีกต่อไป
ต่อไปเป็นธรรมดานะ
ต่อมาก็ย่อมรู้ชัดว่าโมหะเหมือนกันน่ะนะเราละได้แล้วตัดรากขาดได้และตัดรากได้ขาดแล้วทําให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วนทําให้ไม่มีอันมีอันไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดาดูกรภิกษุทั้งหลายภิกษุเป็นผู้มีปัญญาอันหลุดพ้นแล้วด้วยดีอย่างนี้แล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็พระอาริยเจ้าทั้งหลายเหล่าหนึ่งในอดีตกาล
อยู่อาศัยแล้วซึ่งทําเป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้าสิบประการเหล่านี้เทียว
มีพระอาริยเจ้าเหล่าใดเหล่านึงในอนาคตกาล
จักอยู่อาศัยซึ่งธรรมะเป็นที่อยู่ของพระ อาริยเจ้า
10 ประการเหล่านี้เทียว
พระอาริยเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่งในปัจจุบันนี้
อยู่อาศัยซึ่งธรรมะเป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้า
พระอาริยเจ้าเหล่านั้นทั้งหมดย่อมอยู่อาศัยซึ่งธรรมะเป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้าสิบประการเหล่านี้เทียว
แต่ย้ํายืนยันไม่ว่าจะเป็นอดีต อนาคตปัจจุบัน
พระอาริยเจ้าจะเกิดอีกกี่
กับกี่กาลก็ตาม
ก็จะต้องอาศัยธรรมะเป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้าสิบประการเหล่านี้นี่แหละ
ดูกรภิกษุทั้งหลายธรรมะเป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้า ที่พระอาริยเจ้าอาศัยแล้วก็ดี กําลังอาศัยก็ดี
จักอยู่อาศัยก็ดีสิบประการนี้แล นะ
เอาล่ะก็จบที่อ่านในพระไตรปิฎกนะ
อัปลักษณ์เครื่องอยู่เครื่องอาศัยเนี่ย
ถ้าเรายังไม่ตาย
คนไหนก็แล้วแต่ในโลก
ยังมีชีวิต มีรูปนาม ขันธ์ 5 มันก็ต้องมีเครื่องอาศัย
เพราะฉะนั้นมันก็ยังไม่ปรินิพพานสูงสุด มันก็จะต้องยังมีทุกข์อยู่นั่นแหละ
เป็นทุกข์ที่จะต้องอาศัย
ทุกข์ที่เลี่ยงไม่ได้
ดังที่เคยอธิบายไปแล้ว
นะ
คนที่เข้าใจผิด
ศึกษาศาสนาพุทธว่านิพพานหมดทุกข์สิ้นทุกข์เนี่ย ยังเข้าใจไม่ถูกจุดนี้อยู่เยอะ
นะเข้าใจว่าพระอรหันต์เจ้านี่นะไม่ทุกข์เลยท่านดับทุกข์สิ้นแล้วว่างั้นนะก็บอกว่าหมดทุกข์สิ้นก็เลยกลายเป็นคนไม่เจ็บไม่ปวดถูกแทงถูกยิงเอาอะไรกระบองตีกบาลก็คงจะไม่เจ็บ
ไม่ทุกข์นี่ เจ็บมันก็คือทุกข์ใช่ไหม
เอาอะไรตีหัวก็คงไม่ทุกข์
เดาไปเกินขอบเขต
อะไรอะไรต่างต่างนานาสารพัดน่ะที่จะเดาไปอะนะ ว่าคงมะโมกขะในความว่ามันก็คนหมดทุกข์แล้วนี่ อาตมาก็บอกเออดีเหมือนกันเนาะมันมันเลยเถิดไปยังไม่เข้าทางมันเป็นจริงจริงนะ
พวกที่ไม่เข้าใจเนี่ยเดาไปเป็นทุกข์อะไรในที่นี้มันก็รายละเอียดอีกเยอะแยะเลย
เพราะงั้นก็เลยจะกลายเป็นคนที่ไม่มีทุกข์อะไร ไอ้โน่นไอ้นี่อะไรก็จะไม่ทุกข์ทั้งนั้น
มันไม่ได้ ทุกอย่างหลายๆอย่างที่มันจําเป็นจะต้องอาศัย
มันจะต้องเป็นทุกข์
มันเจ็บมันก็ต้องเจ็บ มันป่วยมันก็ต้องป่วย มันก็ต้องทุกข์เท่านั้นแหละ
มันยังมีรูปนามขันธ์ 5 อยู่ มันยังเกิด แก่ เจ็บ
ตาย มันยังเป็นทุกข์
เกิดอยู่แก่บ้าง
หรือว่าแม้แต่เจ็บป่วยอะไรพวกนี้
มันก็ต้องทุกข์
ตายเพราะเป็นสภาวะทุกข์อย่างนี้เป็นต้น
มันเลี่ยงไม่ได้หรอกสภาวะทุกข์
ปกิณกะทุกข์นั่นแหละ
ที่เป็นตัวสําคัญ
ที่พระอาริยเจ้าท่านศึกษา
เรียนรู้แล้ว
ความพรากจากสิ่งอะไรต่างๆ
เป็นทุกข์อย่างงี้
หรือว่าความชอบความรัก
ไม่ได้สมรักก็เป็นทุกข์
ปกิณกทุกข์อย่างนี้เป็นต้น
ซึ่งอันนี้ต้องศึกษาเป็นกิเลส
หรือสันตาปะทุ
ทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับไฟราคะ
ไฟโทสะ ไฟโมหะอะไรพวกนี้
ต้องละได้ขาด
ทุกข์อะไรอีก ที่ต้องละได้อีก
เพราะกินให้กับทุกข์นั่น
พูดไปแล้ว
อ่า
ซากก็จะทุกข์นะ ทุกข์ที่เป็นไป
ด้วยอะไร
ด้วยลาภด้วยยศด้วยสรรเสริญด้วยอะไรพวกนี้
ทุกข์เพราะว่าไปไปด้วยลาภด้วยยศเป็นสุขเป็นทุกข์อยู่อะไรพวกนี้
เราตัดได้ขาดหมดกิเลสได้นะ
มันสี่หรือไงนี่
4 ทุกข์ที่
วิวาทะมูลแล้วก็ทุกข์
ทุกข์ที่จะต้องก่อความวิวาท
มีความวิวาทมีไอ้โน่นนี่นี่อยู่แล้ว
ไม่วิวาทหรอก
ใครจะมาว่าเรา
ใครจะมาไม่ได้ทะเลาะเบาะแว้งกับเขา
แต่อาจจะโต้ตอบ
พูดกันวิเคราะห์กันอะไรบ้าง
แต่คนเราก็เข้าใจว่าวิวาทก็ได้นะ
แต่วิวาทมุลกะนิมูลแห่งการวิวาทจริง
ๆ นี่รู้จักจิตรู้จักกิเลส
รู้ว่าเราไม่ได้มีการยึดติด
และมันก็อะไรอีกอันหนึ่ง
สี่แล้วเหรอ
4 ทุกข์เนี่ย
นอกนั้นอีกตั้ง 5 6 ทุกข์
หลีกไม่พ้น
ทุกข์ที่เราจะต้องอาศัย
มันเป็นทุกข์
เพราะงั้นถ้าผมว่าเข้าใจอย่างนี้แล้วนะ
ในพระไตรปิฎกเนี่ย
พระอรหันต์เจ้าทั้งหลายแหล่มีในพระไตรปิฎกเลย
คนจะงง
พระอรหันต์บอกว่าทุกข์เท่านั้นแหละเกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นได้ตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นแหละดับไป
ถ้าไม่เข้าใจนัยยะพวกนี้แล้วนะ
ไม่รู้ความจริงพวกนี้
คนก็จะงงว่า
อ้าวคนไหนว่าพ้นทุกข์แล้วทําไมพระอรหันต์น่ะบอกว่าทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นตั้งอยู่ทุกข์นั้นดับไป
มันก็ไม่พ้นทุกข์น่ะสิ คนก็งง
จริงจริงมันก็ไม่พ้นทุกข์ในทุกข์เนี่ย
เหมือนกับการรู้ทุกข์
เรายิ่งลึกซึ้งไปอีกว่า
ที่อาตมาเคยเอามาพูด
อาตมาไม่เห็นอะในพระไตรปิฎกของเถรวาท
ที่บอกว่า
ผู้ที่จะรู้ทุกข์อย่างลึกซึ้งเนี่ย
เหมือนกับเป็นคนที่ยิงลูกศร
ยิงลูกศรไปแต่ไกล
จะไปเสียบกุญแจ
รูกุญแจ
100 ดอก
เสียบยิงลูกศร 100
ดอก
ให้ไปเสียบกันที่รูกุญแจรูเดียว
100 ดอก
จากที่ไกลเลยนะ
ยิงลูกศรจากระยะไกลด้วยนะ
ไม่ใช่ไกล
มันยากนะ
แต่การรู้ทุกข์ทั้งหมด
รู้ทุกข์อย่างละเอียด
เป็นการรู้
เป็นการรู้ที่รู้ได้ยากยิ่งกว่า
หรือการจักเส้นผมออกเป็นร้อยแฉก
ให้แต่ละแฉกนี่เสมอกันด้วยนะ
ในความหมายเนี่ยละเอียดลออไปถึงอย่างงั้น
เอ่อ จักรเส้นผมไม่ได้ร้อยแฉก
ยังไม่รู้ว่าจะเอามีดชนิดไหนจักรเลย
เครื่องมือมันคงต้องวิเศษ
อ่อ เดี๋ยวนี้เขาใช้แสงเลเซอร์
เดือนนี้เขาใช้แสงเลเซอร์
คงจักรด้วยแสงเลเซอร์ได้เนาะ
ให้เป็นรอยแฉก
แล้วให้แต่ละแฉกนี่เท่ากันด้วยนะ
เราฟังความหมายแค่นี้ที่เป็นการเปรียบเทียบนี่เราก็พอเข้าใจแล้วล่ะ
ว่ามันยากนะที่จะรู้ได้จริงจริงมันยาก
ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นดับไป
แต่ทุกข์นั้นคือสิ่งที่เราทนได้โดยไม่ยากทนได้โดยไม่ลําบาก
และเป็นการทนที่ไม่ใช่อย่างชาวโลกีย์เลย
ชาวโลกีย์นี่เขาทนทุกข์ที่ไม่น่าไปทน
ทนทุกข์ที่เขาต้องไปต่อสู้
จะต้องแย่งชิง
ไอ้นี่เป็นสิ่งที่รักที่ชอบใจ
จะต้องไปแย่งชิงชิง
สิ่งที่รักที่ชอบใจ
เขาก็ทุกข์แสนทุกข์
แล้วเขาก็ทน
ทนได้โดยไม่ยากเลย
โดยไม่ลําบากเลยนะ
เฝ้าอีสาว บางทีงี้ โอ้โห
ทรมานทรกรรม
ต่างๆนานาก็ต้องทนเอา
ทนได้โดยไม่ยาก
ทนได้โดยไม่ลําบาก
ยกตัวอย่างง่ายๆนะ
แล้วแต่ล่ะจะไปติด
แย่งชิงเอาลาภยศสรรเสริญ
หรือว่าเอาโลกีย์สุขชนิดไหนก็แล้วแต่
ทนได้ทนดี
คนในโลก
แล้วจะไปถือว่าอาการทนได้ โดยไม่ยากทนได้ โดยไม่ต้องลําบาก
อย่างนั้นมาเป็นอาการ
พ้นทุกข์
หรือว่าเป็นอาการที่ตีขรึมไปเลย
เหมือนกันนั่นแหละ
มันก็ไม่ได้ มันมีนัยยะซ้อนอยู่นะ มันจะรู้ว่าไปทนอะไร
ไอ้สิ่งที่ไม่น่าทน มันก็ต้องเรียนรู้ไปเลยว่า
ทุกข์ต่างๆที่เรา อย่างพอกินแล้วก็ทุกข์
สันตาปะทุ
สะหัคถะ ทุกข์ หรือว่าวิวาทโม แล้วก็ทุกข์อย่างที่ว่าเนี่ย
มันไม่น่าจะไปทนอะไร
ส่วนทุกข์
ที่เป็นสภาวะทุกข์บ้าง
เป็นนิพัตทุกข์บ้าง
นิพัสทุกข์กับทุกข์ที่มัน
ยังเกี่ยวข้องอยู่กับชีวิต มันละไม่ออกหรอก
ปวดขี้ ปวดเยี่ยว อะไรอย่างนี้เป็นต้น
ต้องร้อนต้องหนาว
มันต้องร้อนต้องหนาว
ร้อนมามากไป มันก็ร้อน มันก็ร้อน
มันก็เป็นทุกข์ตามที่ควรเป็น บางคนทนได้ ฝึกได้ มากก็ไม่เท่าไหร่
อย่างพวกชาวโลก
ขั้วโลกเหนือ หรือว่าพวกที่มีน้ําแข็ง ที่มีหิมะมาก ๆ
เขาฝึกจนกระทั่งเขานั่ง
หิมะนั่งกลางก้อนน้ําแข็งเขานั่งเฉย ๆ
กี่ชั่วโมง ๆ เขาทนเย็นได้ หรือทนร้อนได้อย่างนี้เป็นต้น
มันก็อยู่ที่ฝึก
คนทนไม่ได้มันก็ต้องทุกข์
ไม่ได้ฝึกมันทุกข์ เป็นพระอรหันต์เจ้าก็ต้องทุกข์
พระอรหันต์เจ้ามันทน ไม่ได้ฝึกร้อน ไม่ได้ฝึกทนร้อนทนหนาว
อะไรขนาดนั้น ขนาดนี้ได้ ทุกข์
อย่างนี้เป็นต้น
พญาธิทุกข์
ทุกข์ที่มันเจ็บ มันป่วยจริงๆ
มันไม่ได้มีพยาธิ มีความเจ็บ ความป่วยขึ้นมาถึง
จะเพราะเหตุปัจจัยใดๆ
หรือเพราะวิบากอะไรก็ตาม
ซึ่งคนมันเลี่ยงพ้นไม่ได้หรอก ความเจ็บ ความป่วย อย่างนี้เป็นต้น
มันก็ต้องเจ็บ ต้องป่วย
พระอรหันต์แล้ว
เจ็บป่วยก็ไม่ โอยไม่ได้
ปวดก็โอยไม่ได้
แผลเจ็บก็โอยไม่ได้
มันต้องไม่เจ็บ มันต้องไม่ทุกข์
แหม
บังคับกันเกินไป มันไม่ไหวหรอก มันมีประสาท มันมีความรู้สึก
มันมีความรู้ว่ามัน โอ้ นี่มันทนได้ แล้วฝึกด้วยนะ
จะเจ็บน้อยเจ็บได้มากอะไร มันก็ฝึกก็ทน เพราะงั้นบางคนจะรู้สึกว่า
เออทนเก่ง
แล้วไม่ค่อยเจ็บค่อยปวดง่าย
ไม่โอยง่าย ไม่ร้องง่าย บางคนก็ง่าย
มันอยู่ที่ฝึก
แสวงหาด้วย มีชีวิตมันจะอยู่ดูดาย
ปล่อยลอยไปเหมือนกับเศษสวะอยู่ในน้ํา
ล่องแล่งๆ ไปตามยถากรรมไม่ได้ ต้องมีเจตนารมณ์
มีมโนสัญเจตนาที่เป็นกุศล
มีกุศลเจตนา
ว่าเราควรจะต้องสร้างสรรค์อะไร
ทําอะไร แสวงหางานการ
แสวงหาอาหารมาใส่ท้อง
เลี้ยงดูตัวเอง
อย่างนี้เป็นต้น
หรือว่าเราล่ะ
ไม่ต้องแสวงหาอาหารมาใส่ท้องหรอก
เพราะว่าเรามีผู้ที่เกื้อกูล
แล้วเราก็ได้เอาเวลา
เอาแรงงานอะไรนี้ไปทําอื่น
ไปทําประโยชน์อื่น
เป็นการแสวงหางาน
สร้างสรรค์งาน
สร้างสรรค์ประโยชน์ทดแทน
คนอื่นเขาก็หาอาหารมาให้แก่เรา
ทดแทนแล้ว
เราก็ไม่ต้องไปยุ่งเรื่องนี้
เราก็เอาเวลาแรงงาน
ทุนรอนอะไรต่างๆ นานา
ไปทําอื่นที่มันจะเป็นคุณค่ากว่านี้กัน
อย่างนี้เป็นต้น
ซ้อนๆ อยู่
เนี่ยการแสวงหา
เป็นการแสวงหาเป็นเครื่องอาศัย
อาหาระ นี่คือเครื่องอาศัย
แสวงหาเครื่องอาศัยอยู่
มันก็เป็นทุกข์
แต่ว่าก็ต้องทํา
เป็นพระอรหันต์เจ้า ก็ต้องทํา
ยิ่งต้องทําด้วย พระอรหันต์เจ้า
แปลว่าท่านรู้จักคุณค่าประโยชน์
รู้จักบุญ รู้จักกุศล
ยังกุศลถึงพร้อมอย่างไม่สันโดษในกุศล
เป็นคนมีคุณค่า
เออ
วิปลากระทุกข์ยังไม่ได้เพราะว่าเมื่อกี้นี้
ถึงว่า เอ๊ะ ดูๆ มันก็
ที่เลี่ยงได้
ทุกที่เลี่ยงไม่ได้ วิปลาก็ทุกข์
เลี่ยงไม่ได้นะวิบากมานี่เลี่ยงไม่ได้
วิบากมันถึงตัวที่เป็นสิ่งที่มันตามมา
จะเป็นกุศลวิบากก็ตามอกุศลวิบากก็ตามที่จะ
ต้องได้พบได้ได้ประจํา
ซึ่งเป็นวิบาก ที่มันสุดทาง
วิบากกับทุกข์
ซึ่งเป็นทุกข์ที่เป็นวิบาก
เป็นผลวิบากเก่า ที่มาถึงเรา
เป็นทุกข์ที่เลี่ยงไม่ได้
พระอรหันต์เจ้า
จะต้องได้รับวิบาก
อย่างที่ท่านเล่าของท่าน
ท่านต้องปวดหัว
ท่านต้องอะไรต่ออะไร แม้แต่เทวทัต
เอากลิ้งหินมาทับพระบาท
ท่านก็บอกว่า ก็เป็นวิบากที่มัน
มีผลมาตั้งแต่อดีต
ที่ท่านได้ไปทําเอาไว้
ไปฆ่าน้องชาย
ที่เคยเล่าให้ฟังแล้ว
ในพระไตรปิฎกบันทึกมา
ก็เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าก็ไขความให้เห็น
สิ่งเหล่านี้เป็นต้น
หรือแม้แต่ชีวิตของพวกเรานี่แหละ
ถ้าเรา
ศึกษาไปดีๆ แล้วจะเชื่อเชื่อกรรม
เป็นกรรมศรัทธา วิปลาสศรัทธา
กัมมสกตา ศรัทธา
ตถาคตโพธิศรัทธา
ศรัทธา 4 เราก็จะเชื่อ เราจะเชื่อ
ไม่ใช่เชื่อใดๆ
เชื่อภพพิสูจน์สภาวะเชื่ออะไรที่เป็นที่ได้ที่มี
มันจะเข้าใจ
มันจะเห็นลึกซึ้ง
กรรมนี่แหละ
เราจะต้องเชื่อกรรม
เราต้องเชื่อวิบาก
เราต้องเชื่อว่า
กรรมเนี่ยเป็นตัวสําคัญ กรรมสกตา
กรรมเป็นของของตนนะ
ตนทําดีก็ดี ตนทําชั่วก็ชั่ว
ตนทําบาปก็บาป
ตนทําบุญก็บุญ
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรๆมา
ก็มาเน้นเข้าหากรรม
เป็นกรรมนิยมะ
หรือกรรมนิกรรมสัจจะ
กรรมนี่แหละ
ศาสนาพุทธ กรรมไม่ใช่ว่าใครๆมาสร้าง ใครๆมาทําให้
ใครๆมาบันดล ใครๆมาบันดาล อันนู้นอันนี้ เกิดเองเป็นเอง อะไรไม่มีเหตุที่ไม่มีที่มา ไม่มีหรอก
ทุกอย่างมาจากเหตุ
เราสั่งสมอะไรก็เป็นอันนั้น
อย่างนี้เราจะเข้าใจอย่างดี
เพราะฉะนั้นในเครื่องอาศัยต่างๆพวกนี้เนี่ย
หรือว่าเราไม่รู้ทุกข์พวกนี้ ถ้าเราไม่เข้าใจในรายละเอียดอะไรต่างๆนานา
มันก็ข้องใจ
มันก็วิจิกิจฉา มันก็ไม่ทะลุ
เพราะถ้าได้เรียน ได้ศึกษาปริยัติ แล้วก็ปฏิบัติพิสูจน์อะไรไปเนี่ย มันก็จะเข้าใจดี
ที่ยิ่งรอบถ้วนเลย
ยิ่งมากมาย
ยิ่งทุกๆด้าน ทุกๆมุม ก็เข้าใจ ทะลุรอบหมดเลย
รู้แจ้งแทงทะลุ หรือว่ารู้แจ้งรอบ
รู้แจ้งครบ
มันก็ยิ่งดีใหญ่
จะเป็นปริยัติก็ตาม
แล้วก็เอาไปปฏิบัติ พิสูจน์
ทุกด้านทุกมุม มันก็ยิ่งจะ
มีสิ่งรองรับมีสภาวะอะไรต่ออะไรเกิดแก่เราที่เรารู้เราเห็นเราเป็นเราจริงขึ้นมามันก็จะถึงขั้นเจริญได้ดีนะ
อะทีนี้มาไล่ดูซินะ ข้อที่หนึ่งนะ
พระอาริยเจ้าอยู่ด้วยธรรมะอย่างนี้หรือว่าธรรมะที่เป็นที่อยู่ของพระอาริยเจ้านี่นะ
ข้อสําคัญก็ตัวสําคัญแรกๆ
นี่ก็คือจะต้องเป็นผู้ละได้แล้ว
ในองค์ 5
เป็นผู้ละองค์ 5 ได้แล้ว
ก็เคยได้ยินได้ฟังมาทางนั้นแหละ มาถึงขั้นนี้แล้วพวกเรา
วอนห้า
เราละนิวรณ์ห้านี่แหละ ก็นิวรณ์ห้ามันเป็นอาหารของอวิชชานะ
สูตรอื่นอื่นล่ะ
เราก็เอามาเรียนแล้ว นะ
สูตร แต่นั้นมันมีภาวะ
ภาวะตัณหาสูตรกะ
อะไรสูตรก่อน
อวิชชาสูตร
ภวตัณหาสูตร อวิชชาสูตร ภาวะตัณหาสูตรที่บอกว่านิวรณ์ 5 เป็นอาหารของอวิชชาเนี่ยนะ
นิวรณ์ห้าก็อธิบายขยายความไปมากแล้วนะอาตมาเองอาจจะไม่ขยายความมากนักก็พูดคร่าวคร่าวนิดหน่อยเท่านั้นนะว่าเป็นปุระกามฉันทะเป็นปุระพยาบาทละถีนะมิทะอาตมาอธิบายอยู่ที่ปฐมอธิบายแล้วแล้วก็มาซอยลึกในขยายความ
นิวรณ์ 5 นี่ว่าดีนะ
ที่อาตมาขยายไปคราวก่อน
ที่นี่เปิดฟังกันหรือยัง
อาริยสัจสูตรเนี่ย
เคยเปิดหรือยัง
ขยายไปหลายทีนะ
แม้นิวรณ์5นี่ได้นํามาขยายอีก
ซอยลึกลงไปอีก ให้เห็นว่าทีนะมิทธะก็ดี
อุทธัจจะกุกกุจักก็ดี
นัยยะมันก็คือซ้อนลงไปในภพอีกทีนึง แล้วภพที่ว่านี้ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะนั่งหลับหูหลับตาเท่านั้น
มันตีแตกยาก แล้วถีนังมิทังที่ตกผลึก
ทีนังมิทังที่ตกผลึก
กามที่เหลือ
กามหยาบ
เรารู้ได้
แต่ญาณเรายังไม่ลึก
และสิ่งที่มันนอนเนื่อง มันเป็นอนุสัยกิเลส
มันก็เป็น ผลึก เหมือนผลึก
อยู่ข้างใต้ก้นบึ้งของจิต
เป็น ถีนัง มิตตัง
เป็นตัวก้อน เป็นตัวข้น เป็นตัวที่
เป็นผลึกนั่นแหละ
ถ้าเข้าใจผลึก คืออะไร มันตกตะกอน
มันเกาะกัน
มันจับกัน มันแน่นอยู่ มัน
อย่างยังไม่ถึงก็ได้
เรายังตามรู้มันไม่ได้ สิ่งเหล่านี้เรียกว่า
ถีนามิทัง ซึ่งเราเองเรา
หนึ่งไม่รู้มัน
สองแม้รู้มัน เห็นมันแล้วมันก็ยังแข็ง มันยังกระด้าง
มันยังแน่น
ที่เรายังตีมันไม่แตก
ลักษณะพวกนี้เราเรียกลักษณะผีนังมิตรทังเท่านั้น
ลืมตานี่แหละจะเป็นกามก็ตาม
บางคนเนี่ย
บอกเอ๊ะไอ้นี่เราก็รู้นะว่าเป็นอาการกาม แต่ทําไมเราทําลายมันไม่ออก มันอยู่อย่างเก่า มันมีรส
มันมีแรง มันมีฤทธิ์
อยู่เท่าเดิมเท่าเดิม นั่นแหละลักษณะผีนางมิตรทัง
ลักษณะตีไม่แตก
ถีนัง
มันเป็น
มันเป็น
เรียกภาษาอย่างนึงว่า แปลธรรมดาว่าแค่
หดหู่
แค่หดหู่
มันหดจนแข็ง
นั่นเป็นก้อน อันนึงมันกระจาย
อีกอันนึงมันผนึกเข้า
อีกอันนึงมันติดกันเข้า
อีกอันนึงมันกระจาย
อุทธัจจะ
อุทธัจจะก็กระจาย
ถิ่นนังก็คือ
เป็นก้อน
ไอ้กระจายเนี่ย กระจายมันก็
เราจับมันไม่ติด ญาณเรา
ไม่สามารถที่จะไป
ไปคว้าเอามาได้ หรือว่า
มันรอด มันรอดญาณ
มันรอดความสามารถที่เราจะจับรู้มัน
นั่นแหละอุทธัจจะ
ส่วนที่จับได้แต่ว่าสู้มันไม่ได้
นี่คือลักษณะ
พีนะมิทธะ สู้มันไม่ได้
จับไม่ได้
มันก็เซ็นก็ซ้ายมันเป็น
ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน
มันกระเด็นกระดอน
มันเป็น เอ่อ
ละเอียดละเอียดอะไรที่เราเองยังไม่มีญาณพอที่จะไปสามารถไป
ไปจับเอามาตะแกรงของเรา
ร่อนมันไม่ติด
ตะแกรงของเรามันยังหยาบ
มันยังอยู่ห่าง
มันก็ร่อนเอา
คุณลักษณะพวกนี้ของมันไม่ได้
เป็นลักษณะกิเลสอย่างไร
จับมันไม่ติด
ก็คือญาณ สรุปแล้วก็คือญาณและเจโต
กําลังอินทรีย์พละ
ไม่มีอินทรีย์ภาระ
ไม่มีความสามารถ ไม่มี
สิ่งวิเศษ
ไม่มีสิ่งวิเศษกําลังที่จะไปฆ่า
ไปทําลาย
พวกนี้ได้
มันก็เหลือส่วนเหลือเศษเพราะต้องฝึกต่อ
กามหยาบเราทําได้พยาบาทเราทําได้
หยาบหยาบเราทําได้
สายที่จริงมันก็มีสองสายเท่านั้นแหละหลักหลัก
สายกามก็สายมานะ
หรือสายอัตตา หรือสายผลัก
สายดูด สายรัก สายโกรธ
สองสายเท่านั้นแหละ
อย่างสรุปลงแล้ว
โมหะก็คือหลง
หลงผิด
เราไม่สามารถที่จะเข้าใจถูกต้อง
กลับกัน
โลกียะโลกุตระกับการทวนกระแสกัน
นั่นหลงผิด
หลงผิด
หลง
หลงลืม
หลงลืม หลงลืมก็คือ
มันคิดไม่ออก
มันไม่รู้ ทั้งๆที่มันมี
มันเป็น
มันเคย มันอะไรก็แล้วแต่
ลืมก็เรียกว่ามันก็
มันก็หมกขมับไปแหละ
เหมือนอย่างพวกฤาษีนี่ทําให้หลงลืม
ทําให้มันหายไป
ลงหมักไปเลย
ฝังทิ้งไปเลย
ไม่ให้สัญญาของมันขึ้นมาทํางานเลย
กดข่มมันจนกระทั่ง
สัญญาอย่างลงไป
รู้ก็ไม่ได้
ตัวเองเป็นคนเจตนาปิดตัวเอง ตัวเองเป็นคนเจตนากั้นตัวเอง ตัวเองเป็นคนทํา
ผนังคอนกรีตทับไป 5 ชั้น 100 ชั้นอะไรเลย ตัวเองทําเอง
มันก็เลยเหมือนกับลืมลืมไป
นานเข้ามันก็ไม่เห็นนานเข้ามันก็ไม่มี
แต่มันไม่ได้หมดไปคุณอินคุณไปกดมันไว้คุณไปทับมันไว้คุณไปหมักมันไว้ บอกไว้รอแล้วว่าอะไรก็แล้วแต่ที่เราสั่งสมลงไปเป็นสัญญาแล้วนี่จะเป็นกิเลสหรือเป็นอุปทานสั่งสมไว้แล้ว
ถ้าเราไม่เอามา
มาทําลาย เอามันมาทําลายจริงๆ
แล้ว
มันอยู่ในสัญญาเรา
บอกว่าสัญญานี่ย้อนกาลไปเท่าไหร่ก็ได้
อย่างที่ยกตัวอย่างให้ฟังเรา พระพุทธเจ้าท่านย้อนกาลไป ท่านมีอินทรีย์ผละ ท่านมีวุฒิ
มี
พระบารมีสูง
มีวิชาสูงแล้ว
ก็ระลึกชาติ ระลึกย้อนไป มันไม่ได้หมายความว่ามันหายไป
มันยังอยู่
เออ สัญญาก็ยังอยู่
จะสลายก็ต่อเมื่อเราปรินิพพาน
ไม่มีรูปนามขันธ์ 5 ไม่มีอะไรอีก ก็ไม่มีอุปกรณ์อะไรที่จะไปยึดเอา
รูปนามขันธ์ 5 พวกนี้ หรือกรรมวิบากพวกนี้ขึ้นมาใช้
มัน
ยกเลิกกันไปโดยปริยาย
สัปปะปรินิพพานแล้ว ไม่หยั่งลงสู่ขันธ์ไม่เกิดอีก ซึ่งต้องมี
ความสามารถมีฤทธิ์
มีความเป็นอาริยะ
ถึงขนาดอรหัตตผลจริงๆ
สูงสุด
เป็นผู้ปล่อยวาง ไม่เกิดอีก
ไม่หยั่งลงสู่ครรภ์อีก นั่นหมายความว่าไม่เกิดอย่างชนิดสมบูรณ์
สมบูรณ์สุดเลย
อย่างนั้นก็ยกเลิกกัน กรรมอะไรก็ตามแต่
เวทนา สัญญา สังขาร
อะไรก็มันก็พลอยสลายไปด้วย
อย่างนั้นก็จบ
แต่ถ้าเผื่อว่ายังไหม้จริงๆแล้วล่ะก็ ยังวนเวียนอยู่ ยังมีรูปนามขันธ์ 5
อยู่
สัญญาก็ยังอยู่
ความจําก็ยังอยู่ แต่ว่ามันไม่มีฤทธิ์แล้ว
ถ้าเผื่อว่าทําได้อย่างจริงหมด
จําได้ก็จําได้บางทีมันยังลืมเลย ไม่เที่ยง สัญญามันก็ไม่เที่ยง
สัญญาไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยงเท่านั้น
พยายามจําเพราะสุดท้ายเราเองเราไม่ติดยึดในสัญญา
ไม่ติดยึดในสิ่งที่จําได้
แล้วก็
ไอ้ที่จําได้แล้วนี่ สัญญาจําได้ โอ้
รถคันนี้อร่อยนะ
เราเคยสุกอันนี้ นี่เคย ถ้าปรุงอย่างนี้ สังขารอย่างนี้ แล้วก็ โอ๊ย
ดี สุข
เราเลิก เราไม่ได้อยู่ใต้เวทนา
ที่เป็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา สังขาร
อย่างนั้น
ขึ้นมาเป็นรสเป็นชาติ เราอยู่เหนือมาแล้ว กิเลสที่ตัวเป็นต้นเหตุ
ที่ไปอุปทานอยู่ ที่ไปหลงตามโลกเค้าเป็น
เราก็เข้าใจหมดแล้ว เราก็เลิกละหมดแล้ว
จะปรุงขึ้นไปยังไงอีก มันก็ปรุงได้ แต่ว่ามันไม่
ไม่ไปเป็น
ตามที่เราจะต้องไปติด
ไปยึด ไปหลงใหล
ไปเป็นทาสสิ่งเหล่านี้
รายละเอียดอะไรต่างๆ นานา
พวกนี้มันไม่ใช่เรื่องเล่นๆ ที่เราจะอะไรได้ง่ายๆ
เพราะงั้นเราก็จะต้องเข้าใจอะไรต่ออะไรได้ดี
เข้าใจอะไรได้ชัดเจน
นะ
ไม่เช่นนั้นแล้วเราก็ไม่รู้เรื่อง
เข้าใจเพี้ยนเข้าใจผิดปฏิบัติมันก็ไม่ถูก ต้องเข้าใจให้มันละเอียดลออว่า
ไอ้สิ่งที่อะไรที่จะต้องเป็นอยู่
อะไรที่ต้องละ เดี๋ยวในนี้นัยยะพวกนี้ท่านอธิบายไว้ครบหมดอยู่แล้ว นะ
มีผู้ถามมาแทรกว่าพระอรหันต์เมื่อเจ็บป่วย
สภาพร่างกายมีทุกข์หนักมาก
ท่านเหนือเวทนา
ตามสภาพธรรมที่ว่า เวทนาไม่ช่วย
ไม่ใช่ของเราอย่างไร
ให้ปลง ให้ปลงว่า
เวทนาท่านอยู่เหนือตามสภาพธรรมว่า เวทนาไม่ใช่ของเราอย่างไร
ก็เป็นการพิจารณา
แล้วก็เป็นการใช้ญาณ
ปล่อยวาง ในลักษณะของวิปัสสนา
ก็คือ มันมีญาณ แล้วก็มีพลัง มีอินทรีย์ผละในญาณนั้น
มันเห็นจริงๆแล้วมันก็เป็นสัจจะนะ เป็นสัจจะว่ามันไม่ใช่เราโดยอนุมาน
โดยสามัญคุณก็เข้าใจแล้วว่าไอ้นี่ไม่ใช่ของเรา ถ้าเป็นของเราเราต้องยึดไว้ได้
ต้องไม่พรากจากกันแน่นอน
ใช่ไหมถ้าเป็นของเรา
แต่มันไม่ใช่ของเรา
มีแต่มีอยู่สิ่งนึงที่เป็นของเราจนกว่าจะ ปรินิพพานอะไร
อะไร
กรรม
โอ้นี่แหละอันนี้แหละอาตมาก็เคยอยู่ใน หนังสือที่ย้อนท่านพุทธทาสที่กล่าวๆแก้
หรือว่าอะไรกันบ้างแหละในหนังสือปัญหาที่
แก้ไม่ได้
เพราะเอ่อปัญหาสังคมที่แก้ไม่ได้เพราะการศึกษาศาสนาที่ผิดพลาดอะไรนั่นน่ะจนจําชื่อไม่ได้แล้วชื่อมันยาว
หนังสือเล่มนั้นที่บอกว่าที่บอกว่าอะไรอะไรก็ไม่เป็นของของเราอะไรก็ไม่เป็นของเรานั่นน่ะ
พูดไปได้นะ
ได้สําหรับอะไรไม่เป็นของเราไม่อะไรก็
ไม่ใช่ของเรานั้นโดยอนุมานได้แต่ทั้งนั้น
ในตราบใดที่เรายังไม่หมดรูปนามขันธ์
5 แล้ว
ยังจะต้องมีสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสเองไม่ใช่เราพูด
เหมือนกับ
พูด
กล่าวแล้วคานแยงกันเล่น ไม่ใช่
แต่มันมีนัยยะละเอียด
อ่า
อะไรอะไรก็ไม่ใช่ของของเรานั่นน่ะ
จริงในเบื้องสุดท้ายที่เราจะปรินิพพาน
แล้วก็ปรินิพพานมันไม่ใช่ของเราจริงจริงอะ
แต่ตอนใดที่ยังอยู่
ยังไม่ปรินิพพาน
ต้องเข้าใจว่าปรินิพพานมันต่างกันจากนิพพานต่างต่างที่อาตมาเขาอธิบายมาหมดแล้ว
อ่า
เมื่อเรายังไม่ปรินิพพานแล้วจะต้องวนเวียนจะต้องเกิด
จะต้องหมุนเวียนอยู่อีก
แม้เป็นพระอรหันต์เจ้า
อันนี้แหละพวกเราจะเข้าใจมากขึ้นเรื่อยเรื่อย
แต่ก่อนนี้พวกคุณก็คืองงงงเหมือนกันนะ
เดี๋ยวนี้อาตมาว่าคงเข้าใจชัดขึ้นนะ
มีนัยยะอะไรต่ออะไรนานนานเข้านี่แหละสัจจะ
ปัจเจกสัจจะบรรเทา
นี่แหละคือปัจเจกสัจจะบรรเทาอันนึงว่า
เอ๊ะ แต่ก่อนนี้เรางงนะ
เรารู้สึกว่ามัน งง เอ๊
มันไม่เชื่อ
มันไม่เข้าใจอะไร เป็นพระอรหันต์
ตายแล้ว
เกิดอีกก็ได้
เอ พระอรหันต์ตายแล้วเกิด
ยังไงเราก็ฟังมาแล้ว
เราเรียนมาแล้ว
พระอรหันต์คือผู้ที่ตายแล้วไม่เกิด
ถ้าไม่เกิดก็ได้
ถ้าท่านปรินิพพานไป
แต่ถ้าท่านยังไม่ปรินิพพาน
ก็เกิดได้
แล้วพอดีมีสูตรมารองรับอะไรด้วย
แล้วเราก็เข้าใจอะไรต่างๆนานาพวกนี้
อย่างละเอียดลออขึ้น
มันก็บรรเทา
บรรเทา บรรเทา
นี่แหละคือปัจเจกก็คือตัวเราเนี่ย
เป็นสัจจะ
เราได้เข้าใจสัจจะที่ลึกขึ้น
ซึ่งขึ้น
อันนี้ อธิบายข้ามไปหน่อยนึง
เป็นต้น
อะทีนี้ที่บอกว่าเวทนาไม่ใช่ของเรานั่นน่ะจริงจริงโดยสามัญโดยอนุมานเราก็เข้าใจทีนี้โดยญาณเนี่ยมันจะเห็นญาณจริงจริงเลยพิจารณาเรื่อยเรื่อยวิปัสสนามันเป็นเหตุผลแล้วก็รู้ว่าเวทนาตั้งแต่เวทนาหยาบจนกระทั่งเราละเวทนาหยาบได้เราก็จะรู้ว่าอ๋อ
ความที่เป็นเวทนาก็คือรสสุขรสทุกข์
เอาแต่แค่เวทนาสามนี่แหละนะ
รสสุขรสทุกข์นี่นะ
แต่ก่อนนี้เราถือว่าเป็นของเราจริงจริงนะ
เราจะมีอุปทานยึดถือว่ามันจะต้องได้ต้องมีต้องเป็น
แล้วเราก็จะต้องมีชีวิตชีวา
ถ้าไม่ได้อย่างงี้เหมือนมันขาดเหมือนกับเป็นชีวิต
ขาดมันไม่มีชีวิตชีวามันแห้งเหี่ยว
มันไม่เป็นสุข
มันอยู่อย่างคนที่อ้างว้าง
เป็นคนที่โหยหาต้องการ
ในโลกเดี๋ยวนี้ยังมีมาก
เด็ดขาด ขาดโน่นขาดนี่
สอนกันให้ตายแล้วก็ไปบําเรอกันกลับใหม่
จิตวิทยาทางโลกสอนพวกเด็กที่
ไม่ได้รับความอบอุ่นเด็ดขาดโน่นขาดนี่
ก็ไปหาเติมให้มันบ้าง
เติมไปจนกระทั่งมันติดอีก
ทั้งๆ ที่มันขาด
ควรจะละกิเลส
มันไม่ร้ายที่ต้นเหตุ
ไม่ละกันที่ต้นเหตุ
แต่ไปเติมให้บําบัดบําเรอ
มันก็เป็นโลกียสุขอย่างเก่า
วนเวียนอยู่อย่างนั้นแหละ
ไม่ได้ช่วยอะไรกันถาวรหรอก
ในชั่วคราว
เพราะถ้าจริงๆแล้วเราต้องไปแก้ปัญหา
ถ้าแก้ยังจิตวิทยาสังคมดีหรือว่าจิตนักจิตวิทยาด้านโลกีย์ที่เขาแก้กันอยู่เนี่ย
มันไม่มีแล้วหรอก
จะเป็นอะไรก็แล้วแต่จะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ก็ตามเราต้องมาแก้เข้าไปหาต้นเหตุ
แต่นั่นแหละเราก็ต้องรู้อินทรีย์ภาระ
เด็กเราก็ต้องเอาอนุโลมให้เขากอดให้เขาได้บ้าง
ก่อนจะไปตัดขาดเลยทีเดียว
ปึ๋งปั๋งปึ๋งปั๋ง
มัน
มันไม่ใช่ขาดได้ง่ายง่ายเราก็รู้อยู่
เพราะงั้นก็ค่อยเป็นไป นะ
เราจะรู้สึกว่าสุขทุกข์นี่มันเป็นเวทนา
อาการเวทนาคืออย่างนี้
อ่านอาการได้
แล้วเราก็พิจารณาหัดละมา
มีเหตุปัจจัยอะไรที่เราติด อ๋อ
ที่นี่
ถ้าได้สูบฝิ่นเนี่ย อร่อยนะ
เป็นสุขอย่างงี้
ได้สูบบุหรี่
ได้กินเหล้า
ได้กินของอร่อยอย่างงี้
ได้เสพทั้งตา
ได้เสพทั้งหูอย่างงี้อร่อย
พิจารณาว่ามันอร่อย มันเป็นสุข
เสร็จแล้วก็บอก อ๋อ
เราไปอุปทาน
ไปตั้งค่าสมมุติเอาไว้เอง
เราได้สมใจอย่างนี้เป็นอย่างนี้
มันก็เป็นสุข
ถ้าไม่ได้มัน บางทีมันอยากมาก
มันต้องการมาเสพ
มันลนลานอยู่มันก็เป็นทุกข์
มีสุขสุขทุกข์ทุกข์
มันเหตุที่มันอยากมาเสพ
แล้วมันได้เสพสมใจ มันก็ถึงสุข
ลองพิจารณาออกไปหมดสิ
จนกระทั่งถ้าเมื่อเวลาเจ็บป่วยแล้วทีเนี้ย
เจ็บป่วยเนื้อหนังมังสาเราก็ไม่เคยพิจารณาว่านี่ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา
เนื้อไม่ใช่เรา
หนังไม่ใช่ของเรา เราไม่เคยพิจารณา
เราไม่เคยใช้
จารให้เกิด ญาณเห็นว่า เออ ถ้าเราไม่ติด ไม่ยึด
มันก็ความติดความยึด
หรืออุปทาน มันก็เป็นสภาพของมันจริง
เพราะฉะนั้นถ้าเราฝึกปรือในรสอร่อยอย่างที่ว่านี้ ออกไปในอะไร
เหตุปัจจัยอะไรเป็นรสอร่อย
เราก็หมด
หมดอร่อยและรู้แต่สมมุติเท่านั้นเองว่าเอออย่างนี้ก็เป็นอย่างงี้และไม่ใช่รู้แต่สมมุติจําได้ อ่าจําได้สมมุติ
หนักเข้าแม้แต่สมมุติจําไม่ได้อย่างอาตมาว่า
ที่เล่าเมื่อวานนี้ว่าเขาเอาซาลาเปามาให้ชิมแล้วก็ว่าอร่อยอาตมาว่าเอ้ ไม่ได้แกล้งพูดไม่ได้พูดอย่างเก๋อะไรหรอกนะมันจริงอะพูดความจริงให้ฟัง
อาตมาก็บอกไม่รู้สิอาตมาไม่รู้มันอร่อย
แล้วไส้มันเนี่ยไส้เขาบอกไส้ของเขาอร่อยนะของคนนั้นอร่อยกว่านี้ เคยชิมเปรียบเทียบกันไหมเราบอกว่า
ก็ไม่รู้ไส้มันปรุงเข้ามาคุณปรุงรสอย่างนี้อาตมาชิมก็รสอย่างนี้ของเจ้านี้ ของเจ้านี้ปรุงรสอย่างนี้ก็เจ้านี้ก็อย่างนี้
แล้วอะไรอร่อยกว่ากัน
คุณสมมุติยังไงก็ของคุณอันนั้นน่ะอร่อยกว่าอาตมาก็เห็นว่าเป็นอย่างงั้นตามจริงนะ
ไอ้นี่มันปรุงรสนี้มันก็อย่างงี้ ไอ้นี่มันปรุงรสนี้มันก็อย่างงี้
คุณจะว่าอันไหนอร่อยก็คุณชอบอันนี้คุณก็ว่าอันนี้อร่อย
คนนั้นชอบอันนั้นคุณก็ว่าอันนั้นอร่อย
และอาตมาก็เห็นว่าคืออันนั้นก็คือเป็นอย่างงั้น อันนี้ก็คือเป็นอย่างงี้ อาตมาก็ไม่เห็นว่ามันอะไรเหนือกว่าอะไรก็กินได้ทั้งคู่อะ
มันก็ไม่ได้อร่อยอะไร
ฟังให้เป็น ฟังเข้าใจแล้วคุณไปพิสูจน์ ที่อาตมาพูดนี่คืออาตมา
คุณเองคุณจะเป็นอย่างคุณ คุณก็ไปพิสูจน์ของคุณ
อาตมาก็ไม่ได้อร่อยอะไรแล้ว
มันก็อย่างเงี้ย
เราไม่มีสุข ไม่มีทุกข์
นะ มันไม่ได้สุขด้วยทุกข์อะไร กับอร่อย
รสอะไรพวกนี้
นี่เราพิจารณาเรื่องรส
พิจารณาเรื่องกายเหมือนกัน
กายขันธ์เนี่ย เมื่อกายขันธ์ของเรา เมื่อมันเจ็บมันป่วย มันมีทุกข์ที่กายขันธ์ ที่เราแกะมันไม่ออก
มันแกะไม่ออก เช่นมีแผล
แผลปฏิกิริยาของเซลล์เลย มันทําปฏิกิริยากันไม่ไอ้นั่น มันก็จะแสบ มันก็จะปวด หรืออะไรอย่างนี้เป็นต้น
มันก็เจ็บกับปวด แต่ถ้าเราปล่อยวาง หัดวาง
มันวางอย่างสมถะ
กดข่มเลย
สมถะนี่ ผู้ที่ทําสมถะ
กดคม คม คม
ข่มจนกระทั่งข่มความรู้สึก
ข่มเวทนา
ข่มสัญญา
จนกระทั่ง
มีกําลัง
มีลักษณะนึง สามารถข่มได้ เหมือนกับข่มร้อน ข่มหนาว ทนร้อน ทนหนาว ทนเจ็บ ทนปวด ทนอะไรทนได้
ใช้สมถะ
อ่า
ทีนี้ถ้าวิปัสสนานี่ก็ว่า เออ ร่างกายนี้ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา คุณได้ฝึกจริงๆ
คุณจะเบาบาง
หรือ
ไม่เจ็บไม่ปวดได้
ไม่รับ
สภาพที่มันเป็นปฏิกิริยาของมัน
ปฏิกิริยาอย่างที่ว่า มันจะมีเชื้อโรค หรือไม่มีเชื้อโรค หรือมันเซลล์ของมัน มันต้องปฏิกิริยาของเซลล์ มันเจ็บ มันปวด มันแสบ
มันอะไรอย่างนี้เป็นต้น
จะลดได้จริง ๆ
เพราะฉะนั้นจะบอกว่าจะเป็นพระอาริยเจ้า
หรือไม่ใช่พระอาริยเจ้า
ถ้าฝึกจริง ๆ
ได้ แต่ถ้าฝึกนัยยะอย่างนี้
วิปัสสนาอย่างนี้
เป็นนัยยะของพุทธ
เป็นนัยยะของพระพุทธเจ้าที่ได้อาศัย
ใครฝึกได้ก็ได้อาศัย
แล้วก็จะไม่ทุกข์
จะเห็นเลยว่าทุกข์มันลดลง
เหลือน้อยหรือทําได้สมบูรณ์ก็ไม่มี
ไม่มีทุกข์แม้แต่เจ็บป่วย
ซึ่งไม่ง่าย
พระอาริยเจ้าที่ไม่ใช้สมถะบ้างแล้วไม่วิปัสสนาอย่างนี้จริง
ละหน่ายคลายอย่างนี้
ได้ฝึกดีจริงๆ
มันก็จะเจ็บปวดอยู่บ้าง
สภาพจิตใจท่านขณะที่ทุกข์ทางกายมากเป็นเช่นไร
ต่างจากปุถุชนอย่างไร
ถ้าไม่ได้ฝึกก็เหมือนปุถุชน
ถ้าได้ฝึก
มันก็จะลดได้
ผู้ที่มีความสามารถ
จะใช้สมถะเหมือน
ทําสมาธิสะกดจิตเอา
แล้วก็เป็นฌานอย่างนั้น
ข่มเอาอย่างนั้น
ก็บรรเทา
หรือจะใช้วิปัสสนา
อย่างที่อธิบายแล้ว ฝึกจริงๆ
ร่างกายนี้ไม่ใช่เรา
ไม่ใช่ของเรา
มันวาง มันมีญาณวางจริงๆนะ
เพราะงั้นมันก็ไม่ติดยึด
กายนี้เราก็ไม่หวงแหน
กายนี้เราก็ไม่ได้ไปคบประคบประหงมอะไรของมันมากนัก
คนที่ประคบประหงมอยู่กับประคบประหงมรักมันมาก
อย่างโน้นอย่างนี้ก็เป็นไป
ถ้าใครที่หัดปล่อยวาง
แต่ไม่ใช่ว่าปล่อยวางจนกระทั่งไม่ดูดําดูดีอะไรกับมัน
มันเป็นเครื่องอาศัยนะ
ร่างกายนี้ดูแลมันพอสมควร
อย่าให้มันเจ็บมันป่วย
อย่าให้มัน
ขาดสิ่งที่ไม่ควรขาด
ควรจะสังเคราะห์ ให้มันสมบูรณ์
สมดุล
มัชฌิมา
ให้สมดุล
สมบูรณ์อยู่
เราก็สังเคราะห์มันไป
ตามควร ไม่ต้องถึงขั้นจะต้อง แหม
ไปโอ๋มันเกินไป
ถึงโอ๋มันก็ไม่
ยังไงก็ไม่รอดหรอก
ถ้าเผื่อว่าถึงขีดถึงขั้นของมันแล้ว
ดีไม่ดีมันจะเกินด้วย
อ๋อ มันเกินไป
เสีย
ให้มันน้อยไปไม่สมดุล
ก็ขาด มันต้องให้ชัดเจน
เอาล่ะอาตมาอธิบายทีนะ
มิทะก็เลยขยายความอะไรแทรกสักเยอะแยะมากมาย
เอานัยยะของไอ้นี่
5 นี่ก็เอาเทปอื่นๆมาฟังบ้าง
วันไหนอาตมาต้องการเน้นตรงนี้ก็จะเน้นจะขยายอีก
ในลักษณะเมื่อกี้นี้ขยายทีนะ
มีทางไปบ้าง
อุทธัจจะกุจจะไปบ้างในลักษณะที่ให้เห็นลักษณะธรรมของมัน
ไม่งั้นพาซื่อจนกระทั่งอย่างหยาบอย่างเดียว
ทีนี้ถ้าคือง่วง คือหลับ คือนอน
อุทธัจจะ ก็คือ ฟุ้งซ่าน
นั่นเราก็รู้แล้ว
แต่นัยยะของธรรมะ
ที่มันเป็นลักษณะ
ทิพสภาวะจริงๆ
นะ เป็นลักษณะของกิเลส
เพราะฉะนั้นอย่างหยาบก็นัยยะอย่างนั้น
กามหยาบพยาบาทหยาบ
เพราะฉะนั้นต่อเนื่องออกมาจะเป็นกามหรือพยาบาทก็ตาม
เป็นทีนะมิทะ
ลักษณะทีนะมิทะอย่างไร
อุทธัจจะกุกุจจะอย่างไร
ก็คือมันเป็น
ตีไม่แตกเนี่ย
อ่าบางคนมาถามอาตมาอาตมาก็ไม่รู้จะตอบว่ายังไง
บอกทําไมล่ะรู้ทั้งรู้นะนี่รู้ทั้งรู้แต่มันก็
แหมมันทําลายมันไม่ได้เลยมันแข็งมันก็เป็นอยู่อย่างเก่ามันก็ต้องยอมยอมให้กิเลสมันเป็นพาเป็นนะ
ไม่ต้องเอาให้มันห่างเอามันใกล้เช่นง่วงนอนอย่างงี้เป็นต้น
เออมันเป็นไปจากนี้มันตีไม่แตกมันทําลาย
ไม่ลง
ก็เข้าใจมันตกผลึกมันก็จะเกาะจะกลุ่มจะ
จะเป็นก้อนเป็นแข็งมันก็จะตกจะดิ่งเข้าไปสู่ในจิตคุณนั่นแหละมันไม่เหาะไม่หายไปจากตัวคุณมันไม่ไม่หายไปจากจิตคุณมันจะอยู่กับคุณนั่นแหละมันจะไม่ไปไหนแล้วมันก็จะผนึก
ตกผลึก
มันจะผนึกตกผลึกอยู่ในจิตก้นบึ้งของคุณนั่นแหละ
เพราะงั้นถ้าเราไม่ฝึกไม่ฝืนด้วยวิธีใช้เรี่ยวแรงเหมือนกันในวันสมถะภาวนา
หรือวิปัสสนาเห็นว่าโธ่ไอ้สิ่งอย่างนี้นี่
เราเองเราไม่
มันไม่ไหวเพราะว่าเราเองเราเพลีย
เราไม่ได้พักผ่อนพอ
เราต้องการการพักผ่อนจริงจริงน่ะหรือ
หรือว่ามันติดอร่อย
จริงจริงมันติดอร่อย
มันติดอร่อย นอนนี่มันก็ติดอร่อย
ติดอะไรกันนักกันหนาเล่า
ยิ่งมาละลดอะไรๆ
ไปได้บ้าง
แล้วเราก็ไม่ต้องไปเป็นภาระอะไรบ้าง
ก็ไป
เอาแต่นั่งๆ ว่างๆ ตรงนั้นตรงนี้
นั่งซึมไป ไม่ฟุ้งซ่าน
คิด
ก็ตกผลึกจนสงบ
ไม่ต้องทําอะไร ฝึกเข้าไปก็ติดอันนั้น
ฝึกมากก็ ทํามากก็ติดมาก
เพราะงั้นเราควรจะต้องอย่าไปปล่อยให้มันมีโอกาส
หรือแม้แต่พวกนั่งสมาธิ
เดี๋ยวก็ติด
เราและการพยาบาทอะไร เราก็ไม่มากนักแล้ว เราก็ไม่อยากจะแสวงหา เราไม่อยากจะทําอะไรมากแล้ว
ว่ากันนั่งสมาธิ
คนที่นั่งสมาธิก็มีอยู่สองทิศเท่านั้นแหละ พอตรงภพแล้วก็มันมีไม้ถุยฐีนะมิทะมันก็อุทธัจจะ
สองทิศเท่านั้นแหละ
สายฟุ้งซ่านก็นั่งไปแล้วก็ตกภพไปแล้วก็เอาแล้ว โอ้โหทีนี้ก็ปรุงอยู่ในนั้น
คุมได้ก็ได้คุมไม่ได้ก็ไปใหญ่เลย ไม่รู้เรื่องอะไรต่อเรื่องอะไร
ถ้าคุมได้ก็คุมไป คุมได้ก็ปรุงตรรกะ
ดีไม่ดี
หลงว่าเป็นปัญญาด้วย
นั่งเข้าฌาน
เข้าฌานเสร็จแล้วมันก็ปรุง คิด นึก อะไรต่ออะไรเป็นตรรกะไป
โอ้โห ลึกซึ้ง ลึกซึ้ง ลึกซึ้ง
คิดโน่นคิดนี่ บ้าๆบอๆออกมาเยอะแยะ
หาเรื่อง
แต่มันก็ดีนะ
มันดีตรงที่ว่ามัน มัน
มันเก่ง
จะเรียกว่าดีก็ไม่ได้ถูกต้องทีเดียว มันเก่ง
ก็มันไม่มีกิเลสนิวรณ์อะไรเข้าไปยุ่ง เวลาเราสามารถที่จะขจัดนิวรณ์พวกนี้ออกได้จริง ๆ
แต่มันเป็นตัวปรุงที่มันเป็นลักษณะที่อาตมาเรียกว่า อุทธัจจะ ก็เพราะว่า
มันไม่ใช่ตัวสัจจะ
มันปรุงมันขบคิด
บวกลบคูณหารอะไรต่ออะไรขึ้นมา
มันก็เป็นตัวที่แปลก เป็นตัวที่เพิ่ม เป็นตัวที่เหมือนปรุงแต่งอะไรขึ้นมาได้ ปรุงแต่งทางความคิด
มันก็ได้อะไรออกมาเหมือนกันนะ
ได้ออกมาเป็นอะไรใหม่ใหม่แปลกแปลก
เพราะฉะนั้นนักคิด นักวิทยาศาสตร์ นักอะไรพวกนี้เขาจะต้องจิตให้สงบแล้วเขาก็ใช้คอนสแตนเตรดนี่แหละเรียกว่าสมาธิคอนสแตนเตรดเนี่ยคิด
นั่นหมายความว่าข่มกฎไอ้นิวรณ์นี่ซะก่อน เสร็จแล้วเขาก็คิด
มันก็ได้อะไรแปลกๆ ใหม่ๆ ปรุงใหม่ๆ แปลกๆ ซึ่งไม่เคยมีในโลกมา ออกมาได้
มันเป็นความเก่งชนิดนึงเหมือนกัน
แล้วก็ใช้กัน เค้าก็ถือว่า โอ้นี่เก่ง
จิตวิญญาณที่มีสมาธิแล้วนี่มีปัญญา
มันมีความเฉลียวฉลาด มีความเก่ง
อย่างนี้ก็อย่างนึง หรืออีกอย่างนึงจะขบคิดอะไรๆอีก
ในการตรวจตรา เอาไปใช้สอดส่องตรวจตรา ก็ได้แหลมลึก
พลังของจิตพวกนี้มันมีประสิทธิภาพของมันได้เหมือนกัน
แต่มันไม่ได้เป็นไปเพื่อความละหน่ายคลาย
ไอ้พวกนี้นี่ทําแล้วเพิ่มแล้ว มันก็ยิ่งเฉลียวฉลาด ยิ่งหลงไปในความเฉลียวฉลาด ยิ่งไปเรียนละ
ละหน่ายคลาย ไปกันใหญ่ นะ
ไอ้ยิ่งฟุ้งซ่านนั่นแหละถึงเรียกว่าเอ่อฟุ้งซ่านยังเรียกว่าอุทธัจจะ แต่อีกสายฐีนะมิทธะเนี่ยพอมาได้พบเหรอ
นิ่งไปเลยยิ่งไม่คิดอะไรไม่กําหนดอะไรเลยดับสัญญา
ความรู้สึกก็ไม่รับรู้กลายเป็นแข็งทื่อเขาเอาไฟเผาเอาเอาไฟจี้ผิวหนังนั่งเฉย
นั่นก็สายสมถะแท้ๆ
สายทีนะมิทะ ตกเป็นก้อนเป็นแข็ง
มันเก่งจริงๆ นะ ขนาดเอาไฟจี้ก็ยังไม่รู้สึกตัวจริงๆ
อย่าว่าแต่แค่เอาน้ําสาดเลย
ไฟจี้ผิวหนัง
ไม่รับรู้ คือตัดขาด
ตัด ดับเวทนา ดับสัญญา
อยากฝึกเอา ก็ฝึกลองดูสิ อยากฝึก
แต่มันก็ได้อย่างนั้น ก็แค่นั้น
มันก็ได้อย่างแค่ทนได้
ดับ เวทนาดับ สัญญาได้อย่างลึก
อย่างลึกมาก
ก็เป็นสมถะ
เป็นการกดข่ม
สายที่ถนัดอย่างนี้ก็เอาแล้ว
เสพก็ยิ่งทําก็ยิ่งหยุด
ได้หยุดได้พัก
ได้พักก็ยิ่งอร่อยๆ อร่อยๆ
ติด
เพราะสายนั่งหลับตาพวกนี้เราอย่าไปพูดอะไรมาก
เอาละ
ยิ่งฝึกเก่งเก่งเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าท่านว่านะ
ถ้าเรียนเป็นมิจฉาทิฏฐิแล้ว
ภายหลังพัดโน่นที่แจ้งล้อมฟางใต้ร่มไม้ไปนั่งตั้งกายตนดํารงสติคงมั่น
ฝึกสมถะ
ฝึกเก่งด้วยนะ
สู้ได้นะกินข้าวอิ่มแล้วก็ไม่หลับ
เสร็จแล้วก็เข้าภพได้เลยเป็นฌานเก่ง
มันก็ว่างก็เบา
มันเป็นฌาน มันไม่มีนิวรณ์ มันก็
เมื่อไหร่ก็แล้วแต่
ในเวลาปัจจุบันเนี่ย
ตื่นตื่นนี่ไม่มีนิวรณ์
มันก็สบายใจ
ไม่มีอะไรรําคาญใจ ไม่มีอะไรกังวล
ไม่มีอะไรติดยึด มันก็สบายใจ
มันไม่มีความหม่นหมองอะไร
มันก็สบายใจ
ยังไม่มีนิวรณ์อะ
กามก็ไม่เข้ามารุกราน
อาการกามยังไง
อาการพยาบาทยังไง
โทสะโลภะนี่แหละ
มันก็ไม่มี
เสร็จแล้วอะไรที่เป็นภพเป็นชาติอะไรที่เราจะไปปั้นไปอะไรอยู่ในจิตในใจก็ไม่ฟุ้งไม่ซ่านอะไร
เสร็จแล้วก็ไม่ตกรี
สีน้ํามิทะก็ไม่
อยู่กลางกลางเนี่ยจิต
ไม่ถีนมิทธะ
จิตมีสติคืออะไร
สติคือความระลึกรู้
มันก็รู้เต็มร้อย
มันไม่รีด้วย
อาตมาบอกแล้วว่า ถีนมิทธะ
แม้แต่จิตที่ตื่นเต็มของเรา
พยายามเรียนรู้ได้ว่า
เราตื่นเต็มเป็นอย่างนี้
พอเริ่มต้นมันไม่ตื่นเต้น มัน
ชักซึม ๆ ลงมาหน่อย ๆ ก็
นั่นแหละ เริ่มแล้ว เริ่มทีนะ
มิทะแล้วเริ่มรี
อาตมาถึงแปลทีนะมิทะว่าจิตรีด้วย
รีนิดนึง
ต้องพยายามประเมินค่าความรู้สึกตื่น
รู้สึกตัวให้ได้ว่า 100
คืออะไร
ความตื่น 100
เนี่ย รู้ว่าเราตื่น 100 เนี่ย
ทีนี้มันไม่ตื่น 100 มันชักซึมๆ
นั่นแหละ
เริ่มเข้าหาถีนังมิทังละ
ถ้าไม่เอาเราตื่นเต็ม
เพราะถ้าเราตื่นเต็มอยู่อย่างนี้
มันก็สมบูรณ์แล้ว
มันไม่ถีนังมิทัง
เราไม่มีถีนังมิทัง
อย่างนี้เราสบาย
จิตสติตื่นเต็ม
รู้รอบทวาร
ทวารตา ทวารหู ทวารใจ
ทวารกายอะไรก็ รู้รอบ
รู้รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
แต่ไม่มีกาม ไม่มีพยาบาท
และจิตก็ไม่มี ฐีนัง มิตรทัง
พอเราตื่นเต็ม
แล้วตื่นเต็ม
ไม่หรี่ ไม่อะไร
สีก็รู้สีแล้วไม่มีกามานด้วย ว่าสีอย่างนี้ สวย ชอบ ไม่มี
สีอย่างนี้ไม่ชอบ
พระชัง ผลัก ไม่มี
รู้ความจริง ตามความเป็นจริง
เสียงอย่างนี้
เสียงนี้ดัง เสียงด่า อ๋อ
ด่าอย่างนี้ ก็อยู่ในลักษณะที่เขาเรียกว่าด่า
เขาด่าเรา เขาด่าคนอื่น
ด่าเรา
ก็เข้าใจว่าคนนี้ด่าภาษาโวหารแปลกเว้ย
คนนี้ด่าภาษาโวหารเข้าใจด่าอย่างนี้ เขาสมมติเอาไว้ว่าหยาบมากนะ
มันเอามาใช้คล่องเลยเนี่ยโอ้โหล่อ
เข้าไปลึกลึกเลยนี่หยาบภาษาหยาบของแบบไทยไทยเนี่ยนะ ไทยก็สมมติอย่างไทยฝรั่งก็สมมุติอย่างฝรั่งจีนก็สมมุติอย่างจีนสํานวนไทยสํานวนจีน
เราก็เข้าใจว่าเขาด่าหยาบอย่าด่าหรือว่าด่าอย่างกลางด่าอย่างเบาเบาด่าอย่างผู้ดีเข้าใจ
แต่เราไม่ได้ผลัก ไม่ได้ดูด
เสียงเป็นอย่างไร ภาษาเป็นอย่างไร สําเนียงเป็นอย่างไร เข้าใจ
ได้เห็นรูป ได้ยินเสียง
ได้กลิ่น
กลิ่นอย่างนี้ กลิ่นขี้
กลิ่นอย่างนี้ กลิ่นเขาเรียกว่า น้ําหอม
ถ้าบางอย่างเป็นน้ําฉุน เขาก็เรียกน้ําหอมอยู่นั่นแหละ
อย่างนี้น้ําฉุน จริงๆมันฉุนจะตาย เขาก็เรียกหอมอะไร
ก็รู้ เขาก็ไม่ได้เกิดอร่อย
ชอบหรือไม่ชอบ แต่รู้ว่าอย่างนี้ชิน อย่างนี้รับง่าย อย่างนี้รับไม่ง่าย
เพราะฉะนั้นเราจะรับง่ายหรือไม่ง่าย กับ
ชังอยู่หรือยังชอบอยู่เนี่ย มันยิ่งละเอียดเข้าไปอีก
ก็เรียนรู้จนกระทั่งเรา
ไม่มี ไม่มีอะไร
ไม่มีอุทธัจจะ ไม่มีทีนะมิทธะ
รู้จักอย่างเต็ม เรียกว่าแม่ธีนะมิทะ
แล้วก็ไม่เกิดเรื่องราวอะไร
ทั้งดีด
ทั้งดูด
เออ
เรามีดูดก็ผลัก เอาดีดก็ดูดนี่ดีกว่าเนาะ
รอด้วยกัน
ผลักไม่ต้องใช้คําว่าผลัก ใช้คําว่าดูด ดูดแล้วก็ใช้คําว่าดีด ไม่มีทั้งดีด ไม่มีทั้งดูด เออ สํานวนนี้ดูเข้าท่ากว่า
ดูดก็ผลัก
ใช้ดูดก็ผลักมานานแล้ว
ไม่ดูดไม่ดีดนะนิ่งเฉยกลางกลาง
เรียกว่าเรียกว่านิวตรอน เรียกว่ากลางกลาง
คุณต้องเรียนรู้อารมณ์เวทนาพวกนี้ของคุณเองนะ
อาตมาเองอาตมาได้แต่บอก
คุณก็ต้องเรียนจะรูปรสกลิ่นเสียงสัมผัสสัมผัสยังไง ตื่นตื่นนี่แหละ
หมดนิวรณ์มันตื่นตื่นนี่แหละ
เพราะฉะนั้น ถีนัง มิตรัง
หรือ อุทธัจจกุกกุจจะ ไม่มี
ไม่รําคาญอะไร ไม่เกิดอะไรพวกนี้
รู้อย่างไม่มีชีวิตจิตอิจฉา
รู้อย่างไม่ได้สงสัยคลางแคลง รู้อย่างชัด รู้อย่างเจน รู้อย่างแจ้ง รู้อย่างรอบ รู้อย่าง
แหมไอ้ญาณรู้นี่มันรู้จริงๆมันรู้สมบูรณ์แบบ
ใช้กิเลสมันยังมีกิเลสที่ยังเหลือ
แม้แต่ยังไม่ใช่ว่ายังกลางด้วยยังเหลือแค่อนุสัยคุณก็จะต้องมีจึงมีเหตุปัจจัยที่เป็นสิ่งที่รองผัสสะเป็นปัจจัย
ผัสสะด้วยคนนี่แหละจริตคนนี่รวมเอาไว้ซึ่งกิเลสลีลาท่าทีทุกอย่าง ถืออัตตามานะไม่ใช่รูปไม่ใช่รสไม่ใช่กลิ่นไม่ใช่เสียง
แต่ว่าสัมผัสเข้าแล้ว รวมแล้ว
ไอ้คนคนนี้นี่นะมันทําอย่างงี้เนี่ยแม่ง
ก็ไม่รู้มันจะทํายังไงก็แล้วแต่นะคุณสัมผัสบางทีก็ได้ยินแต่เสียงบางทีก็เห็นทั้งกิริยาจะสัมผัสอะไรกันทีบางทีก็แตะต้องกันทีเดียวทางร่างทางกาย
สัมผัสแล้วมันก็รู้สึก
ไม่ชอบ
รู้สึกชอบ
ลีลาท่าทีอะไรก็แล้วแต่ รวมแล้วก็เป็นอิริยาบถของคนนี้ คนนี้
จะอิริยาบถท่าไหน ทีไหนก็แล้วแต่
แล้วเราก็ไม่ชอบกัน แล้วก็ชังกัน
ถือสากัน เขาพูดอย่างนี้ เขาคือมีกายกรรมอย่างนี้ ก็แสดงท่าทีลีลา
ออกมาประกอบรวมแล้วเป็นอย่างนี้
อย่างนี้หยาบ
อย่างนี้กลาง อย่างนี้ละเอียด
ท่าทีอย่างนี้ รวมแล้วออกมาอย่างนี้ มันบอกตายตัวไม่ได้เลย
ไม่รู้จะอธิบายยังไง อาตมาพูดอยู่ก็ไม่รู้จะอธิบายยังไง
คุณก็ถือสากันสัมผัสนั่นแหละ เพราะฉะนั้นลองสัมผัสกันดู
จะอยู่รวมกันได้
ยิ่งมันมีวิบากกล่าวมา ไอ้คนนี้เนี่ย โอ๊ย
ไปตั้งข้อจองเวรจองกรรม
จะชังกันมา
ตั้งไม่รู้กี่ชาติก็กี่ชาติมา
เจอกันชาตินี้ก็ โอ๊ย
ไม่รู้ทําไม
มันถึงได้อะไร
มันก็รู้สึกมันไม่ต้องใจไปหมด
เขายังไม่ทําอะไรเลย
เห็นหน้าเขาก็อยู่เฉยๆ
บางทีเขายิ้มด้วยนะ ยิ้มธรรมดา
มันรู้สึกยิ้มบาดใจไปเลย
มันถือจริงๆ
มันอะไรจริงๆ
มันเป็นไปได้สารพัด มัน
ก็คนธรรมดาที่ไม่มีอะไรกันนี่แหละ
แล้วก็เห็น
ก็เขาไม่เห็นอะไร
เขาก็ยิ้มธรรมดา
เขาก็ยิ้มธรรมดาน่ะ
เราก็ว่ามันนี่ก็ธรรมดานะ
แต่ไอ้คนที่มันมีอะไรอยู่
แต่ปางไหนหรือว่ามันไปอุปทานกันตั้งแต่เมื่อไหร่
เยื่อเชื้อพันชัง
พันโกรธพันแค้นอะไรกันมาตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่รู้
ไม่ได้รู้สึกว่าไปเลยตีความเอาเองอะนะ
มันตีความเองมันเข้าใจเอาเองไปเลย
มันน่าเกลียด
มันน่าชัง มันไม่ถูกใจเป็นสารพัด
ส่วนไอ้หลงนี่ก็รู้ถูกใจ
ไปสารพัดหมด
เขาแยกเขี้ยวยิงฟันกันดูดีไปหมด
อะไรก็แล้วแต่
มันก็มีสองทิศนี่เท่านั้นแหละ
คนนี่แหละสัมผัสกันแล้วก็ลดรักกันให้
ได้แล้วก็จะมีประโยชน์คุณค่ามากไอ้สิ่ง
วัตถุต่างๆนานานั่นมันก็
ก็ด้วยล่ะ
ฝึกด้วย
นะ จะรูป จะสี จะกลิ่น
จะรส จะเสียง
จะอะไรต่างๆ
นานา ที่เป็นวัตถุรูปนั่นก็
มันก็อย่างนั้นแหละ
ไม่เท่าไหร่หรอก
แต่มนุษย์ด้วยกันนี่แหละ
อโศกเรานี่แหละ
ศึกษาไปบ้าง ชักจะมีภูมิธรรม
ชักจะรู้บ้าง
ชักจะอะไรบ้างเนี่ย โอ้โห
อาตมาว่า
ไอ้เรื่องกาม
ทุกวันนี้อาตมาจริง ๆ
นะ พวกเราอยู่ด้วยกัน
ข้างนอกเขามองว่าพวกเรา
ผู้หญิง
ผู้ชาย หนุ่ม บ้าง
สาวบ้าง
อยู่ด้วยกันนี่มันคงจะเละนะ
เรื่องกาม
เพราะว่าเขาเอง
วงการของเขา
มันของเขา
มันไม่แข็งแรงเหมือนพวกเรา
พวกเรานี่อาตมาถือว่าแข็งแรงนะ
มันมีบ้างก็เป็น error
มีบ้างก็พอได้นะ
สันติอโศกนี่หนุ่มสาวเยอะ
ถึงเป็นหนุ่มสาวก็เถอะถ้าไม่ล้างกาม
ไม่ล้างกิเลสจริงๆก็เถอะไอ้แก่ก็หัวงูกันดีๆนี่แหละ
ไม่ว่าผู้หญิง ไม่ว่าผู้ชาย
ถึงแก่ก็แก่หัวงูเลยล่ะ
ก็คงเข้าใจสํานวนของงูนะ
มันไม่ได้หมดไปหรอก
แต่พวกเรานี่ได้ละได้ล้างได้รถกันจริงจริงอาตมาท้าทายนะอยู่กันมาตั้งสิบกว่าปีพวกเราในวงการพวกเราอยู่อย่างงี้เขาถึงไม่ไม่ไม่ไม่ไว้ใจลูกไอ้พวกนี้มันอยู่โอ้โหถึงได้มาหมดเลยโอ้โหนี่พระนอนก็ชีชีนอนกระซิบขโมกขมาศอะไรของเขาก็ว่าไปข้างนอกโอ้โห
มันดูแล้วใส่ความใส่ใครกันหนักหนา
แต่พวกเรานี่มีประสิทธิภาพ
มีประสิทธิภาพ
กิเลสของใคร
กิเลสของมัน ก็พยายามลดละ
แล้วก็คุมได้
แม้จะเป็นสมถะบ้าง วิปัสสนาบ้าง
ให้มันจริง
เพราะมันจริง
มันถึงได้พอรอดตัวไปอยู่ได้
แล้วก็มีเหตุปัจจัยกระทบสัมผัสกันอยู่นี่แหละ
นี่เหตุปัจจัย
ท่าทีลีลา คบคุ้นกันไปอยู่นานๆ
ไป ถ้ากิเลสมันไม่ได้ล้างจริง
ซึ่งวันนึงมันก็ต้องอดไม่ได้
มันก็ต้องแรงๆ เพราะฉะนั้นใครที่ยังไม่ได้จริงนี่นะ
หนักเข้าอยู่ไม่ได้ก็ต้อง
แม้แต่มาสมัคร
ปลาบวชเป็นสมณะแล้ว เสร็จ 5 ปี 8 ปี 10 ปี
อีกหน่อย 20 ปี ก็สึกไป
สึกไปแล้วเป็นไง
แต่งงาน
โธ่เอ๊ย
เสร็จแล้วก็ไปลาลาภ ลายศ
ดีไม่ดีไปล่ออบายมุขอีก
มันก็ต้องมีได้เหมือนกันแหละ วงการอโศกก็ต้องมีได้ในอนาคต
แต่ตอนนี้ก็ยังมีนิดนิดหน่อยหน่อย ยังไม่เด่นไม่จัดอะไร
แต่ก็มีแล้ว ตัวอย่างก็มีแล้ว
สึกออกไปก็นึกว่าแน่ ไอ้ตอนที่เป็นสมณะก็นึกว่าแน่ ออกไปแล้วก็เท่านั้น
มันก็เป็นความจริงของเขาที่ทําได้หรือทําไม่ได้
ถ้าทําได้แล้ว บางคนก็ไปก็แค่นั้น ทนไม่ได้ขนาดนั้น ก็สุดฤทธิ์สุดแรงของเขา
แต่ถ้าใครอยู่ได้
ทนได้ก็อยู่ไป เป็นคนภูฏระบุคคล
ทนไม่ได้
ก็ต้องสึก ทนได้ อยู่ไปหรือไม่ต้องทนแล้ว
ละลด ละล้าง ได้จริงแล้ว
นะ ละล้างได้จริงแล้ว ก็ไม่ต้องทน
นะ
เป็นได้จริง
อย่างนี้เป็นต้น
ก็เป็นคุณลักษณะที่จริงที่ได้ฝึกฝน
นี่อาตมาพูดอยู่ว่าเรื่องของกาม พวกเราเนี่ยอาตมาว่ามีผลที่มีประสิทธิภาพ
พอสมควรเป็นที่น่าพอใจ
อาตมาพอใจคนอื่นก็ไม่พอใจ
หรือบางคนอยากจะได้ดีกว่านี้ อาตมาก็เข้าใจ
ยังมีอยู่เลยดูซินี่ที่นี่ยังมี
กระแสกามยังมีไอ้โน่นไอ้นี่ก็อยู่ เอาน่าว่าจะให้มันได้ดั่งใจทุกอย่าง เราก็ยังได้ดีอยากจะได้สะอาด
ทุกคนนี่กามราคะหมดเลย เข้าอนาคามีภูมิ
กามราคะสังโยชน์เกลี้ยง
โธ่
แหม
พ่อที่รักไม่อยากได้หรือไง
อยากได้ทุกคนเกลี้ยงนั่นแหละ แต่มันก็ได้เท่านี้ก็ดีแล้ว
ถ้าไม่เย็นในนั้น อาตมาเป็นคนที่ตีราคาหวังสูง
ตีค่าความต้องได้ ต้องมี ต้องเป็น ไม่สูงเงินนะ
อาตมาจะเป็นคนเจ็บปวดกว่าคุณๆ
ใครก็แล้วแต่ อาตมาจะเป็นคนเจ็บปวดกว่าใช่ไหม
เพราะอาตมาก็ต้องดูแล
แล้วอาตมาก็ต้องทํางานมากับมือเอง อะไรๆเองต่างๆมา
โอ้โห
เสร็จแล้วยิ่งพวกขบถนี่ขบถเรา
หลอกเราด้วยนะเรานึกว่าแหมดีเจ๋งอะเสร็จแล้ว ปัดโธ่เอ๊ย
ดีไม่ดีมาที่ได้กินไก่วัด
นายสมภารกินไก่วัดซะอีกระหว่างสมภาร
เนี่ยสมภารกินไก่วัดก็หมายความว่าเนี่ย
มาเย้ยหยันเอาที่นี่ไปเองเป็นสมภารซะ เองล่อไก่วัดซะเองนี่ล่ะแหม่
ไปกินข้างนอกสึกออกไปหรือเราไปข้างนอก อะไรก็ไม่ว่าเนี่ยยังมาดึงมาลากเอาไก่วัด ออกไปอีก
ก็มันก็อย่างงั้นอ่ะนะ
เนี่ยเราก็พอรู้นะว่ากามพวกเราก็พอเป็นพอไป หมายความว่าพอเป็นพอไปนี่คือลดละกันได้ บรรเทาได้พอสมควร
มีปัจเจกสัจจะบรรเทาในเรื่องนี้ด้วย เอาล่ะเค้าจะเอาปัญหาโลกแตกมาเป็นตัวอย่าง
พระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้ในโลกนี้ที่สุดบ้าง อะไรสรีระอะไรบ้าง เป็นปัญหาที่เข้าไปสุดยอดที่มันจะเข้าใจยากแล้ว
แม้ตื้นๆนี่ก็อันเดียวกันแหละ
ต้องบรรเทา
ได้ด้วยตนปัจเจก
ปัจเจกสัจจะ มันเป็นสัจจะ มันเป็นกิเลส
มันเป็นสมมติสัจจะ มันเป็นกิเลสจริงๆ
มันไม่ใช่ของแท้หรอก
รู้ร่วมกันน่ะ กิเลสนี่ปุถุชนรู้เหมือนกันแหละ
กิเลสกาม กิเลสพยาบาทนี่มีมาทั้งนั้น
แล้วก็มารู้ รู้เหมือนกัน สมมุติตินี่แปลว่ารู้ร่วมกัน
ต่างคนต่างรู้ ใครก็เข้าใจสิ่งเหล่านี้
เสร็จแล้วก็ต้องมาเรียนรู้ในสิ่งที่มันลึกซึ้งกว่าสูงกว่า
หรือว่าจริง
มันไม่จริง
มันปลอมนะ จนกระทั่งเราเห็นชัดเจนว่ามันไม่จริงหรอกมันเป็นอริกะมันเป็นของหลอก
จนฆ่ามันได้จริงฆ่ากิเลสได้จริงเราถึงจะเห็นสัจจะใหม่
เป็นโลกุตระหรือเป็นปรมัตถสัจจะ เป็นสัจจะที่วิเศษและสัจจะที่สูงกว่า
เพราะเรื่องกามเราค่อยค่อยชั่ว แต่อัตตากะมานะเนี่ย
แกนกะอัตตา อะแกมานะเนี่ยอาตมา
หนัก
มีเยอะ พวกคุณรู้สึกกันบ้างไหม
เข้าใจกันบ้างไหม
ขนาดนี้เรียนมาขนาดนี้ เข้าใจกันบ้างไหมว่า
กาม หลายคนจะรู้สึกว่าเออ
กามของเราก็ไม่ค่อยเท่าไหร่
แต่อัตตามานะของเรานี่ใครก็รู้ของใครให้ดีดี
โอ้เรานี่โยม
ถ้าเราไม่ยอมรับว่าเรามีกิเลสอย่างนี้และก็ไม่เห็นจริงนะ
แล้วเราจะไปฆ่าจะไปทําลายตรงไหนอะ
เราต้องรู้ว่าของเรามีแล้วยอมรับว่ามันมีแล้วก็ต้องพยายามเจตนาฆ่า
ที่บอกว่าฆ่าไม่ลดน่ะ ข้าไม่ลดน่ะ
ไปเลย
อาตมาไม่เสียเวลา
ก็คุณตั้งใจจะไม่ลด
แล้วมันจะทํายังไง
ขนาดคนตั้งใจจะลดน่ะนะ
รู้ด้วยยอมรับเลยว่านี่คืออัตตาของเรา
นี่คือมานะของเรา
คือกิเลสถือดีถือตัวถือตน
ยอมไม่ได้
ลดไม่ได้ของเรา
เราจะพยายามลด
มันยังยากเลย
เจตนาพยายามด้วยวิธีการ สมถะภาวนา
วิปัสสนาภาวนา
ให้เห็นถึงความจริงไปจริงๆ
พอพยายามไปทุกที
มีผัสสะเมื่อไหร่ก็ทํา
มีผัสสะรู้ตัวเมื่อไหร่
เกิดขึ้นเมื่อไหร่
ที่จิตใจมีกิเลส
ตามมานะ เกิดเมื่อไหร่
แล้วอาตมาสรุปยอดเลยนะว่า อาตมานะ
มันจะมีกิเลสสาย
อาตมาอย่างไร
แบบไหนก็แล้วแต่ ถ้ามันถือดี
ถือตัว
อย่างนั้นอย่างนี้ อะไรเชิงนั้น
เชิงนี้ ยอมไม่ได้ยังไงก็แล้วแต่
ซึ่งอาตมาก็ขยายความอยู่เรื่อยๆ
ในนี้เป็นอัตตาอย่างนึง
อย่างนี้เป็นลักษณะมานะอย่างนึงอะไรก็ขยายความ
ซึ่งมันมาก
ขนาดรู้ทั้งรู้และตั้งใจจะไม่อยากให้เหลือในตัวเราอยากจะละมันยังถีนังมิทังมันยังตีไม่แตกมันยังแคะไม่ออกมันยังปล่อยไม่ไป
บางอย่างก็ยังจับไม่ติดมันยังไม่รู้หน้ามันยังจับไม่มั่นคั้นไม่ตายมันเป็นยังไงกันวะอุทธัจจะกระดอนกระเด็นอยู่อย่างนั้นจับไม่ออกจับไม่อยู่
จับอยู่แล้ว
มันก็รู้ทั้งรู้ แต่มันดื้อ
มันแข็งกระด้าง
มันอยู่กับกูนี่แหละ
กูก็สู้มันไม่ได้
ไม่ยอม
คุณก็ต้องรู้อาการของคุณ
คุณก็ต้องพยายามแคะ ใครหาวิธี
เอ๊ะ ทําไมมัน
ไม่แตกมันไม่ไป
ถ้าทําอย่างนี้ไป โอ้ก็จะรู้
โอ้ทําอย่างนี้ปล่อยแฮะ
พิจารณาอย่างนี้
ใช้วิธีอย่างนี้
เออได้แฮะ คุณต้องรู้ของคุณ
ต้องรู้ของคุณไม่เหมือนกัน
เอออย่างนี้อ่อนลงไป
อย่างนี้มันยอม
อย่างนี้ไปได้ให้อย่างนี้ดีขึ้น
คุณก็ทําจําเอาวิธีนี้
ทําลักษณะอย่างนี้
ทําอย่างนี้มันลด
ทําอย่างนี้มันลด
นั่นแหละ
แล้วมันก็จะจริง
ลดไปได้แล้วเป็นยังไง อ่านซ้อน
ที่อาตมาบอกแล้วว่าต้องรู้อานิสงส์
อานิสงส์ของมันก็คือเป็นประโยชน์ว่าถ้าเราลดอัตตาอันนี้
หรือลดมานะอันนี้
หรือลดกิเลสอันนี้กามก็ตาม
ลดแล้วมันมีคุณ
มีสิ่งที่น่าชื่นชมกว่า
ลดแล้วแต่ก่อนนึกว่ามันเป็นสุข
เอ๊ะ ถ้าลดไปแล้วนี่มัน บูบูสโม
สุข สุขอย่างนี้พิเศษนะ
สุขอย่างนี้ดีกว่านะ
แล้วมันก็ต้องไม่เวียนวนอีก
ยิ่งลดลงไปมาก
จนกระทั่งมันขาดเลยนี่
ไม่ต้องมาเกิดอีกเลย
ไม่ต้องแสวงหา ไม่ต้องเป็นภาระ
ไม่ต้องมีสุขไม่ต้องมีทุกข์อะไรเพราะเหตุจริงจริงมันดับมันจะดึงดึงมันอ่อน
เหตุจริงจริงมันตายสนิทมันไม่เกิดอีก
โอ้โหคุณก็จะซาบซึ้งในบุพสุโมสุข
ซาบซึ้งในวิมุตติ
ที่จริงอธิบายนี่อธิบายไปในสิบข้อนี่ไปในตัวหมดแล้วใครจะว่ากันจริง ถ้าคุณเข้าใจด้วยสภาวะนะ
ที่อาตมาขยายความแซ่บลงไปจากทีนะมิทะหรือว่าอุทธัจจะกุกุจจะนี่ก็ตาม ก็คุณลักษณะพวกอย่างงี้แหละ
เอาไม่เชื่อก็ข้อสองดูก็ได้
ลักษณะข้อสองที่บอกว่าเห็นรูปในจักษุแล้วเป็นผู้ไม่ดีใจไม่เสียใจมีอุเบกขา
ก็พูดแล้ว ไม่มีดูด ไม่มีดีด
อุเบกขาก็คือ ไม่มีดูด ไม่มีดีด ไม่มีสุข ไม่มีทุกข์
มีสติสัมปชัญญะอยู่
อย่าลืมว่ามีสติสัมปชัญญะอยู่ ไม่ใช่ไปนั่งดับจิต
สติก็เต็มด้วย รู้จักพร้อมในทวารทั้ง 5 ทั้ง 6
เพราะฉะนั้นการบรรลุธรรมนิโรธของพระพุทธเจ้า ไม่ได้นิโรธอยู่ในทวารเดียว
คือในทวารจิตนั่งอย่างนี้แล้วก็ไม่มีกิเลส
ไม่มีนิวรณ์
นั่งอยู่ในนี้ พอออกมา
ตา หู จมูก ลิ้น กาย
ไม่รู้เรื่อง
สัมผัสรูปก็ไม่รู้รูป
เพราะฉะนั้น
อาจารย์ทางศาสนาหรือว่าเป็นพระทางศาสนา
พระธุดงค์นี่นะ พระที่นั่งๆหลับตานี่นะ
ไม่ค่อยรู้เรื่องหรอกดูดยาตุ้ยตุ้ยกินแกง
กินผัดกินอะไรอาหารก็โยมอร่อยดีแกงมาอีก นะอร่อยจริงๆนะท่านร้องเรียกร้องจริงๆนะ
ท่านก็เฉยไม่ขายหน้าอะไรหรอก
ท่านก็อร่อยลิ้นอร่อยปากไปกับอาหารของท่านไปกินอาหารอ้วนปี๋ลงพุงไปแต่ว่าเขาก็เข้าใจว่าเป็นพระอรหันต์น่ะนะ เพราะว่าท่านก็มีความสุขของท่านบําเรอตัวเองไป
ได้กามแค่นี้ท่านก็อยู่รอดแล้ว
ได้ทางหู ทางตา
สวย ไอ้นั่นงาม ไอ้นี่อะไร บําเรอใจไป
เสียงก็ไอ้นั่นเพราะ
นั่นเพราะไอ้นี่
บําเรอใจไป รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสไป
ไม่ได้เรียนในกามที่แท้จริง
ตื่นๆไม่รู้ เสร็จแล้วก็ไปนั่งสมาธิ
นั่งแต่สมาธิ
มันก็ได้แต่มุมแบบฤาษีไปตลอดกาลนาน
จริงๆแล้วเนี่ยต้องตื่น
เป็นผู้ไม่ดีใจไม่เสียใจมีอุเบกขามีสติสัมปชัญญะอยู่
ฟังเสียงด้วยหูดมกลิ่นด้วยจมูกลิ้มรสด้วยลิ้นถูกต้องถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายรู้แจ้งธรรมะด้วยใจแล้ว เป็นผู้ไม่ดีใจไม่เสียใจในมีอุเบกขามีสติสัมปชัญญะอยู่
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้ประกอบด้วยองค์หก
อย่างนี้แล
เพราะฉะนั้น ถีนมิทะในตอนที่มีสติสัมปชัญญะ ลืมตาตื่น จึงไม่ได้หมายความว่ามานั่งอยู่ในภพนี้เท่านั้น
เห็นแล้วยัง เข้าใจแล้วยัง เอาสองข้อนี้มา
เพราะแต่ก่อนเราเข้าใจว่าทีนะมิทธะนี่จะเกิดเมื่อเวลาง่วงเท่านั้น แล้วก็สุดท้ายก็
เวลาทําฌานเวลาที่จะละล้างก็นั่งสะกดจิตเข้าไปแล้วก็ไปละล้างไม่ให้มันง่วง ให้มันสติตื่นเต็มอยู่ในภพข้างในเท่านั้น
ภพข้างในก็ได้แต่ภพใจของคุณ
แล้วอย่างมาเอาข้อ 2 นี่บอกว่าเดี๋ยวจะต้องมีอุเบกขา
เวทนา
คุณกระทบตา กระทบหู กระทบลิ้นกาย
สัมผัสอะไรแล้ว
มันเกิดเวทนายังไง คุณอ่านเวทนาเป็นหรือเปล่า
กําหนดรู้หรือเปล่า มีสัญญากําหนดเข้าไป แล้วมันปรุงเป็นยังไง
ปรุงเป็นแบบโลกๆ
มันปรุงรส
แล้วก็เสพเอง
คุณปรุงแล้วคุณเสพยังไง
คุณรู้การเสพไหม
อย่างนี้เป็นต้น
ต่อไปข้อ 3 ข้อ 4
เราเรียนมาหลายที หลายครั้ง หลายคราวแล้ว
ข้อ3
รักษาแต่อย่างเดียว เอโกระโข
อาตมาจําอันนี้ได้อยู่นะ
ใช่ไหม
รักษาแต่อย่างเดียวนี่ เอกา รักโข
นี่เอโก ไอ้เก เกกา รักโข
ไม่ใช่เอโก
เอกา รักโข รักษาแต่อย่างเดียวรักษาอะไร
เป็นผู้ประกอบด้วยใจอันรักษาด้วยสติ
นั่นแหละก็มีสติรักษา
ตื่นอยู่
มันก็สัมพันธ์กับข้อสอง
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่ว่าดับ
ไม่ใช่ว่าปิดตา ปิดหู ไม่ใช่
รู้ สัมผัส เป็นปัจจัย
และมีสติในการรักษา
รักษาอย่างเดียวก็คือรักษาใจ
คุณรักษาใจ
คุณก็ต้องต่อโยงทางตาด้วย
ทางหูด้วย จมูกด้วย กลิ่นด้วย
ทางหู ทางจมูก ทางจมูก
ทางกลิ่น ทางรส
ทางลิ้น ทางกาย สัมผัส
มันก็เข้าไปรวมที่ใจ
คุณรักษาที่ใจอย่างเดียวจริงๆ
แต่ว่าทวารหรืออายตนะทั้งหลายทั้งแหล่นี้
ก็เป็นสภาพธรรมดาสามัญของมนุษย์
มันกระทบสัมผัสแล้ว
มันก็เข้าไปสังขาร
คุณก็รู้สังขารทัน
จับเวทนาได้
จะอ่านรูปนามขันธ์5
ซึ่งเป็นอุปทานขันธ์5
อุปทานก็คือการติดการยึดการหลงอยู่นั่นแหละ
มันอุปทานยังไงมันก็เอากิเลสพวกนี้เรามาอุปทานติดยึด
มันหลงอร่อย
นะ ทีนี้วิธีทําเอาข้อสี่
ภิกษุเป็นผู้มีธรรมะเป็นที่พักพิงสี่ประการ
นะ พักพิงยังไง
หนึ่ง
เมื่อเวลากระทบสัมผัสแล้วนะนี่อาตมาอธิบายเอง
แต่ของท่านบอกไว้แค่ว่า
ภิกษุในธรรมวินัยนี้พิจารณาแล้วเสพของอย่างหนึ่ง
เสพก็หมายความว่าอาศัยนั่นแหละให้มันมีอยู่
เสวยอยู่อาศัยอยู่
อาตมาใช้คําว่าเสพนี่หมายความว่าเสพในเรื่องของกิเลส
เสพในเรื่องของรสอัสสาทะ
เสพในเรื่องของสุขของทุกข์แบบโลกีย์เสพสมสุขสม
เพราะฉะนั้นเราจะเสพจริงจริงมันก็ต้องอาศัยมันก็ต้องเสวยมันก็ต้องมีสภาพนั้น
มีสภาพนั้นอย่างไร
มีสภาพนั้นถ้าเป็นอย่างอุเบกขา
เราก็กําหนดให้รู้ว่า เออเราไม่
ดูดไม่ดีด หรือไม่ดูดไม่ผลัก
ไม่มีชอบ ไม่มีชัง
กลางๆ เราก็เสพ
อย่างหนึ่ง
เสพอย่างอุเบกขา
เพราะเรามีความรู้
เราต้องมีความรู้สึก
เวทนาก็ต้องมีจริงๆ
ในขณะที่มี รูปนามขันธ์
5 เวทนาไม่ได้ดับ
เวทนาก็ต้องมีความรู้สึก
อาตมาถึงบอกว่าอุเบกขาหรืออทุกขมสุขนี่เป็น
เป็นฐานอาศัยของนิพพาน
ไม่ใช่อุเบกขาอย่างมิจฉาทิฏฐินะ
อุเบกขาเดิม
ไม่ใช่
อุเบกขาที่มีความรู้ลึกละเอียดเลย
มีญาณปัญญารู้ด้วยเวทนาด้วย
แล้วก็ไม่มีสุขเวทนา
ไม่มีทุกขเวทนาอย่างที่
ว่าในข้อสองมาแล้วว่าไม่มีเสียใจไม่มีดีใจหรือไม่มีชอบไม่มีชังไม่มีดูดไม่มีดีมีอุเบกขาอยู่นั่นแหละเป็นอุเบกขาหรือเป็นอทุกขมสุขนะอทุกขมสุขหรืออุเบกขาเป็นอย่างงั้นจริงจริงเราอาศัยอย่างนี้หรือเสพอย่างนี้
พิจารณาแล้วย่อมอดกลั้นของอย่างหนึ่ง
เพราะฉะนั้นเสพเนี่ยนะฐานที่ยังไม่ใช่พระอรหันต์เจ้า
โสดาบ้าง สกิทาบ้าง เขาก็เอา
อย่างที่อาตมาบอกแล้วว่าเด็กก็ให้เขาก่อน
หรือว่าผู้ที่ยังไม่เดียงสาผู้ยังอ่อนยังเยาว์ยังไม่แข็งแรงก็ต้องผ่อนไปให้แค่นี้ขึ้นมา
ตัวเราเองเนี่ยเราจะไปกําหนดเองกําหนดว่าเออแค่นี้เราผ่อนให้แก่ตัวเองนิดหน่อย
ถ้าขณะนี้เราถือละเราถือว่าเราจะต้องปราบ
คุณถ้าคุณกําหนดได้ดีละเอียดคุณก็ถามมาจริงจริง
ไม่ต้องผลีผลามถึงขนาดต้อง
แหม พรวด
ต้องเอาอุเบกขา
พรวดเอาว่างไปทันที
คุณทําได้ก็อ้าว
ถ้าคุณมีอินทรีย์พละ
แต่มันทําไม่ได้ก็ต้องรู้ตัว
บางทีมันจะเข็ดนะ
โอ๊ย
มันยากจริงหรือมันทรมานจริงอะไรต่าง
ๆ นานา
มันอาจจะเป็นได้ด้วย
ปฏิเสวัตติ
พิจารณาแล้วเสพ
พิจารณาแล้วย่อมอดกลั้น
อธิวาเสติ
นะ
พิจารณาแล้วย่อมเว้น
ปริวัติ
ปริวัติเชติ
พิจารณาย่อมเว้นย่อมขาด
ยอมเลิกยอมเว้น
อดกลั้นก็อยู่ในตัวเรานี่แหละ
อดทนเอา
กลั้นเอาอดเอา
เว้นก็หมายความว่าห่างมาบ้าง
ขาดมามั่ง เลิกมามั่ง
อย่าไปเป็นมั่ง
อย่างที่อดกลั้น
จะอดกลั้นด้วยวิธีที่ว่า ไม่เอา
ไม่เป็น ไม่มีก็ได้
อย่างที่วิโนเทติ พิจารณาแล้ว
ย่อมบรรเทา
พิจารณาแล้วย่อมบรรเทา
ก็หมายความว่าเราใช้วิปัสสนากันอย่างมาก
วิพิจารณานี่ก็คือ
อันอื่นก็พิจารณานะแต่ว่ายังอดกลั้นบ้าง
ยังเว้นบ้าง
เป็นทั้งสภาพสมถะภาวนา
เป็นทั้งสภาพวิปัสสนาภาวนา
วิปัสสนาก็ต้องใช้เหตุผล
ใช้สัจจะความจริง
เข้ามาเป็นตัวฤทธิ์แรงที่ทําให้บรรเทาทําให้ลดละจางคลาย
ส่วนสมถะภาวนานั่นน่ะหมายความว่าด้วยการด้วยเรี่ยวด้วยแรง
จะลืมมั่งทิ้งมั่งหรือว่าจะขาดมั่ง อ่าจะกดจะข่มมั่งอะไรก็แล้วแต่เป็นลักษณะของ ลักษณะที่ทําด้วยเรี่ยวด้วยแรง
น่ะ เพราะฉะนั้นบางอย่างเราก็ต้องรู้ว่าเราต้องอนุโลมให้มันเสพบ้าง
ในส่วนที่เสพแต่ถ้าอนุโลมบ่อยบ่อยนักมันก็ไม่รู้จักละจักเลิกเราก็ต้องรู้ขนาดของตัวเอง ว่าขณะนี้เราอนุโลมขณะนี้เราไม่อนุโลม
มันจะต้องเข้าใจจริงจริง
ถ้าไม่เช่นนั้นแล้วล่ะก็
ไม่ใช่แล้วเป็นขั้นเป็นตอนมีระดับเบื้องต้น
ทํากลางวันปลายเบื้องต้นทํากลางมันกลายเป็น ระดับระดับระดับแล้วรู้แจ้งเห็นจริงของ จริงเป็นจริงอ่ะ
รู้แจ้งของจริงเป็นจริง
เนี่ยเอาสักอีกข้อนึง ก่อนจะหมดเวลาแล้วล่ะ แต่ว่าขอขอข้อ 5 อีกข้อนึง ปัจเจกสัจจะบรรเทาตัวนี้แหละสําคัญ
นะ ปัจเจกสัจจะบรรเทาเนี่ย
ท่านใช้ภาษาว่า
อะไรอ่ะ
ปัจเจกสัจจะบรรเทา
ปุณณะปัจเจก สัจโจ
ปุณณุ ปัญปณุน ไม่ใช่
ปุณณุณณปัจจัยสัจโจ
นาปาณุนนะปัจเจก สัจโจปัจเจกสัจจะ
ปาณุนนะ แปลว่าบรรเทา
นาปานุนนะ
ปอปลา นอหนู สระอุ ณอเณรสะกด แล้วก็นอเณรอีกตัวนึง ปณุนนะ
ปณุนนะ ปัจเจก สัชโญ
ปัจเจกสัจจะ
ก็คือของเราเอง ปัจเจก
สัจจะก็คือความจริง
ของจริงความจริง ความจริงในระดับไหน ความจริงที่แต่ก่อนนี้ สมมติสัจจะ
รูป รส กลิ่น เสียง ต่างๆ
เรานึกว่ามันจริงเหลือเกิน นึกว่ามันอร่อย
นึกว่าไปเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ อะไรก็ตามใจ
เสร็จแล้วเราก็บรรเทาได้
บรรเทาได้ด้วยการปฏิบัตินี่แหละ นี่แหละ มีการรักษาอย่างเดียวด้วยสติ
หรือว่าอะไรต่างๆนานาพวกนี้ หรือว่าทวารทั้ง 5 ทั้ง 6
หรือว่าละนิวรณ์
เรียนมาตั้งข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3
ข้อ 4 มา
เสพอย่างนึง ไม่เสพอย่างนึง
เสพอย่างนึงก็คืออนุโลมให้มันขนาดนี้เสพไว้ก่อน
ฐานโสดาก็ขนาดนี้ฐานสักกรีธาก็สูงขึ้นฐานอนาคาก็สูงขึ้นไปเรื่อยเรื่อยตามลําดับ
พิจารณานี่เราเอาไว้ก่อนนะก็แค่อาศัยแค่เสพนี่เรียกว่ามันยังไม่หมด มันบรรเทาไปได้ไปเรื่อยเรื่อยเรื่อยเรื่อยเรื่อยเรื่อยตามขั้นตามตอน
ที่จริงในที่นี้เนี่ยท่านเอาตอนจบท่านบอกว่าสะเก็ดบรรเทาเนี่ยในเรื่อง
ของโลกเที่ยงบ้างโลกไม่เที่ยงบ้าง
อ่าชีพอันนั้นสรีระอันนั้นอะไรต่างต่างนานาพวกนี้
นะ เอาไว้ตอบพรุ่งนี้แล้วกันนะ
นี่ขึ้นเอาไว้ให้ทราบว่าเราจะต้องทําได้ด้วยตนคําว่า
ปัจเจกสัจจะ
ความจริงของตน
ต้องมีความจริงของตนนะ มันบรรเทาได้ มันลดได้ มันละได้
มันทําอะไรต่ออะไรให้หายคลายไปได้
จนกระทั่งเรื่องปัญหาโลกแตก เรื่องยาก

ถ้าเราก็รู้แจ้งไปด้วยปัจเจกสัจจะบรรเทา
เลยไม่ต้องปัญหาแค่ตื่นแค่กิเลสอบายมุข กิเลสกามกิเลสโลกธรรมพรุ่งนี้เนี่ยพุทโธของ กล้วยนี่เนี่ยต้องพูดกันอย่างผู้ใหญ่จริงๆ
ผู้ที่สูงแล้วจริงก็พูดอย่างเงี้ย ผู้ที่ไม่สูงก็บอกกล้วยอะไรกันเล่า โธ่
มันกระดูกนะ ไม่ใช่กล้วยนะ
นึกว่ากล้วยเหรอ
เห็นขาวๆนึกว่ากล้วยปอกเปลือกมา
ที่ไหนได้เคี้ยวเข้า
ฟันหักเลย กระดูก
ไม่ใช่กล้วยนะ
กระดูกแท้ๆเลย
เห็นขาวเหมือนกล้วยเถอะ
กระดูกทั้งแท่ง
เอ่อ ยากจริง
คือผู้ได้แล้วบรรเทาแล้วก็จะปัญหาอย่าว่าแต่ปัญหาโลกแตกนี่เลย
ของพวกนั้นก็ต้องได้มาก่อนเป็นลําดับ
ตั้งแต่ที่สิ่งที่เราจะต้องเลิกละมาตั้งแต่เป็นกามเป็นภพเป็นอัตตามานะตั้งแต่หยาบหยาบต้นต้น
ได้ด้วยตนปัจเจกสัจจะ
มีความจริงนั่นด้วยตน
อ่าต้องทําให้ได้ด้วยตน
นะจะบรรเทาอย่างไรเอาไว้ต่อ
นะ ต่อภาคหน้า
นะภาคนี้ก่อน
นะพรุ่งนี้วันจันทร์ก็ยังมีเวลาอาตมายังอยู่ยังเทศน์ต่อนะ
เอ้าวันนี้วันนี้พอก่อน

 

ที่มา ที่ไป

การอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 10 อย่างที่พระอาริยะต้องใช้โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ ศ 2535 ณ พุทธสถานสันติอโศก


เวลาบันทึก 14 ตุลาคม 2567 ( 16:45:25 )

1310627 ความลึกซึ้งของบุญบาป โดยพ่อท่านโพธิรักษ์

รายละเอียด

เอ้า! เรามาเทศน์ฟังธรรมกันต่อนะ เราสังเกตดีๆนะ ที่เรามาศึกษานี่ สังเกตให้ลึกซึ้งดีๆว่า ขนาดคนอย่างพวกเรานี่ วันๆนึงก็ได้ศึกษาปีแล้วปีเล่า เค้า เรยีนกันนี่ เค้าเรยีนกำหนด ชัน้ ประถมก ็ เท่านี้ปีชัน้ มัธยมก ็ เท่านัน้ ปีปรญิ ญาตรกี็ เท่านัน้ ปจีบ ปรญิ ญาโทก ็ เท่านัน้ ก ็ ทำรูปแบบอย่างนัน้ ก ็ วธิีอย่างนัน้ เดี๋ยวพวก ปรญิ ญาเอกก ็ อย่างงัน้ จบ จบไว จบมีขีด มีเขต มขี ัน้ แตข่ องพวกเรามาศึกษา ธรรมะนี่ เราเรยีนกันไปปแีล้วปเีล่าๆๆ แล้วมันก ็ เป็ นสาระที่แทด้ ้วย เพราะงัน้ สาระที่แท้ที่จะได้นี่ มันไม่ง่าย ปแีล้วปเีล่า บางคนก็ได้บางคนมันก ็ไม่ได้3 ปี แล้ว 3 ปเีล่า 4 ปแีล้ว 5 ปเีล่า ก ็ เป็ นยังงัน้ กไ็ ม่ได้บางคนได้ปนี ึงก็ได้มาก 2 ปี ก็ไดม้ าก 3 ปกี ็ได้มากไปเร่อืยๆ บางคนได้มากปนี ัน้ ไม่ใช่มากปนี ี้อะไรก ็ แล้วแต่ แล้วเราก ็ ยังมีขีดเขตที่จะเรยีนไปอีก จนกระทัง่ ไม่รู้ล่ะ ที่สุดของเราก ็ จะต้องมี สาระสัจจะของมันแท้มีสัจธรรมของมันแท้วา่ เราเรยีนแล้วเราจะได้ถึงที่ สุด ขีดสุดที่ไหน เราเรยีนอยู่กถ ็ ือวา่ อรหันต ์โน่นแหละ แม้จะเป็ นอรหัตผล ของเหตุปัจจัยแต่ละเหตุปัจจัย มีสังโยชน ์10 ของแต่ละเหตุปัจจัย กิเลส แต่ละตัว มีสังโยชน ์10 ของกิเลสแต่ละตัว มันกม ็ ีซ้อนอยู่ กิเลสทุกตัว หมดกิเลสทุกตัว ครบสังโยชน ์10 ทุกตัว จึงจะเรยีกวา่ พระอรหันต ์ สมบูรณ ์ 2 แต่ยังไม่เป็ นอรหันต ์ สมบูรณ ์ ก ็ เป็ นอรหัตผลหรอืพระอรหันตใ์ นระดับโสดา สกิทาในระดับโสดา สกิทาก็สะสมไปในแต่ละกิเลส แต่ละตัวๆไป มีอรหัตผลของ กิเลสแต่ละตัว หรอืสังโยชน ์ 10 ของกิเลสแต่ละตัวเหมือนกัน มีไปเป็ นขัน้ เป็ น ตอนไป เป็ นสาระที่ได้รู้กันจรงิๆ เห็นจรงิๆ ไม่ง่าย เราเรยีนกันไปนี่ ทัง้นัง่ ฟัง ทัง้ พากันไปปฏิบัติเคี่ยวเข็นกัน พยายามสอดส่องดูแลตักเตือนกัน ให้สัญญาณ กันให้สังวรระวัง พยายามอุตสาหะวริยิะกันมากมาย ไม่ง่าย เป็ นการศึกษาที่จะ ต้องสู้ทนเหลือเกิน ใช้เวลายาวนาน ถ้าผู้ใดเข้าใจสาระสัจจะจรงิ ก ็ จะไม่มี ปัญหากับชีวติ ชีวติยิ่งได้มรรคได้ผลขึ้นไปบ้าง แล้วเราก ็ จะมีชีวติไปกับ มรรคกับผลนี้เพราะการศึกษาของธรรมะนี้ศึกษาแล้วมันได้อาศัย เป็ น กัมมปฏิสรโณ เป็ นที่อาศัย ได้อาศัยกรรมนี้อาศัยการประพฤตนิ ี้เป็ นกุศล กรรม ได้อาศัยจรงิๆ เพราะมันเป็ นการเกิดผล กัมมโยนิเป็ นการเกิดผล จรงิ กัมมพันธุแล้วมันก ็ จะต่อเชื้อต่อพันธุ์ต่อเผ่าขึ้นไป จากเหล่ากอพุทธ ไปจนกระทั่งเป็ นความสมบูรณ ์ ของพุทธ เป็ นเหล่ากอจนกระทัง่ โต จนกระทัง่ เต็ม ก ็ เป็ นได้เร่อืยๆ เป็ นกัมมพันธุเป็ นกรรม กรรมเป็ นเผ่าเป็ นพันธุ์เห็นการกระ ทำที่จรงิ เกิดจากการเรยีนปรยิัติแล้วก ็ปฏิบัติใหถู้กต้อง ใหม้ ีการเจรญิ มี ภาวนามัย มีการเกิดผล เกิดไปเร่อืยๆจนกระทัง่ สมบูรณ ์ในผล แล้วก็ได้อาศัย เราไดน้ ้อยเราก็ได้อาศัย เกิดน้อยก็ได้อาศัยน้อย เกิดมากขึ้นก็ได้อาศัยมากขึ้น 3 เกิดจนขัน้ สมบูรณ ์ ก็ได้อาศัยอย่างสมบูรณ ์ มันได้อาศัยจรงิๆ เราจึงเห็นว่า นี่เป็ น สาระสัจจะ ได้อาศัยอย่างแน่ อย่างเกษมด้วย ไม่เหมือนอย่างโลก เราไปเรยีนวชิา ทางโลก เราก็ได้อาศัยนะวชิาความรู้ทางโลก ได้อาศัยไปแลกเงินแลกทองมาหากิน เอาความสามารถความรู้ในวชิาความรู้ทางโลกนัน้ ไปประกอบการ ไปปฏิบัติ ประพฤติไปทำงานทำการ แล้วก ็ แลกกัน กลับคืนมา เป็ นการหมดค่า ยิ่งแลก เรา ก็ไดเ้รยีนแล้วนะ ยิ่งแลก เอารายไดแ้ ลกกลับมา กับการงานที่เราได้ทำใหแ้ ก่โลก แลกมาได้เท่าไหร่ มันก ็ ยิ่งลดค่าไปเร่อืยๆ ถ้าแลกเกินค่าของมันจรงิ เราก ็ ขาดทุน ไปเร่อืยๆ แลกเกินไปมากเท่าไหร่ ยิ่งไดเ้ปรยีบเอาเปรยีบมากเท่าไหร่ มันก ็ ยิ่ง เป็ นหนี้มากเท่านัน้ ๆๆ นอกจากค่ามันไม่มีแล้ว มันก ็ เกิน นอกจากว่า เรารู้ว่าเราไป รับแลกเปลี่ยนมาแล้วนี่ มันไม่ถึงค่าจรงิ สมมุติคุณค่ามันควรเป็ น 100 นี่ เรารับ มาแค่ 90 รับมาแค่ 80 70 แล้วเราก ็ ยังมสี ่วนเป็ นกำไรอรยิะ เป็ นประโยชน ์ คุณ ค่าให้แก่สังคมเขาอยู่บ้าง ถ้ารับมาเท่ากับค่าของมันจรงิ ค่า 100 ก ็ รับมา 100 เต็ม มันก ็ไม่มีแล้ว เราก ็ไม่มีประโยชน ์ อะไรแล้ว อย่างที่เราเคยอธิบายกันแล้ว ถ้าอย่างเรามาทำงานนี่ เราก ็ มีการงาน อย่างทางธรรมะนี่ เรามาปฏิบัติ ธรรมนี่ มาเรยีนรู้ทุกวันนี้เราก ็ ทำงานสร้างสรร สร้างประโยชนค ์ ุณค่า อะไรก ็ แล้วแต่ที่จะทำขึ้นมา แม้แตใ่ นพวกเรากันเอง พวกเรานี่ทำงานทอผ้าทอเสื่อ ที่ใน นี้น่ะ ทอเสื่อ ทอเสื่อ เราก ็ จะเอามาใช้กัน มันก็ได้อาศัยกัน เป็ นบุญเป็ นกุศลอยู่ใน 4 นี้อยู่แล้ว เราไม่ไดร้ับค่าทอเสื่อ เราจะปัด จะกวาด จะถูเราก ็ ทำอยใู่ นนี้เราก็ได้ อาศัย นี่คนในนี้ก็ได้อาศัยนี่มาก คนข้างนอกมาอาศัยด้วยซ้ำไป หรอือะไรก ็ แล้วแต่ เราทำแล้วเสร ็ จ ก ็ไอ้โน่นไอ้นี่อีก มันก ็ ส่งทอดต่อไปให้ประชาชน งานการ โน้น งานการนี้อะไรก ็ แล้วแต่ มันต่อเนื่องกัน มันอธิบายใหม้ ันสมบูรณ ์ได้ยาก คนกวาดปัดถูเราก็ไดอ้ าศัยที่นี่ แล้วคนที่อาศัยที่นี่ก็ได้ไม่ต้องไปทำ แตเ่ อาเวลา หรอืแรงงานไปทำอื่น เอ้า! มาพับกระดาษ คนนัน้ ปัดกวาดก ็ เออ! ดีแล้วล่ะ บางทปี ัดกวาดที่นอนเราด้วยซ้ำ เราไม่ได้ปัดกวาดแม้ที่นอนเราเอง แต่คนนไี้ป ปัดกวาดช่วย เออ! เราก ็ไม่ต้องเอาแรงงานเอาเวลาไปปัดกวาด เราเอาเวลา แรงงานมาพับหนังสือ หนังสือนกี่ ็ เป็ นประโยชน ์ แกป่ ระชาชน มันกเ ็ หมือนกับคน ที่ปัดกวาดนัน่ แหละช่วยเราไว้ แล้วเราก ็ มาทำอันนี้กเ ็ หมือนกับคนนัน้ ทำอันนี้ต่อ เนื่องกัน อย่างนี้เป็ นต้น เป็ นลูกโซ่ มันเหมือนกับเค้าทำ คนนัน้ เช็ดส้วมถูส้วม ไม่ ได้มาพับหนังสือหรอก แต่คนนัน้ ก ็ มีส่วนเกี่ยวโยงให้เราไดม้ าพับหนังสือ แล้ว หนังสือก็ได้ไปเป็ นประโยชน ์ ต่อประชาชนข้างนอก เพราะงัน้ จะบอกว่า ทนี่ ี่ เออ! เราไม่ได้มาพับหนังสือ ว้า! เราไม่ได้ทำประโยชน ์ ต่อคนข้างนอก ได้แต่ไปเช็ดส้วม ถูส้วมอยู่นี่ เราไมไ่ ด้ไปทำสื่อสารธรรมะออกไปให้ประชาชนเราเลยไม่มีคุณค่า ไม่ ใช่นะ ฟังให้ดีนะ มันมีอิทัปปัจจยตา มันมีการต่อเนื่อง เพราะเหตุนัน้ ต่อเนื่องไปหา เพราะเหตนุ ัน้ ๆเกื้อกูลกันเป็ นลูกโซ่สัมพันธ ์ อยู่นี่ เพราะงัน้ คนทที่ ำอะไรภายในนี้น่ะ 5 ถ้ารวมยอดแล้ว ผลิตเพื่อประโยชน ์ ต่อประชาชน มันร่วมกันสาน ร่วมกัน ประกอบ ร่วมกันสาน ร่วมกันประกอบอยู่ในนี้แหละ คนนัน้ ทำอันโน้น คนนี้ทำ อันนี้ อะไรต่ออะไรเกื้อกูลกัน ประสมประสานกันไป เป็ นเคร่อืงจักรกลที่มีความ สำคัญทุกตัวเฟอื ง ทุกตัวจักร ทุกตัวชิ้นงาน มันก ็ ผสมผสานกันไปคนละเล็ก คนละน้อย หรอืคนละมากก ็ ยิ่งดีผใู้ดทำมาก ผใู้ดได้ทำอะไรต่ออะไร ได้ เป็ นโล้เป็ นพาย เป็ นสิ่งทจี่ ะต้องอาศัยกันแหละ จรงิๆง่ะ มันก ็ ยิ่งเป็ นเนื้อหาสาระ เราได้มารวมกันก็ดีหรอืแม้ไม่รวม จะอยู่ข้างนอก รวมกันห่างๆก็ตาม ได้ มาเชื่อมโยงสืบสานสร้างสรร สร้างอะไรก ็ แล้วแต่เถอะ แม้แต่ไม่ใชเ่ นื้อหาของ หนังสือธรรมะโดยตรง ไม่ใช่เป็ นตัวหนังสือธรรมะโดยตรง ไปทำกิจนัน้ กิจนี้อย่าง ที่ว่านี่ เราทำกันอยู่นี่เยอะแยะไป บางคนช่วยอยู่ตรงห้องเท็ป บางคนช่วยอยู่ศาลา สุขภาพ บางคนก ็ ช่วยดูแลต้นหมากรากไม้พื้นแถว พื้นที่ พื้นดิน ปัดกวาด จัด โน่นจัดนี่ อะไรกแ ็ ล้วแต่เถอะ สารพัดที่เราทำอยู่นี่ ของเรานี่เป็ นบรษิัทหรอืเป็ น โรงงาน โรงงานก ็ จะมีพลเมืองอยู่ในนี้ มีประชาชน มพี ลเมืองแหละ จะเรยีก อะไร พลเมืองนัน่ แหละนะ อยู่ในนี้ที่ได้ประกอบการเป็ นผู้ผลิต เป็ นผู้สร้าง ซึ่งมีค วามสำคัญเหมือนกับบรษิัทหลายบรษิัทเค้ามีความสำคัญ ตัง้แต่คนที่เป็ นภารโรง คนเป็ นภารโรง คนดูแลมุมนัน้ มุมนี้ จัดโน่นจัดนี่ไปจนกระทัง่ ถึง 6 ผู้อำนวยการ ถึงผู้ที่เป็ นประธานบรษิัท มันกโ็ ยงใยเกี่ยวข้องกันหมด ช่วยกัน ประกอบการ ผลงานรวมที่ประกอบการออกไปสู่ประชาชนนัน้ ทุกคนมีผล ทุกคน ได้บุญร่วมกันหมด ทุกคนไดบ้ ุญร่วมกันหมด เพราะฉะนัน้ ถ้าเราจะทำหน้าทไี่ หน ถ้ากาละที่มันจะต้องมาลงแขกกัน กาละที่จะต้องมารวมกัน สำคัญหน่อยซิไอโ้น่น ไอ้นี่ขาดแล้วนะ ขาดแคลนแรงงาน แล้วก ็ ตอนนี้ก ็ เร่งรัดพัฒนา เพราะอันนี้ ขาดแคลน ก ็ เป็ นคนที่มปี ัญญาทางเศรษฐศาสตร ์ ปัญญาทางเศรษฐศาสตร ์ รู้ ว่า อ้อ! ตอนนี้นี่เราควรจะต้องมาร่วมสร้างอันนี้ร่วมผลิตอันนี้เพราะอันนี้ เป็ นความจำเป็ น เป็ นความสำคัญเร่งด่วน เป็ นกาละที่จะต้องรบีไปช่วยกันสร้าง สรรอันนี้ออกมา ผลิตใหม้ ัน เวลาให้มันทันกับเร่อืงราว ใหม้ ันทันกับเหตุการณ ์ ทันเวลา ทันเร่อืงราว ทันเหตุการณ ์ เหตุการณน ์ ี้เวลานี้วาระนี้เออ! อันนี้มันจะ ต้องเร ็ ว อันนี้จะต้องไปได้ใช้งานที่จะได้ประโยชน ์ ทันการ เรามีปัญญาทางศร ษฐศาสตร ์ รู้ว่า เออ! อันนจี้ ะต้องเป็ นความต้องการ เป็ นอุปสงค ์ เป็ นความ ต้องการที่รบีด่วน เรากม ็ าใช้แรงงานกับอันนี้ผลิตอันนี้ช่วยกันทำงานอันนี้โอ๋! ตอนนี้มันรกมาก ต้องรบีมาช่วยกัน รบีปัดรบีกวาด ตอนนี้จะต้องช่วยกันยกกุฏิ เพราะต้องอาศัยแรงงานนี้ ถ้าไม่ทำอันนี้ มันก ็ไม่ใช่กาละแล้วนี่ ต้องรบีมาทำ เพราะเดี๋ยวก ็ เสร ็ จแล้ว ถ้าไม่เสร ็ จมันก ็ ยังยากอยู่ ประเดี๋ยวก ็ จะเสียสภาพ เดี๋ยว มันจะไม่เกิดความสมบูรณ ์ มารวมกันพอสมควร มากเกินไปเราก ็ไม่เอา มากเกิน 7 เฟอ้ แล้ว คน แรงงานเกิน กเ ็ อา ไปแยกย้ายมาแล้วด้วย ก ็ แยกย้ายไปทำอื่นต่อ ถ้า มันยังพอ มารวมกันซะ เพราะฉะนัน้ ถ้าเผื่อเราเข้าใจในเศรษฐศาสตร ์ พวกนนี้ ะ จะ เป็ นงานที่จะต้องอาศัยกำลังคนนลี่ ะ ไม่ต้องมีเคร่อืงทุ่นแรง ไม่ต้องมีเคร่อืงเทคนิ กอะไรมากมายนักนี่กำลังคน แล้วเรามีปัญญาญาณทางเศรษฐศาสตร ์ ดังที่กล่าวนี้ โอ๊ย! งานของเรานี่เรยีบร้อยไปหมดแล้ว พอบอกว่างานนมี้ าช่วยกันหน่อย มา กันพึบ ถ้าเหลือ เราเห็นแล้วใครสำคัญ ใครดีก ็ ดูหน้าดูตากัน คนนัน้ คนนี้เออ! คนนี้เหมาะสม คนนสี้ ำคัญ เอา ควรเข้ามาช่วยเต็มแล้ว พอแล้ว เอ้า! แยกย้าย กันไปทำอื่นต่อ ไม่ต้องมารุมล้อมกันอยู่อย่างเก่า หรอืบางครั้งมันต้องการกอง เชียร ์ บ้าง เอา มบี ้าง เชียร ์ ก ็ เชียร ์ นิดหน่อย ไม่ต้องตัง้ cheer leader เข้ามา ต้อง แหม! ฮูลา ฮูลา ไม่ต้องก็ได้บางงานมันต้อง ฮูลา ฮูลา เหมือนกันนะ ต้องมี cheer leader ต้องมีการ โอ๊วๆ มีมเีหมือนกัน บางทีอาตมาไปทำหน้าที่หน้า เชียร ์ อยู่บ่อยๆเหมือนกัน ในบางงานนะ ไม่ได้แบกด้วยหรอก ไปเป็ น หัวหน้าเชียร ์ นะ มบี างงาน มนี ะ คุณอย่านึกวา่ เป็ นเร่อืงเหลวไหลนะ มัน เป็ นเร่อืงจรงินะคุณ มันเป็ นเร่อืงจรงิมันเป็ นเร่อืงน้ำใจ มันเป็ นเร่อืงพละ กำลัง มันเป็ นเร่อืง สิ่งทจี่ ะเกิด อย่างน้อยน้ำใจมันเกิด เห็นมั้ย มันร ู้สึกสบาย ใจ มันสนุกสนาน มันเพลิดเพลิน มันไม่ใช่เร่อืงยากเร่อืงเย็น มันยากล่ะใน งาน มันยาก มันอาจจะยาก แต่มันเป็ นเร่อืงง่ายขึ้นได้มันเป็ นเร่อืงทมี่ พี ลัง 8 เสรมิขึ้นมาได้มันเป็ นเร่อืงของสามัคคีธรรม มันเป็ นเร่อืงของ จารตีประเพณีวฒั นธรรม เป็ นเร่อืงของมนุษยพ ์ ึงร ู้และพึงกระทำกรรม หรอืกระทำกิจ กระทำร ู ปแบบ กระทำอะไรที่มันเป็ นลักษณะออกมา เป็ น ลักษณะที่น่าเอ็นด ู หรอืน่าชมชื่น ในลักษณะที่ดี นี่พวกนี้อาตมาพยายามซอย พูดละเอียดลออ อะไรต่ออะไรให้ฟัง จะเห็น ได้ว่าลักษณะเหล่านอี้ ย่านึกว่าไม่สำคัญ อาตมากำลังพูดถึงความลึกซึ้งของ บุญและบาป บุญคืออะไร บุญคือ การชำระความชั่ว หรอืการชำระกิเลส ความชัว่ คือ อะไร ความชัว่ คือ กายกรรมก็ดีวจีกรรมก็ดีอันที่ไม่ลงตัว อันทไี่ ม่เหมาะสม ความชัว่ นี่เอาความกลางๆ นิยามความกลางๆ ความชัว่ คือกรรมกิรยิาอันที่ทำไป แล้วมันไม่ดีพร้อม มันไมด่ ีสุด มันยังไม่เหมาะสม แม้มันจะดีมาก มันยังไม่ดีอยู่ บ้าง มันก ็ คือชัว่ อยู่บ้าง ดีมากก ็ มสี ่วนดีแต่ส่วนที่ยังไม่ดีสมบูรณ ์ ก ็ คือส่วนที่ยัง บกพร่องอยู่ ก ็ คือยังชัว่ อยู่นัน่ เอง ยังไม่ดนี ัน่ เอง คืออะไร คือกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมทัง้หมด คือสิ่งชัว่ หรอืสิ่งไม่ดีหรอืเรยีกว่าทุจรติ หรอืจะเรยีกว่าอกุศล ก ็ ยังได้ บุญคืออะไร บุญก ็ คือสิ่งที่ดีดีมากดีน้อยก ็ แล้วแต่ดีจนกระทั่งสุด ได้ สัดได้ส่วนพอเหมาะพอเหม็งเลย สัมมาที่สุด มัชฌิมาที่สุด ได้คุณค่าที่ 9 สมบูรณท ์ ี่สุดประโยชน ์ สูงประหยัดสุดที่สุด กค ็ ือบุญ อะไรที่ยังพร่องๆ มัน ยังไม่เต็ม ก ็ มีส่วนนัน้ แหละ คือมันยังไม่ดไีม่งาม หรอืจะเป็ นทุจรติ หรอืจะเป็ น อกุศล หรอืยังเป็ นตัวชัว่ ตัวบาป ตัวไมด่ ีไม่งามอยบู่ ้าง แต่ค่าเฉลี่ยแล้วดีดีมาก ก ็ เรายังไม่รู้อะไรที่บกพร่องก ็ ต้องยกไว้ แต่ถ้าเรารู้อยู่ มันยังไมด่ ีก ็ เพียรให้มันดี บางทเีรารู้นะ ดีกว่านี้มันต้องทำอย่างงี้ๆ แต่มันทำไม่เป็ น มันยังทำไมไ่ ด้มันยังไม่ มีสมรรถภาพพอ เราก ็ พยายาม หรอืมันมีสมรรถภาพพอ แตใ่ จเรายังไม่อยากทำ ต้องสำคัญตรงนี้ ใจเราไม่ทำให้มันเต็มใจทำไม เราไม่อยากดึงมันไว้ทำไดน้ ะ ช่าง มันเหอะ ทำแค่นี้ไอค้ นนี้มันน่าเคาะกระบาล มันไม่ทำไม่ได้มันก ็ เป็ นความจำนน นะ มันไม่มีความสามารถก ็ เป็ นความจำนน มันยัง เอ้อ! มันอยากจะทำให้ดีแต่ มันยังทำไม่ได้น่ะ ทำไมเ่ ป็ น มันยังไม่เก่ง มันยังด้อยสมรรถภาพ ไอ้ยังงี้มัน เป็ นความจำนน ก ็ แล้วไป กน ็ ่าเห็นใจอยู่ แต่ไอ้คนที่ทำได้นะ แตม่ ันไม่ทำ เวลาก ็ มี โอกาสกม ็ ีแต่มันไม่ทำ ทำงี้เสียไมไ่ ด้ก็งี้ ไอย้ ังงี้มันน่าเคาะกระบาล นี่มันบุญยัง ไม่เต็ม ทำไมโง่ สิ่งนัน้ มันดีใช่มัย้ ดีแล้วทำไมไม่ทำ นี่กิเลส เห็นมัย้ กิเลส กิเลสขี้ เกียจๆ ไม่เต็มใจ อาจจะโทสะ ไม่ชอบไอ้โน่นไอ้นี่ ประชด แกล้ง หรอืโดยเฉพาะไม่ อยากทำ ขี้เกียจ นัน่ โดยตรงเลย ตัวเรา 100 เปอร ์ เซ็นต ์ ถ้ามันไม่ขี้เกียจเราก ็ โทษคนนัน้ แหม! เราไม่ชอบหน้าคนนัน้ เราไม่ชอบงานนี้ เราไมช่ อบโอกาสหรอื สถานที่นี้ อะไรก ็ แล้วแต่ ไปเที่ยวได้เกลียด ไปโทษไอ้นัน่ ไปโทษไอ้นี่ ก ็ คือความ 10 โง่ของเรา ไปโทษเขาทำไม ไปโทษไอโ้น่นไอ้นี่ทำไม โทษใหม้ ันบกพร่อง เราเองก ็ เป็ นผบู้ กพร่อง ไม่เจรญิ เพราะเราจะสร้างบุญได้มากก ็ เพราะเราเรยีนรู้ รู้กิเลส รู้ไออ้ ะไรๆทมี่ ันยังพร่อง ยังไมเ่ ข้าท่าพวกนี้ นี่อาตมาวเิคราะห ์ใหฟ้ ัง คิดใหด้ ีซินี่ อาตมาวเิคราะห ์ให้ฟัง คิดดดู ีๆ มันก ็ เป็ นเร่อืงอย่างนัน้ เท่านัน้ เอง ทางสมรรถภาพ ทางกายภาพ ทางฝมี ือความสามารถ มันก ็ อันนึง ทางจิต วญิ ญาณมันก ็ อีกอันนึง ทางจิตวญิ ญาณมันก ็ ต้านอย่างนัน้ ตัวนแี้ หละปรับใหด้ ีถ้า กายกรรมมันได้แคน่ ัน้ สมรรถภาพทางกายมันไดแ้ค่นัน้ มันกเ ็ ร่อืงเท่านัน้ เราก ็ พยายามเต็มทแี่ ล้ว เก่งเท่านี้ ใจเราเต็มแล้ว มันก ็ จบไป ใหม้ ันเต็มได้ที่จิต จิต มันยังทำได้นะ ฝมี ือทางกายภาพ ไอ้โน่นไอ้นี่ มันไดน้ ะ แต่จิตมันไม่เต็ม มันย่อๆ หย่อนๆ มันประชดประชัน มันไมเ่ อาเร่อืง มันไม่เอาเต็มที่ นัน่ ต้องโทษตัวเอง แล้วก ็ปรับไอ้จิตตัวนี้เราต้องปรับได้ถ้าเราเอาความสูญเสีย หรอืว่าความ บกพร่องพวกนี้คืนมาได้นะ เราจะเจรญิ ขึ้นอีก มันไมใ่ ช่เจรญิ แต่ทางการสร้าง สรรเท่านัน้ นะ ที่อาตมาพูดถึงจิตนี่ มันเจรญิ ทางธรรมนะ กายกรรม วจีกรรมก ็ ประกอบไปด้วยจิต ไมใ่ ช่ว่าจิตไม่มีกายกรรมมันพูดเอง วจีกรรมมันพูดเอง ไม่ คนละเมอยังมีจิตเป็ นตัวสำคัญเลย ไมไ่ ด้หมายความว่าคนละเมอนี่จิตไม่รู้เร่อืง ไม่ใชจ่ ิตเป็ นตัวประกอบ พูดเอง ไม่ใช่ คนละเมอที่พูดออกมาก็ตาม กายกรรมที่ ทำออกมาก็ตาม ละเมอออกมา ทำยังโง้นยังงี้จิตเป็ นตัวกำหนด จิต จิตใต้สำนึก 11 มันทำโดยที่เราไม่สามารถควบคุมมัน แต่มันมตี ัวกลไกรู้เพราะฉะนัน้ จะเห็นได้ คนละเมอบางคนทำอะไรถูกต้องได้หมดเลยนะ เรยีบร้อย มานอนหลับไม่รู้ตัว พอตื่นขึ้นมา เอ๊ะ! ใครทำ ตัวเองทำแท้ๆ ละเมอไอ้โน่น ละเมอไอ้นี่ บางทีทำ สติ มันไม่ค่อยเต็มนัก บางทีจิตใต้สำนึกมันไม่ค่อยเต็ม ทำไปบกๆพร่องๆ ไม่ค่อย เรยีบร้อยดีนัก ก ็ เรยีกว่า คนนี้มีสติไม่ค่อยเต็มดีไปทำโดยที่เรยีกว่า จิตตัวที่ทำ น่ะมันรู้แต่สติที่ควบคุมไม่ดีบกๆพร่องๆ ขาดๆตอน ขาดช่วงอะไร ก็ได้มันก ็ เลย เป็ นของที่ถูกมัง่ ดีมัง่ ไมด่ ีมัง่ เลอะๆเทอะๆมัง่ เสียๆหายๆมัง่ ก็ได้คนละเมอนี่บาง คนทำไมไ่ ด้เต็มที่ บางทีทำเรยีบร้อยได้ดีหมดเลยนะ คนละเมอนี่ ละเมอไปทำ เรยีบร้อย เสร ็ จแล้วก ็ นอนพับอยู่ตรงนัน้ ก ็ มีหรอืกลับมานอนอย่างเรยีบร้อยอีก นะ รู้เสียด้วยนะว่าที่นอนอยู่ตรงไหน มานอนเรยีบร้อย ตื่นขึ้นมา เอ๊! ใครมาทำ ตัวเองน่ะทำ มีใครเคยเป็ นมัง่ มัย้ ในนี้มีมัย้ ใครเคยละเมอลุกขึ้นมาทำโน่นทำนี่ ยังงี้ตัวละเมอตักน้ำใสต่ ุ่มจนเต็มตุ่ม ขึ้นไปนอน ตื่นขึ้นมา เอ๊! ใครมาตักน้ำใส่ตุ่ม ยังมีเลย มีจรงินะ คน มจีรงิ เคยมีๆ ละเมอนะ ตักน้ำใส่ตุ่มจนเต็มตุ่ม ไม่รู้ตัว ตื่น ขึ้นมา เอ๊! ใครตักน้ำใสต่ ุ่ม ไม่รู้เร่อืง ยังงี้ก ็ มีละเมอบ้าๆบอๆอะไรก ็ มีไอ้บ้าๆอีก เยอะ พูด บางทพี ูดไม่รู้หรอกนะ ไม่รู้เร่อืง คนที่คอยอยู่ตอนที่เค้าไม่หลับ คนไม่ หลับ แหม! คนละเมอนี้พูดนะ ตอบความใหญ่เลย แหม! โต้ตอบได้เลยนะ พร่องๆ แพร่งๆมัง่ บางทีสติมันไม่เต็ม ได้มัง่ ไม่ได้มัง่ ชิ้นนัน้ ชิ้นนี้นะ พูดออกมา แล้ว 12 คนละเมอนขี่ ี้มักของจรงิ (หัวเราะ) ขี้มักของจรงิ จับความจับอะไรไดจ้ ากละเมอๆ ของจรงินะ มันออกมาจากจิต มันไมม่ ีอะไรอำพราง มันไม่มีตัวเลศเล่ห์ ตัว เล่ห์เหลี่ยมอะไรกันๆไว้ขี้มักจะได้ของจรงิ ดึกๆซักเอา อีตอนคนละเมอนี้ขี้มักจะ ได้ของจรงิบ่อยๆ พูดก็ตาม กายกรรมก็ตาม มันมีจิตเป็ นตัวกำหนด เป็ นตัวที่ คอยคุม เป็ นตัวที่จัดการออกมาทัง้นัน้ เพราะฉะนัน้ เราสังวรกาย สังวรวาจานี่ เป็ น จิตสังวรเมื่อใดเราก็ได้สังวร เราได้ควบคุม ได้อบรม อบรมจิตด้วย อบรมกาย วาจาด้วย อบรมจนเป็ นอัตโนมัติจนเห็นด้วยญาณปัญญา เพราะว่าเราอบรมแล้ว ทำยังงี้มันดีมัย้ เล่า กายกรรมอย่างนี้มันดีมัย้ ล่ะ ญาณปัญญาเราก ็ ต้องเช็กตาม ตรวจตามว่า เอ๊อ! ดีนะ เราทำกายกรรมอย่างนี้ดีทำวจีกรรมอย่างนี้ดีนะ องค์ประกอบอย่างนี้ เมื่อนัน่ เมื่อนี่ มผี ลอย่างงี้ๆๆนะ โอ๊ย! เรยีบร้อย เรากจ ็ ะได้ ผลจะได้ประโยชน ์ มากมาย นี่เป็ นความลึกซึ้งที่เราจะต้องพากเพียรขึ้น เราจะต้อง กระทำขึ้นจรงิ เรยีนรู้จรงิๆนะ ในความลึกซึ้งของบุญที่อาตมาพูดกับพวกคุณนี่ ในความลึกซึ้งของบุญ ในความลึกซึ้งของบาป จะเรยีกภาษาสองภาษานี้ เราก ็ ไม่ต้องใหเ้ลอะเทอะอะไรจนกระทัง่ เข้าใจไมไ่ ด้เรยีนให้ดี บาปก ็ คือไม่ดีบกพร่องนั่นเอง มันเป็ นสิ่งที่ไม่ดีอกุศล โดยเฉพาะตัว ที่ทำเหตุให้มันเกิดบาป ตัวที่มาเหตุใหญ่ก ็ คือกิเลส กิเลส ตัณหา อุปาทาน ตัวผีร้าย เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อวา่ เราเองเราได้อบรมควบคุมอย่างแท้จรงิแล้ว 13 เราจะลึกซึ้งละเอียดขึ้น ชีวติของเราจะมีกายกรรม วจีกรรมดีเพราะ มโนกรรมดีบอกแล้ววา่ กาย กายกรรม วจีกรรม ก ็ เกิดมาจากจิตวญิ ญาณ เป็ นตัวประธาน เป็ นตัวสำคัญ เพราะฉะนั้นอย่าไปประมาท อย่าไปดูถูกวา่ การสังวรกาย สังวรวาจานี่เป็ นเร่อืงเหลวไหล อย่าไปประมาท จรงิ ในกายกรรมบางอย่างนี่ สำหรับผู้ที่ตีกลับ กายกรรมดูเหมือนท่านมา ทำสิ่งนี้ดูเหมือนเราว่ามันไมด่ ีนะ ไมเ่ หมาะสมตามสูตร หยาบๆน่ะ สูตรต้นๆ ไป ทำกรรมกิรยิาอันนี้ดูเหมือนว่าท่านทำไม่ดีแล้วเราก ็ เลยเห็นว่า เอ้! อย่างงี้ก ็ จิต วญิ ญาณอย่างงี้ก ็ ต่ำซีซึ่งมันมสีภาพตีกลับแบบนี้ปฏินิสสัคคะ สลัดคืน ตีกลับ มันมีเหมือนกัน แต่ว่าท่านทำนัน้ ไม่ได้เพื่อตัวเอง ท่านทำเพื่ออนุโลมไปอย่างนัน้ อย่างนี้ เพื่อที่จะให้เป็ นประโยชน ์ แก่คนอื่น สร้างสรร ส่วนคนที่ทำกายกรรม อย่างนัน้ วจีกรรมอย่างใดของตนเองอยู่ เพื่อที่สังวรระวัง ขัดเกลาตนเองนัน้ มัน ก ็ ขัดเกลา หรอืบางทีเรากระทำสิ่งใดอยู่ กายกรรมก็ดีวจีกรรมอะไรก็ตาม ทำแล้ว เราบำเรอกิเลสเราอยู่ เพราะถ้าเผื่อเรายังบำเรอกิเลสเราอยู่ในกายกรรมใด วจีกรรมใดนั้น สิ่งนั้นก ็ เป็ นทุจรติ แคบ่ ำเรอนะ ฟังให้ดีแค่บำเรอกิเลสเราอยู่ บำเรออารมณเ ์ ราอยู่กเ ็ป็ นทุจรติ เพราะฉะนัน้ ถ้าผู้ใดทที่ ่านทำแล้ว ไม่ไดบ้ ำเรอ แล้ว แมเ้ราจะดูรูปของกายกรรม รูปของวจีกรรม ดูเหมือนว่ามันต่ำ แต่ท่านไม่ ได้บำเรอหรอก ท่านมีเจตนารมณเ ์ พื่อผอู้ ื่น เพื่ออันนัน้ อันนี้แต่ทำให้เค้าไป ไม่ได้ 14 บำเรอเลยนะ อันนัน้ บรสิุทธิ์ใจ และอนุโลม ปฏิโลมตามความเหมาะสมเพื่อผู้อื่น ไม่ไดเ้พื่อตนเลย เพราะฉะนัน้ จะให้ผู้ที่ดนี ี่ทำแตด่ ีอยู่ตลอดเวลาเลย คนอื่นก็ตาม ไม่ติด ไม่มฐีาน ไม่มีขัน้ บันได ไม่มีขัน้ ต้น ขัน้ กลาง ขัน้ ปลายให้แกค่ นนัน้ คนนี้เลย ให้เค้าทำเอา เค้าก ็ ทำไมถ่ ูก เค้าก ็ ทำไม่ได้เราทำได้ดีกว่าก ็ ทำให้เค้าบ้าง เค้าได้ อาศัยเป็ นขัน้ เป็ นตอน เป็ นฐานเป็ นฐานะไต่ระดับขึ้นไป ก ็ เป็ นขนาดเป็ นขัน้ เป็ น ตอนอยู่ อย่างนี้เป็ นต้น เพราะฉะนัน้ เราต้องรู้เรยีนรู้ความลึกซึ้งพวกนี้ โดยเฉพาะตัวเราเองน่ะ อย่าโกหกตัวเอง อย่าหลอกตัวเอง อย่าตีกินตัวเอง ตัวเองตีกินต้องรู้ให้ได้ว่า กรรมกิรยิาอย่างนี้เราบำเรอตน แล้วกห ็ ลอกคนอื่นซ้อน เคยพูดตัง้ไมร่ ู้กที่ ีแล้ว นอกจากตนเองรู้อยู่ว่า นตี่ ัวเราบำเรอตน แล้วยังโกหกคนข้างนอกอีก โกหกคน อื่นเสียอีกว่า ฉันจิตว่าง ฉันไมไ่ ด้ทำเพื่อตนหรอก อะไรต่ออะไร ต่างๆนานา ก็ได้ บาปใหญ่เข้าไปอีก บาปซ้อนบาปซ้ำเข้าไปอีก ก ็ ระวัง เพราะฉะนัน้ สิ่งใดที่เราทำแล้ว อะไรต่ออะไร เพื่อผู้อื่น ไม่ได้บำเรอตน อะไรจรงิๆแล้ว มเีจตนารมณ ์ ที่ถูกต้องตรงแล้ว ก ็ สบายใจได้ไม่มีปัญหา แต่ข้อ สำคัญต้องตรวจตราให้ดวี่า อารมณ ์ บำเรอตนนี่ ไม่ได้รู้ได้ง่ายๆ ไม่รู้ได้ง่ายๆนะ อารมณ ์ บำเรอตนนี่ไม่ง่าย แล้วยิ่งลำเอียงเข้าข้างตน เผลอๆไผลๆ ตรวจตรา 15 หวัดๆ ตรวจตราลวกๆ ตรวจอ่านจิตวญิ ญาณของเราลวกๆ มันก ็ ยิ่งไมช่ ัด ยิ่งไม่รู้ ง่ายเลย ก ็ไม่เข้าท่านะ เพราะฉะนัน้ ทุกวันนี้นี่ เราได้ศึกษา ได้อบรม ได้พากเพียรปฏิบัติกันมาแล้ว นี่ เราได้กายกรรม วจีกรรมทดี่ ีขึ้นมาพอสมควร แต่ยังจะมีการลึกซึ้ง สร้างบุญ ประกอบบุญ ยังกุศลให้ถึงพร้อมไปอีกๆๆๆ ลดใหเ้นียน ให้สนิท ให้ลึกซึ้ง บอก แล้วว่าบาปหรอืความไมด่ ีหรอืว่าสิ่งที่บกพร่อง อกุศล ทุจรตินี่ ยังมีขัน้ ตอนหยาบ กลาง ละเอียด ลึกซึ้งอีกมากทเี่ ราจะต้องเรยีนรู้แล้วก ็ พัฒนาฝกึฝนเพิ่มเติมขึ้นไป เพราะฉะนัน้ เราเรยีนไปเถอะ วันแต่ละวัน แต่ละวันๆ เราเรยีนกันไป เพิ่มเติมกัน ไป คนนัน้ ช่วยกัน คนนี้ช่วยกัน แนะนำกันไป เราก ็ไตร่ตรองตรวจตราเอา อะไรที่ จะประพฤติปฏิบัติแก่ตนๆ ก ็ ทำกันไปเร่อืยๆ เร่อืยๆ ถ้าเราแน่ใจว่า เราได้มา ทิศทางที่จะมาศึกษามหาวทิยาลัยชีวติ เป็ นมหาวทิยาลัยของอรยิะ มหาวทิยาลัย ของอรยิะแล้วจรงินะ เราศึกษาแล้วเราจะประเสรฐิจรงิ ประเสรฐิอย่างที่ทิศทาง พระพุทธเจ้าพาเป็ นเลย เรากส ็ ุขเกษม สุขอย่างเกษม สุขอันเกษม คนอื่นก ็ไมไ่ ด้ รับการเบียดเบียนจากเราเลย เราไม่ได้เบียดเบียนใคร มแีต่เกื้อกูลเขา มีแตจ่ ะ ได้ประโยชน ์ คุณค่าแก่เขา และยิ่งศึกษา เราก ็ ยิ่งจะเป็ นผู้ทมี่ ีคุณค่าประโยชน ์ แก่ เขาเร่อืยไป เราก ็ ยิ่งสุขสนิทเนียนๆ แม้จะเหงื่อแตก ยืนทำงานร้อนหนักอยู่แท้ๆ ก ็ ยังสุขสนิทเนียนที่ใจ คุณจะรู้ว่า ปรมังสุขัง มันยิ่งกว่าสุข หรือมันบรมสุขนี่ ปรมังสุขัง คือบรมสุข ถ้าไม่ได้เรียนรู้ว่า โลกียสุข กับวูปสโมสุข สุขที่ว่างจากกิเลส แล้วนี่ มันต่างกันอย่างไรนี่นะ ถ้าไม่ได้อันนี้แล้วนะ เค้าจะไม่รู้มันจะว่างอยู่อย่าง นั้นน่ะ บรมสุขนี่ มันจะว่างอยู่อย่างนัน้ จะทำงานหนักอยู่ขนาดไหน จะร้อน จะลำบากขนาดไหน มันก็ว่างอยู่นั่นน่ะ มันก็บรมสุขอยู่นั่นน่ะ มันต่างกับโลกียสุข เสพสม มันรสเป็นธรรมรส เป็ นวมิุตติรสอยู่อย่างนั้นแหละ เพราะฉะนั้นใครรู้คนนั้นก็จะรู้ตถตา มันเป็ นเช่นนั้นแหละนั่นแหละ อย่างไรคุณก็ต้องมีข้อนั้นเสียก่อนนะ ไม่มีอยู่อย่างนั้น อย่าไปเดาตถตาแบบอะไรๆ เป็นอย่างนั้น ตามคะเนคำนวณ ตามเหตุผล ไม่ใช่ อันนี้ไม่ใช่เหตุผลนะ ปรมัตถสัจจะนี่ไม่ใช่เหตุผล สัจจะของตถตา ของปรมัตถ์นี่ มันจะต้องมีสภาวะนั้นรองรับ มีสุญตา มีจิตว่าง มีความเบา ความง่าย เป็ นวูปสโมสุข สงบสนิทอยู่ มันก็เป็นอย่างนั้นล่ะ คุณไปศึกษาอ่านดู จับตัวสภาวะนั้นให้ได้ทใี่ น ตัวนัน้ อ๋อ! มันว่าง มันวูปสโมสุข มันบรมสุข มันสบาย มันไม่เดือดร้อน ใครจะมาพูด กระทบกระแทกกระเทือนอะไร ก็มีญาณปัญญารู้ตื่น แต่ก็เบิกบานอยู่อย่างนั้นน่ะ รู้ตื่น เบิกบาน แล้วก็มีวิจารณญาณ ไม่ใช่ฟัง เค้าแล้วก็โยนทิ้ง ฟังเค้าแล้วก็โยนทิ้ง ไม่ใช่ ฟังแล้วก็เอาพิจารณา แววไว เร็วขึ้น ชัดเจนขึ้น อ๋อ! มีข้อมูลเพิ่มเติม อ๋อ! อันนี้มีเหตุผล อันนี้มีเหตุผลเก่า อันนี้มีเหตุผลใหม่ ข้อมูลใหม่ เออ! ดีข้อมูลนี้เอ๊! น่าคิดนะ เอามาเปรียบ เอามาเทียบ

17. เอามาพิจารณาแล้ว เอ๊! รู้สึกมีผล มีผลกระทบ มีผลจะบวกลบคูณหารขึ้นมาได้ บางอย่างมีแต่เสริมหนุนให้ดีขึ้น บางอย่างก็มาต้านไปบ้าง ลบไปบ้าง อะไรพวกนี้ เราก็จะเกิดญาณปัญญาเรื่อยไป ยิ่งทำยิ่งสร้าง ยิ่งมีคนให้ข้อมูลเหตุผล ติเตียนบ้าง อะไรก็แล้วแต่ ชมเชยก็ตาม มันก็เป็นข้อมูลต่างๆ ก็ยิ่งทำให้เรารู้ ความจริงลึกซึ้งขึ้น เพิ่มเติมขึ้น นับวันฉลาดเฉลียวยิ่งขึ้น เป็นผู้เฉลียวฉลาดที่รู้ความจรงิ เราก็ยิ่งมั่นใจ ยิ่งหนักแน่น ยิ่งเห็นความจริง ยิ่งยืนหยัดอยู่ในฐาน ของความจริง มันยิ่งเห็น มันก็ยิ่งมั่นคง มันก็ยืนหยัดในความจรงิขึ้นไปเรื่อยๆ นี่เป็นรายละเอียดที่เรากำลังศึกษาเป็นไปอยู่ทุกวี่ทุกวันเป็นไป ถ้าใครเข้าใจผล หรือใครมีเนื้อหา มีเนื้อหาของความจริงพวกนี้มากขึ้นๆๆ แล้วคุณก ็ฟังธรรมะ ของอาตมานี่ง่าย ฟังธรรมะของอาตมาสบาย เข้าใจยิ่งขึ้น ฟังทีไรก็ โอ้! เบิกบานร่าเริงฟังทีไรก็ลึกซึ้ง ฟังทีไรก็ยิ่งได้อานิสงส ์ฟังทีไรก็ยิ่งมีกำลังใจ มีฤทธิ์ มีอิทธิบาท มีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสาไปเรื่อยๆ นั่นเป็นเครื่องแสดงความเป็น สมณะ เราก็ได้ก่อเกิดสมณะขึ้นเรื่อยๆ สมณะโตขึ้นๆๆ เพราะมันมีอิทธิบาทเจรญิ ขึ้นเรื่อยๆ อิทธิบาทเป็นเครื่องแสดงสมณะ เพราะอิทธิบาทมันก็จะเกิดสภาพว่า ฉันทะ เบิกบาน ยินดีมีความเพียร วิริยะ จิตตะ เอาใจใส่ๆ ในชีวิต ชีวิตของเราเนี่ย มีชีวิตอยู่กับการงาน ตื่นขึ้นมาก็ทำงานสร้างสรรไป มีชีวิตเกี่ยวข้องกับอะไรก็มีชีวิตชีวา ไม่ได้เป็นคนแหนงหน่าย ไม่ได้เป็นคนเหลาะแหละ

18. ไม่ได้เป็นคนย่อหย่อนเหยาะแหยะ แต่เป็นคนกระปรี้กระเปร่า แข็งแรง ปราดเปรียว แคล่วคล่อง มีกำลังวังชาสร้างสรร สามารถ โอ! สร้างได้ดีแววไว ปราดเปรียว ทำได้แคล่วคล่องดีจริงๆ มันจะยิ่งเป็นอย่างนั้นขึ้นไปเรื่อยๆ มนุษย์จึงเจริญ ไม่ใช่เฉื่อยๆแฉะๆ รอวัน เดี๋ยวเมื่อไหร่พระอาทิตย์จะตก รอเวลาว่าเมื่อไหร่มันจะได้กินได้อยู่ เมื่อไหร่จะได้ดูวีดีโอ เมื่อไหร่จะได้นอน มันจะไม่เลยนะ มันจะไม่มีอะไรมากำหนดเรา มันจะไปตามวนิาทีมันจะไปตามยิ่งกว่าวินาทีอีก ไปตามโอกาส เวลาของมันไป เบิกบานร่าเริงของมันไป เรื่อยไปๆๆๆ สบายๆไป

ที่มา ที่ไป

ถอดโดย บ้านพลังธรรม 27 มิ.ย. 31 ตรวจทาน 1 โดย สิกขมาต ปราณี29 มิ.ย. 31 พิมพ ์ และตรวจทาน 2 โดย นางวนิดา วงศ์พิวัฒน ์ 23 พ.ย. 32

ไฟล์แนบ : 310627 ความลึกซึ้งของบุญบาป โดยพ่อท่านโพธิรัก.pdf


เวลาบันทึก 17 มิถุนายน 2567 ( 19:51:38 )

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

รายละเอียด

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

ต่อจากนี้ไป เป็นการแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม  2514

พ่อครูว่า... จะพูดสู่กันฟังโดยภาษาตรงๆ ของอาตมาคนเดียว แต่ว่าจะเอาพระสูตรมาอ่านเลยทีเดียว เอาออกมาจากพระไตรปิฎกเลยทีเดียวมาอ่านแล้วก็ขยายความกันพอที่จะขยายได้ เท่าที่จะขยายได้ทำความเข้าใจกัน ที่จริง สุญญตานั้น เป็นเรื่องที่ ไม่ใช่เรื่องตื้น เป็นเรื่องที่ลึก เป็นเรื่องที่ไกล แต่ว่าเราเองก็พูดกันมานักเพราะว่า แม้กระทั่งในที่นี้ เราก็ยังพูดกัน อย่าว่าแต่สุญญตาเลย แม้กระทั่งการตายของพระอรหันต์ตายอย่างไร อย่างไรเราก็พูดกันไปจนถึงขนาดนั้น ก็เรียกได้ว่ามันสูงเกินขนาดแล้วล่ะมันสูงก็สูงกันไปพูดสูงบ้างต่ำบ้างคละเคล้ากันไป

แต่ว่า ไอ้ที่จะสูงหรือจะต่ำอะไรก็ตามแต่ มันก็ไม่มีอะไรมากนอกจากว่า เราเองเราจะสมมุติเอา หรือว่าจะยึดถือเอาว่าไอ้นี่สูงไอ้นี่ต่ำ หยาบหรือละเอียด เราจะดำเนินจากละเอียดมาหาหยาบก็ได้ ดำเนินจากหยาบหาละเอียดก็ได้ มันได้ทั้ง 2 ส่วน 2 ด้าน แต่ว่าโดยถูกโดยต้องแล้ว มันก็ควรจะเป็นจากหยาบไปหาละเอียด จะทำจากละเอียดมาหาหยาบมันก็ได้ แต่ว่ามันนานมันใช้เวลานาน

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าท่านเองท่านไม่พยายามให้พาทำอย่างที่ท่านได้เคยตรัสเอาไว้แล้วในเรื่องปฏิปทา 4  ซึ่งบางอย่างก็ปฏิบัติได้ เรียกว่าสะดวก แต่ว่านาน

บางอย่าง สะดวกแต่เร็วด้วย อย่างนี้เป็นต้น แต่ส่วนอีกบางอย่างนั้นทั้งยากทั้งนานหรือว่ายากแต่เร็วก็ดี ซึ่งเหล่านั้นเราก็แยกแยะให้ออกตามที่พระพุทธเจ้าท่านได้แยกแยะให้ฟังแล้ว เราก็เลือกให้เป็น พยายามจัดให้ถูก ไม่ใช่ว่ามันไม่ได้ ปฏิบัติละเอียดมาหาหยาบก็ได้ แต่ควรจะปฏิบัติหยาบไปหาละเอียด

พระสูตรที่อาตมาจะอ่านนี้ หรือว่าจะเอามาเล่าสู่กันฟังนี้คือ จูฬสุญญตสูตร

จูฬสุญญตานั่นเอง  จูฬสุญญตสูตร อยู่ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 14 ข้อ 333 ที่อาตมาได้พระไตรปิฎกมาแล้ว ยังไม่มีเวลาได้อ่านเลย แต่ว่าเปิดตรงไหน ๆ ก็รู้สึกว่าดีทั้งนั้นเลย เปิดเจอตรงไหนอ่านเอาไว้แล้วก็มาร์คเอาไว้แล้วก็เล่าสู่กันฟัง

จริงๆ สุญญตะนี้ อาตมาก็เคยพูดกันมาแล้วตั้งหลายทีแล้ว แม้แต่สุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร เราก็เคยได้อธิบายถึงขนาดนั้น โดยความเป็นจริงแล้ว ขั้นที่เรามาพูดสู่กันฟังนี้เป็นขั้นอาริยะนะ ที่พูดกันถึงสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร หรือแม้จะพูดถึง  อนิมิตตนิพพาน อัปนิหิตตนิพพาน จนกะทั่งถึงสุญญตนิพพานมันเป็นที่ของพระอาริยะที่รู้อารมณ์ของนิพพาน รู้อารมณ์ของสุญญตาได้แล้ว แล้วก็มาพูดกัน ไม่ใช่ของต่ำๆ นะที่เราพูดกันอยู่นี่

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าแหม! ฟังๆ ดูแล้วก็ออกหมั่นไส้ เราเองพูดก็ออกหมั่นไส้ตัวเองเหมือนกันนะ แหม..เอาเรื่องที่มันไม่น่าพูดมาพูด ที่จริงมันเป็นเรื่องของสิ่งที่จะรู้ได้โดยสภาวะ ไม่ใช่เรื่องที่จะพูดเอาเท่านั้น เพราะฉะนั้นพูดให้ฟังก็ฟังกันไปได้เฉยๆ ฟังกันไปได้เฉยๆ สำหรับผู้ที่ลูบคลำนิพพาน ลูบคลำสุญญตาจริง ๆ แท้ ๆ ได้ฟังจะ   อ๋อ.. หรือว่าจะเข้าใจ หรือว่าจะเป็นไปได้ แต่ถ้าผู้ที่ยังไม่ได้ลูบคลำแม้อารมณ์นิพพานเป็นยังไง อารมณ์สุญญตาเป็นยังไงจริงๆ รู้แต่สภาวะตัวหนังสือที่บรรยายออกมาเป็นบัญญัติเป็นภาษา เป็นนิรุตติเป็นคำพูดคำท่องคำอ่านอะไรก็ตามแต่ เราก็จะยึดแต่เพียงเหตุผลของภาษา เหตุผลของคำพูดนั้นๆ ที่มันมีเป็นเหตุเป็นผล คล้องจองกันไปเท่านั้นเอง มันก็ไม่ซาบซึ้งถึงขีดถึงขั้นอะไร ฟังๆ ไปจำได้ก็ดี ถ้าจำไม่ได้เลิกกันเลย หมายความว่าไม่ได้เรื่องอะไรที่ฟังไป ถ้าจำได้ก็ยังดียังติดไว้ในสมอง

แต่ถ้าผู้ที่เข้าใจเจอสภาพหรือสภาวะของนิพพานจริงๆ เจอสภาวะของสุญญตาจริงๆ แล้ว เป็นสภาวะเป็นสิ่งที่มันเกิดในจิตในใจจริงๆ ผู้เจออันนั้นแล้วพออธิบายให้ฟัง ไม่จำเป็นจะต้องใช้คำว่าจำเลย มันซึ้งทันที ไม่ต้องจำไม่ต้องจด เรียกว่า เข้าใจอย่างซาบซึ้งเลย จะไม่ลืมอีกเลย ยิ่งซาบซึ้งมาก ยิ่งมีสภาวะมากยิ่งซาบซึ้งมาก แล้วยิ่งจะจำติดใจไปเลย ไม่มีถอดถอน นี่แหละเรียกว่าสภาวะกับ ของ ๆ จริงมันมาสัมพันธ์กันเข้ามันจะดูดจะติดเลยพอมีสภาวะ พอกล่าวชื่อมันปั๊บ มันดูดจนติดเลย แต่ถ้าเราไม่มีสภาวะกล่าวชื่อมันก็มีแต่ชื่อ ถ้าเราไม่มีชื่อมีแต่สภาวะมันก็ไม่มีอะไรเหมือนกัน มันก็มีแต่ตัวตน เป็นประโยชน์ตนเท่านั้น ทีนี้ถ้าเผื่อว่าเอาชื่อมาพูดด้วยเป็นสภาวะด้วย แล้วเราก็เป็นประโยชน์ที่เอาสภาวะนั้นมาอธิบายหรือมากล่าวชื่อกล่าวนามให้คนอื่นเค้าฟังได้ด้วย มันก็เป็นประโยชน์ 2 ส่วน เป็นประโยชน์ขึ้นไปเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ หรือผู้ที่มีสภาวะแล้ว มีอรรถะแล้ว มีธรรมะแล้วในตัว ก็มาเรียนรู้นิรุตติคือมาเรียนรู้ภาษาให้มันประกอบกัน เมื่อประกอบกันแล้วก็เป็นปฏิสัมภิทาญาณ 2 3 4 ขึ้นไปแล้วก็เอามาพูดสู่กันฟัง

เอาลองมาฟัง จูฬสุญญตสูตร ดูซิ https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=4714&Z=4845 จูฬสุญญตสูตร

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขา มิคารมารดา ในพระวิหาระบุพพาราม เขตนครสาวัตถี เนี่ยก็เป็นวิหารของนางวิสาขาสร้างเองวิหารบุพพารามเนี่ย  ซึ่งมีโลหะปราสาทเป็นเอกอยู่ในวัดนั้น ซึ่งโลหะปราสาทนั้นมีตั้ง 1,000 ห้อง คิดดูซิว่าความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้นกับความเจริญรุ่งเรืองในประเทศไทย เดี๋ยวนี้มันต่างกัน เดี๋ยวนี้มีมั๊ยอาคารที่ไหนมีห้องถึง 1,000 ห้อง ดุสิตธานีที่ว่าเก่งที่สุดเดี๋ยวนี้นะมีถึง1,000 ห้องไหม มีแค่ 500 ห้อง

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าความเจริญของประเทศไทยเดี๋ยวนี้อย่าอวดดีเลยว่า เจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า ไม่มีทางเลย ไม่มีทางเจริญเท่าสมัยพระพุทธเจ้าเลย แต่เราก็อวดดีว่า เราเจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า แล้วก็ไปว่าสมัยโน้นคนไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรต่ออะไร มีการงมงายอะไรมีอะไรต่ออะไรไม่จริงเลย ที่จริงฉลาดกว่าเราเยอะแยะ แต่เราไม่รู้ว่าความฉลาดนั้นคืออะไร แต่ว่าถ้าไปพูดถึงว่าความฉลาดทางโลก จริง เดี๋ยวนี้เราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยพระพุทธเจ้า เพราะอะไร โลกคืออะไร โลกหรือโลกีย์คือกิเลส คือกาม เพราะฉะนั้นบอกว่าเราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยโน้น จริง อาตมาไม่เถียงเลย เพราะเรามีกิเลสกามหรือกิเลสโลกียะมากกว่าสมัยโน้น อันนี้ไม่เถียง แต่ความเจริญทางโลกุตระสิ สมัยพระพุทธเจ้าเจริญกว่ามากกว่ามาก นี่แหละต้องทำความเข้าใจ

แม้พระสูตรที่ท่านตรัสเอาไว้ คำกล่าวต่างๆ นานา เราต้องมาวิจัยให้ออกว่า มันมีเหตุผลที่จะฟ้อง ที่จะแสดงอะไรต่ออะไรให้เราเข้าใจได้ด้วย เช่นว่า วิหารบุพพารามซึ่งมีโลหะปราสาทถึง  1,000 ห้อง มันก็แสดงผลให้เราเข้าใจได้ว่า ความเจริญสมัยโน้นยิ่งกว่าสมัยนี้

 [333] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขามิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ออกจากสถานที่หลีกเร้นอยู่ในเวลาเย็น แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง

นี่เป็นสำนวนของท่านบาลี ไปที่ไหนแล้วก็นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง นี่เป็นภาษาบาลีก็หมายความว่า ไปถึงแล้วก็หาที่นั่งที่เหมาะๆ ควรๆ สำนวนนี้เข้าใจให้ได้ แล้วก็มี

เสมอๆ แปลทีไรก็จะมีอย่างนี้เป็นสำนวนพระสูตร ในสำนวนพระไตรปิฎก

พอนั่งเรียบร้อยแล้วได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่สักยนิคมชื่อ นครกะ ในสักกชนบท ณ ที่นั้น ข้าพระองค์ได้สดับได้รับคำ ได้รับพระดำรัสนี้เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า

ดูกร อานนท์ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ฟังดีๆ นะเริ่มต้นแล้วนะ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม มีชื่อเลย สุญญตวิหาร หรือ สุญญตวิหารธรรม  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อนี้ข้าพระองค์ได้สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว ใส่ใจดีแล้ว จึงจำไว้ดีแล้วหรือ  ไอ้ที่แล้ว ๆ แล้ว ๆ น่ะ นี่ยังไม่แน่ใจนะ ยังกำชับ เรียกว่า ยังทูลถามพระพุทธองค์ต่อไปอีกว่า ดีแล้วน่ะ ดีแล้วหรือ เพราะฉะนั้น คล้ายๆ ยังคลางแคลงตัวเองอยู่ว่าพระอานนท์คลางแคลงตัวเอง ว่าตัวเองเนี่ยจะเข้าใจสิ่งเหล่านั้นได้ดีแล้วทุกอย่างแล้วหรือ

พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า ดูกรอานนท์ แน่นอนนั่นเธอสดับดีแล้ว สดับนี่หมายความว่าฟังนะ เอาแค่ฟังนะ สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว แล้วก็รับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้วเอามาคิด ทบทวน กำหนดสัญญาลงไปในใจ ใส่ใจ จงจำไว้ดีแล้ว ผนึกลงไปเลยสัญญามันมีกำหนด กำหนดแล้วก็ฝังจำ ทรงจำไว้ดีแล้ว ท่านยังไม่ได้บอกเลยท่านยังไม่ได้บอกมากกว่านี้เลย ฟังให้ดีนะ อานนท์ แน่นอน เธอนั้นสดับมาดีแล้ว ฟัง รับมาดีแล้ว คือรับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้ว เอามาคิดดีแล้ว ทรงจำไว้ดีแล้ว แล้วก็จำ ผนึกลงไว้ในใจ  ฟังให้ดีนะ มีอยู่แค่นี้ พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้บอกว่าอานนท์ไม่ได้รับอะไร ไว้เลย แต่รับไว้ เพราะแน่นอนพระพุทธเจ้าท่านขยักเอาไว้นิดนึงเท่านั้นเอง ถ้าพระอานนท์เข้าใจสุญญตวิหารธรรมนี้ได้ดีซาบซึ้งแล้ว พระอานนท์ย่อมเป็นอรหันต์ ย่อมเกิดปัญญาวิมุติ แต่นี่พระอานนท์ยังไม่วิมุติยังไม่ได้เป็นพระอรหันต์ เพราะเหตุนั้นพระพุทธเจ้าถึงตรัสไว้แค่นี้ ก็ได้แค่ ได้สัญญาจำไว้เท่านั้น ยังไม่ดีไปกว่านี้

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ทำไมอาตมาอธิบายตอนนั้นว่า พระอานนท์ได้แค่จำได้แค่รู้เฉยๆ แต่ยังไม่แจ้ง ยังไม่สว่างถึงที่ ก็เพราะเหตุว่า ถ้าแจ้งถ้าสว่างถึงที่แล้ว พระพุทธเจ้าจะไม่ต้องอธิบายต่อ เท่านี้เองเคล็ด พระพุทธเจ้าก็ไม่อธิบายต่อเพราะคนรู้แล้วจะไปอธิบายให้เสียเวลาทำไม แต่ที่นี้พระพุทธเจ้าอธิบายต่อแสดงว่า คนขอร้องว่าพระพุทธเจ้าจะต้องสอนต่อไปอีก ท่านก็ต้องสอนให้ฟัง

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม เปรียบเหมือนปราสาทของมิคารมารดาหลังนี้ อย่าลืมนะเราขึ้นต้นด้วยว่าขณะนี้เราอยู่ที่ปราสาทนี้ ปราสาทของนางวิสาขา  นางวิสาขานี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า มิคารมารดา คือพ่อผัวของนางวิสาขาชื่อมิคาระ แล้วมิคาระนี้เกิดเลื่อมใสยกตำแหน่งวิสาขาให้เป็นแม่ จึงเรียกว่าเป็นแม่ของมิคาระดังนี้ เพราะฉะนั้น ชื่อหนึ่ง หรือสมญานามอีกชื่อหนึ่งของนางวิสาขาคือ มิคารมารดา ขณะนี้กำลังนั่งอยู่ในโลหะปราสาทอันนี้ พระพุทธองค์กำลังเปรียบเทียบอยู่

เปรียบเหมือนปราสาทของนางมิคารมารดาหลังนี้ ว่างเปล่าจากช้าง โค ม้า และลา ว่างเปล่าจากทองและเงิน ว่างเปล่าจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษ เหมือนกันเลยกับที่อาตมาเคยเปรียบเทียบที่นี่ว่า ที่นี่ว่างเปล่าจากช้าง แต่ไม่ได้ว่างเปล่าจากคน ซึ่งอาตมาเคยยกตัวอย่างสุญญตาตั้งแต่ก่อนโน้น ตั้งแต่ยังไม่เคยได้พระไตรปิฎกมานี่พอดีได้มาอ่านพระไตรปิฎกเข้าเจอ อ่านเหมือนกันเลย ก็เลยว่าดีเหมือนกัน ว่างจากสิ่งเหล่านั้นคือว่างจากช้าง จากโค จากม้า จากลา จากทองและเงิน ท่านอธิบายเยอะแยะ ว่างจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษคือไม่มีทั้งสตรีและบุรุษ

แต่ดูให้ดีนะ ฟังให้ดี มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียว เฉพาะ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น ฟังให้ดี แต่มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวคือ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น คำอธิบายอันนี้ของพระพุทธองค์นี่ ละเอียดกว่าที่อาตมาได้เคยยกตัวอย่างว่า ที่นี่ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน ละเอียดตรงไหนละเอียดตรงที่ว่า ของท่านนอกจากไม่ว่างจากช้างแล้วก็ไม่ว่างจากม้า ว่างจากโค ว่างจากลา แล้วก็ว่างจากบุรุษและสตรีด้วย แต่ไม่ว่างอยู่อย่างเดียว ของท่านเหลืออย่างเดียวคือไม่ว่างจากพระสงฆ์ ฟังให้ดี นอกนั้นว่างหมดแต่ไม่ว่างอยู่แต่พระสงฆ์

แต่ที่อาตมายกตัวอย่าง คราวก่อนนั้น ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน และไม่ว่างจากม้านั่ง ไม่ว่างจากต้นอโศก สุดท้าย ว่างจากช้างว่างจากม้า ว่างจากคนนั้นหมายความว่า ตัดกิเลสทั้งหมดออกไป ว่างจากอะไรต่ออะไรต่างๆ ที่เรียกว่าเป็นกิเลสเป็นเครื่องรบกวน เพราะฉะนั้นท่านถึงบอกว่าสิ่งที่รบกวนทั้งหลายแหล่หายออกไปหมด แต่มันยังมีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่ มีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่

เพราะฉะนั้นท่านบอกว่าว่างจากช้าง โค ม้า ลา จากเงิน จากทอง แม้กระทั่งชุมนุมสตรีบุรุษอะไรต่างๆ ว่างหมด มีไม่ว่างอยู่คือสิ่งเดียวเฉพาะภิกษุสงฆ์ แสดงว่าสิ่งที่จะให้ดูมีอย่างเดียวเท่านั้นเอง อย่างเดียวเท่านั้นที่ยึดถืออยู่  นี่แหละ ฉันใด ดูกรอานนท์ ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ไม่ใส่ใจสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่า จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่าในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้านและชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย ไอ้ที่ว่าป่า ไอ้ที่ว่าบ้าน ไอ้ที่ว่ามนุษย์อะไรต่ออะไร รวมลงไปหมดเลย รวมลงไปหมดเป็นสิ่งเดียว ใส่ใจแต่สิ่งเดียว

นี่พระพุทธเจ้าบอกท่านรวมลงไปให้ไม่ใส่ใจในสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่า ป่า รวมลงไปหมด จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่นและนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่า ป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้าน ไม่แบ่งไม่แยกน่ะ  และชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ฟังให้ดีนะท่านจึง บอกว่ามีอยู่แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ยังมีความกระวนกระวายนะ ยังมี  มีภาวะเดียวด้วยเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น คืออันหนึ่งที่เรายึดอยู่

ก็ขออธิบายนิดนึงซะก่อน ก่อนจะต่อ เพราะฉะนั้นถ้าเราจะยึดอะไร รวมลงมาเป็นหนึ่ง เราก็ต้องว่างจากสิ่งอื่นหมด เราไม่แจง ซึ่งสมมติว่าอยู่ในบริเวณนี้ ขณะนี้ มีอะไรต่ออะไรเยอะแยะเลย ถ้าจะเราจะแบ่งแยกว่า นี่คน นี่ต้นอโศก นี่ไมโครโฟน นี่ขวดน้ำ มีแก้วอะไรต่ออะไรแยกแยะไปหมดเลยตามสมมุติโลก โลกเขาสมมุติว่าอันนี้ขวดอันนี้คน อันนี้ต้นไม้ นี้ม้านั่ง อันนี้เก้าอี้ อันนี้ว่าถ้วย ว่าชาม ต่างๆ นาๆ สมมุติโลกทั้งสิ้น  ถ้าเราไปแยกแยะจิตของเราให้ไปตามรู้พวกนี้ พวกนี้นะ เราก็จะมีการแบ่งแยกออกไปหมดเลยไม่รวมลงเป็นหนึ่ง

เพราะฉะนั้นเมื่อเราจะรวมลงเป็นหนึ่ง เราต้องเห็นสิ่งพวกนี้ว่าคือสมมุติโลก ที่มันพึงเกิดพึงเป็นตามเหตุของโลก ถ้าใครที่บอกว่าไอ้นี่มีค่าเพราะมันเป็นขวด ถ้าใครเอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ ไอ้นี่เป็นเพชร แล้วก็เดือดร้อนแล้วไม่อเนญชาแล้วชักหวั่นไหวในเพชรว่า เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้นี่ ชักไม่ค่อยดี ใครเอาแบงค์ร้อยมาวางเกลื่อนอยู่บนโต๊ะนี้ ชักหวั่นไหวแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว  เกิดจะมี อกุศลจิต หรือ กุศลจิต เกิดขึ้นซะแล้ว คนนึกดี ก็บอกว่า เฮ้ยของใครนี่เก็บสิ ไอ้คนที่มันนึกไม่ดีมีอกุศลจิตก็บอกว่า เฮ้ย ไม่ต้องไปบอกเค้าเก็บแล้ว เผลอ ๆ เราค่อยไปหยิบ มันก็เป็นได้ เพราะอะไร เพราะจิตมันไม่นิ่งแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว ชักหวั่นไหวซะแล้ว แล้วก็จะได้รับความกระทบกระเทือนเฟื่องฟูออกมา คิดไปในทางต่ำหรือทางสูงได้ คิดไปได้

แต่ถ้าเผื่อว่าเราไม่สำคัญมั่นหมายมันเลย ไม่ไปตีค่าอะไรมันเลย เงินก็เงินสิ แบงค์แดงๆ กองอยู่บนโต๊ะก็เฉย เพชรวางอยู่บนนี้ก็เฉย แก้วน้ำขวดน้ำก็เฉย เหมือนกันกับแก้วน้ำวางอยู่  เพชรเม็ดนึงก็เหมือนกับแก้วน้ำวางอยู่เฉยๆ ไม่สะดุ้งสะเทือนอะไร เห็นแล้วก็เฉย มีเงินมีทองอยู่ในนี้ล้านนึง ก็เหมือนกับเห็นกาน้ำใบนี้วางอยู่บนนี้ ไม่ไปสำคัญมั่นหมายอะไรด้วย ไม่ไปกำหนดไม่ไปสมมุติด้วย ใครจะสมมุติว่าเพชรมีค่า เงินมีค่า ไม่สมมุติด้วย ใครจะสมมติว่าแก้วมีค่าหรือน้อยค่ากว่าเพชร น้อยค่ากว่าเงินก็ไม่สมมุติด้วย เห็นอยู่อย่างนี้ สักแต่ว่าเป็นสภาวะเดียว เฉยๆ อยู่ ไม่ไปแยกไม่ไปสมมุติอะไรด้วยเลย รู้แต่ว่าเราอยู่ ณ ที่นี้ที่หนึ่งที่เดียว แล้วก็สำคัญที่เราอยู่ไม่ไปสมมุติอะไรเพิ่มขึ้นเลย นี่คือคำอธิบายของพระพุทธองค์ที่หมายถึงเมื่อตะกี้นี้  

เธอรู้ชัดว่า สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน มีคำอธิบายเหมือนกับที่อาตมาอธิบายแล้วอาตมายังไม่ได้อ่านต่อ เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่ามนุษย์ และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น นี่ท่านแยกแยะแค่บ้านกับมนุษย์ อาตมาแยกแยะมากไปอีกจนกระทั่งถึงเพชรถึงเงินให้ฟัง เพื่อที่จะได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

เช่นเดียวกัน แล้วเราก็สัญญาแล้วก็เป็นแต่เพียงกำหนดลงไปแต่เพียงว่า ไอ้นี่คือสภาวะหนึ่ง อยู่ในแดนหนึ่ง อยู่ในโลกๆ หนึ่ง มีความว่างเปล่า ถึงแม้จะมีสิ่งพวกนี้ๆ อยู่ เท่าไหร่ๆ ก็ตามแต่ มีคนอยู่ มีต้นไม้อยู่ มีเพชรอยู่ มีขวดอยู่ หรือสมมุติจนกระทั่งแม้เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ เอาแบงค์ร้อยมากองไว้บนโต๊ะนี้ก็เหมือนกัน เราไม่มีความหวั่นไหว เราไม่มีความไปสมมุติอะไรตามเดิม สมมุติแต่เพียงว่า อย่างเดียวแต่ว่า เรายืนอยู่ในโลกนี้ว่างว่างเฉยๆ อยู่นั่งอยู่ที่นี่ว่างๆ เฉยๆ คนอื่นหวั่นไหวตาม เขาเห็นว่าของเหล่านี้มีอะไรแปลกแตกต่างกันไป แต่เราไม่แปลกเราเฉยๆ เป็นอาการอย่างนั้น

และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียว คือเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย ท่านให้พิจารณาสิ่งที่เราไปยึดถือสิ่งที่เรายังไปยอมสมมุติอยู่ในนั้นด้วย แล้วสัญญาเหล่านั้นอย่าไปยึดถือ จงเห็นว่า สิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นด้วย หมายความว่าจงเห็นให้ได้ว่า มันมีอยู่ก็ช่างมันปะไรเราไม่มีเราไม่เกี่ยวข้อง มันจะเป็นของเราเปล่า ๆ หรือของใครก็ไม่เกี่ยวไม่แตะต้อง ความหมายอย่างนั้นไม่เกี่ยวข้องเลย จะเป็นของเราหรือของใครก็ไม่เกี่ยว มีอยู่ก็พยายาม เห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้น

หมายความว่าเห็นความว่างนั้นเป็นว่างจริงๆ แม้จะมีสิ่งที่มีอยู่สิ่งที่ไม่มีอยู่ ก็เหมือนกับมีสิ่งที่ไม่มีอยู่เท่านั้นเองฟังให้ดีนะ เหมือนกับสิ่งที่ไม่มีอยู่ เงินมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เพชรมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี คนมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เหมือนกับสิ่งไม่มีอยู่ในสัญญาคือในความรู้สึกเท่านั้นเอง ท่านหมายความเอาอย่างนี้

และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นอันยังมีอยู่ว่ามี และให้รู้ด้วยนอกจากเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มีแล้ว ก็รู้ชัดลงไปอีกด้วยว่า ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เงิน ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า ขวด ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่เขาเรียกว่า คน นี่โลกเขาเรียกว่าต้นอโศก ให้รู้ชัดอย่างนั้นให้ได้ด้วย แต่สำหรับเราไม่เกี่ยวแล้วโลกนี้จะมีขวดนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีต้นอโศกนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีเพชรนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเงินแบงค์ร้อยกองอยู่บนโต๊ะนี้ก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ ไม่แปลก มีความหมายของท่านอย่างนั้น

ดูกร อานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ผู้ใดที่พิจารณาอย่างนี้ อย่างที่อาตมาว่ามาแล้วนี่ ก็เป็นการอยู่ในหรือว่าก็เป็นการก้าวลงสู่สุญญตวิหาร หรือ ก้าว ลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ท่านยืนยันว่านี่แหละคืออาการของการทำสุญญตวิหาร

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดจะถึงสุญญตวิหารได้ ก็ต้องพยายามให้มันหลุดพ้นคือเรียกว่ารู้ให้ได้ก่อนแล้วทิ้งให้ได้ด้วยเรียกว่าสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิโมกข์หมายความว่ารู้ความพ้น สุญญตวิมุติ หมายความว่า หลุดออกไปเลย รู้ วิโมกข์

โมกขะ หมายความว่าความรู้ ความรู้ในการหลุดพ้นนั้นด้วย โมกขะ โมกขธรรมนี้ คือความรู้ในการที่จะหลุดพ้นอันนั้น ถ้าใครรู้ในสุญญตวิโมกข์ได้แล้ว ก็ทิ้งให้ได้ๆ ทิ้งสิ่งที่ควรทิ้ง

อย่างเมื่อกี้นี้ เรารู้ให้ได้ว่าไอ้นี่มันเป็นสมมุตินะ เพชรที่วางอยู่บนนี้ก็เป็นสมมุติ แบงค์ร้อยถ้าเอามากระจายอยู่บนโต๊ะนี้ก็เป็นสมมุติ ขวดนี้ก็เป็นสมมุติ คนนี่ก็เป็นสมมุติ เพชรนี่ก็เป็นสมมุติ ต้นอโศกนี่ก็เป็นสมมุติ รู้ให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติ เมื่อรู้ได้แจ้งแท้ในใจแล้วถึงจะถึงสุญญตวิโมกข์ ถ้ารู้ยังไม่ได้ไม่ใช่สุญญตวิโมกข์

นอกจากรู้ว่าเป็นสมมุติแล้ว ใจเราอย่าไปยึดถืออย่าไปนำพาด้วย ให้รู้มันเป็นจริงให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติจริงๆ แต่โลกเขาเองเขายึดถือ โลกเขายึดถือแบงค์ แหม ใครได้แบงค์ดี โลกเขายึดถือเพชร ใครได้เพชรมาแหม ฮ้อ โลกเขายึดถือนี่ เค้าเรียกว่าคน ถ้ามีผู้หญิงก็ผู้หญิง นี่ผู้ชายแตกต่างกันเขายึดถือไปหมดเลย มีความแตกต่าง มีการเทียบค่า มีการสร้างค่า สร้างไอ้นี่ต่ำ ไอ้นี่สูง ไอ้นี่จะต้องบวกไอ้นี้ ไอ้นี่จะต้องลบไอ้นี่ ตลอดเวลาเลย

เพราะฉะนั้นถ้าเรารู้อย่างนี้ได้แล้วด้วย แล้วเราก็วางให้ได้ จึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ รู้แล้ววางให้ได้เราจึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ เมื่อสุญญตวิมุติลงไปได้แล้วด้วย ผู้นั้นรู้แล้ว แล้วก็วางได้ด้วยสุญญตวิโมกข์รู้ แล้วสุญญตวิมุติก็วางได้ เมื่อรู้ด้วย วางได้ด้วย ก็อยู่ในสุญญตวิหาร เรียกว่าเป็นผู้มีสุญญตานั่นแหละเป็นเครื่องอยู่   เป็นเครื่องที่อยู่ในตนสบายเปล่าว่างดายไม่ยึดถือ เห็นสักแต่ว่าเห็นรู้สักแต่ว่ารู้ แต่เหมือนกับไม่มีเหมือนกับไม่รู้ เหมือนไม่มีเหมือนไม่รู้

นี่ภาษาพูดนะ แต่ที่นี้ถ้าใครมีอารมณ์รู้ว่าสุญญตะเป็นอย่างนั้นๆ เข้าใจอย่างนั้นเข้าใจ ซึ้งเลย ไม่ต้องไปพูดอะไรกันมากอะ ฟังเดี๋ยวนี้แค่นี้ก็จำได้ตลอดกาล เห็นเดี๋ยวนี้จำได้เดี๋ยวนี้ไปเลย ไม่ต้องไปท่องด้วย ทันที แต่คนไหนที่ยังไม่รู้เรื่องก็มานั่งท่องแล้ว ไอ้นี่สุญญตวิโมกข์มันแตกต่างกับสูญญตวิมุติอย่างไร ท่องเป็นระดับๆ ไป อะไรต่ออะไรไป

นี่ท่านอธิบายละเอี๊ยดละเอียด แต่ภาษาของท่าน พระพุทธเจ้าท่านอธิบายให้สงฆ์ฟังแค่นี้นะ ท่านเข้าใจกันแล้วเพราะมันไม่มีเรื่องมาก เพชรมันก็ไม่มี แบงค์มันก็ไม่มีมากมายถึงเดี๋ยวนี้ที่เป็นจิตสมมุติกันมากมายถึงเดี๋ยวนี้ เดี๋ยวนี้ติดสมมุติกัน โอ้โห เพชรพลอยแบงค์ร้อย มันเป็นเจ้าเป็นนายเลยมีอำนาจเหนือหัวคนเหลือเกินเดี๋ยวนี้ มันมีอำนาจเหนือหัวคนจริงๆ คนนี่ โอ้โฮ
ซูฮกมันเหลือขนาดเลย มันจึง ลำบ๊ากลำบาก ต้องอธิบายเน้นแล้วเน้นอีก ย้ำแล้วย้ำอีก ให้เห็นเป็นสมมุติให้ได้ก็ไม่เชื่อ บอกเอามาหน่อยสักร้อย ไม่ได้หรอก แหม เอาไปได้ไงตั้ง 100 นึงอะ อย่างนั้น

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่ามันยึดอยู่อย่างนั้นแหละ มันไม่รู้จักวาง มันไม่มีค่าอะไร ถ้าเราไม่ไปไอ้นั่นมัน ไม่ไปสมมุติมัน ไม่ไปหลงติดมัน มันไม่มีค่าหรอก มันเป็นการสมมุติในโลกเท่านั้นเอง ให้เห็นว่าเราจำเป็นเหลือเกิน ขาดแบงค์ร้อยจะตาย ขาดเพชรจะตายให้ได้ ทั้งๆ ที่ไม่มีเพชรแต่มีเงิน หาเงินยังไม่พอ ยังจะไปผ่อนส่งเอาเพชรมาไว้ในมือ เนี่ยเป็นอย่างนี้โดยเฉพาะผู้หญิง ถ้าผู้ชายไม่เท่าไหร่ พูดถึงเรื่องเพชรยังไม่ค่อยเท่าไหร่ พวกผู้หญิง แหม ไม่มีเพชรอะไม่มี ต้องไปผ่อนส่งมาให้ได้ จะใส่ เงินไปให้เขายังไม่พอเลย จะต้องเป็นของสำคัญอย่างนั้นน่ะ

เห็นไหมไปยึดไปถือมันมากแล้วมันก็ทุกข์ ไปนั่งผ่อนส่งเขาแล้วมันก็ตะแง็กๆ ไม่ทุกข์หรือทุกข์ เป็นแต่เพียงเพื่อจะได้เพชรมาไว้ในมือ ถ้าเอาเพชรนั้นโยนทิ้งไปไก่มันยังไม่กินเลย มันไม่มีค่าอะไรกันนักกันหนาดูซิ โยนให้ไก่ ไก่ก็ยังไม่จิกไม่กินอะ สู้เม็ดข้าวเปลือกเม็ดนึงก็ยังไม่ได้ มันจะไปมีค่าอะไรกันนักกันหนา

พระว่า..สุญญตวิหารเป็นขณะนั้น

พ่อครูว่า... ถ้าผู้ปฏิบัติและผู้ที่รับแล้วก็แน่นอนก็ต้องเห็นว่า สุญญตวิหารเป็นของที่สูงที่สุด แต่ก่อนจะเป็นสุญญตวิหารได้มันต้องมีสุญญตวิโมกข์ แล้วมีสุญญตวิมุติเสียก่อน เมื่อมีสุญญตวิโมกข์ มีสุญญตวิมุติ แล้วมันก็เป็นสุญญตวิหาร มันก็ไม่มี มันก็เป็นแต่เพียง สักแต่ว่ารู้สักแต่ว่าเห็น ตาไม่บอด ใจไม่หลับ ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น ฟังแล้วอาจจะงง ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างก็ไม่รู้ทุกอย่างก็ไม่เห็น

พระว่า...มันไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะ

พ่อครูว่า... สภาวะไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะไม่ใช่พูดแต่ภาษาพูดก็พูดให้ฟังแล้วบ้า ทุกอย่างรู้ ทุกอย่างเห็นแต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น นี่คือภาษาพูดที่มันบ้าๆ แต่สภาวะมันไม่บ้าหรอกมันรู้มันเห็นจริง แต่ไม่เอาด้วย มันก็เหมือนกับเราไม่รู้ เราไม่เห็น

เหมือนกันกับไก่ มันบอกเอาเพชรไปโยนให้มัน มันบอกว่ามันไม่รู้มันไม่เห็นด้วยมันบอกว่าไม่เห็นเข้าท่าอะไรเลย มันก็เหยียบไปเลยเหยียบเลย เอาแบงค์ร้อย ไปโยนให้มันเหรอ สู้เขาเปลือกเม็ดเดียวก็ไม่ได้มันไม่เอาด้วยเพราะมันไม่สมมุติด้วย แต่กระนั้นก็ดี ไก่มันก็ไปสมมุติไอ้ข้าวเปลือกนั่นแหละมีค่าสูง ถ้าไก่มันไม่ยึดติดข้าวเปลือกด้วยนะ ไก่มันก็สุญญตวิหารเหมือนกัน

ทีนี้ไก่มันก็ยังยึดติดสิ่งที่มันยังกินอยู่อย่างนึง และสิ่งที่มันยังเสพยังหลงอยู่อีกอย่างนึงเหมือนกัน แต่มันไม่มีปัญญาที่จะมาอธิบายสุญญตาให้มันฟังได้ มันไม่มีปัญญาแน่ คนนี้แหละมีปัญญาที่จะรู้ได้

เพราะฉะนั้นพยายามเข้า นอกจากจะไปรู้ด้วยการฟังแล้ว ต้องพยายามไปค้นหาสภาวะที่ว่านี้ให้เจอด้วย จะมาโมเมๆ เอาไม่ได้ จะค้นได้ยังไงค้นได้สิ ทำสิ บอกแล้วว่าอย่าติดสมมุติ ก็แบงค์ร้อยอยู่ในกระเป๋า ถ้าบอกว่าเราไม่ถือสมมุติด้วย อ้าววันนี้มีแบงค์ร้อย 5-6 ใบเอาไปทำทานให้หมดเลย ดูซิ ใจมันจะวิมุติลงไปได้ด้วยไหม เอ้ย เอ้ย เอ๊ยดี กระเป๋าเรามีตั้ง 500 บาท ตอนนี้วิมุติจาก 500 บาทไปแล้วนะ หลุดพ้นจาก 500 บาทแล้ว มีว่างเปล่ามีแต่กระเป๋าว่างเปล่า เงิน 500 บาทวิมุติไปแล้ว

ลองทำดูซิแล้วใจมันจะเป็นยังไง วัตถุวิมุติไปแล้ว 500 บาทเอาไปทำทานหมด หรือเอาไปทำประโยชน์ที่มันควรที่สุด เอาไปทำไปหมดแล้ว ไม่มีแบงค์ร้อย 5 ใบอยู่ในกระเป๋า แบงค์ 100 คือสุญญตะ ไม่มี แบงค์ร้อยคือว่างเปล่าจริงๆ ไม่มีแบงค์ร้อยในกระเป๋า กระเป๋าจึงว่างเปล่าจากแบงค์ร้อย

แต่ทีนี้ เมื่อเวลานั้นแหละมาดูใจตัวเองซิเป็นยังไง ใจตัวเองเป็นยังไง ยังรอนๆ คิดถึงแบงค์ร้อย 5 ใบนั้นมั้ย ยังรอนๆไหม บางคนไม่รอนๆ ธรรมดานะ เจ็บปวดเอาด้วย แหม กว่าจะหามาได้ 500 กว่าจะออกไป เจ็บปวดเอาด้วย แต่คนไหนไม่เจ็บปวด แต่ยังรอนๆอยู่ คนนั้นก็ยังมีปฏิฆะ ถ้าใครไม่มีปฏิฆะ ก็หมายความว่าไม่รอนๆด้วยเลย เฉย ว่างเปล่า แต่ไปยึดอะไร ไปยึดว่าดีแล้วเราทำบุญได้ตั้ง 500 บาท เราได้บุญนั้นแล้วเป็นรูปเป็นร่าง วาดบุญไว้เป็นรูปเป็นร่างเลย ไม่รอนๆ หรอกแต่ดีใจกับบุญ ผู้ที่ยังมีอารมณ์ดีใจอย่างนั้นอยู่นั่นแหละจึงเรียกว่า พรหม เรียกว่า พรหม เรียกว่าเป็นผู้ยังมีอรูปอย่างนึง ที่สร้างไว้เป็นลมๆ เป็นลมลอยรูป แล้วก็ยังหลงดีใจกับอันนั้นอยู่ยังมีสิ่งที่ยึดถืออยู่

แต่ถ้าผู้นี้เงิน 500 บาทก็สุญญตะไปแล้ว หายไปแล้ว ไม่มีแล้วให้เขาไปหมดจริงๆ ทำประโยชน์ในโลกไปหมดแล้ว ใจก็ไม่รอนๆ บุญก็ไม่นึกถึง อะไรก็ไม่ยึดถือไม่นึกถึงอยู่ ใจก็ดับลงไม่มีคำว่าแบงค์ 500 เมื่อกี้นี้ก็ลืมไปสิ้นด้วย ไม่มีอะไรเลยในใจว่างเปล่าใจก็ว่างเปล่าแบงค์ร้อยก็หายไปจริงๆ ด้วย ผู้นั้นแหละจึงวิมุติทั้งสภาวะ วิมุติทั้งของจริงๆ และวิมุติทั้งใจด้วย นี่แหละอาการนี้เราจะทำ

เพราะฉะนั้นถ้าใครยังไม่เคยเลยที่จะควักแม้แต่ 100 บาท 10 บาท 20 บาทให้คนอื่นไปดูซิ ไม่เคยมีทานเลยคิดดูซิ ว่าเราจะได้มั้ย เราจะเจอสภาวะมั้ย มันก็ได้แต่หลักการที่อาตมาอธิบายให้ฟังนี่ แล้วก็คุยหลักการว่า ฉันรู้แล้ว เข้าใจได้ซาบซึ้งแล้ว ใครมาถามก็อธิบายให้ฟังฉับๆ เลย สบาย อย่างนี้แน่มากดี อย่างนี้แจ๋วเลย แต่ตัวเองเขามาขอแค่เงิน 5 บาท 10 บาทไม่ให้ แล้วมันจะวิมุติลงไปได้อย่างไรไม่ให้ มันวิมุติไม่ได้  

เพราะฉะนั้นแม้กระทั่งของหวาน ของคาว ของอร่อยก็ยังอยากได้ ไอ้นี่เมียฉัน ไอ้นี่ลูกฉัน ไอ้นี่ข้าวของฉัน ไอ้นี่รถฉัน ไอ้นี่ฐานะฉัน แหม ไอ้นี่สรรเสริญของฉัน เขาบอกว่าฉันเป็นอาจารย์ ยังยึดแม้กระทั่งคำว่าอาจารย์ไว้อีก  หรือยกคำว่า แหมฉันเป็นรัฐมนตรีติดอยู่ที่รัฐมนตรีอีก มันก็ไม่มีวิมุตได้ มันก็ไปติดเป็นติ่ง ติ่งจากตรงนี้ ละจากตรงนี้ได้ ก็ไปติ่งตรงนี้ ตรงนี้ มันจะหลุดได้จริงๆ ต้องตัดอกตัดใจแล้วก็ต้องกระทำในวาระนั้น สิ่งนั้นลองดูจริงๆ ถ้าไม่ได้ลองแล้วไม่รู้

ถ้าพระพุทธเจ้าไม่ลองไปนั่งแม้กระทั่ง โอ้โห บำเพ็ญทุกขกิริยา จับนิดนึงพอจะลูบหนังขนก็ติดมือขึ้นมาอย่างท่านที่อธิบายไว้นะ ถ้าท่านไม่ไปลองอย่างนั้นท่านก็ไม่รู้หรอกว่า สภาวะสุดโต่งอีกอย่างหนึ่งมันถึงขนาดไหน แล้วท่านก็ท้าด้วยว่า จะไม่มีใครมาทำได้อุกฤษฏ์อย่างท่านอีกแล้ว เรียกว่าท่านทำอุกฤษฏ์กว่าใคร ๆ ที่ทำมาแล้ว เขาบำเพ็ญตนทรมานตนมาถึงขนาดไหน ท่านบอกว่าท่านได้ทำมาหมด ทำมาจนกระทั่งอุกฤษฏ์ถึงขั้นสุดที่แล้ว ท่านถึงได้เอามาอธิบายให้กันฟังได้ สู่กันฟังได้ว่า โอ้โห ป่วยการไปนั่งทำอะไรบางสิ่งบางอย่างเกินขอบเขต ก็ไม่ถึงขั้นนั้นหรอก ไม่จำเป็น

แต่ทำไมท่านต้องทำ ที่ท่านต้องทำก็เพราะเหตุว่าท่านจะต้องวัด ท่านจะต้องวัด วัดวา ให้รู้ความสุดโต่งของทางนี้ และทางนี้ให้รู้หมดเลยเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามพวกเราได้เท่านั้นเอง และเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามของพวกลัทธิอื่นๆ ที่เขาไปสุดโต่งสายไหนก็ไม่รู้ ให้มันรู้ชัดรู้แจ้ง

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงจำเป็นที่สุดที่ท่านจะต้องวัดวาสิ่งเหล่านั้นให้รู้ ไปลูบไปคลำสิ่งเหล่านั้นให้รู้โดยแท้จริง  แต่เรายังไม่ได้ประพฤติบำเพ็ญตัวเป็นพระพุทธเจ้า อย่าไปทำอย่างท่าน อย่าไปทำอย่างท่าน ประเดี๋ยวตายๆ ก็เหมือนเราอดข้าว กินวันละเท่าปลายมือ แล้วก็ลดลง 5 เม็ด 10 เม็ด ไปจนกระทั่งกินเท่าเม็ดงา กินวันละเท่าเม็ดงา จนกระทั่งไม่กินเลย ไหวมั้ย อาตมาว่าชักลงตรงนั้นก่อนนะ จะจับที่ตรงข้างหน้าท้องก็ดูเหมือนจะถึงข้างหลัง จับข้างหลังก็ดูเหมือนถึงหน้าท้องแล้ว คิดดูซิว่า มันติดหมดเลยเนี่ย เราจะทำได้อย่างนั้นมั้ย  ทำไม่ได้ และยังไม่ควรทำด้วยเพราะเป็นการสุดโต่ง แต่พระพุทธเจ้าท่านไม่สุดโต่ง ท่านไม่สุดโต่ง เพราะว่าท่านทำได้ ทำแล้วไม่ตาย เราทำถ้าไปทำอย่างนั้นตายเข็ดด้วย เข็ดหลาบเลย และไม่อยากจะประพฤติธรรมต่อไป

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าถึงบอกว่า อาการที่ประพฤติที่สุดโต่งเนี่ยเป็นภัย เป็นภัยต่อผู้ที่ยังไม่ถึงขั้น บารมียังไม่ถึงอย่าทำ เพราะฉะนั้น คุณไสวบอก อาตมาสุดโต่ง โอ้ว  ดูซิ รองเท้าก็ไม่ใส่..ไปกินทำไมมื้อเดียว.. เขาบอกว่า ไปทำอะไรสุดโต่งมัน จะไปสุดโต่งอย่างไรเราก็ยังทำได้เลย เขาก็เห็นสุดโต่งเพราะเขายังทำไม่ได้ แต่อาตมาไม่ได้เดือดร้อนอะไร อาตมาทำได้อาตมาก็ไปของอาตมาสบายๆ เขาก็เห็นว่าสุดโต่งอยู่ดี แต่เพียงว่าอาตมาเอง อาตมาเห็นว่าพระพุทธเจ้าทำที่สุดโต่ง แหม ไปนั่งอดข้าวถึงขนาดนั้น หนังติด แขม่วแล้ว แหม นั่งทรมานกาย จนมือลูบนี้ขนหลุดติดมือมาเลย อาตมาก็เห็นว่ามันสุดโต่ง อาตมาไม่ทำหรอก แล้วอาตมาไม่ทำเพราะอะไร เพราะพระพุทธเจ้าได้สอนไว้แล้ว อาตมารู้จากพระพุทธเจ้าแล้ว ว่าถ้าไปนั่งทำอย่างท่านนี้สุดโต่งนะ อาตมาก็เชื่อท่าน อาตมาก็ไม่ทำ

อาตมาก็ทำมัชฌิมาปฏิปทา ขณะนี้อาตมาไม่ใส่รองเท้าเป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันมื้อเดียวมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันข้าวเปล่าๆ กินผักได้สบายๆ เป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาสบายไม่เดือดร้อนและในสิ่งที่ควรจะสูงขึ้นอาตมาก็รู้ และอ่านให้มันชัดแล้วก็บำเพ็ญ ต่อไปเรื่อยๆ ตามลำดับไม่แปลกอะไรเลย

แต่จะให้อาตมาไปนั่งป่าแล้วก็ทำเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าที่ท่านทำแล้วนั้นอาตมาก็บอกแล้วว่า อาตมายังไม่ถึงขั้นจะเป็นพระพุทธเจ้า และชาตินี้ให้ต่ออีกสักกี่ชาติ ไอ้ชาตินี้ จนกระทั่งบำเพ็ญให้หนักที่สุดเท่าไหร่อาตมาก็ไม่สูง และอาตมาก็ยังไม่ทำเพราะเป็นภาวะสุดโต่ง อาตมารู้ได้เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ ท่านครอบเอาไว้แล้ว ก็อาตมาเชื่ออย่างยิ่ง มีศรัทธาในท่านอย่างสูงสุด อาตมาถึงไม่ทำ

เพราะฉะนั้นเราต้องเข้าใจระดับขั้นให้ได้ ถ้าไม่เข้าใจระดับขั้น เราจะไปมองคนเขาว่าสุดโต่ง เช่นเดียวกันกับคนที่เขาว่าอาตมามากที่ว่า แหม พระองค์นี้เคร่ง เดินก็เดินเอาอย่างนั้นแหละ กินก็กินอย่างนี้แหละ เคร่ง อาตมาไม่เคร่ง อาตมาเฉยๆ ไม่ได้เคร่งตรงไหนเลย มันไม่ได้เดือดร้อนตรงไหนเลย เพราะฉะนั้นอาการที่เคร่งก็หมายความว่า คนอื่นเขาเห็นว่าเราทำไม่ได้     (40.28 น.) ….

 

ที่มา ที่ไป

การแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม 2514


เวลาบันทึก 24 เมษายน 2567 ( 18:23:17 )

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

รายละเอียด

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

ต่อจากนี้ไป เป็นการแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม  2514

พ่อครูว่า... จะพูดสู่กันฟังโดยภาษาตรงๆ ของอาตมาคนเดียว แต่ว่าจะเอาพระสูตรมาอ่านเลยทีเดียว เอาออกมาจากพระไตรปิฎกเลยทีเดียวมาอ่านแล้วก็ขยายความกันพอที่จะขยายได้ เท่าที่จะขยายได้ทำความเข้าใจกัน ที่จริง สุญญตานั้น เป็นเรื่องที่ ไม่ใช่เรื่องตื้น เป็นเรื่องที่ลึก เป็นเรื่องที่ไกล แต่ว่าเราเองก็พูดกันมานักเพราะว่า แม้กระทั่งในที่นี้ เราก็ยังพูดกัน อย่าว่าแต่สุญญตาเลย แม้กระทั่งการตายของพระอรหันต์ตายอย่างไรอย่างไรเราก็พูดกันไปจนถึงขนาดนั้น ก็เรียกได้ว่ามันสูงเกินขนาดแล้วล่ะมันสูงก็สูงกันไปพูดสูงบ้างต่ำบ้างคละเคล้ากันไป

แต่ว่า ไอ้ที่จะสูงหรือจะต่ำอะไรก็ตามแต่ มันก็ไม่มีอะไรมากนอกจากว่า เราเองเราจะสมมุติเอา หรือว่าจะยึดถือเอาว่าไอ้นี่สูงไอ้นี่ต่ำ หยาบหรือละเอียด เราจะดำเนินจากละเอียดมาหาหยาบก็ได้ ดำเนินจากหยาบหาละเอียดก็ได้ มันได้ทั้ง 2 ส่วน 2 ด้าน แต่ว่าโดยถูกโดยต้องแล้ว มันก็ควรจะเป็นจากหยาบไปหาละเอียด จะทำจากละเอียดมาหาหยาบมันก็ได้ แต่ว่ามันนานมันใช้เวลานาน

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าท่านเองท่านไม่พยายามให้พาทำอย่างที่ท่านได้เคยตรัสเอาไว้แล้วในเรื่องปฏิปทา 4  ซึ่งบางอย่างก็ปฏิบัติได้ เรียกว่าสะดวก แต่ว่านาน

บางอย่าง สะดวกแต่เร็วด้วย อย่างนี้เป็นต้น แต่ส่วนอีกบางอย่างนั้นทั้งยากทั้งนานหรือว่ายากแต่เร็วก็ดี ซึ่งเหล่านั้นเราก็แยกแยะให้ออกตามที่พระพุทธเจ้าท่านได้แยกแยะให้ฟังแล้ว เราก็เลือกให้เป็น พยายามจัดให้ถูก ไม่ใช่ว่ามันไม่ได้ ปฏิบัติละเอียดมาหาหยาบก็ได้ แต่ควรจะปฏิบัติหยาบไปหาละเอียด

พระสูตรที่อาตมาจะอ่านนี้ หรือว่าจะเอามาเล่าสู่กันฟังนี้คือ จูฬสุญญตสูตร

จูฬสุญญตานั่นเอง  จูฬสุญญตสูตร อยู่ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 14 ข้อ 333 ที่อาตมาได้พระไตรปิฎกมาแล้ว ยังไม่มีเวลาได้อ่านเลย แต่ว่าเปิดตรงไหน ๆ ก็รู้สึกว่าดีทั้งนั้นเลย เปิดเจอตรงไหนอ่านเอาไว้แล้วก็มาร์คเอาไว้แล้วก็เล่าสู่กันฟัง

จริงๆ สุญญตะนี้ อาตมาก็เคยพูดกันมาแล้วตั้งหลายทีแล้ว แม้แต่สุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร เราก็เคยได้อธิบายถึงขนาดนั้น โดยความเป็นจริงแล้ว ขั้นที่เรามาพูดสู่กันฟังนี้เป็นขั้นอาริยะนะ ที่พูดกันถึงสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร หรือแม้จะพูดถึง  อนิมิตตนิพพาน อัปนิหิตตนิพพาน จนกะทั่งถึงสุญญตนิพพานมันเป็นที่ของพระอาริยะที่รู้อารมณ์ของนิพพาน รู้อารมณ์ของสุญญตาได้แล้ว แล้วก็มาพูดกัน ไม่ใช่ของต่ำๆ นะที่เราพูดกันอยู่นี่

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าแหม! ฟังๆ ดูแล้วก็ออกหมั่นไส้ เราเองพูดก็ออกหมั่นไส้ตัวเองเหมือนกันนะ แหม..เอาเรื่องที่มันไม่น่าพูดมาพูด ที่จริงมันเป็นเรื่องของสิ่งที่จะรู้ได้โดยสภาวะ ไม่ใช่เรื่องที่จะพูดเอาเท่านั้น เพราะฉะนั้นพูดให้ฟังก็ฟังกันไปได้เฉยๆ ฟังกันไปได้เฉยๆ สำหรับผู้ที่ลูบคลำนิพพาน ลูบคลำสุญญตาจริง ๆ แท้ ๆ ได้ฟังจะ   อ๋อ.. หรือว่าจะเข้าใจ หรือว่าจะเป็นไปได้ แต่ถ้าผู้ที่ยังไม่ได้ลูบคลำแม้อารมณ์นิพพานเป็นยังไง อารมณ์สุญญตาเป็นยังไงจริงๆ รู้แต่สภาวะตัวหนังสือที่บรรยายออกมาเป็นบัญญัติเป็นภาษา เป็นนิรุตติเป็นคำพูดคำท่องคำอ่านอะไรก็ตามแต่ เราก็จะยึดแต่เพียงเหตุผลของภาษา เหตุผลของคำพูดนั้นๆ ที่มันมีเป็นเหตุเป็นผล คล้องจองกันไปเท่านั้นเอง มันก็ไม่ซาบซึ้งถึงขีดถึงขั้นอะไร ฟังๆ ไปจำได้ก็ดี ถ้าจำไม่ได้เลิกกันเลย หมายความว่าไม่ได้เรื่องอะไรที่ฟังไป ถ้าจำได้ก็ยังดียังติดไว้ในสมอง

แต่ถ้าผู้ที่เข้าใจเจอสภาพหรือสภาวะของนิพพานจริงๆ เจอสภาวะของสุญญตาจริงๆ แล้ว เป็นสภาวะเป็นสิ่งที่มันเกิดในจิตในใจจริงๆ ผู้เจออันนั้นแล้วพออธิบายให้ฟัง ไม่จำเป็นจะต้องใช้คำว่าจำเลย มันซึ้งทันที ไม่ต้องจำไม่ต้องจด เรียกว่า เข้าใจอย่างซาบซึ้งเลย จะไม่ลืมอีกเลย ยิ่งซาบซึ้งมาก ยิ่งมีสภาวะมากยิ่งซาบซึ้งมาก แล้วยิ่งจะจำติดใจไปเลย ไม่มีถอดถอน นี่แหละเรียกว่าสภาวะกับ ของ ๆ จริงมันมาสัมพันธ์กันเข้ามันจะดูดจะติดเลยพอมีสภาวะ พอกล่าวชื่อมันปั๊บ มันดูดจนติดเลย แต่ถ้าเราไม่มีสภาวะกล่าวชื่อมันก็มีแต่ชื่อ ถ้าเราไม่มีชื่อมีแต่สภาวะมันก็ไม่มีอะไรเหมือนกัน มันก็มีแต่ตัวตน เป็นประโยชน์ตนเท่านั้น ทีนี้ถ้าเผื่อว่าเอาชื่อมาพูดด้วยเป็นสภาวะด้วย แล้วเราก็เป็นประโยชน์ที่เอาสภาวะนั้นมาอธิบายหรือมากล่าวชื่อกล่าวนามให้คนอื่นเค้าฟังได้ด้วย มันก็เป็นประโยชน์ 2 ส่วน เป็นประโยชน์ขึ้นไปเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ หรือผู้ที่มีสภาวะแล้ว มีอรรถะแล้ว มีธรรมะแล้วในตัว ก็มาเรียนรู้นิรุตติคือมาเรียนรู้ภาษาให้มันประกอบกัน เมื่อประกอบกันแล้วก็เป็นปฏิสัมภิทาญาณ 2 3 4 ขึ้นไปแล้วก็เอามาพูดสู่กันฟัง

เอาลองมาฟัง จูฬสุญญตสูตร ดูซิ https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=4714&Z=4845 จูฬสุญญตสูตร

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขา มิคารมารดา ในพระวิหาระบุพพาราม เขตนครสาวัตถี เนี่ยก็เป็นวิหารของนางวิสาขาสร้างเองวิหารบุพพารามเนี่ย  ซึ่งมีโลหะปราสาทเป็นเอกอยู่ในวัดนั้น ซึ่งโลหะปราสาทนั้นมีตั้ง 1,000 ห้อง คิดดูซิว่าความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้นกับความเจริญรุ่งเรืองในประเทศไทย เดี๋ยวนี้มันต่างกัน เดี๋ยวนี้มีมั๊ยอาคารที่ไหนมีห้องถึง 1,000 ห้อง ดุสิตธานีที่ว่าเก่งที่สุดเดี๋ยวนี้นะมีถึง1,000 ห้องไหม มีแค่ 500 ห้อง

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าความเจริญของประเทศไทยเดี๋ยวนี้อย่าอวดดีเลยว่า เจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า ไม่มีทางเลย ไม่มีทางเจริญเท่าสมัยพระพุทธเจ้าเลย แต่เราก็อวดดีว่า เราเจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า แล้วก็ไปว่าสมัยโน้นคนไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรต่ออะไร มีการงมงายอะไรมีอะไรต่ออะไรไม่จริงเลย ที่จริงฉลาดกว่าเราเยอะแยะ แต่เราไม่รู้ว่าความฉลาดนั้นคืออะไร แต่ว่าถ้าไปพูดถึงว่าความฉลาดทางโลก จริง เดี๋ยวนี้เราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยพระพุทธเจ้า เพราะอะไร โลกคืออะไร โลกหรือโลกีย์คือกิเลส คือกาม เพราะฉะนั้นบอกว่าเราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยโน้น จริง อาตมาไม่เถียงเลย เพราะเรามีกิเลสกามหรือกิเลสโลกียะมากกว่าสมัยโน้น อันนี้ไม่เถียง แต่ความเจริญทางโลกุตระสิ สมัยพระพุทธเจ้าเจริญกว่ามากกว่ามาก นี่แหละต้องทำความเข้าใจ

แม้พระสูตรที่ท่านตรัสเอาไว้ คำกล่าวต่างๆ นานา เราต้องมาวิจัยให้ออกว่า มันมีเหตุผลที่จะฟ้อง ที่จะแสดงอะไรต่ออะไรให้เราเข้าใจได้ด้วย เช่นว่า วิหารบุพพารามซึ่งมีโลหะปราสาทถึง  1,000 ห้อง มันก็แสดงผลให้เราเข้าใจได้ว่า ความเจริญสมัยโน้นยิ่งกว่าสมัยนี้

 [333] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขามิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ออกจากสถานที่หลีกเร้นอยู่ในเวลาเย็น แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง

 นี่เป็นสำนวนของท่านบาลี ไปที่ไหนแล้วก็นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง นี่เป็นภาษาบาลีก็หมายความว่า ไปถึงแล้วก็หาที่นั่งที่เหมาะๆ ควรๆ สำนวนนี้เข้าใจให้ได้ แล้วก็มี

เสมอๆ แปลทีไรก็จะมีอย่างนี้เป็นสำนวนพระสูตร ในสำนวนพระไตรปิฎก

พอนั่งเรียบร้อยแล้วได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่สักยนิคมชื่อ นครกะ ในสักกชนบท ณ ที่นั้น ข้าพระองค์ได้สดับได้รับคำ ได้รับพระดำรัสนี้เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า

ดูกร อานนท์ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ฟังดีๆ นะเริ่มต้นแล้วนะ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม มีชื่อเลย สุญญตวิหาร หรือ สุญญตวิหารธรรม  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อนี้ข้าพระองค์ได้สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว ใส่ใจดีแล้ว จึงจำไว้ดีแล้วหรือ  ไอ้ที่แล้ว ๆ แล้ว ๆ น่ะ นี่ยังไม่แน่ใจนะ ยังกำชับ เรียกว่า ยังทูลถามพระพุทธองค์ต่อไปอีกว่า ดีแล้วน่ะ ดีแล้วหรือ เพราะฉะนั้น คล้ายๆ ยังคลางแคลงตัวเองอยู่ว่าพระอานนท์คลางแคลงตัวเอง ว่าตัวเองเนี่ยจะเข้าใจสิ่งเหล่านั้นได้ดีแล้วทุกอย่างแล้วหรือ

พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า ดูกรอานนท์ แน่นอนนั่นเธอสดับดีแล้ว สดับนี่หมายความว่าฟังนะ เอาแค่ฟังนะ สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว แล้วก็รับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้วเอามาคิด ทบทวน กำหนดสัญญาลงไปในใจ ใส่ใจ จงจำไว้ดีแล้ว ผนึกลงไปเลยสัญญามันมีกำหนด กำหนดแล้วก็ฝังจำ ทรงจำไว้ดีแล้ว ท่านยังไม่ได้บอกเลยท่านยังไม่ได้บอกมากกว่านี้เลย ฟังให้ดีนะ อานนท์ แน่นอน เธอนั้นสดับมาดีแล้ว ฟัง รับมาดีแล้ว คือรับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้ว เอามาคิดดีแล้ว ทรงจำไว้ดีแล้ว แล้วก็จำ ผนึกลงไว้ในใจ  ฟังให้ดีนะ มีอยู่แค่นี้ พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้บอกว่าอานนท์ไม่ได้รับอะไร ไว้เลย แต่รับไว้ เพราะแน่นอนพระพุทธเจ้าท่านขยักเอาไว้นิดนึงเท่านั้นเอง ถ้าพระอานนท์เข้าใจสุญญตวิหารธรรมนี้ได้ดีซาบซึ้งแล้ว พระอานนท์ย่อมเป็นอรหันต์ ย่อมเกิดปัญญาวิมุติ แต่นี่พระอานนท์ยังไม่วิมุติยังไม่ได้เป็นพระอรหันต์ เพราะเหตุนั้นพระพุทธเจ้าถึงตรัสไว้แค่นี้ ก็ได้แค่ ได้สัญญาจำไว้เท่านั้น ยังไม่ดีไปกว่านี้

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ทำไมอาตมาอธิบายตอนนั้นว่า พระอานนท์ได้แค่จำได้แค่รู้เฉยๆ แต่ยังไม่แจ้ง ยังไม่สว่างถึงที่ ก็เพราะเหตุว่า ถ้าแจ้งถ้าสว่างถึงที่แล้ว พระพุทธเจ้าจะไม่ต้องอธิบายต่อ เท่านี้เองเคล็ด พระพุทธเจ้าก็ไม่อธิบายต่อเพราะคนรู้แล้วจะไปอธิบายให้เสียเวลาทำไม แต่ที่นี้พระพุทธเจ้าอธิบายต่อแสดงว่า คนขอร้องว่าพระพุทธเจ้าจะต้องสอนต่อไปอีก ท่านก็ต้องสอนให้ฟัง

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม เปรียบเหมือนปราสาทของมิคารมารดาหลังนี้ อย่าลืมนะเราขึ้นต้นด้วยว่าขณะนี้เราอยู่ที่ปราสาทนี้ ปราสาทของนางวิสาขา  นางวิสาขานี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า มิคารมารดา คือพ่อผัวของนางวิสาขาชื่อมิคาระ แล้วมิคาระนี้เกิดเลื่อมใสยกตำแหน่งวิสาขาให้เป็นแม่ จึงเรียกว่าเป็นแม่ของมิคาระดังนี้ เพราะฉะนั้น ชื่อหนึ่ง หรือสมญานามอีกชื่อหนึ่งของนางวิสาขาคือ มิคารมารดา ขณะนี้กำลังนั่งอยู่ในโลหะปราสาทอันนี้ พระพุทธองค์กำลังเปรียบเทียบอยู่

เปรียบเหมือนปราสาทของนางมิคารมารดาหลังนี้ ว่างเปล่าจากช้าง โค ม้า และลา ว่างเปล่าจากทองและเงิน ว่างเปล่าจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษ เหมือนกันเลยกับที่อาตมาเคยเปรียบเทียบที่นี่ว่า ที่นี่ว่างเปล่าจากช้าง แต่ไม่ได้ว่างเปล่าจากคน ซึ่งอาตมาเคยยกตัวอย่างสุญญตาตั้งแต่ก่อนโน้น ตั้งแต่ยังไม่เคยได้พระไตรปิฎกมานี่พอดีได้มาอ่านพระไตรปิฎกเข้าเจอ อ่านเหมือนกันเลย ก็เลยว่าดีเหมือนกัน ว่างจากสิ่งเหล่านั้นคือว่างจากช้าง จากโค จากม้า จากลา จากทองและเงิน ท่านอธิบายเยอะแยะ ว่างจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษคือไม่มีทั้งสตรีและบุรุษ

แต่ดูให้ดีนะ ฟังให้ดี มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียว เฉพาะ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น ฟังให้ดี แต่มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวคือ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น คำอธิบายอันนี้ของพระพุทธองค์นี่ ละเอียดกว่าที่อาตมาได้เคยยกตัวอย่างว่า ที่นี่ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน ละเอียดตรงไหนละเอียดตรงที่ว่า ของท่านนอกจากไม่ว่างจากช้างแล้วก็ไม่ว่างจากม้า ว่างจากโค ว่างจากลา แล้วก็ว่างจากบุรุษและสตรีด้วย แต่ไม่ว่างอยู่อย่างเดียว ของท่านเหลืออย่างเดียวคือไม่ว่างจากพระสงฆ์ ฟังให้ดี นอกนั้นว่างหมดแต่ไม่ว่างอยู่แต่พระสงฆ์

แต่ที่อาตมายกตัวอย่าง คราวก่อนนั้น ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน และไม่ว่างจากม้านั่ง ไม่ว่างจากต้นอโศก สุดท้าย ว่างจากช้างว่างจากม้า ว่างจากคนนั้นหมายความว่า ตัดกิเลสทั้งหมดออกไป ว่างจากอะไรต่ออะไรต่างๆ ที่เรียกว่าเป็นกิเลสเป็นเครื่องรบกวน เพราะฉะนั้นท่านถึงบอกว่าสิ่งที่รบกวนทั้งหลายแหล่หายออกไปหมด แต่มันยังมีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่ มีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่

เพราะฉะนั้นท่านบอกว่าว่างจากช้าง โค ม้า ลา จากเงิน จากทอง แม้กระทั่งชุมนุมสตรีบุรุษอะไรต่างๆ ว่างหมด มีไม่ว่างอยู่คือสิ่งเดียวเฉพาะภิกษุสงฆ์ แสดงว่าสิ่งที่จะให้ดูมีอย่างเดียวเท่านั้นเอง อย่างเดียวเท่านั้นที่ยึดถืออยู่  นี่แหละ ฉันใด ดูกรอานนท์ ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ไม่ใส่ใจสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่า จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่าในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้านและชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย ไอ้ที่ว่าป่า ไอ้ที่ว่าบ้าน ไอ้ที่ว่ามนุษย์อะไรต่ออะไร รวมลงไปหมดเลย รวมลงไปหมดเป็นสิ่งเดียว ใส่ใจแต่สิ่งเดียว

นี่พระพุทธเจ้าบอกท่านรวมลงไปให้ไม่ใส่ใจในสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่า ป่า รวมลงไปหมด จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่นและนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่า ป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้าน ไม่แบ่งไม่แยกน่ะ  และชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ฟังให้ดีนะท่านจึง บอกว่ามีอยู่แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ยังมีความกระวนกระวายนะ ยังมี  มีภาวะเดียวด้วยเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น คืออันหนึ่งที่เรายึดอยู่

ก็ขออธิบายนิดนึงซะก่อน ก่อนจะต่อ เพราะฉะนั้นถ้าเราจะยึดอะไร รวมลงมาเป็นหนึ่ง เราก็ต้องว่างจากสิ่งอื่นหมด เราไม่แจง ซึ่งสมมติว่าอยู่ในบริเวณนี้ ขณะนี้ มีอะไรต่ออะไรเยอะแยะเลย ถ้าจะเราจะแบ่งแยกว่า นี่คน นี่ต้นอโศก นี่ไมโครโฟน นี่ขวดน้ำ มีแก้วอะไรต่ออะไรแยกแยะไปหมดเลยตามสมมุติโลก โลกเขาสมมุติว่าอันนี้ขวดอันนี้คน อันนี้ต้นไม้ นี้ม้านั่ง อันนี้เก้าอี้ อันนี้ว่าถ้วย ว่าชาม ต่างๆ นาๆ สมมุติโลกทั้งสิ้น  ถ้าเราไปแยกแยะจิตของเราให้ไปตามรู้พวกนี้ พวกนี้นะ เราก็จะมีการแบ่งแยกออกไปหมดเลยไม่รวมลงเป็นหนึ่ง

เพราะฉะนั้นเมื่อเราจะรวมลงเป็นหนึ่ง เราต้องเห็นสิ่งพวกนี้ว่าคือสมมุติโลก ที่มันพึงเกิดพึงเป็นตามเหตุของโลก ถ้าใครที่บอกว่าไอ้นี่มีค่าเพราะมันเป็นขวด ถ้าใครเอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ ไอ้นี่เป็นเพชร แล้วก็เดือดร้อนแล้วไม่อเนญชาแล้วชักหวั่นไหวในเพชรว่า เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้นี่ ชักไม่ค่อยดี ใครเอาแบงค์ร้อยมาวางเกลื่อนอยู่บนโต๊ะนี้ ชักหวั่นไหวแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว  เกิดจะมี อกุศลจิต หรือ กุศลจิต เกิดขึ้นซะแล้ว คนนึกดี ก็บอกว่า เฮ้ยของใครนี่เก็บสิ ไอ้คนที่มันนึกไม่ดีมีอกุศลจิตก็บอกว่า เฮ้ย ไม่ต้องไปบอกเค้าเก็บแล้ว เผลอ ๆ เราค่อยไปหยิบ มันก็เป็นได้ เพราะอะไร เพราะจิตมันไม่นิ่งแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว ชักหวั่นไหวซะแล้ว แล้วก็จะได้รับความกระทบกระเทือนเฟื่องฟูออกมา คิดไปในทางต่ำหรือทางสูงได้ คิดไปได้

แต่ถ้าเผื่อว่าเราไม่สำคัญมั่นหมายมันเลย ไม่ไปตีค่าอะไรมันเลย เงินก็เงินสิ แบงค์แดงๆ กองอยู่บนโต๊ะก็เฉย เพชรวางอยู่บนนี้ก็เฉย แก้วน้ำขวดน้ำก็เฉย เหมือนกันกับแก้วน้ำวางอยู่  เพชรเม็ดนึงก็เหมือนกับแก้วน้ำวางอยู่เฉยๆ ไม่สะดุ้งสะเทือนอะไร เห็นแล้วก็เฉย มีเงินมีทองอยู่ในนี้ล้านนึง ก็เหมือนกับเห็นกาน้ำใบนี้วางอยู่บนนี้ ไม่ไปสำคัญมั่นหมายอะไรด้วย ไม่ไปกำหนดไม่ไปสมมุติด้วย ใครจะสมมุติว่าเพชรมีค่า เงินมีค่า ไม่สมมุติด้วย ใครจะสมมติว่าแก้วมีค่าหรือน้อยค่ากว่าเพชร น้อยค่ากว่าเงินก็ไม่สมมุติด้วย เห็นอยู่อย่างนี้ สักแต่ว่าเป็นสภาวะเดียว เฉยๆ อยู่ ไม่ไปแยกไม่ไปสมมุติอะไรด้วยเลย รู้แต่ว่าเราอยู่ ณ ที่นี้ที่หนึ่งที่เดียว แล้วก็สำคัญที่เราอยู่ไม่ไปสมมุติอะไรเพิ่มขึ้นเลย นี่คือคำอธิบายของพระพุทธองค์ที่หมายถึงเมื่อตะกี้นี้  

เธอรู้ชัดว่า สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน มีคำอธิบายเหมือนกับที่อาตมาอธิบายแล้วอาตมายังไม่ได้อ่านต่อ เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่ามนุษย์ และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น นี่ท่านแยกแยะแค่บ้านกับมนุษย์ อาตมาแยกแยะมากไปอีกจนกระทั่งถึงเพชรถึงเงินให้ฟัง เพื่อที่จะได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

เช่นเดียวกัน แล้วเราก็สัญญาแล้วก็เป็นแต่เพียงกำหนดลงไปแต่เพียงว่า ไอ้นี่คือสภาวะหนึ่ง อยู่ในแดนหนึ่ง อยู่ในโลกๆ หนึ่ง มีความว่างเปล่า ถึงแม้จะมีสิ่งพวกนี้ๆ อยู่ เท่าไหร่ๆ ก็ตามแต่ มีคนอยู่ มีต้นไม้อยู่ มีเพชรอยู่ มีขวดอยู่ หรือสมมุติจนกระทั่งแม้เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ เอาแบงค์ร้อยมากองไว้บนโต๊ะนี้ก็เหมือนกัน เราไม่มีความหวั่นไหว เราไม่มีความไปสมมุติอะไรตามเดิม สมมุติแต่เพียงว่า อย่างเดียวแต่ว่า เรายืนอยู่ในโลกนี้ว่างว่างเฉยๆ อยู่นั่งอยู่ที่นี่ว่างๆ เฉยๆ คนอื่นหวั่นไหวตาม เขาเห็นว่าของเหล่านี้มีอะไรแปลกแตกต่างกันไป แต่เราไม่แปลกเราเฉยๆ เป็นอาการอย่างนั้น

และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียว คือเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย ท่านให้พิจารณาสิ่งที่เราไปยึดถือสิ่งที่เรายังไปยอมสมมุติอยู่ในนั้นด้วย แล้วสัญญาเหล่านั้นอย่าไปยึดถือ จงเห็นว่า สิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นด้วย หมายความว่าจงเห็นให้ได้ว่า มันมีอยู่ก็ช่างมันปะไรเราไม่มีเราไม่เกี่ยวข้อง มันจะเป็นของเราเปล่า ๆ หรือของใครก็ไม่เกี่ยวไม่แตะต้อง ความหมายอย่างนั้นไม่เกี่ยวข้องเลย จะเป็นของเราหรือของใครก็ไม่เกี่ยว มีอยู่ก็พยายาม เห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้น

หมายความว่าเห็นความว่างนั้นเป็นว่างจริงๆ แม้จะมีสิ่งที่มีอยู่สิ่งที่ไม่มีอยู่ ก็เหมือนกับมีสิ่งที่ไม่มีอยู่เท่านั้นเองฟังให้ดีนะ เหมือนกับสิ่งที่ไม่มีอยู่ เงินมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เพชรมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี คนมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เหมือนกับสิ่งไม่มีอยู่ในสัญญาคือในความรู้สึกเท่านั้นเอง ท่านหมายความเอาอย่างนี้

และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นอันยังมีอยู่ว่ามี และให้รู้ด้วยนอกจากเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มีแล้ว ก็รู้ชัดลงไปอีกด้วยว่า ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เงิน ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า ขวด ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่เขาเรียกว่า คน นี่โลกเขาเรียกว่าต้นอโศก ให้รู้ชัดอย่างนั้นให้ได้ด้วย แต่สำหรับเราไม่เกี่ยวแล้วโลกนี้จะมีขวดนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีต้นอโศกนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีเพชรนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเงินแบงค์ร้อยกองอยู่บนโต๊ะนี้ก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ ไม่แปลก มีความหมายของท่านอย่างนั้น

ดูกร อานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ผู้ใดที่พิจารณาอย่างนี้ อย่างที่อาตมาว่ามาแล้วนี่ ก็เป็นการอยู่ในหรือว่าก็เป็นการก้าวลงสู่สุญญตวิหาร หรือ ก้าว ลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ท่านยืนยันว่านี่แหละคืออาการของการทำสุญญตวิหาร

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดจะถึงสุญญตวิหารได้ ก็ต้องพยายามให้มันหลุดพ้นคือเรียกว่ารู้ให้ได้ก่อนแล้วทิ้งให้ได้ด้วยเรียกว่าสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิโมกข์หมายความว่ารู้ความพ้น สุญญตวิมุติ หมายความว่า หลุดออกไปเลย รู้ วิโมกข์

โมกขะ หมายความว่าความรู้ ความรู้ในการหลุดพ้นนั้นด้วย โมกขะ โมกขธรรมนี้ คือความรู้ในการที่จะหลุดพ้นอันนั้น ถ้าใครรู้ในสุญญตวิโมกข์ได้แล้ว ก็ทิ้งให้ได้ๆ ทิ้งสิ่งที่ควรทิ้ง

อย่างเมื่อกี้นี้ เรารู้ให้ได้ว่าไอ้นี่มันเป็นสมมุตินะ เพชรที่วางอยู่บนนี้ก็เป็นสมมุติ แบงค์ร้อยถ้าเอามากระจายอยู่บนโต๊ะนี้ก็เป็นสมมุติ ขวดนี้ก็เป็นสมมุติ คนนี่ก็เป็นสมมุติ เพชรนี่ก็เป็นสมมุติ ต้นอโศกนี่ก็เป็นสมมุติ รู้ให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติ เมื่อรู้ได้แจ้งแท้ในใจแล้วถึงจะถึงสุญญตวิโมกข์ ถ้ารู้ยังไม่ได้ไม่ใช่สุญญตวิโมกข์

นอกจากรู้ว่าเป็นสมมุติแล้ว ใจเราอย่าไปยึดถืออย่าไปนำพาด้วย ให้รู้มันเป็นจริงให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติจริงๆ แต่โลกเขาเองเขายึดถือ โลกเขายึดถือแบงค์ แหม ใครได้แบงค์ดี โลกเขายึดถือเพชร ใครได้เพชรมาแหม ฮ้อ โลกเขายึดถือนี่ เค้าเรียกว่าคน ถ้ามีผู้หญิงก็ผู้หญิง นี่ผู้ชายแตกต่างกันเขายึดถือไปหมดเลย มีความแตกต่าง มีการเทียบค่า มีการสร้างค่า สร้างไอ้นี่ต่ำ ไอ้นี่สูง ไอ้นี่จะต้องบวกไอ้นี้ ไอ้นี่จะต้องลบไอ้นี่ ตลอดเวลาเลย

เพราะฉะนั้นถ้าเรารู้อย่างนี้ได้แล้วด้วย แล้วเราก็วางให้ได้ จึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ รู้แล้ววางให้ได้เราจึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ เมื่อสุญญตวิมุติลงไปได้แล้วด้วย ผู้นั้นรู้แล้ว แล้วก็วางได้ด้วยสุญญตวิโมกข์รู้ แล้วสุญญตวิมุติก็วางได้ เมื่อรู้ด้วย วางได้ด้วย ก็อยู่ในสุญญตวิหาร เรียกว่าเป็นผู้มีสุญญตานั่นแหละเป็นเครื่องอยู่   เป็นเครื่องที่อยู่ในตนสบายเปล่าว่างดายไม่ยึดถือ เห็นสักแต่ว่าเห็นรู้สักแต่ว่ารู้ แต่เหมือนกับไม่มีเหมือนกับไม่รู้ เหมือนไม่มีเหมือนไม่รู้

นี่ภาษาพูดนะ แต่ที่นี้ถ้าใครมีอารมณ์รู้ว่าสุญญตะเป็นอย่างนั้นๆ เข้าใจอย่างนั้นเข้าใจ ซึ้งเลย ไม่ต้องไปพูดอะไรกันมากอะ ฟังเดี๋ยวนี้แค่นี้ก็จำได้ตลอดกาล เห็นเดี๋ยวนี้จำได้เดี๋ยวนี้ไปเลย ไม่ต้องไปท่องด้วย ทันที แต่คนไหนที่ยังไม่รู้เรื่องก็มานั่งท่องแล้ว ไอ้นี่สุญญตวิโมกข์มันแตกต่างกับสูญญตวิมุติอย่างไร ท่องเป็นระดับๆ ไป อะไรต่ออะไรไป

นี่ท่านอธิบายละเอี๊ยดละเอียด แต่ภาษาของท่าน พระพุทธเจ้าท่านอธิบายให้สงฆ์ฟังแค่นี้นะ ท่านเข้าใจกันแล้วเพราะมันไม่มีเรื่องมาก เพชรมันก็ไม่มี แบงค์มันก็ไม่มีมากมายถึงเดี๋ยวนี้ที่เป็นจิตสมมุติกันมากมายถึงเดี๋ยวนี้ เดี๋ยวนี้ติดสมมุติกัน โอ้โห เพชรพลอยแบงค์ร้อย มันเป็นเจ้าเป็นนายเลยมีอำนาจเหนือหัวคนเหลือเกินเดี๋ยวนี้ มันมีอำนาจเหนือหัวคนจริงๆ คนนี่ โอ้โฮ
ซูฮกมันเหลือขนาดเลย มันจึง ลำบ๊ากลำบาก ต้องอธิบายเน้นแล้วเน้นอีก ย้ำแล้วย้ำอีก ให้เห็นเป็นสมมุติให้ได้ก็ไม่เชื่อ บอกเอามาหน่อยสักร้อย ไม่ได้หรอก แหม เอาไปได้ไงตั้ง 100 นึงอะ อย่างนั้น

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่ามันยึดอยู่อย่างนั้นแหละ มันไม่รู้จักวาง มันไม่มีค่าอะไร ถ้าเราไม่ไปไอ้นั่นมัน ไม่ไปสมมุติมัน ไม่ไปหลงติดมัน มันไม่มีค่าหรอก มันเป็นการสมมุติในโลกเท่านั้นเอง ให้เห็นว่าเราจำเป็นเหลือเกิน ขาดแบงค์ร้อยจะตาย ขาดเพชรจะตายให้ได้ ทั้งๆ ที่ไม่มีเพชรแต่มีเงิน หาเงินยังไม่พอ ยังจะไปผ่อนส่งเอาเพชรมาไว้ในมือ เนี่ยเป็นอย่างนี้โดยเฉพาะผู้หญิง ถ้าผู้ชายไม่เท่าไหร่ พูดถึงเรื่องเพชรยังไม่ค่อยเท่าไหร่ พวกผู้หญิง แหม ไม่มีเพชรอะไม่มี ต้องไปผ่อนส่งมาให้ได้ จะใส่ เงินไปให้เขายังไม่พอเลย จะต้องเป็นของสำคัญอย่างนั้นน่ะ

เห็นไหมไปยึดไปถือมันมากแล้วมันก็ทุกข์ ไปนั่งผ่อนส่งเขาแล้วมันก็ตะแง็กๆ ไม่ทุกข์หรือทุกข์ เป็นแต่เพียงเพื่อจะได้เพชรมาไว้ในมือ ถ้าเอาเพชรนั้นโยนทิ้งไปไก่มันยังไม่กินเลย มันไม่มีค่าอะไรกันนักกันหนาดูซิ โยนให้ไก่ ไก่ก็ยังไม่จิกไม่กินอะ สู้เม็ดข้าวเปลือกเม็ดนึงก็ยังไม่ได้ มันจะไปมีค่าอะไรกันนักกันหนา

พระว่า..สุญญตวิหารเป็นขณะนั้น

พ่อครูว่า... ถ้าผู้ปฏิบัติและผู้ที่รับแล้วก็แน่นอนก็ต้องเห็นว่า สุญญตวิหารเป็นของที่สูงที่สุด แต่ก่อนจะเป็นสุญญตวิหารได้มันต้องมีสุญญตวิโมกข์ แล้วมีสุญญตวิมุติเสียก่อน เมื่อมีสุญญตวิโมกข์ มีสุญญตวิมุติ แล้วมันก็เป็นสุญญตวิหาร มันก็ไม่มี มันก็เป็นแต่เพียง สักแต่ว่ารู้สักแต่ว่าเห็น ตาไม่บอด ใจไม่หลับ ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น ฟังแล้วอาจจะงง ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างก็ไม่รู้ทุกอย่างก็ไม่เห็น

พระว่า...มันไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะ

พ่อครูว่า... สภาวะไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะไม่ใช่พูดแต่ภาษาพูดก็พูดให้ฟังแล้วบ้า ทุกอย่างรู้ ทุกอย่างเห็นแต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น นี่คือภาษาพูดที่มันบ้าๆ แต่สภาวะมันไม่บ้าหรอกมันรู้มันเห็นจริง แต่ไม่เอาด้วย มันก็เหมือนกับเราไม่รู้ เราไม่เห็น

เหมือนกันกับไก่ มันบอกเอาเพชรไปโยนให้มัน มันบอกว่ามันไม่รู้มันไม่เห็นด้วยมันบอกว่าไม่เห็นเข้าท่าอะไรเลย มันก็เหยียบไปเลยเหยียบเลย เอาแบงค์ร้อย ไปโยนให้มันเหรอ สู้เขาเปลือกเม็ดเดียวก็ไม่ได้มันไม่เอาด้วยเพราะมันไม่สมมุติด้วย แต่กระนั้นก็ดี ไก่มันก็ไปสมมุติไอ้ข้าวเปลือกนั่นแหละมีค่าสูง ถ้าไก่มันไม่ยึดติดข้าวเปลือกด้วยนะ ไก่มันก็สุญญตวิหารเหมือนกัน

ทีนี้ไก่มันก็ยังยึดติดสิ่งที่มันยังกินอยู่อย่างนึง และสิ่งที่มันยังเสพยังหลงอยู่อีกอย่างนึงเหมือนกัน แต่มันไม่มีปัญญาที่จะมาอธิบายสุญญตาให้มันฟังได้ มันไม่มีปัญญาแน่ คนนี้แหละมีปัญญาที่จะรู้ได้

เพราะฉะนั้นพยายามเข้า นอกจากจะไปรู้ด้วยการฟังแล้ว ต้องพยายามไปค้นหาสภาวะที่ว่านี้ให้เจอด้วย จะมาโมเมๆ เอาไม่ได้ จะค้นได้ยังไงค้นได้สิ ทำสิ บอกแล้วว่าอย่าติดสมมุติ ก็แบงค์ร้อยอยู่ในกระเป๋า ถ้าบอกว่าเราไม่ถือสมมุติด้วย อ้าววันนี้มีแบงค์ร้อย 5-6 ใบเอาไปทำทานให้หมดเลย ดูซิ ใจมันจะวิมุติลงไปได้ด้วยไหม เอ้ย เอ้ย เอ๊ยดี กระเป๋าเรามีตั้ง 500 บาท ตอนนี้วิมุติจาก 500 บาทไปแล้วนะ หลุดพ้นจาก 500 บาทแล้ว มีว่างเปล่ามีแต่กระเป๋าว่างเปล่า เงิน 500 บาทวิมุติไปแล้ว

ลองทำดูซิแล้วใจมันจะเป็นยังไง วัตถุวิมุติไปแล้ว 500 บาทเอาไปทำทานหมด หรือเอาไปทำประโยชน์ที่มันควรที่สุด เอาไปทำไปหมดแล้ว ไม่มีแบงค์ร้อย 5 ใบอยู่ในกระเป๋า แบงค์ 100 คือสุญญตะ ไม่มี แบงค์ร้อยคือว่างเปล่าจริงๆ ไม่มีแบงค์ร้อยในกระเป๋า กระเป๋าจึงว่างเปล่าจากแบงค์ร้อย

แต่ทีนี้ เมื่อเวลานั้นแหละมาดูใจตัวเองซิเป็นยังไง ใจตัวเองเป็นยังไง ยังรอนๆ คิดถึงแบงค์ร้อย 5 ใบนั้นมั้ย ยังรอนๆไหม บางคนไม่รอนๆ ธรรมดานะ เจ็บปวดเอาด้วย แหม กว่าจะหามาได้ 500 กว่าจะออกไป เจ็บปวดเอาด้วย แต่คนไหนไม่เจ็บปวด แต่ยังรอนๆอยู่ คนนั้นก็ยังมีปฏิฆะ ถ้าใครไม่มีปฏิฆะ ก็หมายความว่าไม่รอนๆด้วยเลย เฉย ว่างเปล่า แต่ไปยึดอะไร ไปยึดว่าดีแล้วเราทำบุญได้ตั้ง 500 บาท เราได้บุญนั้นแล้วเป็นรูปเป็นร่าง วาดบุญไว้เป็นรูปเป็นร่างเลย ไม่รอนๆ หรอกแต่ดีใจกับบุญ ผู้ที่ยังมีอารมณ์ดีใจอย่างนั้นอยู่นั่นแหละจึงเรียกว่า พรหม เรียกว่า พรหม เรียกว่าเป็นผู้ยังมีอรูปอย่างนึง ที่สร้างไว้เป็นลมๆ เป็นลมลอยรูป แล้วก็ยังหลงดีใจกับอันนั้นอยู่ยังมีสิ่งที่ยึดถืออยู่

แต่ถ้าผู้นี้เงิน 500 บาทก็สุญญตะไปแล้ว หายไปแล้ว ไม่มีแล้วให้เขาไปหมดจริงๆ ทำประโยชน์ในโลกไปหมดแล้ว ใจก็ไม่รอนๆ บุญก็ไม่นึกถึง อะไรก็ไม่ยึดถือไม่นึกถึงอยู่ ใจก็ดับลงไม่มีคำว่าแบงค์ 500 เมื่อกี้นี้ก็ลืมไปสิ้นด้วย ไม่มีอะไรเลยในใจว่างเปล่าใจก็ว่างเปล่าแบงค์ร้อยก็หายไปจริงๆ ด้วย ผู้นั้นแหละจึงวิมุติทั้งสภาวะ วิมุติทั้งของจริงๆ และวิมุติทั้งใจด้วย นี่แหละอาการนี้เราจะทำ

เพราะฉะนั้นถ้าใครยังไม่เคยเลยที่จะควักแม้แต่ 100 บาท 10 บาท 20 บาทให้คนอื่นไปดูซิ ไม่เคยมีทานเลยคิดดูซิ ว่าเราจะได้มั้ย เราจะเจอสภาวะมั้ย มันก็ได้แต่หลักการที่อาตมาอธิบายให้ฟังนี่ แล้วก็คุยหลักการว่า ฉันรู้แล้ว เข้าใจได้ซาบซึ้งแล้ว ใครมาถามก็อธิบายให้ฟังฉับๆ เลย สบาย อย่างนี้แน่มากดี อย่างนี้แจ๋วเลย แต่ตัวเองเขามาขอแค่เงิน 5 บาท 10 บาทไม่ให้ แล้วมันจะวิมุติลงไปได้อย่างไรไม่ให้ มันวิมุติไม่ได้  

เพราะฉะนั้นแม้กระทั่งของหวาน ของคาว ของอร่อยก็ยังอยากได้ ไอ้นี่เมียฉัน ไอ้นี่ลูกฉัน ไอ้นี่ข้าวของฉัน ไอ้นี่รถฉัน ไอ้นี่ฐานะฉัน แหม ไอ้นี่สรรเสริญของฉัน เขาบอกว่าฉันเป็นอาจารย์ ยังยึดแม้กระทั่งคำว่าอาจารย์ไว้อีก  หรือยกคำว่า แหมฉันเป็นรัฐมนตรีติดอยู่ที่รัฐมนตรีอีก มันก็ไม่มีวิมุตได้ มันก็ไปติดเป็นติ่ง ติ่งจากตรงนี้ ละจากตรงนี้ได้ ก็ไปติ่งตรงนี้ ตรงนี้ มันจะหลุดได้จริงๆ ต้องตัดอกตัดใจแล้วก็ต้องกระทำในวาระนั้น สิ่งนั้นลองดูจริงๆ ถ้าไม่ได้ลองแล้วไม่รู้

ถ้าพระพุทธเจ้าไม่ลองไปนั่งแม้กระทั่ง โอ้โห บำเพ็ญทุกขกิริยา จับนิดนึงพอจะลูบหนังขนก็ติดมือขึ้นมาอย่างท่านที่อธิบายไว้นะ ถ้าท่านไม่ไปลองอย่างนั้นท่านก็ไม่รู้หรอกว่า สภาวะสุดโต่งอีกอย่างหนึ่งมันถึงขนาดไหน แล้วท่านก็ท้าด้วยว่า จะไม่มีใครมาทำได้อุกฤษฏ์อย่างท่านอีกแล้ว เรียกว่าท่านทำอุกฤษฏ์กว่าใคร ๆ ที่ทำมาแล้ว เขาบำเพ็ญตนทรมานตนมาถึงขนาดไหน ท่านบอกว่าท่านได้ทำมาหมด ทำมาจนกระทั่งอุกฤษฏ์ถึงขั้นสุดที่แล้ว ท่านถึงได้เอามาอธิบายให้กันฟังได้ สู่กันฟังได้ว่า โอ้โห ป่วยการไปนั่งทำอะไรบางสิ่งบางอย่างเกินขอบเขต ก็ไม่ถึงขั้นนั้นหรอก ไม่จำเป็น

แต่ทำไมท่านต้องทำ ที่ท่านต้องทำก็เพราะเหตุว่าท่านจะต้องวัด ท่านจะต้องวัด วัดวา ให้รู้ความสุดโต่งของทางนี้ และทางนี้ให้รู้หมดเลยเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามพวกเราได้เท่านั้นเอง และเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามของพวกลัทธิอื่นๆ ที่เขาไปสุดโต่งสายไหนก็ไม่รู้ ให้มันรู้ชัดรู้แจ้ง

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงจำเป็นที่สุดที่ท่านจะต้องวัดวาสิ่งเหล่านั้นให้รู้ ไปลูบไปคลำสิ่งเหล่านั้นให้รู้โดยแท้จริง  แต่เรายังไม่ได้ประพฤติบำเพ็ญตัวเป็นพระพุทธเจ้า อย่าไปทำอย่างท่าน อย่าไปทำอย่างท่าน ประเดี๋ยวตายๆ ก็เหมือนเราอดข้าว กินวันละเท่าปลายมือ แล้วก็ลดลง 5 เม็ด 10 เม็ด ไปจนกระทั่งกินเท่าเม็ดงา กินวันละเท่าเม็ดงา จนกระทั่งไม่กินเลย ไหวมั้ย อาตมาว่าชักลงตรงนั้นก่อนนะ จะจับที่ตรงข้างหน้าท้องก็ดูเหมือนจะถึงข้างหลัง จับข้างหลังก็ดูเหมือนถึงหน้าท้องแล้ว คิดดูซิว่า มันติดหมดเลยเนี่ย เราจะทำได้อย่างนั้นมั้ย  ทำไม่ได้ และยังไม่ควรทำด้วยเพราะเป็นการสุดโต่ง แต่พระพุทธเจ้าท่านไม่สุดโต่ง ท่านไม่สุดโต่ง เพราะว่าท่านทำได้ ทำแล้วไม่ตาย เราทำถ้าไปทำอย่างนั้นตายเข็ดด้วย เข็ดหลาบเลย และไม่อยากจะประพฤติธรรมต่อไป

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าถึงบอกว่า อาการที่ประพฤติที่สุดโต่งเนี่ยเป็นภัย เป็นภัยต่อผู้ที่ยังไม่ถึงขั้น บารมียังไม่ถึงอย่าทำ เพราะฉะนั้น คุณไสวบอก อาตมาสุดโต่ง โอ้ว  ดูซิ รองเท้าก็ไม่ใส่..ไปกินทำไมมื้อเดียว.. เขาบอกว่า ไปทำอะไรสุดโต่งมัน จะไปสุดโต่งอย่างไรเราก็ยังทำได้เลย เขาก็เห็นสุดโต่งเพราะเขายังทำไม่ได้ แต่อาตมาไม่ได้เดือดร้อนอะไร อาตมาทำได้อาตมาก็ไปของอาตมาสบายๆ เขาก็เห็นว่าสุดโต่งอยู่ดี แต่เพียงว่าอาตมาเอง อาตมาเห็นว่าพระพุทธเจ้าทำที่สุดโต่ง แหม ไปนั่งอดข้าวถึงขนาดนั้น หนังติด แขม่วแล้ว แหม นั่งทรมานกาย จนมือลูบนี้ขนหลุดติดมือมาเลย อาตมาก็เห็นว่ามันสุดโต่ง อาตมาไม่ทำหรอก แล้วอาตมาไม่ทำเพราะอะไร เพราะพระพุทธเจ้าได้สอนไว้แล้ว อาตมารู้จากพระพุทธเจ้าแล้ว ว่าถ้าไปนั่งทำอย่างท่านนี้สุดโต่งนะ อาตมาก็เชื่อท่าน อาตมาก็ไม่ทำ

อาตมาก็ทำมัชฌิมาปฏิปทา ขณะนี้อาตมาไม่ใส่รองเท้าเป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันมื้อเดียวมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันข้าวเปล่าๆ กินผักได้สบายๆ เป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาสบายไม่เดือดร้อนและในสิ่งที่ควรจะสูงขึ้นอาตมาก็รู้ และอ่านให้มันชัดแล้วก็บำเพ็ญ ต่อไปเรื่อยๆ ตามลำดับไม่แปลกอะไรเลย

แต่จะให้อาตมาไปนั่งป่าแล้วก็ทำเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าที่ท่านทำแล้วนั้นอาตมาก็บอกแล้วว่า อาตมายังไม่ถึงขั้นจะเป็นพระพุทธเจ้า และชาตินี้ให้ต่ออีกสักกี่ชาติ ไอ้ชาตินี้ จนกระทั่งบำเพ็ญให้หนักที่สุดเท่าไหร่อาตมาก็ไม่สูง และอาตมาก็ยังไม่ทำเพราะเป็นภาวะสุดโต่ง อาตมารู้ได้เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ ท่านครอบเอาไว้แล้ว ก็อาตมาเชื่ออย่างยิ่ง มีศรัทธาในท่านอย่างสูงสุด อาตมาถึงไม่ทำ

เพราะฉะนั้นเราต้องเข้าใจระดับขั้นให้ได้ ถ้าไม่เข้าใจระดับขั้น เราจะไปมองคนเขาว่าสุดโต่ง เช่นเดียวกันกับคนที่เขาว่าอาตมามากที่ว่า แหม พระองค์นี้เคร่ง เดินก็เดินเอาอย่างนั้นแหละ กินก็กินอย่างนี้แหละ เคร่ง อาตมาไม่เคร่ง อาตมาเฉยๆ ไม่ได้เคร่งตรงไหนเลย มันไม่ได้เดือดร้อนตรงไหนเลย เพราะฉะนั้นอาการที่เคร่งก็หมายความว่า คนอื่นเขาเห็นว่าเราทำไม่ได้     (40.28 น.) ….

 

ที่มา ที่ไป

การแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม 2514


เวลาบันทึก 24 เมษายน 2567 ( 18:41:26 )

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

รายละเอียด

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 1-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

ต่อจากนี้ไป เป็นการแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม  2514

พ่อครูว่า... จะพูดสู่กันฟังโดยภาษาตรงๆ ของอาตมาคนเดียว แต่ว่าจะเอาพระสูตรมาอ่านเลยทีเดียว เอาออกมาจากพระไตรปิฎกเลยทีเดียวมาอ่านแล้วก็ขยายความกันพอที่จะขยายได้ เท่าที่จะขยายได้ทำความเข้าใจกัน ที่จริง สุญญตานั้น เป็นเรื่องที่ ไม่ใช่เรื่องตื้น เป็นเรื่องที่ลึก เป็นเรื่องที่ไกล แต่ว่าเราเองก็พูดกันมานักเพราะว่า แม้กระทั่งในที่นี้ เราก็ยังพูดกัน อย่าว่าแต่สุญญตาเลย แม้กระทั่งการตายของพระอรหันต์ตายอย่างไรอย่างไรเราก็พูดกันไปจนถึงขนาดนั้น ก็เรียกได้ว่ามันสูงเกินขนาดแล้วล่ะมันสูงก็สูงกันไปพูดสูงบ้างต่ำบ้างคละเคล้ากันไป

แต่ว่า ไอ้ที่จะสูงหรือจะต่ำอะไรก็ตามแต่ มันก็ไม่มีอะไรมากนอกจากว่า เราเองเราจะสมมุติเอา หรือว่าจะยึดถือเอาว่าไอ้นี่สูงไอ้นี่ต่ำ หยาบหรือละเอียด เราจะดำเนินจากละเอียดมาหาหยาบก็ได้ ดำเนินจากหยาบหาละเอียดก็ได้ มันได้ทั้ง 2 ส่วน 2 ด้าน แต่ว่าโดยถูกโดยต้องแล้ว มันก็ควรจะเป็นจากหยาบไปหาละเอียด จะทำจากละเอียดมาหาหยาบมันก็ได้ แต่ว่ามันนานมันใช้เวลานาน

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าท่านเองท่านไม่พยายามให้พาทำอย่างที่ท่านได้เคยตรัสเอาไว้แล้วในเรื่องปฏิปทา 4  ซึ่งบางอย่างก็ปฏิบัติได้ เรียกว่าสะดวก แต่ว่านาน

บางอย่าง สะดวกแต่เร็วด้วย อย่างนี้เป็นต้น แต่ส่วนอีกบางอย่างนั้นทั้งยากทั้งนานหรือว่ายากแต่เร็วก็ดี ซึ่งเหล่านั้นเราก็แยกแยะให้ออกตามที่พระพุทธเจ้าท่านได้แยกแยะให้ฟังแล้ว เราก็เลือกให้เป็น พยายามจัดให้ถูก ไม่ใช่ว่ามันไม่ได้ ปฏิบัติละเอียดมาหาหยาบก็ได้ แต่ควรจะปฏิบัติหยาบไปหาละเอียด

พระสูตรที่อาตมาจะอ่านนี้ หรือว่าจะเอามาเล่าสู่กันฟังนี้คือ จูฬสุญญตสูตร

จูฬสุญญตานั่นเอง  จูฬสุญญตสูตร อยู่ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 14 ข้อ 333 ที่อาตมาได้พระไตรปิฎกมาแล้ว ยังไม่มีเวลาได้อ่านเลย แต่ว่าเปิดตรงไหน ๆ ก็รู้สึกว่าดีทั้งนั้นเลย เปิดเจอตรงไหนอ่านเอาไว้แล้วก็มาร์คเอาไว้แล้วก็เล่าสู่กันฟัง

จริงๆ สุญญตะนี้ อาตมาก็เคยพูดกันมาแล้วตั้งหลายทีแล้ว แม้แต่สุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร เราก็เคยได้อธิบายถึงขนาดนั้น โดยความเป็นจริงแล้ว ขั้นที่เรามาพูดสู่กันฟังนี้เป็นขั้นอาริยะนะ ที่พูดกันถึงสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุติ สุญญตวิหาร หรือแม้จะพูดถึง  อนิมิตตนิพพาน อัปนิหิตตนิพพาน จนกะทั่งถึงสุญญตนิพพานมันเป็นที่ของพระอาริยะที่รู้อารมณ์ของนิพพาน รู้อารมณ์ของสุญญตาได้แล้ว แล้วก็มาพูดกัน ไม่ใช่ของต่ำๆ นะที่เราพูดกันอยู่นี่

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าแหม! ฟังๆ ดูแล้วก็ออกหมั่นไส้ เราเองพูดก็ออกหมั่นไส้ตัวเองเหมือนกันนะ แหม..เอาเรื่องที่มันไม่น่าพูดมาพูด ที่จริงมันเป็นเรื่องของสิ่งที่จะรู้ได้โดยสภาวะ ไม่ใช่เรื่องที่จะพูดเอาเท่านั้น เพราะฉะนั้นพูดให้ฟังก็ฟังกันไปได้เฉยๆ ฟังกันไปได้เฉยๆ สำหรับผู้ที่ลูบคลำนิพพาน ลูบคลำสุญญตาจริง ๆ แท้ ๆ ได้ฟังจะ   อ๋อ.. หรือว่าจะเข้าใจ หรือว่าจะเป็นไปได้ แต่ถ้าผู้ที่ยังไม่ได้ลูบคลำแม้อารมณ์นิพพานเป็นยังไง อารมณ์สุญญตาเป็นยังไงจริงๆ รู้แต่สภาวะตัวหนังสือที่บรรยายออกมาเป็นบัญญัติเป็นภาษา เป็นนิรุตติเป็นคำพูดคำท่องคำอ่านอะไรก็ตามแต่ เราก็จะยึดแต่เพียงเหตุผลของภาษา เหตุผลของคำพูดนั้นๆ ที่มันมีเป็นเหตุเป็นผล คล้องจองกันไปเท่านั้นเอง มันก็ไม่ซาบซึ้งถึงขีดถึงขั้นอะไร ฟังๆ ไปจำได้ก็ดี ถ้าจำไม่ได้เลิกกันเลย หมายความว่าไม่ได้เรื่องอะไรที่ฟังไป ถ้าจำได้ก็ยังดียังติดไว้ในสมอง

แต่ถ้าผู้ที่เข้าใจเจอสภาพหรือสภาวะของนิพพานจริงๆ เจอสภาวะของสุญญตาจริงๆ แล้ว เป็นสภาวะเป็นสิ่งที่มันเกิดในจิตในใจจริงๆ ผู้เจออันนั้นแล้วพออธิบายให้ฟัง ไม่จำเป็นจะต้องใช้คำว่าจำเลย มันซึ้งทันที ไม่ต้องจำไม่ต้องจด เรียกว่า เข้าใจอย่างซาบซึ้งเลย จะไม่ลืมอีกเลย ยิ่งซาบซึ้งมาก ยิ่งมีสภาวะมากยิ่งซาบซึ้งมาก แล้วยิ่งจะจำติดใจไปเลย ไม่มีถอดถอน นี่แหละเรียกว่าสภาวะกับ ของ ๆ จริงมันมาสัมพันธ์กันเข้ามันจะดูดจะติดเลยพอมีสภาวะ พอกล่าวชื่อมันปั๊บ มันดูดจนติดเลย แต่ถ้าเราไม่มีสภาวะกล่าวชื่อมันก็มีแต่ชื่อ ถ้าเราไม่มีชื่อมีแต่สภาวะมันก็ไม่มีอะไรเหมือนกัน มันก็มีแต่ตัวตน เป็นประโยชน์ตนเท่านั้น ทีนี้ถ้าเผื่อว่าเอาชื่อมาพูดด้วยเป็นสภาวะด้วย แล้วเราก็เป็นประโยชน์ที่เอาสภาวะนั้นมาอธิบายหรือมากล่าวชื่อกล่าวนามให้คนอื่นเค้าฟังได้ด้วย มันก็เป็นประโยชน์ 2 ส่วน เป็นประโยชน์ขึ้นไปเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ หรือผู้ที่มีสภาวะแล้ว มีอรรถะแล้ว มีธรรมะแล้วในตัว ก็มาเรียนรู้นิรุตติคือมาเรียนรู้ภาษาให้มันประกอบกัน เมื่อประกอบกันแล้วก็เป็นปฏิสัมภิทาญาณ 2 3 4 ขึ้นไปแล้วก็เอามาพูดสู่กันฟัง

เอาลองมาฟัง จูฬสุญญตสูตร ดูซิ https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=4714&Z=4845 จูฬสุญญตสูตร

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขา มิคารมารดา ในพระวิหาระบุพพาราม เขตนครสาวัตถี เนี่ยก็เป็นวิหารของนางวิสาขาสร้างเองวิหารบุพพารามเนี่ย  ซึ่งมีโลหะปราสาทเป็นเอกอยู่ในวัดนั้น ซึ่งโลหะปราสาทนั้นมีตั้ง 1,000 ห้อง คิดดูซิว่าความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้นกับความเจริญรุ่งเรืองในประเทศไทย เดี๋ยวนี้มันต่างกัน เดี๋ยวนี้มีมั๊ยอาคารที่ไหนมีห้องถึง 1,000 ห้อง ดุสิตธานีที่ว่าเก่งที่สุดเดี๋ยวนี้นะมีถึง1,000 ห้องไหม มีแค่ 500 ห้อง

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าความเจริญของประเทศไทยเดี๋ยวนี้อย่าอวดดีเลยว่า เจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า ไม่มีทางเลย ไม่มีทางเจริญเท่าสมัยพระพุทธเจ้าเลย แต่เราก็อวดดีว่า เราเจริญยิ่งกว่าสมัยพระพุทธเจ้า แล้วก็ไปว่าสมัยโน้นคนไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรต่ออะไร มีการงมงายอะไรมีอะไรต่ออะไรไม่จริงเลย ที่จริงฉลาดกว่าเราเยอะแยะ แต่เราไม่รู้ว่าความฉลาดนั้นคืออะไร แต่ว่าถ้าไปพูดถึงว่าความฉลาดทางโลก จริง เดี๋ยวนี้เราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยพระพุทธเจ้า เพราะอะไร โลกคืออะไร โลกหรือโลกีย์คือกิเลส คือกาม เพราะฉะนั้นบอกว่าเราฉลาดทางโลกมากกว่าสมัยโน้น จริง อาตมาไม่เถียงเลย เพราะเรามีกิเลสกามหรือกิเลสโลกียะมากกว่าสมัยโน้น อันนี้ไม่เถียง แต่ความเจริญทางโลกุตระสิ สมัยพระพุทธเจ้าเจริญกว่ามากกว่ามาก นี่แหละต้องทำความเข้าใจ

แม้พระสูตรที่ท่านตรัสเอาไว้ คำกล่าวต่างๆ นานา เราต้องมาวิจัยให้ออกว่า มันมีเหตุผลที่จะฟ้อง ที่จะแสดงอะไรต่ออะไรให้เราเข้าใจได้ด้วย เช่นว่า วิหารบุพพารามซึ่งมีโลหะปราสาทถึง  1,000 ห้อง มันก็แสดงผลให้เราเข้าใจได้ว่า ความเจริญสมัยโน้นยิ่งกว่าสมัยนี้

 [333] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขามิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ออกจากสถานที่หลีกเร้นอยู่ในเวลาเย็น แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง

 นี่เป็นสำนวนของท่านบาลี ไปที่ไหนแล้วก็นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง นี่เป็นภาษาบาลีก็หมายความว่า ไปถึงแล้วก็หาที่นั่งที่เหมาะๆ ควรๆ สำนวนนี้เข้าใจให้ได้ แล้วก็มี

เสมอๆ แปลทีไรก็จะมีอย่างนี้เป็นสำนวนพระสูตร ในสำนวนพระไตรปิฎก

พอนั่งเรียบร้อยแล้วได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่สักยนิคมชื่อ นครกะ ในสักกชนบท ณ ที่นั้น ข้าพระองค์ได้สดับได้รับคำ ได้รับพระดำรัสนี้เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า

ดูกร อานนท์ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ฟังดีๆ นะเริ่มต้นแล้วนะ บัดนี้เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม มีชื่อเลย สุญญตวิหาร หรือ สุญญตวิหารธรรม  ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อนี้ข้าพระองค์ได้สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว ใส่ใจดีแล้ว จึงจำไว้ดีแล้วหรือ  ไอ้ที่แล้ว ๆ แล้ว ๆ น่ะ นี่ยังไม่แน่ใจนะ ยังกำชับ เรียกว่า ยังทูลถามพระพุทธองค์ต่อไปอีกว่า ดีแล้วน่ะ ดีแล้วหรือ เพราะฉะนั้น คล้ายๆ ยังคลางแคลงตัวเองอยู่ว่าพระอานนท์คลางแคลงตัวเอง ว่าตัวเองเนี่ยจะเข้าใจสิ่งเหล่านั้นได้ดีแล้วทุกอย่างแล้วหรือ

พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า ดูกรอานนท์ แน่นอนนั่นเธอสดับดีแล้ว สดับนี่หมายความว่าฟังนะ เอาแค่ฟังนะ สดับดีแล้ว รับมาดีแล้ว แล้วก็รับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้วเอามาคิด ทบทวน กำหนดสัญญาลงไปในใจ ใส่ใจ จงจำไว้ดีแล้ว ผนึกลงไปเลยสัญญามันมีกำหนด กำหนดแล้วก็ฝังจำ ทรงจำไว้ดีแล้ว ท่านยังไม่ได้บอกเลยท่านยังไม่ได้บอกมากกว่านี้เลย ฟังให้ดีนะ อานนท์ แน่นอน เธอนั้นสดับมาดีแล้ว ฟัง รับมาดีแล้ว คือรับเอามาจากฟัง ใส่ใจดีแล้ว เอามาคิดดีแล้ว ทรงจำไว้ดีแล้ว แล้วก็จำ ผนึกลงไว้ในใจ  ฟังให้ดีนะ มีอยู่แค่นี้ พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้บอกว่าอานนท์ไม่ได้รับอะไร ไว้เลย แต่รับไว้ เพราะแน่นอนพระพุทธเจ้าท่านขยักเอาไว้นิดนึงเท่านั้นเอง ถ้าพระอานนท์เข้าใจสุญญตวิหารธรรมนี้ได้ดีซาบซึ้งแล้ว พระอานนท์ย่อมเป็นอรหันต์ ย่อมเกิดปัญญาวิมุติ แต่นี่พระอานนท์ยังไม่วิมุติยังไม่ได้เป็นพระอรหันต์ เพราะเหตุนั้นพระพุทธเจ้าถึงตรัสไว้แค่นี้ ก็ได้แค่ ได้สัญญาจำไว้เท่านั้น ยังไม่ดีไปกว่านี้

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม ทำไมอาตมาอธิบายตอนนั้นว่า พระอานนท์ได้แค่จำได้แค่รู้เฉยๆ แต่ยังไม่แจ้ง ยังไม่สว่างถึงที่ ก็เพราะเหตุว่า ถ้าแจ้งถ้าสว่างถึงที่แล้ว พระพุทธเจ้าจะไม่ต้องอธิบายต่อ เท่านี้เองเคล็ด พระพุทธเจ้าก็ไม่อธิบายต่อเพราะคนรู้แล้วจะไปอธิบายให้เสียเวลาทำไม แต่ที่นี้พระพุทธเจ้าอธิบายต่อแสดงว่า คนขอร้องว่าพระพุทธเจ้าจะต้องสอนต่อไปอีก ท่านก็ต้องสอนให้ฟัง

ดูกรอานนท์ ทั้งเมื่อก่อนและบัดนี้ เราอยู่มากด้วยสุญญตวิหารธรรม เปรียบเหมือนปราสาทของมิคารมารดาหลังนี้ อย่าลืมนะเราขึ้นต้นด้วยว่าขณะนี้เราอยู่ที่ปราสาทนี้ ปราสาทของนางวิสาขา  นางวิสาขานี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า มิคารมารดา คือพ่อผัวของนางวิสาขาชื่อมิคาระ แล้วมิคาระนี้เกิดเลื่อมใสยกตำแหน่งวิสาขาให้เป็นแม่ จึงเรียกว่าเป็นแม่ของมิคาระดังนี้ เพราะฉะนั้น ชื่อหนึ่ง หรือสมญานามอีกชื่อหนึ่งของนางวิสาขาคือ มิคารมารดา ขณะนี้กำลังนั่งอยู่ในโลหะปราสาทอันนี้ พระพุทธองค์กำลังเปรียบเทียบอยู่

เปรียบเหมือนปราสาทของนางมิคารมารดาหลังนี้ ว่างเปล่าจากช้าง โค ม้า และลา ว่างเปล่าจากทองและเงิน ว่างเปล่าจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษ เหมือนกันเลยกับที่อาตมาเคยเปรียบเทียบที่นี่ว่า ที่นี่ว่างเปล่าจากช้าง แต่ไม่ได้ว่างเปล่าจากคน ซึ่งอาตมาเคยยกตัวอย่างสุญญตาตั้งแต่ก่อนโน้น ตั้งแต่ยังไม่เคยได้พระไตรปิฎกมานี่พอดีได้มาอ่านพระไตรปิฎกเข้าเจอ อ่านเหมือนกันเลย ก็เลยว่าดีเหมือนกัน ว่างจากสิ่งเหล่านั้นคือว่างจากช้าง จากโค จากม้า จากลา จากทองและเงิน ท่านอธิบายเยอะแยะ ว่างจากการชุมนุมของสตรีและบุรุษคือไม่มีทั้งสตรีและบุรุษ

แต่ดูให้ดีนะ ฟังให้ดี มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียว เฉพาะ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น ฟังให้ดี แต่มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวคือ ภิกษุสงฆ์เท่านั้น คำอธิบายอันนี้ของพระพุทธองค์นี่ ละเอียดกว่าที่อาตมาได้เคยยกตัวอย่างว่า ที่นี่ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน ละเอียดตรงไหนละเอียดตรงที่ว่า ของท่านนอกจากไม่ว่างจากช้างแล้วก็ไม่ว่างจากม้า ว่างจากโค ว่างจากลา แล้วก็ว่างจากบุรุษและสตรีด้วย แต่ไม่ว่างอยู่อย่างเดียว ของท่านเหลืออย่างเดียวคือไม่ว่างจากพระสงฆ์ ฟังให้ดี นอกนั้นว่างหมดแต่ไม่ว่างอยู่แต่พระสงฆ์

แต่ที่อาตมายกตัวอย่าง คราวก่อนนั้น ว่างจากช้างแต่ไม่ว่างจากคน และไม่ว่างจากม้านั่ง ไม่ว่างจากต้นอโศก สุดท้าย ว่างจากช้างว่างจากม้า ว่างจากคนนั้นหมายความว่า ตัดกิเลสทั้งหมดออกไป ว่างจากอะไรต่ออะไรต่างๆ ที่เรียกว่าเป็นกิเลสเป็นเครื่องรบกวน เพราะฉะนั้นท่านถึงบอกว่าสิ่งที่รบกวนทั้งหลายแหล่หายออกไปหมด แต่มันยังมีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่ มีสิ่งหนึ่งที่อาศัยอยู่

เพราะฉะนั้นท่านบอกว่าว่างจากช้าง โค ม้า ลา จากเงิน จากทอง แม้กระทั่งชุมนุมสตรีบุรุษอะไรต่างๆ ว่างหมด มีไม่ว่างอยู่คือสิ่งเดียวเฉพาะภิกษุสงฆ์ แสดงว่าสิ่งที่จะให้ดูมีอย่างเดียวเท่านั้นเอง อย่างเดียวเท่านั้นที่ยึดถืออยู่  นี่แหละ ฉันใด ดูกรอานนท์ ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ไม่ใส่ใจสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่า จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่าในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้านและชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย ไอ้ที่ว่าป่า ไอ้ที่ว่าบ้าน ไอ้ที่ว่ามนุษย์อะไรต่ออะไร รวมลงไปหมดเลย รวมลงไปหมดเป็นสิ่งเดียว ใส่ใจแต่สิ่งเดียว

นี่พระพุทธเจ้าบอกท่านรวมลงไปให้ไม่ใส่ใจในสัญญาว่าบ้าน ไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่า ป่า รวมลงไปหมด จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่นและนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่า ป่า เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในสัญญาว่าป่านี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่าบ้าน ไม่แบ่งไม่แยกน่ะ  และชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์เลย มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ฟังให้ดีนะท่านจึง บอกว่ามีอยู่แต่เพียงความกระวนกระวายคือภาวะเดียว ยังมีความกระวนกระวายนะ ยังมี  มีภาวะเดียวด้วยเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น คืออันหนึ่งที่เรายึดอยู่

ก็ขออธิบายนิดนึงซะก่อน ก่อนจะต่อ เพราะฉะนั้นถ้าเราจะยึดอะไร รวมลงมาเป็นหนึ่ง เราก็ต้องว่างจากสิ่งอื่นหมด เราไม่แจง ซึ่งสมมติว่าอยู่ในบริเวณนี้ ขณะนี้ มีอะไรต่ออะไรเยอะแยะเลย ถ้าจะเราจะแบ่งแยกว่า นี่คน นี่ต้นอโศก นี่ไมโครโฟน นี่ขวดน้ำ มีแก้วอะไรต่ออะไรแยกแยะไปหมดเลยตามสมมุติโลก โลกเขาสมมุติว่าอันนี้ขวดอันนี้คน อันนี้ต้นไม้ นี้ม้านั่ง อันนี้เก้าอี้ อันนี้ว่าถ้วย ว่าชาม ต่างๆ นาๆ สมมุติโลกทั้งสิ้น  ถ้าเราไปแยกแยะจิตของเราให้ไปตามรู้พวกนี้ พวกนี้นะ เราก็จะมีการแบ่งแยกออกไปหมดเลยไม่รวมลงเป็นหนึ่ง

เพราะฉะนั้นเมื่อเราจะรวมลงเป็นหนึ่ง เราต้องเห็นสิ่งพวกนี้ว่าคือสมมุติโลก ที่มันพึงเกิดพึงเป็นตามเหตุของโลก ถ้าใครที่บอกว่าไอ้นี่มีค่าเพราะมันเป็นขวด ถ้าใครเอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ ไอ้นี่เป็นเพชร แล้วก็เดือดร้อนแล้วไม่อเนญชาแล้วชักหวั่นไหวในเพชรว่า เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้นี่ ชักไม่ค่อยดี ใครเอาแบงค์ร้อยมาวางเกลื่อนอยู่บนโต๊ะนี้ ชักหวั่นไหวแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว  เกิดจะมี อกุศลจิต หรือ กุศลจิต เกิดขึ้นซะแล้ว คนนึกดี ก็บอกว่า เฮ้ยของใครนี่เก็บสิ ไอ้คนที่มันนึกไม่ดีมีอกุศลจิตก็บอกว่า เฮ้ย ไม่ต้องไปบอกเค้าเก็บแล้ว เผลอ ๆ เราค่อยไปหยิบ มันก็เป็นได้ เพราะอะไร เพราะจิตมันไม่นิ่งแล้ว ไม่อเนญชาแล้ว ชักหวั่นไหวซะแล้ว แล้วก็จะได้รับความกระทบกระเทือนเฟื่องฟูออกมา คิดไปในทางต่ำหรือทางสูงได้ คิดไปได้

แต่ถ้าเผื่อว่าเราไม่สำคัญมั่นหมายมันเลย ไม่ไปตีค่าอะไรมันเลย เงินก็เงินสิ แบงค์แดงๆ กองอยู่บนโต๊ะก็เฉย เพชรวางอยู่บนนี้ก็เฉย แก้วน้ำขวดน้ำก็เฉย เหมือนกันกับแก้วน้ำวางอยู่  เพชรเม็ดนึงก็เหมือนกับแก้วน้ำวางอยู่เฉยๆ ไม่สะดุ้งสะเทือนอะไร เห็นแล้วก็เฉย มีเงินมีทองอยู่ในนี้ล้านนึง ก็เหมือนกับเห็นกาน้ำใบนี้วางอยู่บนนี้ ไม่ไปสำคัญมั่นหมายอะไรด้วย ไม่ไปกำหนดไม่ไปสมมุติด้วย ใครจะสมมุติว่าเพชรมีค่า เงินมีค่า ไม่สมมุติด้วย ใครจะสมมติว่าแก้วมีค่าหรือน้อยค่ากว่าเพชร น้อยค่ากว่าเงินก็ไม่สมมุติด้วย เห็นอยู่อย่างนี้ สักแต่ว่าเป็นสภาวะเดียว เฉยๆ อยู่ ไม่ไปแยกไม่ไปสมมุติอะไรด้วยเลย รู้แต่ว่าเราอยู่ ณ ที่นี้ที่หนึ่งที่เดียว แล้วก็สำคัญที่เราอยู่ไม่ไปสมมุติอะไรเพิ่มขึ้นเลย นี่คือคำอธิบายของพระพุทธองค์ที่หมายถึงเมื่อตะกี้นี้  

เธอรู้ชัดว่า สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน มีคำอธิบายเหมือนกับที่อาตมาอธิบายแล้วอาตมายังไม่ได้อ่านต่อ เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าบ้าน สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่ามนุษย์ และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น นี่ท่านแยกแยะแค่บ้านกับมนุษย์ อาตมาแยกแยะมากไปอีกจนกระทั่งถึงเพชรถึงเงินให้ฟัง เพื่อที่จะได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

เช่นเดียวกัน แล้วเราก็สัญญาแล้วก็เป็นแต่เพียงกำหนดลงไปแต่เพียงว่า ไอ้นี่คือสภาวะหนึ่ง อยู่ในแดนหนึ่ง อยู่ในโลกๆ หนึ่ง มีความว่างเปล่า ถึงแม้จะมีสิ่งพวกนี้ๆ อยู่ เท่าไหร่ๆ ก็ตามแต่ มีคนอยู่ มีต้นไม้อยู่ มีเพชรอยู่ มีขวดอยู่ หรือสมมุติจนกระทั่งแม้เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ เอาแบงค์ร้อยมากองไว้บนโต๊ะนี้ก็เหมือนกัน เราไม่มีความหวั่นไหว เราไม่มีความไปสมมุติอะไรตามเดิม สมมุติแต่เพียงว่า อย่างเดียวแต่ว่า เรายืนอยู่ในโลกนี้ว่างว่างเฉยๆ อยู่นั่งอยู่ที่นี่ว่างๆ เฉยๆ คนอื่นหวั่นไหวตาม เขาเห็นว่าของเหล่านี้มีอะไรแปลกแตกต่างกันไป แต่เราไม่แปลกเราเฉยๆ เป็นอาการอย่างนั้น

และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียว คือเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย ท่านให้พิจารณาสิ่งที่เราไปยึดถือสิ่งที่เรายังไปยอมสมมุติอยู่ในนั้นด้วย แล้วสัญญาเหล่านั้นอย่าไปยึดถือ จงเห็นว่า สิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นด้วย หมายความว่าจงเห็นให้ได้ว่า มันมีอยู่ก็ช่างมันปะไรเราไม่มีเราไม่เกี่ยวข้อง มันจะเป็นของเราเปล่า ๆ หรือของใครก็ไม่เกี่ยวไม่แตะต้อง ความหมายอย่างนั้นไม่เกี่ยวข้องเลย จะเป็นของเราหรือของใครก็ไม่เกี่ยว มีอยู่ก็พยายาม เห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้น

หมายความว่าเห็นความว่างนั้นเป็นว่างจริงๆ แม้จะมีสิ่งที่มีอยู่สิ่งที่ไม่มีอยู่ ก็เหมือนกับมีสิ่งที่ไม่มีอยู่เท่านั้นเองฟังให้ดีนะ เหมือนกับสิ่งที่ไม่มีอยู่ เงินมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เพชรมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี คนมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เหมือนกับสิ่งไม่มีอยู่ในสัญญาคือในความรู้สึกเท่านั้นเอง ท่านหมายความเอาอย่างนี้

และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นอันยังมีอยู่ว่ามี และให้รู้ด้วยนอกจากเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มีแล้ว ก็รู้ชัดลงไปอีกด้วยว่า ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เงิน ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า ขวด ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า เพชร ไอ้นี่เขาเรียกว่า คน นี่โลกเขาเรียกว่าต้นอโศก ให้รู้ชัดอย่างนั้นให้ได้ด้วย แต่สำหรับเราไม่เกี่ยวแล้วโลกนี้จะมีขวดนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีต้นอโศกนี้ก็ได้  โลกนี้จะมีเพชรนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเงินแบงค์ร้อยกองอยู่บนโต๊ะนี้ก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ ไม่แปลก มีความหมายของท่านอย่างนั้น

ดูกร อานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ผู้ใดที่พิจารณาอย่างนี้ อย่างที่อาตมาว่ามาแล้วนี่ ก็เป็นการอยู่ในหรือว่าก็เป็นการก้าวลงสู่สุญญตวิหาร หรือ ก้าว ลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ท่านยืนยันว่านี่แหละคืออาการของการทำสุญญตวิหาร

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดจะถึงสุญญตวิหารได้ ก็ต้องพยายามให้มันหลุดพ้นคือเรียกว่ารู้ให้ได้ก่อนแล้วทิ้งให้ได้ด้วยเรียกว่าสุญญตวิโมกข์ สุญญตวิโมกข์หมายความว่ารู้ความพ้น สุญญตวิมุติ หมายความว่า หลุดออกไปเลย รู้ วิโมกข์

โมกขะ หมายความว่าความรู้ ความรู้ในการหลุดพ้นนั้นด้วย โมกขะ โมกขธรรมนี้ คือความรู้ในการที่จะหลุดพ้นอันนั้น ถ้าใครรู้ในสุญญตวิโมกข์ได้แล้ว ก็ทิ้งให้ได้ๆ ทิ้งสิ่งที่ควรทิ้ง

อย่างเมื่อกี้นี้ เรารู้ให้ได้ว่าไอ้นี่มันเป็นสมมุตินะ เพชรที่วางอยู่บนนี้ก็เป็นสมมุติ แบงค์ร้อยถ้าเอามากระจายอยู่บนโต๊ะนี้ก็เป็นสมมุติ ขวดนี้ก็เป็นสมมุติ คนนี่ก็เป็นสมมุติ เพชรนี่ก็เป็นสมมุติ ต้นอโศกนี่ก็เป็นสมมุติ รู้ให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติ เมื่อรู้ได้แจ้งแท้ในใจแล้วถึงจะถึงสุญญตวิโมกข์ ถ้ารู้ยังไม่ได้ไม่ใช่สุญญตวิโมกข์

นอกจากรู้ว่าเป็นสมมุติแล้ว ใจเราอย่าไปยึดถืออย่าไปนำพาด้วย ให้รู้มันเป็นจริงให้ได้ว่ามันเป็นสมมุติจริงๆ แต่โลกเขาเองเขายึดถือ โลกเขายึดถือแบงค์ แหม ใครได้แบงค์ดี โลกเขายึดถือเพชร ใครได้เพชรมาแหม ฮ้อ โลกเขายึดถือนี่ เค้าเรียกว่าคน ถ้ามีผู้หญิงก็ผู้หญิง นี่ผู้ชายแตกต่างกันเขายึดถือไปหมดเลย มีความแตกต่าง มีการเทียบค่า มีการสร้างค่า สร้างไอ้นี่ต่ำ ไอ้นี่สูง ไอ้นี่จะต้องบวกไอ้นี้ ไอ้นี่จะต้องลบไอ้นี่ ตลอดเวลาเลย

เพราะฉะนั้นถ้าเรารู้อย่างนี้ได้แล้วด้วย แล้วเราก็วางให้ได้ จึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ รู้แล้ววางให้ได้เราจึงเรียกว่า สุญญตวิมุติ เมื่อสุญญตวิมุติลงไปได้แล้วด้วย ผู้นั้นรู้แล้ว แล้วก็วางได้ด้วยสุญญตวิโมกข์รู้ แล้วสุญญตวิมุติก็วางได้ เมื่อรู้ด้วย วางได้ด้วย ก็อยู่ในสุญญตวิหาร เรียกว่าเป็นผู้มีสุญญตานั่นแหละเป็นเครื่องอยู่   เป็นเครื่องที่อยู่ในตนสบายเปล่าว่างดายไม่ยึดถือ เห็นสักแต่ว่าเห็นรู้สักแต่ว่ารู้ แต่เหมือนกับไม่มีเหมือนกับไม่รู้ เหมือนไม่มีเหมือนไม่รู้

นี่ภาษาพูดนะ แต่ที่นี้ถ้าใครมีอารมณ์รู้ว่าสุญญตะเป็นอย่างนั้นๆ เข้าใจอย่างนั้นเข้าใจ ซึ้งเลย ไม่ต้องไปพูดอะไรกันมากอะ ฟังเดี๋ยวนี้แค่นี้ก็จำได้ตลอดกาล เห็นเดี๋ยวนี้จำได้เดี๋ยวนี้ไปเลย ไม่ต้องไปท่องด้วย ทันที แต่คนไหนที่ยังไม่รู้เรื่องก็มานั่งท่องแล้ว ไอ้นี่สุญญตวิโมกข์มันแตกต่างกับสูญญตวิมุติอย่างไร ท่องเป็นระดับๆ ไป อะไรต่ออะไรไป

นี่ท่านอธิบายละเอี๊ยดละเอียด แต่ภาษาของท่าน พระพุทธเจ้าท่านอธิบายให้สงฆ์ฟังแค่นี้นะ ท่านเข้าใจกันแล้วเพราะมันไม่มีเรื่องมาก เพชรมันก็ไม่มี แบงค์มันก็ไม่มีมากมายถึงเดี๋ยวนี้ที่เป็นจิตสมมุติกันมากมายถึงเดี๋ยวนี้ เดี๋ยวนี้ติดสมมุติกัน โอ้โห เพชรพลอยแบงค์ร้อย มันเป็นเจ้าเป็นนายเลยมีอำนาจเหนือหัวคนเหลือเกินเดี๋ยวนี้ มันมีอำนาจเหนือหัวคนจริงๆ คนนี่ โอ้โฮ
ซูฮกมันเหลือขนาดเลย มันจึง ลำบ๊ากลำบาก ต้องอธิบายเน้นแล้วเน้นอีก ย้ำแล้วย้ำอีก ให้เห็นเป็นสมมุติให้ได้ก็ไม่เชื่อ บอกเอามาหน่อยสักร้อย ไม่ได้หรอก แหม เอาไปได้ไงตั้ง 100 นึงอะ อย่างนั้น

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่ามันยึดอยู่อย่างนั้นแหละ มันไม่รู้จักวาง มันไม่มีค่าอะไร ถ้าเราไม่ไปไอ้นั่นมัน ไม่ไปสมมุติมัน ไม่ไปหลงติดมัน มันไม่มีค่าหรอก มันเป็นการสมมุติในโลกเท่านั้นเอง ให้เห็นว่าเราจำเป็นเหลือเกิน ขาดแบงค์ร้อยจะตาย ขาดเพชรจะตายให้ได้ ทั้งๆ ที่ไม่มีเพชรแต่มีเงิน หาเงินยังไม่พอ ยังจะไปผ่อนส่งเอาเพชรมาไว้ในมือ เนี่ยเป็นอย่างนี้โดยเฉพาะผู้หญิง ถ้าผู้ชายไม่เท่าไหร่ พูดถึงเรื่องเพชรยังไม่ค่อยเท่าไหร่ พวกผู้หญิง แหม ไม่มีเพชรอะไม่มี ต้องไปผ่อนส่งมาให้ได้ จะใส่ เงินไปให้เขายังไม่พอเลย จะต้องเป็นของสำคัญอย่างนั้นน่ะ

เห็นไหมไปยึดไปถือมันมากแล้วมันก็ทุกข์ ไปนั่งผ่อนส่งเขาแล้วมันก็ตะแง็กๆ ไม่ทุกข์หรือทุกข์ เป็นแต่เพียงเพื่อจะได้เพชรมาไว้ในมือ ถ้าเอาเพชรนั้นโยนทิ้งไปไก่มันยังไม่กินเลย มันไม่มีค่าอะไรกันนักกันหนาดูซิ โยนให้ไก่ ไก่ก็ยังไม่จิกไม่กินอะ สู้เม็ดข้าวเปลือกเม็ดนึงก็ยังไม่ได้ มันจะไปมีค่าอะไรกันนักกันหนา

พระว่า..สุญญตวิหารเป็นขณะนั้น

พ่อครูว่า... ถ้าผู้ปฏิบัติและผู้ที่รับแล้วก็แน่นอนก็ต้องเห็นว่า สุญญตวิหารเป็นของที่สูงที่สุด แต่ก่อนจะเป็นสุญญตวิหารได้มันต้องมีสุญญตวิโมกข์ แล้วมีสุญญตวิมุติเสียก่อน เมื่อมีสุญญตวิโมกข์ มีสุญญตวิมุติ แล้วมันก็เป็นสุญญตวิหาร มันก็ไม่มี มันก็เป็นแต่เพียง สักแต่ว่ารู้สักแต่ว่าเห็น ตาไม่บอด ใจไม่หลับ ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น ฟังแล้วอาจจะงง ทุกอย่างรู้ทุกอย่างเห็น แต่ทุกอย่างก็ไม่รู้ทุกอย่างก็ไม่เห็น

พระว่า...มันไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะ

พ่อครูว่า... สภาวะไม่ใช่พูด มันเป็นสภาวะไม่ใช่พูดแต่ภาษาพูดก็พูดให้ฟังแล้วบ้า ทุกอย่างรู้ ทุกอย่างเห็นแต่ทุกอย่างไม่รู้ ทุกอย่างไม่เห็น นี่คือภาษาพูดที่มันบ้าๆ แต่สภาวะมันไม่บ้าหรอกมันรู้มันเห็นจริง แต่ไม่เอาด้วย มันก็เหมือนกับเราไม่รู้ เราไม่เห็น

เหมือนกันกับไก่ มันบอกเอาเพชรไปโยนให้มัน มันบอกว่ามันไม่รู้มันไม่เห็นด้วยมันบอกว่าไม่เห็นเข้าท่าอะไรเลย มันก็เหยียบไปเลยเหยียบเลย เอาแบงค์ร้อย ไปโยนให้มันเหรอ สู้เขาเปลือกเม็ดเดียวก็ไม่ได้มันไม่เอาด้วยเพราะมันไม่สมมุติด้วย แต่กระนั้นก็ดี ไก่มันก็ไปสมมุติไอ้ข้าวเปลือกนั่นแหละมีค่าสูง ถ้าไก่มันไม่ยึดติดข้าวเปลือกด้วยนะ ไก่มันก็สุญญตวิหารเหมือนกัน

ทีนี้ไก่มันก็ยังยึดติดสิ่งที่มันยังกินอยู่อย่างนึง และสิ่งที่มันยังเสพยังหลงอยู่อีกอย่างนึงเหมือนกัน แต่มันไม่มีปัญญาที่จะมาอธิบายสุญญตาให้มันฟังได้ มันไม่มีปัญญาแน่ คนนี้แหละมีปัญญาที่จะรู้ได้

เพราะฉะนั้นพยายามเข้า นอกจากจะไปรู้ด้วยการฟังแล้ว ต้องพยายามไปค้นหาสภาวะที่ว่านี้ให้เจอด้วย จะมาโมเมๆ เอาไม่ได้ จะค้นได้ยังไงค้นได้สิ ทำสิ บอกแล้วว่าอย่าติดสมมุติ ก็แบงค์ร้อยอยู่ในกระเป๋า ถ้าบอกว่าเราไม่ถือสมมุติด้วย อ้าววันนี้มีแบงค์ร้อย 5-6 ใบเอาไปทำทานให้หมดเลย ดูซิ ใจมันจะวิมุติลงไปได้ด้วยไหม เอ้ย เอ้ย เอ๊ยดี กระเป๋าเรามีตั้ง 500 บาท ตอนนี้วิมุติจาก 500 บาทไปแล้วนะ หลุดพ้นจาก 500 บาทแล้ว มีว่างเปล่ามีแต่กระเป๋าว่างเปล่า เงิน 500 บาทวิมุติไปแล้ว

ลองทำดูซิแล้วใจมันจะเป็นยังไง วัตถุวิมุติไปแล้ว 500 บาทเอาไปทำทานหมด หรือเอาไปทำประโยชน์ที่มันควรที่สุด เอาไปทำไปหมดแล้ว ไม่มีแบงค์ร้อย 5 ใบอยู่ในกระเป๋า แบงค์ 100 คือสุญญตะ ไม่มี แบงค์ร้อยคือว่างเปล่าจริงๆ ไม่มีแบงค์ร้อยในกระเป๋า กระเป๋าจึงว่างเปล่าจากแบงค์ร้อย

แต่ทีนี้ เมื่อเวลานั้นแหละมาดูใจตัวเองซิเป็นยังไง ใจตัวเองเป็นยังไง ยังรอนๆ คิดถึงแบงค์ร้อย 5 ใบนั้นมั้ย ยังรอนๆไหม บางคนไม่รอนๆ ธรรมดานะ เจ็บปวดเอาด้วย แหม กว่าจะหามาได้ 500 กว่าจะออกไป เจ็บปวดเอาด้วย แต่คนไหนไม่เจ็บปวด แต่ยังรอนๆอยู่ คนนั้นก็ยังมีปฏิฆะ ถ้าใครไม่มีปฏิฆะ ก็หมายความว่าไม่รอนๆด้วยเลย เฉย ว่างเปล่า แต่ไปยึดอะไร ไปยึดว่าดีแล้วเราทำบุญได้ตั้ง 500 บาท เราได้บุญนั้นแล้วเป็นรูปเป็นร่าง วาดบุญไว้เป็นรูปเป็นร่างเลย ไม่รอนๆ หรอกแต่ดีใจกับบุญ ผู้ที่ยังมีอารมณ์ดีใจอย่างนั้นอยู่นั่นแหละจึงเรียกว่า พรหม เรียกว่า พรหม เรียกว่าเป็นผู้ยังมีอรูปอย่างนึง ที่สร้างไว้เป็นลมๆ เป็นลมลอยรูป แล้วก็ยังหลงดีใจกับอันนั้นอยู่ยังมีสิ่งที่ยึดถืออยู่

แต่ถ้าผู้นี้เงิน 500 บาทก็สุญญตะไปแล้ว หายไปแล้ว ไม่มีแล้วให้เขาไปหมดจริงๆ ทำประโยชน์ในโลกไปหมดแล้ว ใจก็ไม่รอนๆ บุญก็ไม่นึกถึง อะไรก็ไม่ยึดถือไม่นึกถึงอยู่ ใจก็ดับลงไม่มีคำว่าแบงค์ 500 เมื่อกี้นี้ก็ลืมไปสิ้นด้วย ไม่มีอะไรเลยในใจว่างเปล่าใจก็ว่างเปล่าแบงค์ร้อยก็หายไปจริงๆ ด้วย ผู้นั้นแหละจึงวิมุติทั้งสภาวะ วิมุติทั้งของจริงๆ และวิมุติทั้งใจด้วย นี่แหละอาการนี้เราจะทำ

เพราะฉะนั้นถ้าใครยังไม่เคยเลยที่จะควักแม้แต่ 100 บาท 10 บาท 20 บาทให้คนอื่นไปดูซิ ไม่เคยมีทานเลยคิดดูซิ ว่าเราจะได้มั้ย เราจะเจอสภาวะมั้ย มันก็ได้แต่หลักการที่อาตมาอธิบายให้ฟังนี่ แล้วก็คุยหลักการว่า ฉันรู้แล้ว เข้าใจได้ซาบซึ้งแล้ว ใครมาถามก็อธิบายให้ฟังฉับๆ เลย สบาย อย่างนี้แน่มากดี อย่างนี้แจ๋วเลย แต่ตัวเองเขามาขอแค่เงิน 5 บาท 10 บาทไม่ให้ แล้วมันจะวิมุติลงไปได้อย่างไรไม่ให้ มันวิมุติไม่ได้  

เพราะฉะนั้นแม้กระทั่งของหวาน ของคาว ของอร่อยก็ยังอยากได้ ไอ้นี่เมียฉัน ไอ้นี่ลูกฉัน ไอ้นี่ข้าวของฉัน ไอ้นี่รถฉัน ไอ้นี่ฐานะฉัน แหม ไอ้นี่สรรเสริญของฉัน เขาบอกว่าฉันเป็นอาจารย์ ยังยึดแม้กระทั่งคำว่าอาจารย์ไว้อีก  หรือยกคำว่า แหมฉันเป็นรัฐมนตรีติดอยู่ที่รัฐมนตรีอีก มันก็ไม่มีวิมุตได้ มันก็ไปติดเป็นติ่ง ติ่งจากตรงนี้ ละจากตรงนี้ได้ ก็ไปติ่งตรงนี้ ตรงนี้ มันจะหลุดได้จริงๆ ต้องตัดอกตัดใจแล้วก็ต้องกระทำในวาระนั้น สิ่งนั้นลองดูจริงๆ ถ้าไม่ได้ลองแล้วไม่รู้

ถ้าพระพุทธเจ้าไม่ลองไปนั่งแม้กระทั่ง โอ้โห บำเพ็ญทุกขกิริยา จับนิดนึงพอจะลูบหนังขนก็ติดมือขึ้นมาอย่างท่านที่อธิบายไว้นะ ถ้าท่านไม่ไปลองอย่างนั้นท่านก็ไม่รู้หรอกว่า สภาวะสุดโต่งอีกอย่างหนึ่งมันถึงขนาดไหน แล้วท่านก็ท้าด้วยว่า จะไม่มีใครมาทำได้อุกฤษฏ์อย่างท่านอีกแล้ว เรียกว่าท่านทำอุกฤษฏ์กว่าใคร ๆ ที่ทำมาแล้ว เขาบำเพ็ญตนทรมานตนมาถึงขนาดไหน ท่านบอกว่าท่านได้ทำมาหมด ทำมาจนกระทั่งอุกฤษฏ์ถึงขั้นสุดที่แล้ว ท่านถึงได้เอามาอธิบายให้กันฟังได้ สู่กันฟังได้ว่า โอ้โห ป่วยการไปนั่งทำอะไรบางสิ่งบางอย่างเกินขอบเขต ก็ไม่ถึงขั้นนั้นหรอก ไม่จำเป็น

แต่ทำไมท่านต้องทำ ที่ท่านต้องทำก็เพราะเหตุว่าท่านจะต้องวัด ท่านจะต้องวัด วัดวา ให้รู้ความสุดโต่งของทางนี้ และทางนี้ให้รู้หมดเลยเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามพวกเราได้เท่านั้นเอง และเพื่อที่จะเอามาตอบคำถามของพวกลัทธิอื่นๆ ที่เขาไปสุดโต่งสายไหนก็ไม่รู้ ให้มันรู้ชัดรู้แจ้ง

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าจึงจำเป็นที่สุดที่ท่านจะต้องวัดวาสิ่งเหล่านั้นให้รู้ ไปลูบไปคลำสิ่งเหล่านั้นให้รู้โดยแท้จริง  แต่เรายังไม่ได้ประพฤติบำเพ็ญตัวเป็นพระพุทธเจ้า อย่าไปทำอย่างท่าน อย่าไปทำอย่างท่าน ประเดี๋ยวตายๆ ก็เหมือนเราอดข้าว กินวันละเท่าปลายมือ แล้วก็ลดลง 5 เม็ด 10 เม็ด ไปจนกระทั่งกินเท่าเม็ดงา กินวันละเท่าเม็ดงา จนกระทั่งไม่กินเลย ไหวมั้ย อาตมาว่าชักลงตรงนั้นก่อนนะ จะจับที่ตรงข้างหน้าท้องก็ดูเหมือนจะถึงข้างหลัง จับข้างหลังก็ดูเหมือนถึงหน้าท้องแล้ว คิดดูซิว่า มันติดหมดเลยเนี่ย เราจะทำได้อย่างนั้นมั้ย  ทำไม่ได้ และยังไม่ควรทำด้วยเพราะเป็นการสุดโต่ง แต่พระพุทธเจ้าท่านไม่สุดโต่ง ท่านไม่สุดโต่ง เพราะว่าท่านทำได้ ทำแล้วไม่ตาย เราทำถ้าไปทำอย่างนั้นตายเข็ดด้วย เข็ดหลาบเลย และไม่อยากจะประพฤติธรรมต่อไป

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าถึงบอกว่า อาการที่ประพฤติที่สุดโต่งเนี่ยเป็นภัย เป็นภัยต่อผู้ที่ยังไม่ถึงขั้น บารมียังไม่ถึงอย่าทำ เพราะฉะนั้น คุณไสวบอก อาตมาสุดโต่ง โอ้ว  ดูซิ รองเท้าก็ไม่ใส่..ไปกินทำไมมื้อเดียว.. เขาบอกว่า ไปทำอะไรสุดโต่งมัน จะไปสุดโต่งอย่างไรเราก็ยังทำได้เลย เขาก็เห็นสุดโต่งเพราะเขายังทำไม่ได้ แต่อาตมาไม่ได้เดือดร้อนอะไร อาตมาทำได้อาตมาก็ไปของอาตมาสบายๆ เขาก็เห็นว่าสุดโต่งอยู่ดี แต่เพียงว่าอาตมาเอง อาตมาเห็นว่าพระพุทธเจ้าทำที่สุดโต่ง แหม ไปนั่งอดข้าวถึงขนาดนั้น หนังติด แขม่วแล้ว แหม นั่งทรมานกาย จนมือลูบนี้ขนหลุดติดมือมาเลย อาตมาก็เห็นว่ามันสุดโต่ง อาตมาไม่ทำหรอก แล้วอาตมาไม่ทำเพราะอะไร เพราะพระพุทธเจ้าได้สอนไว้แล้ว อาตมารู้จากพระพุทธเจ้าแล้ว ว่าถ้าไปนั่งทำอย่างท่านนี้สุดโต่งนะ อาตมาก็เชื่อท่าน อาตมาก็ไม่ทำ

อาตมาก็ทำมัชฌิมาปฏิปทา ขณะนี้อาตมาไม่ใส่รองเท้าเป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันมื้อเดียวมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาฉันข้าวเปล่าๆ กินผักได้สบายๆ เป็นมัชฌิมาปฏิปทาของอาตมา อาตมาสบายไม่เดือดร้อนและในสิ่งที่ควรจะสูงขึ้นอาตมาก็รู้ และอ่านให้มันชัดแล้วก็บำเพ็ญ ต่อไปเรื่อยๆ ตามลำดับไม่แปลกอะไรเลย

แต่จะให้อาตมาไปนั่งป่าแล้วก็ทำเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าที่ท่านทำแล้วนั้นอาตมาก็บอกแล้วว่า อาตมายังไม่ถึงขั้นจะเป็นพระพุทธเจ้า และชาตินี้ให้ต่ออีกสักกี่ชาติ ไอ้ชาตินี้ จนกระทั่งบำเพ็ญให้หนักที่สุดเท่าไหร่อาตมาก็ไม่สูง และอาตมาก็ยังไม่ทำเพราะเป็นภาวะสุดโต่ง อาตมารู้ได้เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ ท่านครอบเอาไว้แล้ว ก็อาตมาเชื่ออย่างยิ่ง มีศรัทธาในท่านอย่างสูงสุด อาตมาถึงไม่ทำ

เพราะฉะนั้นเราต้องเข้าใจระดับขั้นให้ได้ ถ้าไม่เข้าใจระดับขั้น เราจะไปมองคนเขาว่าสุดโต่ง เช่นเดียวกันกับคนที่เขาว่าอาตมามากที่ว่า แหม พระองค์นี้เคร่ง เดินก็เดินเอาอย่างนั้นแหละ กินก็กินอย่างนี้แหละ เคร่ง อาตมาไม่เคร่ง อาตมาเฉยๆ ไม่ได้เคร่งตรงไหนเลย มันไม่ได้เดือดร้อนตรงไหนเลย เพราะฉะนั้นอาการที่เคร่งก็หมายความว่า คนอื่นเขาเห็นว่าเราทำไม่ได้     (40.28 น.) ….

 

ที่มา ที่ไป

การแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม 2514


เวลาบันทึก 24 เมษายน 2567 ( 18:23:18 )

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 2-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

รายละเอียด

141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 2-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

https://www.boonniyom.net/53880.html 

ดู youtube ที่ https://www.youtube.com/watch?v=UkfKkECS5sI 

อ่านเอกสารที่ https://docs.google.com/document/d/1QKeLaU6STgatf36jGaAQTbnqIc7yzzdJM_XXJM--O38/edit?usp=sharing 

  ต่อจากนี้ไป เป็นการแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง 

  วันที่ 26 ตุลาคม  2514 (ตอนที่2)

  พ่อครูว่า... มีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวก็คือ เฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น ที่ท่านแยกแยะแค่บ้านกับมนุษย์ อาตมาแยกแยะมากไปอีก จนกระทั่งถึงเพชรถึงเงินให้ฟัง เพื่อที่จะได้เข้าใจมากขึ้น เช่นเดียวกัน และเราก็สัญญาเป็นแต่เพียงกำหนดลงไปแต่แค่ว่า ไอ้นี่คือสภาวะหนึ่ง อยู่ในแดนหนึ่ง อยู่ในโลกๆ หนึ่ง มีความว่างเปล่า ถึงแม้จะมีสิ่งพวกนี้ๆ อยู่เท่าไหร่ๆ ก็ตามแต่ มีคนอยู่มีต้นไม้อยู่ มีเพชรอยู่ มีขวดอยู่ หรือ สมมุติจนกระทั่งแม้เอาเพชรมาวางไว้ตรงนี้ เอาแบงค์ร้อยมากองไว้บนโต๊ะนี้ ก็เหมือนกัน เราไม่มีความหวั่นไหว เราไม่มีความไปสมมุติอะไรตามเลย สมมุติแต่เพียงว่า อย่างเดียวแต่ว่า เรายืนอยู่ในโลกนี้ว่างๆ เฉยๆ อยู่ ณ ที่นั่งๆ อยู่ที่นี่ว่างๆ เฉยๆ คนอื่นเขาหวั่นไหวตามเขาเห็นว่า ของเหล่านี้มีอะไรแปลกแตกต่างกันไป แต่เราไม่แปลก เราเฉยๆ เป็นอาการอย่างนั้น 

และ รู้ชัดว่ามีไม่ว่างอยู่สิ่งเดียวก็คือเฉพาะสัญญาว่าป่าเท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจงพิจารณาเห็นความว่าง นั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ ในสัญญานั้นเลย เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย ท่านให้พิจารณาสิ่งที่เราไปยึดถือ สิ่งที่เรายังไปยอมสมมุติอยู่ในนั้นด้วย แล้วสัญญาเหล่านั้นอย่าไปยึดถือ จงเห็นว่า สิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นด้วย หมายความว่า จงเห็นให้ได้ว่า มันมีอยู่ก็ช่างมันปะไร เราไม่มีเราไม่เกี่ยว

 

มันจะเป็นของเราก็ตาม ของใครก็ตาม ไม่เกี่ยวข้องความหมายนี้ไม่เกี่ยวข้องเลย จะเป็นของเรา หรือของใครก็ไม่เกี่ยว มีอยู่ก็พยายาม เห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้น หมายความว่าเห็นความว่างนั้นเป็นว่างจริงๆ แม้จะมีสิ่งที่มีอยู่ สิ่งที่ไม่มีอยู่ก็เหมือนกับมีสิ่งที่ไม่มีอยู่เท่านั้นเอง ฟังให้ดีนะ เหมือนกับสิ่งที่ไม่มีอยู่ เงินมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เพชรมันมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี คนมีก็ช่างมันเหมือนมันไม่มี เหมือนกับสิ่งไม่มีอยู่ในสัญญาอยู่ในความรู้สึก เท่านั้นเอง ท่านหมายความว่าอย่างนี้ 

และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นอันยังมีอยู่ว่ามี และให้รู้ด้วยนอกจากเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มีแล้ว ก็รู้ชัดอีกด้วยว่า ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า “เงิน” ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า “เพชร” ไอ้นี่เขาเรียกว่า “ขวด” ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า “เพชร” ไอ้นี่โลกเขาเรียกว่า “คน” ไอ้นี่เขาเรียกว่า “ต้นอโศก” ให้รู้ชัดอย่างนี้ให้ได้ด้วย แต่สำหรับเราไม่เกี่ยวหรอกโลกนี้จะมีขวดนี้ก็ได้

 โลกนี้จะมีต้นอโศกนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเพชรนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเพชรนี้ก็ได้ โลกนี้จะมีเงินแบงค์ร้อยกองอยู่บนโต๊ะนี้ก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ ไม่แปลก ในความหมายของท่านอย่างนั้น

ดูกรอานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นก้าวลงสู่ความว่างตามความเป็นจริงไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ของภิกษุนั้น ผู้ใดพิจารณาอย่างนี้อย่างที่อาตมาว่ามาแล้วก็เป็นการอยู่ใน หรือว่า ก็เป็นก้าวลงสู่สุญญตวิหาร หรือ ก้าวลงสู่ความว่างตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลื่อนบริสุทธิ์ ของภิกษุนั้น ท่านยืนยันว่าอย่างนี้ เขาจะมาติดโชว์ไว้ที่ร้านสัก 5 ปี 10 ปีเราก็ไม่ไปซื้อกับเขามา โลกนี้จะดีขึ้นนะ โลกนี้จะดีขึ้นนะ 

มองด้านบ้านกลับ มองในด้านอย่างคนโลกๆ ก็บอกว่าว่าไอ้พวกนี้ ตามอัพเดทไม่ไหวเลยไม่ทันสมัยเลย ไม่ตามโลกเลย ใช่ พวกนี้ไม่ตามโลกเลยเพราะเขาไม่เล่นกับโลก เขาไม่เล่นกับโลกแล้วเขาก็ไม่ตามโลก โลกเขาจะสร้างเขาจะสมมุติอะไรขึ้นมาอีกก็ตามแต่ เขาจะสมมุติหัวฟูๆ ผมยาวๆ ไว้ผู้ชายก็ไว้ปะบ่าแค่นี้ นอกจากไว้ปะบ่าแค่นี้ แล้วก็นุ่งกางเกงต้องขาบาน เดี๋ยวนี้มองเห็นข้างหลังแล้วผู้ชายผู้หญิงไม่รู้เลย 

มองข้างหลังนี่นะ หนุ่มๆ สาวๆ เดี๋ยวนี้ดูข้างหลังไม่รู้เลยว่า ใครเป็นผู้หญิงใครเป็นผู้ชาย ต้องไปดูข้างหน้า ถึงจะรู้ว่าผู้หญิง หรือ ผู้ชายดูข้างหน้าดูข้างหลังไม่รู้หรอก ผู้หญิงผู้ชายเอาถึงขนาดนั้น มันกลับกันไปยิ่งกว่า ผู้หญิงเดี๋ยวนี้ตัดสั้นก็เก่งเสียด้วยนะ เดี๋ยวนี้ผู้หญิงตัดสั้นเแยะเสียด้วย กลับกันผู้ชายดันไปไว้ยาว แล้วไปกันใหญ่เลยยุ่งกันไปหมดเลยโลกนี้ยุ่งพิลึกเลยดูไม่ค่อยออก เพราะเหตุว่าไปสมมุติมันขึ้นประเดี๋ยวผมยาวๆ เป็นฮิปปี้ฮิปโป้อะไร ประเดี๋ยวนี้ก็ตัดอีกจะไปมีอะไร มันยาว เขามากรุงรังเดี๋ยวมันก็เบื่อ เดี๋ยวก็ตัดแฟชั่นต่อไปเปลี่ยนแล้วนะ ตอนนี้ตอนนี้ตัดสั้นพวกที่สมมุติตามโลก พวก up to date ทั้งหลายแหล่พวกทันสมัยเอาแล้วตัดผมสั้นเหรอ เดี๋ยวตัดสั้นบ้าง ตัดแล้วตามเข้าไปแล้วตัดทีนึงก็เสียเงิน 

อะไรชิ้นนึงก็เสียทั้งนั้นแหละเสียทั้งเงินทั้งนั้น เสื้อแบบนี้น่าใช้ อ้าว..หมดสมัยแล้วเก็บใส่ตู้ไม่ใช้ เอาอย่างที่ทันสมัยมาใช้ มันก็ตามโลกเขาไปหมด เพราะฉะนั้นถ้าเราสมมุติไปตามโลก นี่ขวดเอย นี่เพชรเอย นี่เพชรนิลจินดา  นี่ต้นไม้ นี่ผู้หญิง นี่ผู้ชายหลงสมมุติไปอย่างนี้ตลอด โลกที่เขาสมมุติขึ้นมาใหม่ ไม่มีหยุดสมมุติขึ้นมาเรื่อยๆ เราไม่มีศูนย์เลย เราจะหลงสมมุติกับเขาไปตลอดโลก  ฉะนั้นใครที่จะสมมุติไปตามเขาก็คือเดินไปตามโลก ถ้าใครไม่หลงสมมุติไปตามเขาผู้นั้นก็มีสุญญะ มีสูญญตะ มีการว่างแล้ว มีการเข้าใจความสมมุติในโลก แต่ไม่ตามโลกเขา นี่แหละคือสิ่งที่เราควรจะเข้าใจให้ได้ 

ที่อาตมาพูดมาให้ยาวนี้ ยาวมากมายกว่าพระพุทธเจ้าท่านอธิบายในพระไตรปิฎกเพราะอะไร เพราะเราเองเรายังไม่ได้ไปถึงขนาดขั้นนี้หรอก แต่ขั้นที่กำลังอธิบายให้ฟังนี่แหละเรากำลังว่ากันอยู่ 

พระว่า...ขออภัยว่าจะไปถามที่วัด เรียนถามท่านว่า คิดว่าเป็น

สุญญตวิโมกข์ สุญญตวิมุตนี้ คือว่าอย่างที่เราเห็นรูปนาม เราเห็นชัดตรงนั้นมองเข้าไปเฉยๆ อย่างนั้นแล้วไม่มีอะไรเลย อันนี้เป็น 

พ่อครูว่า... เรามองเห็นนั้นเรียกว่า สุญญตวิโมกข์ เราเห็นความเกิดและความดับ 

พระว่า… เห็นชัดกันแล้วอันนั้น ที่นี่ก็มองไปก็มองเห็นถึงขั้นวางตัวผู้มองเลยให้มันหมดความหมายไปเลย อันนี้ใช่หรือไม่ 

พ่อครูว่า... ใช่ สูญญตวิมุติ สูญญตวิโมกข์ก็คือแค่เรารู้สมมุติโลกหรือรู้รูป รู้นาม หรือรู้เกิดรู้กลับก็ได้ เกิดสิ่งที่เขาสมมุติอยู่ 

พระว่า… ถ้าเห็นว่ามันไม่เที่ยง 

พ่อครูว่า... ฮิปโป้ ฮิปปี้ตอนนี้สมมุติกันเกลื่อนตลาดเลย เพราะฉะนั้นรู้ว่าไอ้นี่เขาสร้างขึ้นมาเขาก่อให้มันเกิดขึ้นมาเป็นการสมมุติ แล้วเราก็รู้ดับ ก็รู้ว่าไม่ช้ามันก็ดับ 

เพราะฉะนั้นแทนที่จะไปรอให้มันดับ ถ้าฮิปโป้ฮิปปี้มันดับไปเอง เราดับที่ใจเราไม่เป็นฮิปโป้ฮิปปี้กับเขาด้วย ให้กิเลสมันดับ 

ถ้าเผื่อว่า เราเห็นแล้วรู้ชัดในโลกว่า สิ่งที่เขามีนี่ที่เขายังยึดกันอยู่ แต่เราไม่ยึดด้วย เราก็มาดับที่เรา 

พอเราดับที่เราได้มันก็เป็นสุญญตะที่เรา ถ้าเราแยกออกว่าไอ้นี่เป็นการเกิด ไอ้นี่เป็นการดับ ไอ้นี่เป็นของสมมุติ อันนี้เป็นของที่เขายึดถือ และเราเองทำใจของเราไม่ยึดถือได้ด้วย เห็นที่จิตของเรา แยกยึดกับแยกไม่ยึดได้ เห็นได้อย่างนั้นเรียกว่า วิโมกข์ 

พอเวลามันแยกเห็นได้อย่างนั้นแจ้งชัดแล้วก็ เราไม่เลือกเอาที่มันมีอยู่ เราเลือกเอาที่มันวิมุติหลุดไปเลย จากการมีของเขาที่เขามีอยู่ในโลก เขาสมมุติแล้วเขาไขว่คว้า เขาจะเอา เขาจะยึด จะถืออยู่ ให้เขาเอาไป แต่เราไม่เอาด้วย เพราะเราวิมุติลง พอเราวิมุติแล้วก็ถือว่า ไม่ต้องมีก็ได้อย่างนั้น 

พระว่า...ไปเห็นความว่างในความว่าง 

พ่อครูว่า... เห็นว่างในว่าง เรียกว่า เราเห็นว่างในว่าง ถ้าไม่เห็นว่างในว่างนะ ก็ไม่เห็นสุญญตา ไม่เห็นสุญญตะ เพราะฉะนั้นจะต้องเห็น สุญญตะคือตัวความว่างนี้ เมื่อเห็นตัวความว่างนี้แล้วเราก็ทำความว่างให้เราได้ด้วย เห็นแล้วเป็นวิโมกข์แล้วเราทำความว่างให้ตัวเราเอง เป็นวิมุติ เราทำวิโมกข์ วิมุติ วิโมกข์ วิมุติอย่างนี้ได้สลับกันไป ก็คือเรามีสุญญตวิหาร มีการรู้และมีการวาง มีการยึดและมีการวาง มีการรู้ว่ามีและมีการรู้ว่าไม่มี มีเพราะคนอื่นเขามี แต่ไม่มีที่เรา เมื่อใดเราก็ไม่มีได้ แต่ถ้าจะบอกว่าให้เรามี เราก็มีได้ ไอ้นี่เขาเรียกว่าอะไร ขวด อาตมามีได้เหมือนกันกับทุกๆ คน อาตมาไม่โง่จนกระทั่งไม่รู้ว่านี่อะไรไม่มี ไม่ใช่ อาตมารู้กับคุณก็ได้นี่คือขวด

เอาเพชรมาวางตรงนี้อาตมาก็บอกว่าเรื่องนี้คือ เพชร อาตมาบอกได้ว่านี่คือ แบงค์ร้อยก็ได้ เรียกว่า “รู้” มีก็ได้ มี แต่มีอาตมาก็ไม่อยากไปยุ่งเกี่ยวกับของคุณหรอก ขวดก็เป็นขวด แบงค์ร้อยก็เป็นแบงค์ร้อยไป เพชรก็เป็นเพชรไป อาตมาไม่ยุ่งเกี่ยวด้วย อาตมาวิมุติ ไม่มี ไม่มีด้วย คุณมีอาตมารู้ มันมีอยู่ในโลก อาตมารู้ แต่อาตมาไม่เอาด้วย 

พ่อครูว่า... ไม่มีความหมายด้วย คุณจะหลงบ้าไปกับมันก็ช่างปะไร คุณจะหลงไปตีรันฟันแทง ก็ตาย ก็ช่างคุณ อาตมาไม่ได้ตีด้วย คุณจะไปแย่งกันให้ตายยังไงก็ช่างคุณไป ไม่ไปแย่งด้วย คุณจะเอามาให้อาตมาถ้าอาตมาว่า มีเงินล้านนึง อาตมาก็บอกว่า เงินล้านนึงเอามาทำไม เขาบอกว่าศรัทธาท่าน อยากให้ท่านเอาไปทำบุญทำทานทำอะไรก็ได้ ท่านจะเอาไปทำอะไรได้เลย อาตมาโอเค ถ้าอย่างนั้นเอา แต่มาบอกว่าท่านเอาเงินล้านนี้ไปสร้างโบสถ์หน่อยนะ อาตมาไม่เอาด้วย บอกให้เอาล้านนึงไปสร้างโบสถ์ อาตมาไม่เอาหรอกเมื่อย มีโบสถ์เยอะแยะ อาตมาขอพักโบสถ์ไหนก็ได้อาตมาไม่เอาด้วย ไม่จำเป็นอาตมาไม่จำเป็น เดี๋ยวนี้อาตมาไม่จำเป็น 

แต่ถ้าคนยังยึดถืออยู่ว่า เออดี สร้างโบสถ์จะได้สร้างให้แก่วัดนั้น คนนั้นเขาก็เอาเงินล้านไปสร้างโบสถ์เขาให้ แต่ถ้าใครเอาเงินมาให้อาตมาสร้างโบสถ์อาตมาไม่เอา เอามาให้ 10 ล้านยังไม่เอาเลย อย่าว่า 10 ล้านเลย  100 ล้านให้ไปสร้างโบสถ์ให้เยี่ยมที่สุดในโลกเลยนะ เหมือนอย่างวัดปากน้ำ  ตอนนี้กำลังจะทำวิหารทำโบสถ์อะไร ให้บอกเป็นที่หนึ่งของโลกนะมาสร้างไปสาธุ  สร้างกันไปเถอะ กว่าจะวิมุติได้ มันก็เป็นทุกข์ที่เขานั่นแหละ มันก็ดี ก็เป็นสมบัติตั้งอยู่ในโลก เขาไม่ย่นย่อต่อทุกข์ ก็ทำไปแต่อาตมาเห็นว่ามันเป็นทุกข์ไม่เอา 

เพราะฉะนั้นถ้าบอกว่าเอาสตางค์มาให้อาตมาล้านนึงหรือ 5 ล้านก็ตามแต่ บอกว่าสร้างประโยชน์ แล้วแต่ท่านจะเอาไปใช้อะไรที่จะเป็นประโยชน์กับโลก อาตมามีปัญญาจะใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ ถ้าอย่างนั้นเราก็เอา แต่ถ้ามากำหนดให้อาตมาอย่างที่ว่านี้ไม่เอา 

แต่ถ้าจะให้อาตมาใช้อาตมาชัดเจนเหมือนกัน เพราะอาตมาสมมุติ กับคุณก็ได้ และอาตมารู้ด้วยว่า จะใช้อย่างไรถึงจะเป็นประโยชน์อย่างอาริยสัจ เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง ไม่ใช่ว่าเอามาใช้ประโยชน์ที่ไม่ใช่แท้จริง เดี๋ยวนี้ กาลเวลาสมัยนี้ไม่เหมือนเมื่อก่อน ความจำเป็นที่แท้จริงเดี๋ยวนี้แค่ไหน อาตมารู้ 

สมัยพระพุทธเจ้าจำเป็นเพราะว่า จะต้องทำบุญกับพระ มีอานิสงส์สูงกว่าทำบุญกับคน แต่สมัยนี้รู้ไหมว่า ทำบุญกับคนมีอานิสงส์สูงกว่าทำบุญกับพระ สมัยนี้นะ จริงๆ ว่าอาตมาเป็นพระนะ  อาตมาไม่เข้าข้างพระนะ และก็ไม่ขอไอ้นั่นด้วย ไม่ขอให้ใครมามาพินอบพิเทาอาตมาด้วย จริงๆ นะ อาตมาไม่มีกิน อาตมาไม่มีคุณความดีพอ ที่คนจะใส่บาตรให้อาตมา อาตมาขอตาย ไม่อยากได้จริงๆ บาทนึงข้าวเม็ดนึงก็ไม่อยากได้ 

เพราะอะไรเพราะว่าถ้าเราไม่มีคุณความดีเพื่อที่จะไปขอข้าวเขากินแล้ว เราก็ไม่เอา แต่ว่าเดี๋ยวนี้คนซาบซึ้งเข้าใจแล้วว่า พระสงฆ์นี้เป็นเนื้อนาบุญที่พระพุทธเจ้าท่านสมมุติเอาไว้ในโลก ท่านก็สมมุติให้คนรู้บอกว่า พระสงฆ์นี้เป็นเนื้อนาบุญ ท่านให้สมมุติเปล่าๆ นะ ท่านสมมุติแล้วว่าพระสงฆ์เหล่านั้นว่านอกจากจะเป็นสมมุติสงฆ์ แล้วพระสงฆ์เก่านั้นเป็นอาริยสงฆ์จริงๆ เอาด้วย  

แต่สมัยนี้ พอสมมุติขึ้นมาไม่เป็นอาริยะ นี่จะเป็นสมมุติสงฆ์อยู่อย่างเก่า พระพุทธเจ้าท่านสมมุติไว้ เดี๋ยวนี้ก็เลยทุกคนก็เลยอยู่แค่สมมุติ ก็เข้าใจแล้วว่าจริงพระสงฆ์นี้เป็นสมมุติสงฆ์ที่ควรจะเป็นเนื้อนาบุญ แล้วก็ทำบุญแก่พระสงฆ์ ทุกคนเดี๋ยวนี้คนไทย พุทธศาสนิกชนทุกคนรู้เลยมีอานิสงส์เท่าไหร่ทำบุญกับพระได้บุญ จริง เพราะฉะนั้นพระสงฆ์เดี๋ยวนี้ ไม่อด เพราะทุกคนรู้แล้ว สมัยพระพุทธเจ้า ถ้าพระพุทธเจ้าท่านไม่ยกอานิสงส์อันนี้ขึ้นมาคนไม่ใส่บาตรตาย ศาสนานี้ไม่มาถึงเวลานี้ แต่ที่ศาสนามีมาถึงเวลานี้ได้เพราะพระพุทธเจ้าต้องยกอานิสงส์พระสงฆ์ให้เขาทำบุญ กับพระสงฆ์ให้เพียงพอ 

เดี๋ยวนี้คนทำบุญกับพระสงฆ์เพียงพอแล้ว เพราะฉะนั้นไม่ต้องกลัวพระสงฆ์จะไม่อยู่ ไม่เป็นไป  เป็นไปแล้ว เดี๋ยวนี้พระสงฆ์เป็นไปได้สบายเลย มากเกินพอ จนพระสงฆ์ติดกิเลสแล้ว มากเกินพอ 

ก็เป็นภัยเกินขอบเขต โดยจริงๆ แล้วพระสงฆ์จะต้องเป็นผู้ที่ทิ้ง เป็นผู้ที่ไม่เอา เป็นผู้ที่ไม่ยึดไม่ถือ เป็นผู้ที่วางเป็นสุญญะ สมมุติโลกรู้สมมุติ นางวิสาขาสร้างโลหะปราสาทให้พระพุทธองค์ อยู่ในบุปผาราม พระพุทธองค์รู้ว่า นางวิสาขาจะสร้างให้มโหฬารพันลึก ทำไมท่านไม่รู้ สร้างไป  ดูเหมือนจะหนเดียวกระมัง พระพุทธเจ้าไปอยู่โลหะประสาทอยู่หนเดียว แล้วท่านก็ไปพักที่อื่น ที่เป็นที่โกโรโกโสมากกว่า ท่านไม่ได้ไปยึดถือว่า ปราสาทใหญ่ตั้ง 1,000 ห้อง มันจะต้องอยู่ตรงนี้แหละเป็นบริบูรณ์ที่สุด เปล่าเลย ท่านไม่ยึดถืออะไรเลย 

เพราะฉะนั้น ทำบุญอริยสัจทุกวันนี้ พระสงฆ์ไม่ตาย คุณไม่ต้องไปประคบประหงมพระสงฆ์มากมาย แต่อย่าไปทิ้งพระสงฆ์นะ ทิ้งพระสงฆ์ก็ขาดลอยเลยผิดเหมือนกันนะ รัตนตรัย 3 ทิ้งพระสงฆ์ก็ขาดลอย จะไม่เอาตาดูหูแลพระสงฆ์ แล้วปล่อยขาดลอยเลย ผิดเหมือนกันนะอย่างหนักเลยเพราะเดี๋ยวนี้ไม่มีพระสงฆ์ก็ไม่ได้ เพราะฉะนั้นเราเอาตาดู หูแล พระสงฆ์ท่านไม่มีปัจจัย 4 ไม่มีข้าวจะฉันหาข้าวให้ท่าน ไม่มีจีวรจะนุ่ง หาจีวรให้ท่าน ไม่มีกุฏิจะอาศัยทำกุฏิให้ท่านพอประมาณ ถ้าท่านไม่สบายหายาให้ท่าน 

แต่อย่าไปอุตริหาโทรทัศน์ให้ท่าน สร้างกุฏิให้ท่าน 3 ชั้นติดแอร์ condition. อย่า ไปเอางาช้างแขวนระฆังแขวนคล้องให้ท่าน เอาโต๊ะมุก โต๊ะเหลี่ยม โต๊ะบูชาอะไรไปให้ท่าน อย่า ไม่ใช่เรื่องนะ อย่านะ นั้นไม่ใช่เรื่องหรอก เกินขอบเขตแล้วเป็นภัยกับท่านด้วยนะ จะบอกให้ เป็นภัยกับพระด้วยนะ ประเดี๋ยวบอกว่า แหม! งาช้างคู่นี้ประเดี๋ยวขายได้ 30,000 บาท เสร็จประเดี๋ยวแล้วไอ้โจรก็มางัดหรือไม่ก็ทำร้ายท่าน แล้วก็เอางาช้างไป ทำให้ท่านได้รับความเดือดร้อน ไม่ใช่ของดีนะ 

เพราะฉะนั้นจะทำของดี จงดูแลแค่ปัจจัย 4 ที่ท่านขาดเหลือ ถ้าพระองค์ใดท่านไม่มีปัจจัย 4 นี่แหละสูงสุดทำบุญด้วยปัจจัย 4 เท่านั้น อย่าไปหลงอย่างอื่นเลย ทำบุญแค่ปัจจัย 4 เท่านั้นแหละเป็นวิหารทาน ปัจจัย 4 เป็นวิหารทาน คือเครื่องอยู่ ทานที่เป็นเครื่องอยู่จริงๆ โดยเฉพาะเรียกว่า ปัจจัยแท้ๆ ที่จะยังชีพอยู่ เรียกว่า วิหารทาน แล้วก็อย่าไปอุตริไปแปลวิหารทานว่า ไปสร้างวิหารล่ะ เดี๋ยวนี้ก็สร้างวิหารกันเก่ง และก็บอกว่าเป็นอานิสงส์สูงด้วยซึ่งไม่ใช่ วิหารทานแท้จริงคือการทานปัจจัย 4 ต่างหาก

อาตมาพูดถึงจูฬสุญญตสูตร ก็พยายามโน้มน้าวให้ไปถึงสองฝ่าย ผู้ใดมีสภาวะถึงก็จะเข้าใจได้ ผู้ใดยังไม่มีสภาวะมีสภาวะ ก็อนุโลมพูดลงไปถึงแม้กระทั่ง ทาน ศีล สมาธิ  

มาต่อในพระไตรปิฎก... ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจสัญญาว่ามนุษย์ ไม่ใส่ใจสัญญาว่า ป่า ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่า แผ่นดิน จิตของเธอย่อมแล่นไปเลื่อมใสตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าแผ่นดินเปรียบเหมือนหนังโคที่เขาขึงดีแล้วด้วยหลักตั้งร้อย เป็นของปราศจากรอยย่น ฉันใด 

ดูกรอานนท์ ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ไม่ใส่ใจในแผ่นดิน ซึ่งจะมีชั้นเชิง มีแม่น้ำลำธาร มีที่เต็มด้วยตอหนามมีภูเขา และพื้นที่ไม่สม่ำเสมอทั้งหมด ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่า แผ่นดิน จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าแผ่นดิน เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในสัญญาว่าแผ่นดินนี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่ามนุษย์ และชนิดที่อาศัยสัญญาว่าป่า มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวาย 

คือภาวะเดียวเฉพาะสัญญาว่าแผ่นดินเท่านั้น เธอรู้ชัดว่า สัญญานี้ว่างจากสัญญามนุษย์ สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าป่า และรู้ชัดว่ามีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียว เฉพาะสัญญาว่าแผ่นดินเท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพิจารณาเห็นว่า เห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นอันยังมีอยู่ว่ามี เหมือนกัน คำอธิบายนี้เหมือนกัน เป็นแต่เพียงว่า เลื่อนชั้นขึ้นไปเดี๋ยวอาตมาจะอธิบายต่อ 

ดูกรอานนท์ เเม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่การว่างตามความเป็นจริง ไม่เคลื่อนคลาด บริสุทธิ์ ของภิกษุนั้น หมายความว่า เมื่อกี้นี้ท่านสมมุติว่า ให้ไปยึดป่า ท่านสมมุติให้ไปยึดป่าไว้ ที่จริงป่านี่มันตั้งอยู่บนแผ่นดิน ป่าทั้งหมดยังตั้งอยู่บนแผ่นดิน ยังเป็นของเล็ก แผ่นดินนี้ใหญ่กว่าป่า เพราะฉะนั้นตอนแรกนี่เรากำหนดยึดป่าเท่านั้นเอง แต่เรา ไม่ยึดมนุษย์ ไม่ยึดสัตว์ ไม่ยึด ช้าง โค  ลา ม้า เงิน ทอง แม้แต่ สตรี บุรุษ ไม่ยึด ที่ท่านอธิบายมาแล้วตั้งแต่ต้น แต่สมมุติว่าป่า ยึดป่าก็ใหญ่แล้วนะ แต่ถึงอย่างนั้นก็ดี ป่าก็ยังไม่ใหญ่เท่าแผ่นดิน ป่านี้ยังตั้งอยู่บนแผ่นดิน 

เพราะฉะนั้นป่านี้จะมีเนินดิน มีภูเขา มีต้นไม้ มีหลุมลึกร่องอะไร ท่านบอก มีทั้งลำธาร ตอหนาม มีภูเขาพื้นที่ไม่สม่ำเสมอทั้งหมด พวกนี้ก็ไม่ให้ใส่ใจ ให้ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าแผ่นดิน  ให้ตั้งมั่นอยู่แค่ว่า ทุกอย่างมันต้องเป็นแผ่นดินทั้งนั้นแหละ ตอไม้ ไร่เขา ลำธาร ก็เป็นแผ่นดินทั้งนั้น เหมือนๆ กันแหละ มันเกิดมาจากแผ่นดิน ถ้าไม่มีแผ่นดิน ตอไม้ก็ไม่เกิดมา ไม่มีแผ่นดิน ลำธารมันก็ไม่มี ไม่มีแผ่นดิน ไอ้ตอหนามภูเขามันก็ไม่มี ท่านให้สมมุติให้มันเหมือนกัน มันเกิดมาตามสภาวะของมัน ลมอาจจะหอบดินมาทำเป็นเนินเขา อะไรมันอาจจะเซาะร่องจนกระทั่งเป็นลำธารไปก็ได้ เกิดตามสภาวธรรม สภาวะของที่เป็นไป ไอ้นกมันไปกินลูกไทรมามันก็ขี้แปะลงตรงนี้ อ้าว..เกิดต้นไทรขึ้นมา มันก็เป็นของเกิดมาตามสภาวะ มันไม่แปลกอะไร อย่าไปทำความแปลกอะไรเลย 

เช่นเดียวกันกับเราไม่แปลกใจว่า ฮิปปี้ ฮิปโป้ มันไม่เห็นมีอะไร คนเขาก็สมมุติกันขึ้นมา แล้วมันก็สร้างฮิปปี้ฮิปโป้ มันก็สร้างขึ้นมา สร้างบิลเลียด สร้างโบว์ลิ่ง เดี๋ยวนี้สร้างอาบอบนวด คือมันเหตุที่จะสร้างอาบอบนวดกันมาก ก็เพราะว่า เพราะมันเลิกโสเภณี มันเลยบังคับ เขาบังคับให้คนไปสร้างโรงอาบอบนวด แล้วโรงอาบอบนวดมันก็เกิดขึ้นมาได้ตามสภาวะของเหตุการณ์ในโลก ใช่ไหม? มันก็เกิดขึ้นเป็นแหล่งกลางขึ้นมา เพราะความจำเป็นของโลกบีบคั้นให้มันสร้าง มันก็สร้าง  เหมือนกันกับไอ้นกที่มันกินเม็ด กินลูกไทรมาแล้วมันปวดขี้อยู่ตรงนี้ มันก็ขี้ลงตรงนี้ เม็ดตอนนี้เกิดบนพื้นดินที่มีเหตุปัจจัย เกิดเป็นต้นไทร 

เช่นเดียวกันกับอาบอบนวด มันเกิดขึ้นเพราะทุกอย่างบีบรัดขึ้นมา มันปวดไม่มีที่ไป มันก็ต้องสร้างตรงนี้ อันเดียวกัน เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าเราอย่าไปหลงว่า ไอ้โรงอาบอบนวดก็เป็นความสำคัญของเรา ต้นไทรก็สำคัญ ภูเขาก็สำคัญ แม่น้ำก็สำคัญกับเรา ไม่เกี่ยวทั้งนั้น ไม่สำคัญ ถ้ามันไม่มีอันนี้อันนั้นไม่เกิด ไม่มีแผ่นดินสิ่งเหล่านี้ไม่เกิด 

เพราะฉะนั้นในโลกนี้มันมีสิ่งเหล่านี้ต่างๆ ทุกอย่างมันเกิดซอยเล็กถี่เข้าไปเรื่อย พอไปหยุดไอ้นี่ ไอ้นี่ก็เกิดขึ้นมา พอไปหยุดไอ้นี่ ไอ้นี่ก็ผุดขึ้นมา พอหยุดผมสั้น แน่นอนผมยาวก็เกิด หยุดผมยาวผมสั้นต้องเกิด จะไปห้ามมันได้ที่ไหน หยุดกระโปรงสั้น กระโปรงยาวก็ต้องโผล่ออกมา หยุดกระโปรงยาว กระโปรงสั้นก็ต้องโผล่ออกมาอีก มันก็เป็นอยู่อย่างนั้นจะไปมีปัญหาอะไร 

เพราะฉะนั้นเราอย่าไปยึดเลย โลกมันจะสมมุติสั้น ตอนนี้ฮิต สมมุติยาว ตอนนี้ฮิต ไม่ต้องไปเอาด้วย นี่เช่นเดียวกัน  เราเห็นความเป็นกลางให้ได้ว่าโลกมันเกิดตามสภาวะความบีบคั้น เรียกว่าความบีบคั้นในโลก มันบีบคั้นหรือว่ามันเป็นไป มันสมมุติกันขึ้นมาแล้วให้มันเป็นไปอย่างนั้นๆๆ 

เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่าเราไม่ไปสมมุติตาม พระพุทธเจ้าถึงบอกใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะสัญญาว่าแผ่นดิน จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในสัญญาว่าแผ่นดินเท่านั้น ก็เห็นของทุกอย่างเป็นไปธรรมดา เห็นฮิปโป้ฮิปปี้มันจะทำยังไง มันก็กระโดดโลดเต้นไป มันก็เป็นแต่เพียง “รู้” เฉยๆ เราก็ “รู้” ว่าไอ้นี่ก็คือสมบัติโลกอันหนึ่งที่มันสมมุติขึ้นมาตั้งอยู่บนโลก ไม่ไปเอานิยายด้วยกับมัน จะเอายังไงก็อย่างนั้น ช่างมันเถอะ ถ้ามันจะมาตีเรา เราก็หลีกมันเสีย เพราะแน่นอนว่าคนนี้ตีหัวคนได้ง่ายๆ แน่ ถ้ามันเป็นฮิปโป้ฮิปปี้บ้าๆ บอๆ เพราะฉะนั้นเราก็หลบมันเสีย 

และท่านถึงบอกว่า อย่าไปเอาใจใส่มัน มันเกิดได้เป็นได้ทุกอย่าง สีแดงก็สร้างขึ้น สีเขียวก็สร้างขึ้น แบงค์ก็สร้างขึ้น เพชรนิลจินดาก็สมมุติกันขึ้น สมมุติกันขึ้นมาทั้งโลก ท้ายที่สุดผู้หญิงผู้ชายก็สมมุติกันขึ้นมา ไอ้แท้ที่จริงไม่มีผู้หญิงผู้ชายหรอก มัน “มี” เพราะไปยึดถือกันเข้า ไส้เดือนมันไม่สมมุติกันมาก มันมีตัวผู้ตัวเมียไหม “ไม่มี” ตัวผู้ตัวเมียของไส้เดือนไม่มี เพราะไม่ไปสมมุติกันมาก สมมุติกันมาก มันก็แตกตัวขึ้นมา ไม่สมมุติมาก มันก็อยู่ตัวของมัน ถ้าสมมุติมาก มันก็ยึดถือจะต้องแตกเหล่าแตกกอ จะต้องสร้างวิญญาณ เพราะว่ามันถือว่ามันมีวิญญาณ มันก็มีลูกขึ้นมาได้ในตัวของมันเอง ไม่มีปัญหาอะไรเลย ถ้าเราเข้าใจเรื่อง “วิญญาณ” แท้ๆ และเข้าใจลึกซึ้งถึงความจำเป็นที่มันจะบีบคั้น 

ถ้าไส้เดือนมันไปเกิดสมมุติตัวเองขึ้นมาอีกเมื่อไหร่ว่า ไม่ได้แฮะมันต้องมีเพศแฮะ เพศหญิงเพศชาย ประเดี๋ยวไส้เดือนจะมีเพศหญิงเพศชาย คนก็เหมือนกัน ที่มันแตกมาเป็นเพศหญิงเพศชาย เพราะได้หลงสมมุติมาตั้งนานแล้ว เป็นสัตว์ที่เจริญกว่าไส้เดือน สมมุติกันขึ้นมาเป็นเพศนั่นเพศนี่ จนเจริญขึ้นมาเป็นลิง เป็นค่าง ก็สมมุติมาจนกระทั่งเป็นคนนี่ ไปยึดถือกระทั่งว่า ผู้หญิงกับผู้ชายไม่เหมือนกัน 

พระว่า… ไส้เดือนไม่มีเพศ แล้วเขาสืบพันธุ์ยังไงครับ 

พ่อครูว่า... เขาสืบพันธุ์ในตัวของเขาเอง ไส้เดือนมีทั้งเพศหญิง-เพศชายอยู่ในตัวเดียวกัน อาตมาเอาชีววิทยามาอธิบายให้ฟังด้วย มีทั้งเพศหญิง-เพศชาย 

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าท่านถึงบอกว่า เมื่อรู้ชัดอย่างนี้ว่า สัญญานี้ว่าแผ่นดินนี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยสัญญาว่า มนุษย์ และชนิดที่อาศัยสัญญาว่า ป่า ไม่มีไปวุ่นวายด้วย ไอ้นี่จะเรียกว่ามนุษย์ ไอ้นี่จะเรียกว่า ป่า ไอ้นี่จะเรียกว่า ภูเขา ลำธาร น้ำ ไอ้นี่จะเรียกว่า ฮิปโปฮิปปี้ ไม่ไปสมมุติกับเขาหมด มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายในภาวะเดียว เฉพาะสัญญาว่าแผ่นดินเท่านั้น สั้นเข้ามาอีกแล้วใหญ่ขึ้น แต่แคบเข้าความรู้สึกแคบเข้า แต่กว้างใหญ่ไพศาล 

สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าป่า สัญญานี้ว่างจากสัญญามนุษย์ และรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียว เฉพาะสัญญาว่าแผ่นดินเท่านั้น ยึดถืออย่างเดียวว่า เออสักแต่ว่าคนเหมือนกันหมด ถ้าเราสมมุติมาใกล้ สักแต่ว่าคนหมด ก็เหมือนกับที่ท่านว่าสักแต่ว่าแผ่นดินหมด ไอ้นี่ก็แผ่นดิน มันไม่มีแผ่นดิน มันไม่มีอย่างอื่น 

พระว่า… สังขารไหมครับ 

พ่อครูว่า... เป็นไอ้นี่ขึ้นมาเป็น “สังขาร” เราไปยึดด้วยว่าสังขาร เป็น “สังขาร” ปรุงขึ้นมาทั้งนั้น ปรุงขึ้นมาเป็นผู้หญิง ปรุงขึ้นมาเป็นผู้หญิง-ผู้ชาย ปรุงขึ้นมาทั้งนั้น เพราะฉะนั้นพอ สักแต่ว่าคนเหมือนกัน ไม่มีแม้แต่กระทั่งเพศชาย-เพศหญิงไม่มี เป็นเพศหญิงก็เพราะไปปรุง ปรุงขึ้นมา แต่แท้จริงโลกมันปรุงมาแล้ว มันเกิดผู้หญิง-ผู้ชายแยกออกมาเป็นตัวๆ มันมีอะไรหลายอย่าง ไม่เหมือนกันในโลก แต่โดยใจของเราอย่าไปเอาด้วยกับเขาสิ เขาจะเป็นหญิงก็ช่างเขาปะไร แต่ก็คนใช่ไหม ผู้หญิงก็คน ผู้ชายก็คน มันไม่เป็นอะไร เพราะฉะนั้นสักแต่ว่าคน ไม่มีผู้หญิงไม่มีผู้ชาย เมถุนธรรมเราจะได้ลดบ้าง เอาเข้าหน่อย เอาเข้าหน่อย เมถุนธรรมจะได้ลดลงได้ 

ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพิจารณาเห็นว่าความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย ก็เช่นเดียวกับเมื่อกี้นี้ ท่านบอกแล้วว่า ด้วยความเห็นว่าว่าง ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย คือเห็นว่ามี ได้ และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้นว่า มีอยู่ว่ามี เห็นแล้วก็ปล่อยไป ไอ้นี่ว่ามี และความว่างก็มีอยู่ด้วยตลอด 

พิจารณาเห็นความว่างในสิ่งที่ไม่มีอยู่นั้น อยู่ในสัญญาคือไม่มีอะไร และรู้สิ่งนั้นที่สัญญานั้นยัง “มี” อยู่ว่า “มี” รู้กำหนดที่เขาสมมุติว่ามี และเราเองไม่กำหนดตามเขาก็คือ..ว่าง นี่เท่านี้ความหมายของท่าน 

เพราะฉะนั้นถ้าเราทำได้จริง จิตมันไม่ไปยึดถือจริง จิตมันก็ไม่ไปรับเอามาจริง ..มันก็เป็นจริง แต่ขณะนี้เราฟังแต่ภาษา 

พระว่า... หลักปฏิบัติก็คือ ศีล สมาธิ  ปัญญา วิมุติเลย 

พ่อครูว่า... ไม่มีอื่นเลย ศีล สมาธิ ปัญญาจะพูดอีกกี่ร้อยรอบ ที่พูดให้ฟังอยู่ขณะนี้คือ..ศีล หรือเรียกว่า..ปริยัติ ที่พูดให้ฟังอยู่ขณะนี้คือศีลหรือปริยัติ ต่อไปเมื่อรู้แล้วเอาไปลองทำดูซิ เรียกว่า.. ปฏิบัติหรือสมาธิ พอเอาไปปฏิบัติหรือสมาธิ มันจะเกิด..ปฏิเวธธรรม เกิดผลขึ้นมาจริงๆ ให้เราสัมผัส มันถึงจะ อ๋อ.. ตัวอ๋อนั้นคือ..ปัญญา ตัวอ๋อตัวนั้นคือปัญญา พุทโธ่เอ๋ย.. แหม.. หลงกันซะตั้งนาน นี่ผู้หญิง ก็ไอ้คนเท่านั้นเอง ผู้หญิงที่ไหนล่ะ หรือผู้หญิงเองก็เหมือนกันถามจริงๆ นี่ผู้ชายหรือ พุทโธ่เอ๋ย.. ก็ไอ้คนเหมือนกันนะ มันไปแบ่งเพศแบ่งพันธุ์อะไรที่ไหนกัน ไม่เห็นจะต้องไปสืบพันธุ์กันตรงไหน ก็ไอ้คนเท่ากัน คนนี้ก็จบลง..ว่างลง สุญญตะลง ก็ไม่ดิ้นรนที่จะไปสืบพันธุ์ ถ้ายังเห็นเป็นผู้หญิง-ผู้ชาย ..สังขารธรรมก็เกิดอยู่ตลอดโลก สังขารกันเข้าไป สังขารตัวนี้แปลว่าสืบพันธุ์ ตามหลักเรื่องนี้ ไม่มีผิดหรอก 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าต้องเห็นให้ได้ เป็นให้ได้ ที่นี้ให้เห็นให้ได้ เป็นให้ได้ต้องไปหยุดให้ได้จริงๆ ด้วย ลองจริงๆ หรือปฏิบัติให้มีสมาธิ เพราะฉะนั้นสมาธิอันนี้อย่าไปเพ่งเล็งแต่เฉพาะต้องมานั่งหลับตาปี๋ๆ อยู่อย่างนั้น มันไม่ไหวนะ เอาแต่นั่งหลับตาปี๋ๆ แล้วก็จะไปลงยังไง องค์นี้ท่านปฏิบัติหลับตาปี๋ๆ มาแล้ว แล้วก็ติดมาตั้งไม่รู้เท่าไหร่ๆ หลับตาปี๋กิเลสข้างนอกกระโดดโลดเต้นลูบหัวอยู่ก็ไม่รู้ พอลืมตาขึ้นมา กิเลสมันก็บานเบอะเท่านั้นเอง ก็ลืมตามันก็มาครอบเราเป็นสมมุติอยู่อย่างนั้น หลุดไม่ได้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่เห็นสมมุติไม่แจ้งใจในปัญญา วิมุติปัญญาไม่เกิด พระพุทธเจ้าท่านไม่สอนเจโตวิมุตอย่างเดียว เพราะฉะนั้นคนที่เจโตวิมุติมีเยอะแยะไป สมัยพระพุทธเจ้าพวกนั่งหลับตาปี๋ๆ มีนิโรธสมาบัติ เป็นปรมาตมันบ้าง เป็นอะไรต่ออะไร วิมุติอยู่ในป่าเยอะแยะไปหมด แข็งทื่อ..มีฤทธิ์มีเดช พระพุทธเจ้าท่านไม่ยกเป็นอาริยะ ถ้ามีปัญญาเกิดแม้น้อยหนึ่ง ท่านก็เรียกเป็นอาริยะแล้ว โสดาฯ ยิ่งเป็นปัญญารู้จักละ จักวางอะไรได้ด้วยท่านถึงบอกว่า มีอะไรต่ออะไรขึ้นไปมีศรัทธานุสารี ธัมมานุสารี มีศรัทธาวิมุติ มีทิฏฐิปปัตตะ มีกายสักขี มีปัญญาวิมุติ จนกระทั่งเลยไปเป็นอุภโตภาควิมุติ เป็นปัจเจกพุทธะ สุดท้ายก็เป็น อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านแยกไว้ละเอียดลออหมดเลยทุกอย่าง 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าเราจะรู้ได้ด้วยปัญญานี่จะต้องรู้ไปอย่างนี้ ตามลำดับ เพราะฉะนั้นท่านแบ่งแยกแม้กระทั่งของศาสนาอื่นท่านสอนไว้ ท่านก็แบ่งแยก แต่ของท่านที่สุดก็คือ สัมมาสัมพุทธะสูงสุด ท่านแยกเอาไว้หมดเลย 

พระว่า...คำว่า นิสสัตตะ นิชชีวะ สภาวะ 

พ่อครูว่า... อันนี้อาตมาไม่เคยได้ยิน แต่เป็นสภาวะที่รู้ได้เห็นได้ เราก็จะรู้ได้ว่าอันนี้ไม่มีชีวิต ไม่มีสัตว์ ไม่มีบุคคล ฉะนั้นท่านถึงไม่พยากรณ์ แม้ มาลุงกยบุตร ที่ไปถามท่านนักหนาว่า ไอ้นี่เป็นชีวะ ไอ้นี่เป็นสรีระ ท่านบอกไม่เอานะ มาพูดอยู่นี่มันโยกโย้ ไอ้นี่เป็นชีวะ ก็ไม่ใช่ ไอ้นี่เป็นสรีระก็ไม่เชิง มาอธิบายอยู่ท่านบอกท่านไม่เอา เพราะฉะนั้นจึงบอกว่าไอ้นี่เป็นสัตว์ เป็นบุคคล หรือไอ้นี่เป็นชีวิต ไม่ชีวิตอะไรต่างๆ ย่อมรู้ได้ด้วยการปฏิบัติ ไม่จำเป็นจะต้องมาพูดกันมาก 

ย่อมรู้ได้ด้วยการปฏิบัติ ไม่ใช่มารู้ได้ด้วยภาวะการพูดๆ ฟังๆ ไปพูดนะ ประเดี๋ยวก็เป็นมิจฉาทิฏฐิประเดี๋ยวเลอะ เดี๋ยวก็หลง ง่ายเข้าๆ เลยเอาแต่สบายเลย เสพเมถุนด้วยจิตว่างเลย ไปลงถึงขั้นเสพเมถุนด้วยจิตว่างละ หวานเลย 

ผู้หญิง-ผู้ชายแค่นี้ก็ยังให้รู้ว่าไปโง่สมมุติเป็นผู้หญิงผู้ชายทำไม ผู้หญิงผู้ชายก็ไม่มี เมื่อไม่มีผู้หญิงผู้ชาย มันจะมีการเสพเมถุนนี้ได้ที่ไหนในโลก ก็ถ้าไปเสพเมถุนอยู่แล้วก็บอกว่า ว่าง มันจะว่างลงไปได้ยังไง ก็มันยังแบ่งเป็นผู้หญิงผู้ชายอยู่แท้ๆ ก็ยังมีผู้หญิงผู้ชายอยู่ จะไปว่างไปได้ยังไง ว่างลงไม่ได้ มันสุญญตะลงไม่ได้ 

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าถึงบอกว่า สักแต่ว่ามีนะ ภูเขา ลำธาร น้ำ อะไรต่างๆ ไม่ต้องไปเกี่ยว มันเกิดมาให้ยึดแต่ว่า..เออนี่มันก็ลงตัวมันอยู่ในนี้แหละ มันรวมตัวกันขึ้นมา กว้างขึ้น ขณะนี้ อธิบายถึงพรุ่งนี้นะ ไม่รู้ว่าข้างหน้าจะเป็นยังไง ตอนนี้จากป่าแล้วกระจายไปสู่แผ่นดิน ดูต่อไปซิ 

ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจสัญญาว่าป่า ไม่ใส่ใจสัญญาว่าแผ่นดิน ตอนนี้ไม่ใส่ใจว่าสัญญาว่าแผ่นดินอีกแล้วนะ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะ อากาสานัญจายตนสัญญา จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในอากาสานัญจายตนสัญญา เดี๋ยวอาตมาจะอธิบายเรื่อง “อรูปฌาน” ให้ฟัง ที่จริงแล้วต้องไปนั่งหลับตากับ “รูปฌาน” เหล่านี้ให้ได้จริง เดี๋ยวอาตมาจะอธิบายให้ฟัง

เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ ในอากาสานัญจายตนสัญญานี้ ไม่มีความกระวนกระวาย ชนิดที่อาศัยสัญญาว่าป่า และชนิดที่อาศัยสัญญาว่าแผ่นดิน มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายคือ ภาวะเดียว เฉพาะ อากาสานัญจายตนสัญญาเท่านั้น เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ ว่างจากสัญญาว่าป่า สัญญานี้ว่างจากสัญญาว่าแผ่นดิน และรู้ชัดว่ามีไม่ว่างอยู่ ก็คือสิ่งเดียวเฉพาะ “อากาสานัญจายตนสัญญา” เท่านั้น  ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพึงพิจารณาเห็นความว่างนั้นด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสัญญานั้นเลย และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั่นเองยังมีอยู่ รู้ความ “มี” และความ “ไม่มี” ว่า “มี”

ดูกรอานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่ความว่าง ตามความเป็นจริง ไม่เคลื่อนคลาด บริสุทธิ์ ของภิกษุนั้น นี่ท่านยกขึ้นมาอีกแล้ว นอกจากป่าก็ให้มายึดเอาอากาศ “อากาสานัญจายตนะ” หมายความว่า แล้วท่านมีสัญญาด้วยนะ หมายความว่ามารับรู้แต่ว่าอากาศ อากาศนี้ยิ่งกว่าแผ่นดินอีกนะ มีอยู่รอบโลกนอกออกไปจากอากาศนี้นอกโลกออกไป..ยิ่งกว่าแผ่นดิน เมื่อกี้อาตมายังนึกว่าท่านจะมาเอาโลกซะก่อน ท่านไม่เอาโลกเลยท่านเอาอากาศเลย อากาศมีมากยิ่งกว่าโลกอีก 

เพราะฉะนั้นนอกจากเราจะไม่ยึดถือแค่ว่า นี่ก็ต้นไม้ นี่ก็ภูเขา นี่ว่าป่า ว่าอะไร นี่แผ่นดิน ก็ให้วางอีก อย่าไปยึดถือว่าไอ้นี่แผ่นดิน ที่แผ่นดินมันเกิดได้เพราะมันผสมผเสมาจากอากาศ อากาศมันมาสร้าง  สร้างให้เกิดแผ่นดิน สร้างให้เกิดทุกอย่าง 

เพราะฉะนั้นถ้ารวมความแล้ว ไอ้อากาศนี่แหละรวมตัวมาเป็นโลกทั้งโลก ที่เรายืนอาศัยอยู่  

พระว่า... เป็นสังขารหรือเปล่า 

พ่อครูว่า... สังขารสิ มันปรุงแต่งมาตั้งเป็นกี่ล้านปี กว่าจะรวมตัวมาเป็นโลก เราเองมีชีวิตอยู่กี่ร้อยปีอย่าไปเที่ยวได้คำนวณเอาเลยว่า ไอ้โลกนี้มันปรุงแต่งกันมาทีละนิด ทีละหน่อย เดี๋ยวนี้คนกำลังทำลายโลก ขุดดินเหมือนกัน เหมือนกันกับร่างกายของเรา ร่างกายของเราดีๆ นะ มีขนคิ้วออกมาตามธรรมชาติไม่เอาแล้ว ถอนมันจริงถอน..สักวันโดนตา เหมือนกับทุกวันนี้ ขุดดินถอนต้นไม้ เดี๋ยวนี้ป่าไม้ไม่ค่อยมีแล้วนะ ป่าไม้เหมือนกับคิ้วเหมือนกับผมของคน ในโลกนี้ป่าไม้ ต้นไม้ใบหญ้าเหมือนกับผมของคน ให้มีความชุ่มเย็น คิ้วให้มันมี อะไรให้มันมี มีความชุ่มเย็น ไม่ช้าไม่นานหรอก ถอนมันจริงเดี๋ยวโลกร้อน ต้นไม้ก็ไม่มี อะไรก็ไม่มี เดี๋ยวโลกแตก มีแต่ความร้อน ความเย็นไม่มี 

เช่นเดียวกัน คนที่ทรมานตนเองแบบนั้นแหละ เกินขอบเขตประเดี๋ยวจะตาย ขุดจริง อ้าว..ตาไม่ 2 ชั้นเซาะร่องก็ไปขุดเข้าไป ขุดเข้าไปประเดี๋ยวตาย ตรงนี้มันไม่มีเนิน ไม่มีภูเขา ก็ทำภูเขา ไอ้ตรงนี้มันไม่นูนก็บีบมันเข้าไป ให้มันนูนไปเดี๋ยวก็ตาย ตายกันมาแเยะแล้วบีบมันเข้าไป เช่นเดียวกันเลยกับโลก ไม่มีผิดเลย 

เพราะฉะนั้น โลกนี้แหละ ถ้าเราทำลายมันมาก ประเดี๋ยวมันก็ตาย เพราะฉะนั้นโลกนี้มันจะตายเพราะเรานี่แหละทำ ไประรานต้นไม้บ้าง ไปทำไอ้โน่นไอ้นี่บ้าง ไม่มีภูเขาก็สร้างให้เป็นภูเขาทองเลย สร้างภูเขาอะไรขึ้นมา ไม่มีบ่อน้ำ ไม่มีลำธาร ขุดลำธาร ขุดคลอง ทำเข้าไปสิ แล้วไม่รู้เลยว่าในโลกนี้ที่มันอยู่ได้นี่ มันมีเส้นเลือดของมันใต้น้ำ ใต้ๆ พื้นดิน มีเส้นทางน้ำ มันมีเส้นทางน้ำ  มันมีเส้นทางอะไรต่ออะไรที่มันหล่อลื่นในลูกโลกนี้อยู่นะ เหมือนเส้นเลือดในกายของเรา ที่มันหล่อลื่นให้ร่างกายของเราเป็นไปด้วยดี 

เพราะฉะนั้นในพื้นโลกนี้มีหมดแหละ ต่างๆ นานา แม้กระทั่งตับไตไส้พุงของโลกก็มี มีบ่อแร่ มีบ่อปรมาณู มีบ่อรังสีต่างๆ อยู่ในพื้นโลกนี้แหละ ที่มันจะก่อให้เกิดพลังงาน ที่จะทำโลกนี้ให้มันหมุนอยู่ได้ แล้วให้มันอยู่ได้ในโลก คนก็ไปเอาอะไรไปควักเอาตับมากินนิดหน่อย ไปควักเอาปอดมากินนิดหน่อย ไปควักเอาแร่มา ไปควักเอาน้ำมันมาใช้ ไปควักอะไรมาใช้ นี่แหละ สักวันหนึ่งมันก็แตก เมื่อไม่มีแล้วศูนย์แห่งความดึงดูดก็ไม่มีอะไร ก็ไม่มีแล้ว โลกนี้มันก็ลำบากขึ้นๆ นี่เป็นเรื่องจริง เพราะฉะนั้นคนตายเพราะอะไร ตายเพราะเชื้อโรคมันอยู่ในตัวเรานี่ มันขุดกินตับหน่อยนึง กินปอดหน่อยนึง กินไส้หน่อยนึง ประเดี๋ยวคนก็ตาย 

เพราะไอ้เชื้อโรคนั่นแหละ คือเหมือนคนที่อยู่ในโลก เจาะกินไปเรื่อยๆ แล้วคนเองหลงว่าเจริญ แหม..ขุดตรงนี้ได้มากๆ เจริญ ก่อตรงนี้ให้ได้มากๆ ทำตรงนี้ให้สูงๆ ทำตรงนี้ให้เป็นภูเขาได้มากเจริญ ถ้าทำตรงนี้ให้เป็นตึกราม 100 ชั้นเจริญ ทำเข้าไป แต่แท้ที่จริง ไอ้การก่อให้เป็นตึก 5 ชั้นคือเนื้องอก คือมะเร็ง ก่อเข้าไปสิ ก่อเข้าไปนี่ในตับ ในไต ในไส้ในพุง ก็ก่อเป็นมะเร็งขึ้นมา ประเดี๋ยวก็ตาย ขุดปอดให้พรุนไปข้างหนึ่งประเดี๋ยวก็ตาย ขุดตับให้พรุนไปข้างนึงเดี๋ยวก็ตาย ไม่ได้ผิดอะไรกันเลย 

เพราะฉะนั้น คนอย่าไปทำอะไรไปสร้างอะไรกันให้มากมาย โลกมันจะแตกเพราะเรานี่แหละ ก็เช่นเดียวกับเราแตก หรือ เราตายไปเพราะเชื้อโรค ไม่มีผิดเลย 

พระว่า… คนที่เป็นโรคมะเร็งมาจากไหนครับ

พ่อครูว่า... ก็สร้างตึกดินน้ำลมไฟ ที่นี้ถ้าดินน้ำลมไฟนี่มันไม่มีอะไรเลย มันไม่ไปเกาะกลุ่มมันไม่มารวมตัวกัน มันสักแต่ว่ามันอยู่ ดินก็อยู่ น้ำก็อยู่ ไฟก็อยู่เป็นตัวธาตุของมันอยู่แท้ๆ ธรรมดา ไม่มีอะไรเกิด ก็หมายความว่าดินน้ำลมไฟนั้นก็สักแต่ว่าเป็นอย่างนั้นไม่มีที่ใคร ไม่มีที่ไหน แต่ถ้าดินน้ำลมไฟนั้นมันเกาะกุมตัวรวมตัวกันเข้าปั๊บ! จะเกิดธาตุเพิ่มขึ้นอีก 2 ตัว  ตอนแรกจะเกิดธาตุเพิ่มขึ้นอีกตัวเดียวก่อน ถ้าตัวนั้นเรียกว่าอากาศธาตุ กำลังพูดถึงอากาศ อากาสานัญจาฯ ถ้าตัวนั้นเป็นอากาศ อากาศตัวนี้ อากาสานัญจาฯ ยังไม่เอาอายตนะเข้าไป มันจะเป็นธาตุตัวที่ 5 เรียกว่า อากาศธาตุ มันยังไม่รู้สึกอะไรมากมาย นอกจากมันปรุงแต่งขึ้นมาเป็นคนเมื่อไหร่ปั๊บ! วิญญาณธาตุเกิดขึ้นมาอีกตัว

อากาศสภาพ ทางอภิธรรมเรียกว่า “ปริจเฉทรูป” คือพอเอาดินน้ำลมไฟมารวมตัวกันเข้า มันรวมไม่สนิทหรอก มันจะมีช่องว่างอยู่ที่นึง ไอ้ช่องว่างที่ตรงนั้นแหละ เราเรียกว่า “ปริจเฉทรูป” เป็นอากาศ สภาพเป็นอากาศธาตุ เพราะฉะนั้นเมื่อรวมตัวกันเข้า ก้อนดิน ก้อนอิฐ ก้อนหิน เนี่ยที่มันรวมกันอยู่ในพวกนี้มี 5 ธาตุ มันใหญ่ มันยังไม่รู้สึกอะไรมากมาย นอกจากมันปรุงแต่งขึ้นมาเป็นคนเมื่อไหร่ปั๊บ! วิญญาณธาตุเกิดขึ้นมาก่อน ขึ้นมาเป็นสัตว์อีกเมื่อไหร่ หรือขึ้นมาเป็นต้นไม้ 

ดินน้ำไฟลม รวมตัวขึ้นมาเมื่อไหร่เป็นต้นไม้ ต้นไม้นี่มีวิญญาณธาตุแล้วนะ ต้นไม้นี่เป็นวิญญาณธาตุแล้วนะ มีวิญญาณธาตุแล้วนะ มันมีความรู้สึกแล้ว มีความรับรู้แล้ว แดดอยู่ที่ไหนมันก็รู้ โน้มไปหาแดดแล้ว มันมีวิญญาณธาตุขึ้นมาแล้วนะ แต่เป็นอิฐ เป็นหิน มันยังไม่มี มี 5 ธาตุ มีอากาศธาตุเท่านั้นพอมันรวมตัวสูง ประยุกต์ตัวเอง ตกแต่งตัวเอง พัฒนา หรือสังขารธรรมและทำตัวเองขึ้นมาเรื่อย ปรุงแต่งตัวเองขึ้นมา ให้ฉลาดขึ้น ให้สูงขึ้นๆ แบบโลก แบบก่อแบบโลกนี่แหละ มันจะเกิดมาเป็นต้นไม้ พอเป็นต้นไม้มี 6 ธาตุเข้าไปแล้ว มีวิญญาณธาตุเลย เพราะฉะนั้นอาตมาพูดเดี๋ยวนี้หมายใจเอาว่า 

วิญญาณธาตุในต้นไม้ก็มี ก็อย่าเพิ่งไปงงว่า ต้นไม้ทำไมมีวิญญาณธาตุ อาตมาก็อธิบายไปให้เข้าใจในสภาวะนี้เสียก่อน แต่อย่าไปยึดถือว่าเอาไปปนเปกับวิญญาณธาตุที่อยู่ในคน วิญญาณธาตุที่อยู่ในคนนี้ ถูกปรุงแต่งยิ่งกว่าต้นไม้ ขึ้นมาเป็นวิญญาณธาตุที่มีทั้งความฉลาด และความโง่ มากมาย แยกความฉลาดความโง่ขึ้นมาอีก เพราะฉะนั้นเริ่มต้นขึ้นมาเป็นต้นไม้ก็มี 6 ธาตุแล้ว มีดินธาตุ น้ำธาตุ ไฟธาตุ ลมธาตุ และก็อากาศธาตุและก็วิญญาณธาตุ 

พระว่า… ต้นไม้มันมีวิญญาณธาตุ มันไม่มีวิญญาณขันธ์ 

พ่อครูว่า... ถ้าเผื่อว่าเราจะเอาว่าวิญญาณขันธ์นั้น คือเครื่องปรุงแต่งที่ถึงขั้นมีดี-มีชั่ว  มีรส-มีชาติ อันนั้นก็ยังไม่มีในต้นไม้ ถ้าวิญญาณขันธ์นั้นนะ ตีเอาว่าวิญญาณขันธ์นั้นคือ ของที่ปรุงแต่งขึ้นมาจากความรับรู้เฉยๆ จนกระทั่งเกิดเป็นรส เป็นชาติเรียกว่ามีกิเลส มีตัณหา ถ้าอย่างนั้นแล้วล่ะก็ต้นไม้ยัง ยังไม่นับว่ามีวิญญาณขันธ์ แต่เรียกว่ามีวิญญาณธาตุแล้ว 

เพราะฉะนั้นในตัวคนนี่ไม่ได้ดับวิญญาณธาตุหรอก ดับวิญญาณขันธ์นะ ตัวที่มีรสชาติทุกข์-สุข ดับวิญญาณขันธ์ ที่อาตมาเคยอธิบายให้ฟังแล้วขันธ์ทั้ง 5 ดับวิญญาณขันธ์นะ แต่ยังมีตัวรู้ ยังมีธาตุรู้ ยังมีวิญญาณธาตุอยู่ ไม่ได้ดับวิญญาณธาตุนะ แต่จะดับวิญญาณธาตุนี่อีกทีก่อนตาย ยิงเปรี้ยงเลย ละลายเสีย วิญญาณธาตุนี้จะอยู่ก่อนตาย ยิงเสียให้ได้ด้วย ใครยิงได้มากเท่าไหร่คนนั้นก็ทำลายวิญญาณธาตุได้มากเท่านั้น ไม่เท่ากันด้วย 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จึงไม่เท่ากันอีก สามารถที่จะทำลายวิญญาณธาตุของตัวเองให้เสื่อมสลายไปมาก เช่นเดียวกันกับเราเอาก้อนหินก้อนหนึ่งมาทุบแตก ใครมีความสามารถเก่งก็ทุบแตกละเอียดได้มาก ที่นี้จะเอามาจับรวมตัวรวมตนให้เป็นตัวเป็นตนได้ยากขึ้น  ถ้าแตกสองเสี่ยงไม่ช้าหรอก มันรวมตัวเป็นของเก่าก็ได้ง่าย เรียกว่ารวมตัวเป็นตัวตนได้ง่ายขึ้น ถ้าทุบเป็น 3 เสี่ยงก็ยากขึ้นไปอีกนิด ถ้าทุบให้เป็น 5 เสี่ยงเป็นร้อยเสี่ยงยากขึ้นไปเป็นลำดับ ทุบให้กระจุยเลยละลายเลยเหมือนอย่างพระพุทธเจ้าท่าน ทำพระธาตุของท่าน พอเวลาเผาเสร็จ มีผลอย่างพิเศษมาราดให้พระธาตุแตกเป็นเสี่ยงไปหมดเลย นั่นคือทำวิญญาณธาตุให้สลายแตกออกไป 

พระว่า… วิญญาณธาตุ คือที่พูดเมื่อกี้ว่า ใครจะวางได้สนิทกว่า 

พ่อครูว่า... ถูก ใครวางได้สนิทเท่าใด ผู้นั้นก็คือยิ่งไม่มีเท่านั้น และตัวพวกนี้มันจะแตกสลายเองในตัว เพราะฉะนั้นเวลาตายจริงแล้ว พระธาตุก็เป็นจริง พระธาตุใครจะแตกได้เป็นเศษเล็กเศษน้อยเท่าของพระพุทธเจ้าไม่มี บางองค์ก็ยังเป็นท่อนเป็นแท่งอยู่เลย แต่ของพระพุทธเจ้าเป็นเม็ดข้าวสาร เป็นเม็ดงา แตกละเอียดยิบเท่านั้นเลย แต่เกาะเป็นเม็ดๆไม่ได้เป็นผุยผง เหมือนยังกับขี้ฝุ่นขี้เถ้า แต่ก็มีพระอังคาร ขี้ฝุ่นขี้เถ้าก็มี แต่เป็นเศษ แต่รวมตัวเป็นเม็ดนี่เยอะเลย และก็ไม่มีหรอก เหลือที่เป็นพระอังคาร เหลือที่เป็นอะไรที่ของใหญ่ๆ ที่ไม่แตกเท่านั้นเอง นอกนั้นท่านแตกละเอียดเลย เพราะพระพุทธเจ้าท่านทำลายขันธ์ ทำลายธาตุของท่านได้อย่างเก่ง 

ถ้าเข้าใจอันนี้ไม่ได้นะ ก็เอาไปอ่านสิตำราพระพุทธเจ้า ทำไมพระธาตุพอเวลาปรินิพพานแล้วเผาเสร็จ พระพุทธเจ้าถูกถวายพระเพลิงแล้วเสร็จผลต่อมา พระธาตุต่างๆ แตกละเอียดออกไป อยู่ดีๆ ทำไมแตกออกไป  เราเข้าใจธรรมะ เข้าใจภาษาเข้าใจเหตุผลอย่างนี้แล้วจะเข้าใจว่า อ๋อ..แตกเพราะเหตุนี้ เข้าใจไหม แตกทำลายเพราะเหตุนี้ แต่ทำลายพระอำนาจความเป็นจริงเเท้จริงไม่ได้เลย 

พระว่า… นี่ใช่ไหมที่ว่า มันจะมองเห็นว่า ถ้าสมาธิไม่บริสุทธิ์จะไม่เห็นอันนี้ 

พ่อครูว่า... ถูก ถ้าความเงียบหรือความสงัดหรือความสงบระงับ มันยังมีอะไรรบกวนอยู่ ถ้ามันยังไม่สงบระงับ เรียกว่าบริสุทธิ์จริงๆ มันก็จะไม่เห็นความละเอียดเล็กอันนี้เข้าไปได้ เราจะรู้ความละเอียดเล็กอันนี้เข้าไปได้ก็ต่อเมื่อ จิตของเรามันสงบระงับละเอียดเข้าไปอยู่ในภูมิเดียวกัน จึงจะเห็นซึ่งกันและกัน 

พระว่า…ที่มันมีจิตสมาธิ กระดูกมันมีผล 

พ่อครูว่า... มันก็มีผลสมาธิถึงจุด ท่านบอกว่าไม่ต้องไปหวังเอา ไม่ต้องไปสร้างเอา มันโผล่ขึ้นมา พลั๊วๆๆ เลย มันเกิดขึ้นมา ขอให้เราทำแล้วมันได้ผล ที่ถึงจุดปั๊บ! อันนี้ก็เกิดให้เรา ไอ้นี่ถึงจุดปั๊บ! อันนี้ก็โผล่ให้เรา แต่ถ้าเผื่อว่าเราเองยังไม่ถึงจุด โหยหา ก็เป็นตัณหา ถ้าเผื่อว่ามันถึงจุดแล้ว ห้ามมัน ยังไม่มีทางที่จะไม่ได้เลย ห้ามมันก็ไม่ได้ มันได้ มันมี มันมาเอง มันโผล่มาเอง มันมาเอง จะนั่งจะนอนจะยืนจะเดินจะเป็นอะไร มันโผล่ขึ้นมาให้เห็นเสมอ บางทีอย่างนี้ปั๊บ! พอจิตเราร่วมลงเป็นสุญญตาปั๊บ! อะไรก็โผล่ขึ้นมาเอง พอจิตสงบแล้ว พอเจอไอ้นี่ก็ปรุงเป็นธรรมะแตกออกมา เป็นธัมมวิจยะต่อดูแล้ว แตกโพลงออกมาเป็นธัมมวิจยะ ก็เกิดโพธิปักขิยธรรมขึ้นมาเท่านั้นเอง เรียกว่ารู้แท้รู้จริงเป็นความรู้ที่แท้ ก็ออกมาไม่มีอะไร 

พระว่า... สมาธินี้ถ้ามีแล้ว ก็ต้องทำขึ้นมา 

พ่อครูว่า... อันนั้นเป็นบาทฐาน สมาธิต้องทำอยู่ทุกเมื่อ แต่มันลึกเข้า ละเอียดเข้าๆ แล้วเราจะบอกว่า เราจะวางสมาธิไม่ได้..เปล่า สมาธินี้แหละทำไปๆ แล้วมันจะอยู่ในตัวของเรา เรียกว่าอธิจิต 

พระว่า… ถ้าทำอยู่มันยังไม่เป็น ถ้าเป็นแล้วไม่ต้องทำ

พ่อครูว่า... อธิจิตนี่แหละ …น้อมเข้าไป ผลของมันเป็นอธิจิต แล้วก็ไม่ต้องไปทำอะไรมันมาก ถ้าเป็นอธิจิตแล้ว ไม่ต้องทำอะไรมันมาก เพราะฉะนั้นตัวสมาธินี้ …ทำเข้าไปซะก่อน พอทำแล้วมันเป็นอธิจิตแล้ว ไม่ต้องไปทำอะไรมันมาก​ พอปั๊บ! มันก็เป็นสมาธิมันก็รวมลงมาเลย  

พระว่า… มีความละเอียดลออยิ่ง 

พ่อครูว่า... แน่นอนเอาที่ไปไว้ยิ่ง มันก็ยิ่งขึ้นไปเรื่อยๆ ฉะนั้นไม่ต้องไปบอกว่านั่งพุทโธ พุทโธ พุทโธ แล้วมานั่งดู ลมหายใจ อัสสาสะ ปัสสาสะ ไม่แล้ว 

        พระว่า…ด้วยหรือไม่ 

พ่อครูว่า... พรวดเลย พอวางปั๊บ! มันก็ถึงจุด มีอะไรขึ้นมายกจิตขึ้นมาพิจารณา มันก็เป็นวิปัสสนาหรือธรรมวิจัย มันก็รู้ซ้าย-รู้ขวา รู้ของจริง-รู้ของไม่จริง รู้สมมุติโลก-รู้สมมุติธรรม รู้สมมุติที่โลกอันหนึ่งแล้วก็รู้สมมุติธรรม ที่อาตมาเรียกว่าสมมุติธรรมก็เพราะว่า ขณะนี้เรายังสมมุติ แม้กระทั่งอากาศ สมมุติแผ่นดินก็เป็นสมมุติธรรม สมมุติอากาศก็เป็นสมมุติละเอียดขึ้นมาแล้ว ถ้าสมมุติไปทาง ห้วย หนอง คลอง บึง เป็นแผ่นดินเมื่อไหร่ก็เป็นสมมุติโลก 

พระว่า... ความมีต้นไม้ ภูเขา แผ่นดิน ก็มีความเป็นอากาศละเอียด 

พ่อครูว่า... เป็นอย่างนี้ถึงบอกว่า “อากาสานัญจายตนะ” แบบสมถะที่เขาบอกว่าไปพิจารณาแต่ลมนะ มันไม่ได้เป็นของตัวตน อธิบายพูดกันไม่รู้เรื่อง ขณะนี้กำลังเป็นอากาศ อากาสานัญจายตนะ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสมมุติอยู่เลย แม้กระทั่งแผ่นดิน ก็เกิดได้เพราะอากาศ เพราะฉะนั้นเราก็มองใจให้กว้างว่า ทุกอย่างก็เหมือนลมรำเพย    นี่แหละ มันก็โบกบินอยู่อย่างนี้แหละ มันไม่มีอะไรเป็นตัวตนเลย แผ่นดินมันยึดตัวของมันอยู่ได้ก็ช่างหัวมัน แต่ไอ้แผ่นดินที่แท้จริงมันก็คืออากาศนี่แหละ สักวันหนึ่งมันก็จะละลายหายสูญไปเป็นอากาศนี่แหละแล้วมันก็โบกโบยเคลื่อนไหวเป็นอนัตตา อยู่ไปมาไปมาอยู่ในโลกนี้ 

พระว่า… เอาอันนั้นมาเป็นอารมณ์ 

พ่อครูว่า... เอาอันนั้นมาเป็นอารมณ์ละเอียดยิ่งกว่าเป็นแผ่นดินขึ้นมาเป็น อากาสานัญจายตนะ ละเอียดขึ้นไปอีกแล้ว เป็นอารมณ์ของอากาศแล้ว เพราะฉะนั้น อากาสานัญจายตนะก็คือ จะยึดสมมุติเอาความรู้สึกอายตนะ ไปจับยึดอยู่ที่อากาศ ไปยึดแต่ว่าตรงนี้ก็มีแต่อากาศนี่แหละ ไอ้นี่ก็ไม่ใช่คน ไอ้นี่ก็ไม่ใช่แผ่นดิน อันนี้ก็ไม่ใช่ต้นไม้ อันนี้ก็ไม่ใช่ภูเขา อันนี้ก็ไม่ใช่แบงค์ อันนี้ไม่ใช่เพชร อันนี้ไม่ใช่พลอย ไม่ใช่อะไรทั้งนั้น “อากาศ” ทั้งนั้นแหละ ถ้าใครเห็นได้อย่างนั้น แหม…แจ๋วเลย มองอะไรเห็นแต่เป็นอากาศหมดเลย   ทะลุปรุโปร่งหมดเลย ไหวไหม ไหวไหม มันไม่ไหวนะ เจอบางที แหม ไก่ย่างกลิ่นฉุนๆ นี่ก็ชักแย่แล้วเหมือนกัน…มันไม่ไหว 

ดีเหมือนกันถ้าเผื่อว่าไม่ไล่ถึงวิญญาณประเดี๋ยวจะไม่เข้าใจ  เมื่อถึงอากาสา

นัญจายตนะ อากาสานัญจายตนะ ก็ไม่ก้าวล่วงลงสู่หมดเลย ทุกอย่างเป็นอากาศธาตุให้หมด จนขนาดนั้นแล้ว ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจในวิญญาณัญจายตนสัญญา ยกขึ้นจากอากาศเป็นวิญญาณแล้ว 

เมื่อกี้นี้อาตมาได้อธิบายไปแล้ว ดินน้ำลมไฟ มาเป็นอากาศ แล้วมาวิญญาณนะ 

พระว่า... มีธาตุที่ 6 เป็นธาตุไม้ด้วย 

พ่อครูว่า... เอาภาษาอะไรมา ตอนนี้เรากำลังพูดธรรมะ ดินน้ำลมไฟแล้วก็มีอากาศธาตุ วิญญาณธาตุนี่กำลังขึ้นถึงวิญญาณ นี่แหละเป็นขันธ์ 5 แท้ๆ 

ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจ วิญญาณัญจายตนะ ไม่ใส่ใจอากิญจัญญายตนสัญญา ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะ  เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ท่านรวบหมดเลย  จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ใน เนวสัญญานาสัญญายตนะ เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ใน เนวสัญญานาสัญญายตนะนี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัย วิญญาณัญจายตนสัญญา และ ชนิดที่อาศัยอากิญจัญญายตนสัญญา มีอยู่ก็แต่ ความกระวนกระวายคือภาวะเดียว เฉพาะ เนวสัญญานาสัญญายตนะเท่านั้น 

เธอรู้ชัดว่า สัญญานี้ว่างจาก วิญญาณัญจายตนะ สัญญานี้ว่างจาก อากิญจัญญายตนะ และรู้ชัดว่านี่ “มี”  ไม่ว่างอยู่ก็คือสิ่งเดียวเฉพาะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เท่านั้น ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้น ด้วยสิ่งที่ “ไม่มี”อยู่ ในสัญญานั้นเลย และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในสัญญานั้น อันยัง “มี” อยู่ว่า “มี”

ดูกรอานนท์ แม้อย่างนี้ ก็เป็นก้าวลงสู่ความว่าง ตามความเป็นจริงไม่เคลื่อนคลาด บริสุทธิ์ ของภิกษุนั้น ตอนนี้ยกขึ้นไปถึงนอกจากอากาศที่เราเห็น ทุกเวลาโปร่งใส มองทะลุปรุโปร่งไปหมดแล้วว่า ไม่มีตัวตน มองทุกสิ่งทุกอย่างเป็นอากาศหมด แม้กระทั่งคนก็ให้เป็นอากาศ  แท่งทึบ ถึงขนาดภูเขา ใบไม้ต้นไม้ ตึกรามบ้านช่อง ก็มองทะลุเป็นของธรรมดาไปหมดเลย ถ้าจะเอาเงินมากอง 2-3 กอง กองละ 500 ล้าน กองอยู่ตรงนี้ก็มองทะลุเป็นอากาศ ว่างไปหมดได้ หวานเลย 

เพราะฉะนั้น เมื่อนอกจากที่จะไปยึดอากาศนั่นแหละพระพุทธเจ้าท่านก็ว่า…อย่าเลย ใจเราอย่าไปยึดเลย แม้อากาศก็ไม่ไปรู้ว่ามีอากาศ ใจเราวิญญาณธาตุนี่…คือตัวรู้ แม้แต่ที่ไปรู้ว่าอากาศก็ยังเป็นอากาศ ก็อย่าเลยๆ วางเสียไอ้ตัวรู้นั้น ก็อยู่เฉยทำเป็นไม่รู้อะไรเลย เป็น อากิญจัญญายตนะซะ ไม่มีนิดหนึ่งน้อยหนึ่งก็ไม่รู้…อยู่เฉยเสีย แม้เราจะอยู่เฉยก็เป็น อากิญจัญญายตนะ โลกนี้ไม่มีเลย ไม่มีทั้งความรู้นอกจากต้นไม้ภูเขาใบหญ้าไม่มีทั้งโลก ไม่มีทั้งอากาศ ไม่มีทั้งความรู้ ที่ไปรับรู้ว่าเป็นอากาศแล้ว ก็ให้วางเฉยอยู่ ตอนนี้กลับแล้วเฉยเป็นอะไร เฉยเหมือนอย่างกับท่อนไม้ เหมือนท่อนดิน ท่อนหินนี่ อะไรนิดน้อยนึงก็ไม่รู้ เฉย..มันอย่างนี้ เรียกว่าไม่มี อากิญจัญญายตนะ นิดนึงน้อยนึงก็ไม่รู้ไม่มีไม่เห็นอะไร ให้อยู่อย่างนั้น 

แต่ถึงขนาดนั้น ในคนที่ยังไม่ตาย ไม่มี ไอ้ที่ยังไม่รู้ ฟังให้ดีนะจุดนี้ แม้ถึงขนาดนั้นแม้แต่คนที่ยังไม่ตาย มันไม่มีหรอกที่มันจะไม่รู้ ไม่มีหรอก ที่ยังไม่หมดสัญญา…สัญญาคือตัวรู้ที่ฝังลึกไว้ในส่วนลึกฟังให้ดี ไม่ใช่วิญญาณนะ สัญญานี่ไม่ใช่วิญญาณ “สัญญาคือตัวที่ละเอียดกว่าวิญญาณ” วิญญาณคือตัวคุมตัวโต “สัญญา”นี้ลึกยิ่งกว่า อยู่ใน…ลึก 

แม้เราจะเห็นว่าความมีเหล่านี้ไม่มีก็ได้ อะไรๆ ก็ไม่มีเลย ไม่มีอะไรนิดน้อยนึงก็ไม่มี เป็นอากิญจัญญายตนะ มันก็ยังมี เรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ มันก็ยังมี มันก็ยังมี มีอยู่นิดนึง แต่ว่าน้อยแล้ว แทบจะเรียกว่ารู้บ้าง-ไม่รู้บ้าง ถึงเรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ รู้บ้าง-ไม่รู้บ้าง มลำเมลืองๆ รู้นิดรู้หน่อย รู้ไม่ชัดไม่เจนอะไร ถ้าผู้ใดยึดได้อย่างนั้นก็เรียกว่า เบาว่างสบาย สบายไปยิ่งแล้ว 

เพราะฉะนั้นในศาสนาหรือในศาสดาลัทธิอื่นๆ เขาถึงจุดนี้ อย่างอาจารย์ของพระพุทธเจ้าท่านอุทกดาบส พอถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ท่านก็บอกว่าสุดยอดแล้ว นี่แหละจุดนี้แหละ นี่แหละเบาว่างที่สุดแล้ว สบาย มันนิ่งแล้วมันเลย อากิญจัญญายตนะ คือท่านอาฬารดาบส สอนถึงขั้น “อากิญจัญญายตนะ” ไม่มีอะไรนิดน้อยเลยนึงให้ว่างติดอยู่ตรงนั้นเอง ท่านบอกว่าสบายแล้ว มันจะกลายเป็นอัตตาแล้วถ้า อากิญจัญญายตนะ มันจะกลายเป็นอัตตาแล้ว เป็นตัวไม่รู้อะไรเลย นิ่ง..เฉย..อยู่เป็นนิโรธสมาบัติ นั้นท่านอาฬารดาบส 

พระพุทธเจ้าท่านบอกว่ายังไม่จริงละมั้ง ท่านไปหาอาจารย์อีกไปเจออุทกดาบส สอนบอกว่า นอกจาก อากิญจัญญายตนะ มันยังมีอยู่นิดนึงมันยังระเริง อยู่ในใจ จึงเรียกว่ามันยังมีรู้นะ ไอ้ที่ว่าไม่รู้นี่ยังไม่ตายจริงนะ ยังไม่จริงนะว่ามันไม่มี มันมีนะ แต่เพราะคนนั้นไม่สามารถที่จะหยั่งความเก่งเข้าไปหยั่งรู้ภาวะรู้นั้นได้ จึงอยู่แค่ อากิญจัญญายตนะ 

ฉะนั้นถ้าพวกนี้สามารถที่จะทำใจละเอียดยิบลึกลงไปสู่สภาวะ อากิญจัญญายตนะ จะรู้ว่าปัดโธ่เอ๋ย! อากิญจัญญายตนะ ก็ยังมีตัวรู้อยู่อีกเรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นสัญญาอันหนึ่งเหมือนกัน รู้ได้ คนเรายังไม่ตายจริงแล้ว ไม่มีทางจบ 

พระว่า... รู้ตัวนี้เฉพาะตนหรือไม่ 

พ่อครูว่า... อันนี้ไม่ต้องพูดแล้วว่าเฉพาะตนหรือไม่ เฉพาะตนท่านนี้ ผู้ที่ยังไม่เคยปฏิบัติก็ฟังไปเหมือนร้องเพลงให้ฟัง  

พระว่า… วางไปจนหมดความหมายและวางอีก 

พ่อครูว่า... เรียกว่าคล้ายๆ กับว่าดับแล้ว แต่ลงไปในความดับนั้นเข้าไปหา อากิญจัญญายตนะ คือความไม่มีอะไรแล้วมันดับแล้ว เข้าไปหาไอ้ตัวดับนั้น มันยังมีแฮะ ยังมีตัวรู้อยู่ในตนนะ ยังไม่ตายมันยังมีอีก พระพุทธเจ้าท่านถึงบอกว่า โอ้โห! อุทกดาบส นี่ก็สอนลึกจริงๆ แฮะ ยังมีตัวรู้อยู่จนได้ มันมีตัวรู้อยู่ได้…มันก็ไม่ดับสิ มันก็มีทุกข์สิ มันมีตัวรู้ก็คือ…ตัวเกิดคือตัวสังขาร มันก็ยังไม่จบสิ มันก็ยังเป็นอวิชชา ยังงงๆ เป็นวิจิกิจฉาอยู่นั่นเอง มันยังเกิดวิจิกิจฉาอยู่เท่าไหร่ๆ มันก็ยังเป็นอวิชชาอยู่เท่านั้น พระพุทธเจ้าก็ยังบอกว่ายังมีสังขารธรรม ยังมีตัวรู้ยังมีตัวปรุง ยังมีตัวเกิด…สังขารเป็นตัวเกิด ยังมีตัวเกิดอยู่นี่ ไม่จบนี่ 

พระพุทธเจ้าบอกว่าไม่เอาแล้ว หมดอาจารย์แล้ว หาเอง จึงไปบำเพ็ญ เอาไปหมดเลยทีนี้บำเพ็ญฌานเท่านั้นเท่านี้ จนกระทั่งรอบไม่รู้กี่รอบกี่อะไร จนกระทั่งรู้ว่า…ความบาง ความว่างนิโรธสมาบัติอะไร ที่เขาศึกษากันขั้นไหนๆ ท่านก็แยงลงไปรู้จนกระทั่งหมดละเอียด แล้วบอกว่า โดยสภาวะแท้จริงในโลกนี้ ถ้ายังไม่ตาย…ก็ยังจบไม่ได้ เข้าใจไหม ถ้ายังไม่ตาย…มันจบไม่ได้ แต่จบได้เหมือนกันแฮะ มีวิธีจบ ต่อๆ เดี๋ยวพระพุทธเจ้าท่านจะต่ออะไรวิธีจบ

พอไปยึด เนวสัญญานาสัญญายตนะ มันยังมีตัวรู้นะนี่ออกจาก อุทกดาบส เพราะ อุทกดาบส สอนแค่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ 

ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจ อากิญจัญญายตสัญญา ไม่ใส่ใจ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ท่านรวมลงหมดเลยตรงนี้ใส่ใจแต่สิ่งเดียว เฉพาะเจโตสมาธิ อันไม่มีนิมิต ใส่ใจแต่เฉพาะเจโตสมาธิ หมายความว่าจิตอันนี้ยิ่งกว่า  อธิจิต อันที่พูดเมื่อกี้นี้แล้ว มันลึกยิ่งกว่าเนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปฌานขั้น เนวสัญญานาสัญญายตนะ สนใจอยู่แต่ว่าจิตที่ว่ามีความรู้ที่ว่ามี เนวสัญญานาสัญญายตนะ อย่างหนึ่งอย่างเดียวเท่านั้น แต่ให้มันสูงขึ้นไปกว่านั้น ยกให้ เนวสัญญานาสัญญายตนะ นั้นออกไปด้วย เป็นตัวรู้ที่ซ้อนอยู่อีกชั้นหนึ่ง อันไม่มีนิมิต นี่แหละตัวนี้แหละสูงกว่า อันไม่มีนิมิต 

ถ้าพูดโดยอารมณ์นิพพานนั้นหมายความว่าขณะนี้ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ นิมิตนิพพาน ยังมีนิมิตอยู่ มีความรู้นิมิตอยู่นิดหน่อยเป็น นิมิตนิพพาน ฉะนั้นดับตัวนี้ลงไปให้เป็น อนิมิตนิพพานเสีย ให้ลึกลงไปเป็น อนิมิตนิพพาน 

อนิมิต คือ ไม่มีนิมิตเลยเป็นนิพพานลงไปสู่จุดนั้น หรือ เป็นสุญญตา อนิมิตสุญญต หรือ อนิมิตสุญญตาก็ได้ นึกว่าให้ไปถึงจุด ว่างลงไปถึงจุดนั้น 

จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในเจโตสมาธินี้ ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัย อากิญจัญญายตนสัญญา และชนิดที่อาศัย เนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา มีอยู่ก็แต่เพียง ความกระวนกระวายคือความเกิดแห่งอายตนะ ความเกิดด้วยอายตนะที่มันเกี่ยวด้วยทวารทั้ง 6 ทวารทั้ง 5 และทวารใจอีกทวาร 1 อายตนะที่ 6 

อาศัยกายนี้เอง เพราะว่าแท้จริงแล้ว ไอ้ที่มันเกิดอยู่มันยังไม่ตาย เนี่ยมันอยู่นี่แหละ ทั้งตัวนี่แหละ มีประตู 5 ข้างนอกกับประตูใน ประตูใจอีกประตูหนึ่ง 5 ประตู นี่แหละ มันรับรู้ รับเห็น รับคิด อยู่นี่ 

เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ว่างจาก อากิญจัญญายตน สัญญานี้ว่างจาก เนวสัญญานาสัญญา และรู้ชัดว่ามีไม่ว่างอยู่ คือความเกิดแห่งอายตนะทั้ง 6 อาศัยกายนี้เองเพราะชีวิตเป็นปัจจัยนี่แหละเห็นไหม เพราะชีวิตมันอยู่ มันยังไม่ตาย ชีวิตมันเป็นปัจจัยอยู่ เพราะฉะนั้นไอ้อายตนะ 6 จะเอาไปทิ้งที่ไหนมันก็ไม่พ้น มันก็จะยังอยู่อาศัยกายนี้เอง เพราะชีวิตเป็นปัจจัย ชีวิตมันยังอยู่ 

ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้น ด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในเจโตสมาธินั้น เธอรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในเจโตสมาธินั้นอันยังมีอยู่ ว่ามี เพราะฉะนั้นจงรู้ให้ได้ว่า ถึงแม้ว่ามันจะมีก็มันมี เพราะชีวิตมันยังไม่ตาย ไอ้ที่ไม่มีก็เพราะว่าเราให้รู้ให้ได้ว่าชีวิตคืออะไร ตอนนี้กลับมารู้ชีวิตแล้ว กลับมารู้ชีวิตแล้ว เข้าใจให้ดีตอนนี้กำลังจะยกโลกขึ้นมาที่นี่แล้ว เมื่อกี้เราพูดถึง แผ่นดิน แผ่นฟ้าต่างๆ เมื่อกี้ใช่ไหม อากาศ กำลังจะยกโลกเข้ามาที่นี่แล้วนะ ฟังให้ดีนะ 

รวมเข้ามาอายตนะ 6 แล้วก็มายกขึ้นมาที่ชีวิตนี้ ตราบใดที่เรายังมีอายตนะ 6 และยังมีชีวิตอยู่ ด้วยอาการนี้แหละจงรู้ให้ได้ว่า ชีวิตนี้มันยังมี มันสำคัญ มันจะดับชีวิตไม่ได้นะ จะดับด้วยวิธีใดก็เป็นเพียงสมมุติไว้เท่านั้นเอง ยังไม่จริง เป็นชั่วครั้งชั่วคราวแค่นั้นเอง ยังไม่จริงนะ ชีวิตนี้ยังไม่จริง ยังไม่ดับแท้ เพราะฉะนั้นให้รู้ให้ได้ว่าสิ่งนี้มี ถ้าเราจะไม่มีก็หมายความว่าเราสมมุติดับเท่านั้นเอง ตอนนี้กลับแล้วนะ เมื่อกี้สมมุติมี ตอนนี้สมมุติดับ สมมุติว่าไม่มีนะ กลับแล้วนะ ตอนนี้กลับอีกรอบนึงนะฟังให้ดีนะ 

เมื่อกี้อาตมากำลังยกโลกข้างนอกสมมุติว่าโลกนอกไม่มี เดี๋ยวนี้ยกโลกข้างนอกทิ้ง ยกโลกเข้ามาหาตัว 

สิ่งที่มันมีอยู่ มันเป็นสมมุติเราตอนนี้ สิ่งที่มีในตัวสมมตินี่ มันหมายความว่าโลกยกเข้ามาที่ตัวแล้ว เพราะฉะนั้น ถ้าเราจะรับว่ามี ไอ้สิ่งที่มีอยู่นั้นคือ ตัวนี้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่ามันจะดับขึ้นไปจริงๆ ก็ ขาดหายกันจริงๆ แต่ว่าตราบใดที่ชีวิตมันยังไม่ขาดหาย มันยังมีลมหายใจ ยังมีอายตนะ ยังมีชีวิตอยู่ ยังมีความเป็นอยู่อยู่ สิ่งที่มีความเป็นอยู่นี่แหละ ตอนนี้เรียกว่ามันแท้จริง แต่สิ่งที่เราจะดับมันลงไปไม่ให้รู้อะไร ไม่ให้มีอะไร เป็นสมมุติ ฟังให้ดีนะตอนนี้ กลับไปอีกนิดนึงนะ เข้าใจให้ได้นะ ถ้าเข้าใจอันนี้ไม่ได้แล้ว จะขึ้นสู่จุดที่เรียกว่า ใช้ภาษามาอธิบายสภาวะไม่ได้ เพราะฉะนั้นคนนั่งฟัง งงๆ.. เอ๊ะ เมื่อกี้บอกว่าโลกสมมุติ บอกว่าความดับความว่างจึงไม่สมมุติ ตอนนี้บอกว่าความดับความว่างสมมุติเสียแล้ว ไอ้นี่ไม่สมมุติซะแล้ว ฟังให้ดีนะ 

ฉะนั้นตอนนี้เราต้องไปยึดว่า ถ้าเราจะไปนั่งหลับ นั่งดับ นั่งวางลงไป แล้วเราก็บอกว่าเราก็วางไว้ มันเป็นสมมุติ สมมุติให้มันว่างลง เพราะในโลกเขายังไม่หยุดนี่และโดยแท้จริงนอกจากโลกเขาไม่หยุดแล้ว ไอ้ร่างกายชีวิตนี้ก็ยังทำงาน ยังทำงานอยู่ยังไม่ตายแท้ ยังไม่ว่างแท้ ยังไม่หยุดแท้ ยังเกาะเกี่ยวเป็นสังขารอยู่  ยังไม่แยกธาตุ ยังไม่สูญหายละลาย ยังเกาะกลุ่มอยู่ เข้าใจไหม ยังเกาะกลุ่มอยู่ อันนี้ลึก อันนี้กลับอีกอันหนึ่ง เอาล่ะ ใครพอไปได้ก็เอาไอ้นี่มันสูงมากแล้ว อาตมาก็ไม่รู้จะว่ายังไง 

พระว่า… สงสัยว่าเมื่ออธิบายว่าเมื่อเข้าถึงสุญญตนิมิตแล้วใช่ไหม อนิมิตแล้ว แต่ทำไมมากลับมาพิจารณาชีวิตอีก มันยังไม่สิ้นสุดใช่ไหม 

พ่อครูว่า... คุณเห็นแบงค์เป็นของสูงหรือยังล่ะ 

พระว่า… ถ้าสมมุติว่าเข้าถึงแล้วสุญญตะแล้ว 

พ่อครูว่า... สุญญตะ นี้มาเรื่อยๆ ไงแผ่นดินนี้สูญ มีแผ่นดินแต่ว่าไอ้นี่มันสูญ แต่ว่าแผ่นดินยังไม่สูญ เหมือนกันเรื่อยมาจนกระทั่งเข้ามาหาตัวแล้ว เพราะฉะนั้นท่านอธิบายละเอียดนะ เข้ามาจนกระทั่งถึงตัวแล้ว 

พระว่า...เราผ่านรูปฌานแล้วจน อากาสานัญจายตนะ ถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ เรียกว่า อรูปฌานก็ผ่านแล้ว จนกระทั่งถึง สุญญตสมาธิ หรือว่า       อนิมิตแล้ว ก็สิ้นสุดแล้วใช่ไหม 

พ่อครูว่า... ไม่สิ้นสุดนะ ยังไม่สิ้นสุด พระพุทธเจ้าถึงบอกว่ายังไม่สิ้นสุดนะ อย่าไปทำเป็นเล่นไปนะ 

พระว่า...กำลังยังปฏิบัติอยู่ ดูอยู่ 

พ่อครูว่า... ดูอยู่ยังเพ่งอยู่ต่อไป ยังเพ่งอยู่นะ เพราะฉะนั้นแม้แต่ร่างกายเรานี้ยังไม่ตายจริงก็อย่าไปสมมุติว่ามันตาย ไม่งั้นมันจะไม่มีประโยชน์ พระพุทธเจ้าท่านเอาเพชรตรงนี้ ไม่อย่างนั้นมันจะไม่มีประโยชน์ประเดี๋ยวจะบอกว่า โอ๊ย ไอ้ดับ ไอ้สูญเนี่ยสบายว่างเฉย ก็ก้อนอิฐ ก้อนหิน เท่านั้นเองสิ ตอนนี้ เนวสัญญานาสัญญายตนะ หรืออะไร อากิญจัญญายตนะอะไรมันก็แค่เป็นก้อนอิฐก้อนหิน อยู่เท่านั้นเอง 

เพราะฉะนั้นร่างกายนี้โดยความเป็นจริง มันยังไม่ตาย มันยังมีจริงอยู่ เพราะฉะนั้นเมื่อมันมีอยู่จริงตอนนี้แหละ ถ้าเราจะตายเมื่อไหร่หรือว่าเราจะว่างลงเมื่อไหร่ เราสมมุติเอาส่วนตัวของเรา บอกว่าตอนนี้เราวางทั้งโลก เราไม่เอาแล้ว เราไม่รับรู้อะไรหมดเลย เราก็สมมุติเอาแต่โดยความเป็นจริงนั้น ใช้ให้มันเป็นประโยชน์ ใช้ชีวิตนี้ให้มันเป็นประโยชน์ กลับออกมาอีกทีแล้ว แต่ผู้นั้นต้องทำได้จริงนะ ผู้นั้นต้องวางอย่างนี้ได้จริงแล้วนะ ถึงจะกลับได้ ถ้าวางไม่จริง แล้วกลับไม่ได้ ถ้าจะไปสมมุติเอาบอกว่า โอ้ย ไอ้ตัวเองนี่มีจริง ก็ยึดถือตัวตนแล้ว ยึดถือตัวตนแล้ว แต่ทีนี้คนที่เขาวางได้จริงแล้วนี่ มันไม่มีอาการยึดถือตัวตนแล้ว เขาจึงค่อยมายึดถือตัวตน 

ถึงบอกว่า อาตมาเลิกกินเนื้อสัตว์ได้แล้ว อาตมาเลิกกินอร่อยได้แล้ว อาตมาจะกินเนื้ออีก อาตมาก็กินได้ แต่อาตมาไม่อร่อยด้วยหรอก เพราะอาตมาไม่ได้สมมุติตามว่า ไอ้นี่อร่อย กินได้ แต่ว่าไม่กินแล้ว หรือจะกินอาตมาก็ไม่ตาย ไม่บาป แต่ไม่กิน ที่ไม่กินนี่มีประโยชน์ มีประโยชน์ตรงเป็นตัวอย่างให้คนอื่น 

เพราะฉะนั้นที่บอกว่าอาตมาทำนี่ไม่ใช่ว่าอาตมาไม่กินแล้ว อาตมาก็จะชักดิ้นชักงอก็ไม่ หรืออาตมากินจะชักดิ้นชักงอก็ไม่ แต่ที่ไม่กินเสียก็ “สูญ ” ถ้าจะกินเนื้ออร่อยนี่ ถ้าจะกินเนื้ออร่อยนี่ อาตมาก็สูญ  ถ้าไม่กินเสียก็สูญ เท่ากันใช่ไหม 

เพราะฉะนั้นถ้าเป็นอาตมา อาตมาไม่กินเนื้ออร่อย แต่คนอื่นเห็นว่าเออดีแฮะท่านไม่กินเนื้ออร่อยเป็นตัวอย่างอันดี ก็ได้ประโยชน์ใช่ไหม อาตมาจึงไม่กินเนื้ออร่อย และเป็นประโยชน์แก่โลก หรือเป็นตัวอย่างให้แก่โลก แต่ถ้าเผื่อว่าเป็นคนธรรมดาบอก เอ้ย..กินว่างก็ได้ กินเนื้ออร่อย กินเนื้อไม่อร่อยก็ได้ สูญเท่ากันก็กินเสีย นั่นเรียกว่า กิเลสมันพาไปกินใช่ไหม ก็ไปกินก็บอกว่าไม่เป็นไรหรอก จิตว่างฉันกินด้วยความว่าง กินเนื้ออร่อยกินด้วยความว่าง สบาย เสพเหล้าด้วยความว่าง เต้นรำด้วยความว่าง 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าก็กินเนื้ออร่อยด้วยความว่างได้ ไม่แปลกอะไร แต่ถ้าเผื่อว่าเรากิน สูญจริงๆ อารมณ์เราสูญจริงๆ กินเนื้ออร่อยก็สูญ ไม่คิดว่าเราเองได้กำไรตรงไหน กินเนื้อไม่กินเนื้อก็สูญ ไม่มีขาดทุนตรงไหน เข้าใจไหมฟังดีๆ นะถ้าเรากินเนื้ออร่อยเราก็ไม่ถือว่าเรากำไร ไม่กินเนื้อเราไม่กินขาดทุนตรงไหน เราไม่กินเนื้อเราไม่เปลืองโลกด้วย เนื้อในโลกเราก็ไม่เปลือง 

เราไม่กินเนื้อก็ได้ เราก็สูญเท่ากันทุกอย่าง เราไม่กินเนื้อไม่มีใครฆ่าไม่ให้เรากินด้วยเราก็เป็นตัวอย่างว่าเราไม่กินเนื้อแล้วนะ ทิ้งกิเลสอะไรอร่อยๆ นี้แล้ว ก็เป็นตัวอย่างให้แก่โลกได้ เราก็ไม่เดือดร้อน นี่เพราะเราสูญจริง ๆ แต่ถ้าเราไม่สูญจริง ๆ  ว่างๆ ก็แอบไปกินเนื้ออร่อย ต่อหน้าคนก็กินไม่กินเนื้อ แต่พอลับหูลับตาคนก็ไปแอบกินเนื้อ นี่แหละ จึงเรียกว่าเป็นของไม่จริง 

เพราะฉะนั้น ถ้าเราจริงแล้ว ไม่มีขาดทุนไม่มีกำไรนี่เราไม่ได้อยากได้ตรงไหนแล้ว เราก็ทำไปตามสบายก็เป็นสูญจริงๆ เพราะฉะนั้นอาตมาถึงขีดเส้นใต้ไว้

ดูกรอานนท์ ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุไม่ใส่ใจใน อากิญจัญญายตนะ ไม่ใส่ใจใน เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใส่ใจแต่สิ่งเดียวเฉพาะเจโตสมาธิ อันไม่มีนิมิต จิตของเธอย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่น และนึกน้อมอยู่ในเจโตสมาธิอันไม่มีนิมิต นี่เรียกว่า อนิมิตตะ เธอจึงรู้ชัดอย่างนี้ว่า เจโตสมาธิอันไม่มีนิมิตนี้แล ยังมีปัจจัยปรุงแต่ง จูงใจได้ ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ปัจจัยปรุงแต่งจูงใจได้นั้นไม่เที่ยง ไม่เที่ยง 

ตอนนี้ท่านกำลังจะเอาเข้าไปหาอนัตตลักขณ กำลังจูงเข้าไปหาอนัตตลักขณแล้ว ท่านกำลังจูงให้เห็นเข้าไปหาใน อนัตตา หรือ อนัตตลักขณ นั่นเอง อนัตตลักขณ นี่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤตก็เรียกว่าอนัตลักษณะ ลักษณะของอนัตตา กำลังจะปรุงเข้าหาลักษณะของอนัตตา 

มีความดับเป็นไปธรรมดา เมื่อเธอรู้อย่างนี้ เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้น แม้กามาสวะ  ตัวต้นคือกาม แม้ภวาสวะ ตัวที่เป็นภพเป็นชาติในจิต อากาสานัญจายตนะ ภพชาติทั้งนั้นเลย อันละเอียดต่อเข้าไปอีก แม้จากอวิชชาสวะ แม้แต่ความที่ไม่เคยมีมาแต่ไหนแต่ไร ได้รู้อย่างนี้แล้ว  เรียกว่า พ้นจากอวิชชาสวะแล้ว เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วย่อมมีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว  ต้องตัวรู้จริงๆ รู้ว่าหลุดแล้วตอนนี้เราดับเราวางเรารู้ รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว การปรุงแต่งไม่มี รู้ว่าการปรุงแต่งไม่มี ในจิตไม่ใช่แต่ความเกิด ในจิตที่ละเอียดยิบลงไปนั้น แม้แต่ชาติตัวนั้นจะปรุงขึ้นมาก็รู้ว่าไม่มี 

ผู้ที่รู้อย่างนี้จริงๆ ต่างหากเล่า เขาจะบอกตัวเองได้ว่าเขาจบแล้ว ไม่มีใครบอกกับเขานี่ แต่เขามาบอกกับผู้อื่น ผู้อื่นก็หาว่าเขา อวดอุตริมนุสสธรรม แต่ผู้นี้แหละเป็นผู้ที่จะรู้ด้วยตัวเอง เมื่อตัวเองจับสภาวะตัวนี้เอง พรหมจรรย์ก็จบแล้ว ความที่สูงสุดบริบูรณ์ บริสุทธิ์ที่สุด พรหมแปลว่าความบริสุทธิ์ จรรยะ หมายความว่าสิ่งที่จะเป็นไปต่อไป จรรยะ จรรยา ความประพฤติและจะเป็นอยู่ในโลกแล้ว เพราะฉะนั้นความบริสุทธิ์ในโลกจะเป็นอย่างไร ผู้นี้เป็นผู้รู้แจ้ง จะปรุงแต่งตามควร จะเห็นสิ่งนี้ว่ามีกับเขาได้พอสมควร ไอ้สิ่งนี้ว่าไม่มีก็ตัดตัวเองออกมาเสียพอสมควร เป็นผู้รู้อยู่ รู้ควร รู้จริงๆ 

กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว ผู้นี้ได้ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ถ้าให้รู้อย่างนี้เรียกว่า จบเป็นอรหันต์ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มี จบแล้วสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนสูงสุดในสิ่งที่ควรสอน อันนี้เท่านั้นเรียกว่าอรหันต์ของพระพุทธเจ้า 

เธอรู้ชัดอย่างนี้ว่า ในยามนี้ไม่มีความกระวนกระวายชนิดที่อาศัยกาม เรียกว่ากามาสวะ ชนิดที่อาศัย ภวา หรือภพ เรียกว่า ภวาสวะ และชนิดที่อาศัยอวิชชาเรียกว่าความไม่รู้เลยชนิดเรียกว่า อวิชชาสวะ มีอยู่ก็แต่เพียงความกระวนกระวายคือ ความเกิดแห่งอายตนะทั้ง 6 อาศัยกายนี้เอง เพราะชีวิตเป็นปัจจัยมันยังไม่ตาย  มันยังอยู่ มันยังไม่จบ มันยังมีกาย มีอาศัยอยู่ เธอรู้ชัดว่าสัญญานี้ว่างจากกาม รู้ชัดว่าเราว่างแล้ว จากกาม  รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส(โผฏฐัพพะ) เรารู้ชัด รู้ที่เรา คนอื่นไม่รู้ เพราะฉะนั้นเราจะกินของอร่อยนี่เราก็รู้ว่า  เฮ้ยอันนี้กาม “สูญ” ฉันไม่กิน  อันนี้รูปสวย ชอบปรุงแต่ง สูญ ไม่เกี่ยว อันนี้เสียงเพราะ “สูญ” ไม่เกี่ยว กามก็มี รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ไม่มี 

สัญญานี้ว่างจาก ภวาสวะ เพราะฉะนั้นจะมานั่งสร้างอารมณ์อะไรต่ออะไรต่างๆ ก็ไม่ต้องสร้างอีกแล้ว ไม่มานั่งปรุง ไม่มานั่งสร้างรูปฌาน นั่งเพ่ง นั่งเล็ง ไม่มีอีกแล้ว จะหลับตาก็หลับว่างๆ  ถ้าอยากจะหลับตาก็ว่างอยู่ในวิหารธรรม ไม่หลับตาก็จะนั่งวิหารธรรมว่าง  จะลืมตาโพลงๆ ก็ว่างไม่มีการมานั่งหลับตาลืมตาอีกแล้ว เพราะฉะนั้น ในสภาวะนี้ เป็นสภาวะพ้นจากภวาสวะแล้ว ด้วยไม่สร้างภพสร้างชาติด้วยประการทั้งปวง สัญญานี้ว่างจาก อวิชชาสวะ เพราะเป็นผู้ที่รู้แจ้งแล้วมีวิชชาในตนอย่างพร้อมมูลและรู้ชัดว่า มีไม่ว่างอยู่ก็คือความเกิดแห่งอายตนะทั้ง 6 ไม่ว่างนี่ อายตนะทั้ง 6 มันว่างที่ไหนล่ะ 

เข้าใจไหมตอนนี้กลับมาอีกแล้ว มันไม่ว่างนี่อายตนะทั้ง 6 เอามันไปทิ้งที่ไหน ทิ้งไม่ได้ มันอยู่ในตนในตน ยัง ยังตัดไม่ได้ อาศัยกายนี้เองเพราะชีวิตเป็นปัจจัยมันยังมีชีวิตชีวา มันยังกระเสือกกระสนอยู่ด้วยอาการนี้แหละ เธอจึงพิจารณาเห็นความว่างนั้น ด้วยสิ่งที่ไม่มีอยู่ในเจโตสมาธินั้นเลย และรู้ชัดสิ่งที่เหลืออยู่ในเจโตสมาธินั้น อันยัง “มี” อยู่ว่า “มี”

ดูกรอานนท์ แม้อย่างนี้ก็เป็นการก้าวลงสู่ความว่าง ตามความเป็นจริงไม่เคลื่อนคลาด บริสุทธิ์ ของภิกษุนั้น ดูกรอานนท์ สมณะหรือ พราหมณ์ในอดีตกาลไม่ว่าพวกใดๆ ที่บรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ นี้เรียกว่า สุญญตสมาบัติ นะฟังนะอาจจะยังไม่เคยได้ยินว่า สุญญตสมาบัติเป็นยังไง นี่แหละสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ด้วย สมาบัติกันอยู่เนืองๆ ด้วย ไม่ว่าพวกใดๆ ที่บรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ เยี่ยมยอดอยู่ทั้งหมดนั้น ก็ได้บรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์เยี่ยมยอดนี้เองอยู่ แต่คำว่า อยู่ คำเดียวนี้ของท่าน หมายความว่าผู้นั้นได้แล้ว คำว่าอยู่นี่ ถ้าใครไม่บรรลุ ก็ไม่มีคำว่า อยู่ ก็อยู่ไหนก็ไม่รู้ ก็หามาให้ตน

  สมณะหรือพราหมณ์ในอนาคตกาลไม่ว่าพวกใด เมื่อกี้ท่านบอกว่า แม้แต่อดีตนี่ก็บอกว่าแม้แต่ในอนาคตกาล หรือแม้แต่ปัจจุบันนี้ก็ตาม ได้พูดไว้ตั้งแต่ 2500 กว่าปี ที่จะบรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ ยอดเยี่ยม เยี่ยมยอดอยู่ทั้งหมดนั้น ก็จะบรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ เยี่ยมยอดนี้เองอยู่  สมณะ หรือพราหมณ์ในบัดนี้ไม่ว่าพวกใดๆ ที่บรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์ เยี่ยมยอดอยู่ทั้งมดนั้น ย่อมบรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์เยี่ยมยอดนี้เองอยู่ 

แม้ฟังแล้ว งงเหลือเกินปนกันไปกันมาหมดเลยแต่ที่จริงท่านเน้นอยู่แต่แค่ว่า ผู้ที่จะทำได้เท่านั้นคือผู้ที่ได้ และผู้ที่จะมีอยู่ แปลเป็นภาษาไทยนะ ผู้ที่จะทำได้เท่านั้นจึงเป็นผู้ที่จะทำได้ และมีอยู่ ผู้ทำไม่ได้ก็ไม่มีได้ แต่ภาษาของท่านพูดอย่างนี้ ผู้ที่ทำไม่ได้ก็ไม่มีอยู่ เพราะฉะนั้นจะบรรลุไอ้เยี่ยมยอดนี้เองอยู่ จะบรรลุหรือจะเป็นผู้ทำอยู่ 

ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอพึงศึกษาไว้อย่างนี้เถอะว่า เราจะบรรลุสุญญตสมาบัติอันบริสุทธิ์เยี่ยมยอด อยู่ พึงศึกษา หมายความว่าเป็นเสขบุคคลอยู่พึงศึกษาให้มีอยู่เถิดตลอดเวลา แล้วจึงจะถึงอาจเสขะถึงจะไม่ศึกษาอีกแล้วแล้วจะเป็นผู้บรรลุอยู่ คำว่า “อยู่” ของท่านถึงเป็นผู้มีอยู่บรรลุอยู่ แต่ยังไม่มีอยู่ยังไม่บรรลุอยู่ก็ต้องหมั่นศึกษาเรื่อยไป 

พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว พระอานนท์จึงชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคว่า ชัด อาตมาก็เชื่อว่าหลายคนที่นั่งในที่นี้ได้ยินภาษิตนี้ของพระพุทธเจ้าที่ท่านตรัสเอาไว้เมื่อ 2,500 กว่าปีมาแล้ว มาได้ยินขึ้นอีกในวาระนี้วันนี้ก็คงจะ ชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคด้วยเหมือนกัน เพราะเหตุว่ามันเป็นของจริง และของลึก 

เพราะฉะนั้นเราจะบอกว่าเอาสุญญตามาพูด   โครมๆ ง่ายๆ ง่ายๆ นะ พูดไปเถอะลมๆ แล้งๆ มันไม่ได้ มันต้องมีอาการที่เกิดเป็นจริงอยู่ในสภาวธรรมนั้นๆ ถ้าไม่มีอาการแสดงออกเลยนะ และก็ทำไป อย่างนู้นอย่างนี้มีแต่ความมั่นใจเฉยๆ มั่นใจได้ คนเราหลงว่ามั่นใจทั้งนั้นแหละ คนเราหลงก็มั่นใจทั้งนั้นแหละ เพราะฉะนั้นคนที่หลงว่า เอออย่างนี้เป็นได้ มีได้ ตายได้ด้วย คนที่หลงผิดไปทำ เขาหลงไปในสิ่งที่เขาหลง เขาเห็นจริงเหมือนกัน เขาเห็นจริงในสิ่งที่เขาหลง เพราะฉะนั้นมันเป็นมิจฉาทิฏฐิไป เขามั่นใจปักใจเหมือนกันนะ เอาหัวชนฝาได้เหมือนกันนะ มั่นใจเหมือนกันนะแต่ทิฏฐินั้นเป็นมิจฉา มันไม่ใช่สัมมาทิฏฐิที่ถูกที่ต้องของพระพุทธองค์ 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่า ถ้าเรามีสัมมาทิฏฐิไม่ได้ในโลกนี้แล้วนะ พึงเรียนไปเถิด พึงปฏิบัติไปเถิด ก็เหมือนกับเราหันทิศไม่ถูก มันก็จะเดินเข้าป่ารก เข้ารกเข้าพงไป สำคัญที่สุด 

เพราะฉะนั้นเราฟังนี่แหละ คือกำลังเข้าหาทิฏฐิ ถ้าฟังผู้ที่พูดถูก ก็จะมีความเห็นถูกได้ ก็จะมีความเห็นถูกได้ ก็จะมีความเห็นถูกได้ ฟังผู้ที่ไม่ถูกก็จะเหมือนจ้ำจี้มะเขือเปราะกะเทาะหน้าแว่นอยู่อย่างนั้นแหละ ไม่ได้อะไร

พระว่า… สุญญากาศอันนี้ ถ้าตัวอนัตตา สุญญตะ เห็นจะต้องปฏิบัติตามทางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นน่ะ ทางอื่นไม่ใช่ ทีนี้มีปัญหาว่าถ้าเราปฏิบัติตามสูตรนี้แล้ว ต้องผ่านอรูปฌาน อากาสานัญจายตนะ 

พ่อครูว่า... ผ่านสิ อาตมาเคยพูดนักหนาแล้วว่า ฌานไม่ใช่หลับตาเท่านั้น ต้องเพ่งอ่านให้เห็นชัดต้องผ่านสิ ผ่านแล้ว ก็ไม่ใช่แค่ผ่านแค่รูปฌานเท่านั้น อาตมาถึงบอกว่าเมื่อเวลาเจริญแล้วรู้ฌานแล้ว ก็ไม่หยุดอยู่แค่รูปฌาน อรูปฌานก็ไม่ได้ไปยึดถือ เพราะจากอรูปฌานไปแล้วเป็นอากาศไปแล้ว ก็ต้องกลับมาหาแท่งท่อนอันนี้ เพราะฉะนั้นจะไปล้างแท่งท่อนอันนี้ออกไปทิ้งไม่ได้ เพราะมันยังมี 

เพราะฉะนั้นแม้รูปฌาน นี่คือรูปแท้ๆ เราจะพิจารณาไปไกลถึงขนาดเห็นโลกเห็นแผ่นดินเห็นอากาศเห็นวิญญาณ เห็นอากาศธาตุ ปริจเฉทรูป เห็นจนกระทั่งสุดท้ายก็เห็นไปหมดแล้ว กลับมาหาตัว เนวสัญญานาสัญญา ที่ตัวอยู่ข้างในลึกๆ ที่จิตของเรา ไปรู้รูปทั้งหลายแหล่ที่เล็กละเอียดอยู่ที่นี่ พอกลับมาอยู่ที่นี่แล้วตัวนี้คืออะไร ก็คืออายตนะของเรา คือเรียกว่าตัวจิตทวารใจตัวที่ลึกที่สุดนี่ อายตนะตัวที่ 6 ก็ไอ้ตัวนั้นเองแหละ 

เพราะฉะนั้นเมื่อเหลือตัวนั้นเองก็จะสังเกตการณ์กับอรูปฌาน เมื่อรู้แล้วทิ้งได้ด้วย ทิ้งอรูปฌานให้หมดด้วย 

เมื่อใดมันสกปรกก็รู้ รู้ว่าสิ่งที่มาทำให้สกปรกนั้นเป็นอะไร เมื่อจะยอมให้สิ่งนี้มาสกปรก ก็จะหมายความว่า เอาเถอะไม่เป็นไรเราหรอก แค่เราเองเสื้อผ้าสวยๆ เสื้อผ้าที่เราใส่นี้จะถูกโคลนนิดนึง แต่เรากำลังจะช่วยคนที่จะจมน้ำตาย เราก็ทำ อย่างนี้เรียกว่ารู้ ก็มันไม่สงสัยหรอกจะถูกขี้โคลน เราลงไปช่วยคนนี้ก็ต้องช่วย แต่ว่าประโยชน์ในการที่จะเอาคนนี้ขึ้นมาจากน้ำไม่ตายนั้นสูงกว่าก็ให้ทำ 

เพราะฉะนั้น รู้มันจะผ่องใสเมื่อใดก็รู้มัน มันไม่ผ่องใสเมื่อใดก็รู้ว่าไม่ผ่องใส แต่ต้องเหมาะควรที่จะยอมไม่ให้ผ่องใส ไม่ใช่ว่า อ้าว ลงไปในโคลนนี้แล้วมีแบงค์ร้อยอยู่ในนั้นลงมือ ไม่ไปเอา ไม่เอาอะ อาตมาคนหนึ่งก็ไม่เอาแบงค์ร้อยลอยอยู่ในขี้โคลน เอาลุยลงไปเอาสิ ขี้โคลน ไม่เอาหรอก แต่มนุษย์ธรรมดา โคลนแค่นี้ แบงค์ร้อย หวานเลย

พระว่า... ต้องมีปัญญาด้วย

พ่อครูว่า... ต้องทำให้ได้ ไม่ใช่ว่าวันนี้ฟังธรรมแล้วได้เลย อาตมาบรรยายวันนี้อาตมารับรองเลยว่า การบรรยายที่ลึกละเอียดที่สุดวันนี้ ก็ลึกละเอียดที่สุดกว่าที่สุดที่ได้พูดจากันมา 

พระว่า...สอุปาทิเสสนิพพานนี่เรา รู้ตัวชัดแจ้งความเป็นจริงเสร็จแล้วเราก็ต้องเลิกปล่อยตัวรู้

พ่อครูว่า... เริ่มรู้ปล่อยรู้ เมื่อเราจะอยู่ในสภาวะที่ว่าเราไม่ช่วยโลก เป็นประโยชน์ตนถ่ายเดียว เราก็ปล่อยรู้หมดเลย เป็นประโยชน์ตนแล้วเราก็วางเฉยจริง เรียกตื้นๆ ว่า อุเบกขาธรรม วางเฉยอยู่ไม่เอาอะไร แต่ถ้าเผื่อว่าเราจะปรุงขึ้นมาก็ให้รู้ว่า ถ้าให้ได้ปรุงลงไปนี่ มันมีสังขารธรรมและทำขึ้นมาแล้วนะ จะทำงานแล้วนะ จะต้องมีจิตมีภาระขึ้นมาแล้วนะ เพราะฉะนั้นไอ้จิตภาระที่เราบอกว่าเราได้จบอยู่แล้วนี่เรากำลังจะฟื้นฝอยหาตะเข็บขึ้นมาแล้วนะ เมื่อจะฟื้นฝอยภาระต่างๆ ขึ้นมานี้อีกเราก็ต้องรู้ว่าเราปรุงขึ้นมา เราทำให้เป็นประโยชน์ต่อโลกนะ ถ้าเป็นประโยชน์ต่อตนเองตอนนี้ไม่ทำแล้ว ผู้นี้ไม่ไปทำหรอก เป็นประโยชน์ตนคนนี้ไม่ไปทำ มันไม่ไปไหนเพราะอายตนะ 6 มันไม่ละลายไปไหน ชีวะมันยังมีอยู่ ชีวตมันยังอยู่

พระว่า ..เราใช้สังขาร วิตกขึ้นมา 

พ่อครูว่า... ใช้สังขาร วิตกขึ้นมา และปรุงแต่งขึ้นมาตามเหมาะตามควรจึงเรียกว่า ใช้ตรงนี้ต้องอาศัยมรรคองค์ 8 ทำตลอดเวลา ถ้าไม่ใช้อาศัยมรรคองค์ 8 ละผิดเลย เพราะฉะนั้นในขณะที่จะปรุงอะไรขึ้นมานี่มรรคองค์ 8 คุมอยู่ตลอดเวลา ต้องมีการเห็นซะก่อนว่า สัมมาทิฏฐิจะต้องเห็นให้ได้นะ เห็นให้ได้ในสิ่งนี้ว่าเหมาะควรแล้วนะที่จะทำ ถ้าไม่เหมาะควรไม่ทำให้เหนื่อย พอเห็นว่าเหมาะควรที่จะทำก็ต้องปรุงจิตตัวเองขึ้นมาแล้วนี่เป็นสัมมาวายามะ ขยันขึ้นมาแล้ว ไม่งั้นมันขี้เกียจมันอยากนั่งแช่ ผู้ที่พ้นแล้วไม่อยากทำอะไรหรอก 

พระว่า… ถ้าผู้สำเร็จอรหันต์แล้วก็เป็นอัตโนมัติไปเลย ไม่ต้องระวังอะไรเลย ไม่ต้องระวังเรื่องมรรค 8 ใช่ไหมครับ ทำแล้วถูกต้องเหมาะควรเป็นอัตโนมัติ 

พ่อครูว่า... ไม่ใช่เรียกว่าระวัง มันมีอยู่ในตัว มันมีมรรคเป็นองค์ 8 อยู่ในตัว มรรค 8 ก็เป็นวิชชา มีวิชชาคุมอยู่แล้ว  เพราะฉะนั้นจะทำอะไรก็มีวิชชา จะมีปรุงก็ได้ไม่ปรุงก็ได้ ถึงบอกว่าอรหันต์แล้วจะไม่ปรุงแต่งอะไรเลยเป็นท่อนเป็นแท่งแข็งทื่ออยู่อย่างนั้นตามอภิธรรมแบบที่เขาเรียนกันนักหนาว่าไว้ ไม่ใช่ 

พระว่า...ไม่ปรุงแต่บาปเท่านั้น

พ่อครูว่า... ยังมีกุศลที่ท่านปรุง 

พระว่า...กุศลก็สักแต่ว่าปรุงเท่านั้น ไม่ได้ยึดมั่น 

พ่อครูว่า... ท่านไม่ยึดหรอก ท่านไม่มาเอาผลประโยชน์อะไรของท่านแล้ว แม้แต่จะให้ท่านทานข้าวกินนี่ บุญนี่ได้ที่คุณนะไม่ใช่ได้ที่อาตมา เอาข้าวมาให้อาตมากินให้คุณได้บุญนะไม่ใช่อาตมาได้บุญหรอกนะ ถึงขนาดนั้นนะ 

เพราะฉะนั้น ถึงบอกว่าใครให้ข้าวพระอรหันต์กินดี สูง ให้พระอาริยะกิน ได้ข้าวแก่พระอาริยะกิน ได้บุญสูง เพราะฉะนั้นถึงบอกว่า อย่าเลย ไม่ให้ท่านกินท่านก็ไม่ว่าอะไรท่านตายได้ แต่ท่าน เอาไปให้กินนี่หมายความว่าให้ท่านรักษาชีวิตไว้ จะได้บอกเรา เป็นบุญของผู้ที่ให้ต่างหากไม่ใช่บุญของท่าน ท่านเองท่านจบแล้วไม่เกี่ยวท่านจบภาระหมดสิ้นแล้วไม่ใช่เรื่องของท่านแล้วหมด ท่านไม่ต่ออะไร เพราะฉะนั้นแม้แต่ตัวตนท่านก็ไม่เอา ท่านจะตายเดี๋ยวนี้ ท่านก็ตายได้ จึงหมดความกลัวตาย 

ที่พูดไปบรรยายไปแล้วนี้แท้จริงแค่ จูฬสุญญตสูตรนะ เป็นสุญญตสูตรนะ ยังน้อยยังมีมหาสุญญตสูตรอีกนะ เพราะฉะนั้นวันนี้ยังไม่ได้พูดถ้าขืนพูดวันนี้แล้วรับรองเมื่อยตาย  เอาไว้วันหลัง วันไหนเหมาะๆ พูดกัน แค่ จูฬสุญญตสูตร ก็เข้าใจให้ได้เพราะฉะนั้นอาตมาก็เน้นเสมอว่า เราอย่าเอาแต่ฟังๆ แล้วก็หลงเพลิดเพลินว่าเราได้ปัญญาญาณแล้วก็อย่าเลยเราจะมีปัญญาแล้ว เรียกว่าสมาธิผ่านเลย ไม่ต้องไปมีสมาธิ อย่าไปหลงผิดเอาถึงป่านนั้นนะ ถ้าใครหลงผิดเอาถึงป่านนั้นแล้ว ตัดทางเลย ไม่ได้ไปหรอกนิพพาน ไม่ได้ไปมรรคผลอะไรหรอก 

เพราะฉะนั้นฟังก็ต้องให้มันถูกจุด ถ้าฟังยังไม่ถูกจุดฟังอะไรก็ได้ เพราะฉะนั้นจุดที่อาตมาพูดให้ฟังวันนี้นะ ขนาดที่พยายามคลี่จากธรรมแท้ๆ เข้ามาหาโลกโลกีย์มาอธิบายยกตัวอย่างแล้วนะ ยกตัวอย่างโลกีย์บ้างแล้วนะยังมีคนฟังอยู่เท่านี้คิดดูสิ ยังมีคนฟังอยู่เท่านี้เลย ถ้าเอาแต่ดุ้นๆ เนื้อธรรมะไม่ต้องเอาโลกีย์มาบรรยายเลยนะ จะเหลืออยู่กระจุกเท่านี้ 

พระว่า...ที่ศาลาผม ประชากรสองแสนกว่ามาฟังผมไม่กี่คน 

พ่อครูว่า... ไม่ต้องเป็นห่วงหรอก ถ้าเผื่อว่าโลกนี้ เรียกว่าโลกนี้มันเต็มไปด้วยธรรมแล้วล่ะก็ จะมีพระพุทธเจ้าเกิดพร้อมกันทีละ 100 องค์ 200 องค์ 500 องค์ แต่เพราะมันยากที่สุด พระพุทธเจ้าท่านถึงตรัสเอาไว้ในพระสูตรเลยว่า ไม่เป็นฐานะเลยที่จะมีพระพุทธเจ้าเกิดมาพร้อมกันในโลกธาตุอันหนึ่ง พร้อมกัน 2 องค์ ไม่เป็นทาง ไม่เป็นฐานะที่จะเป็นไปได้เลย จะมีองค์เดียว หรือแม้แต่พระพุทธเจ้าจะเกิดไล่เลี่ยกันในภาวะที่เรียกว่าเอ้า 1,000 ปี ก็ไม่มี แม้แต่ใกล้เคียงกันในระยะใกล้เคียงกันพระพุทธเจ้าจะบังเกิดไล่เลี่ยกันก็ยังไม่มีได้ เป็นฐานะที่เป็นไปไม่ได้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเราอ่านแต่พระสูตรเฉยๆ ผ่านๆ นะ ถ้าไม่เข้าใจลึกซึ้งถึงขนาดนี้นะ ไม่เป็นฐานะเลยที่พระพุทธเจ้าจะขึ้นมาปรากฏในโลกธาตุพร้อมกันทีละ 2 องค์ หรือ แม้แต่เวลาที่ใกล้เคียงกัน เราก็อ่านไปเฉยๆ ไม่รู้เรื่องไม่เข้าใจ แต่ถ้าเข้าใจได้นี่แหละมันเป็นของสูงหาได้ยากในโลกน้อย เพราะฉะนั้นคนที่มาฟังธรรมะแท้ๆ นี้จึงน้อย อาตมาไม่ตกใจเลย เหลืออยู่ 5 คน อาตมาก็สอนได้อาตมาไม่ได้ต้องการปริมาณคนเป็นร้อยมายืนฟังอาตมาไม่ต้องการ แต่อาตมาเองรื่นเริงและยินดี ปีติ กับท่านทั้งหลายแหล่ที่อาตมาเห็นหน้า และยิ่งจำหน้าได้บ่อยๆ ชัดๆ ยิ่งอนุโมทนาสาธุ 

พระว่า… น้อยๆ ก็มีประโยชน์สูง 

พ่อครูว่า... อนุโมทนาสาธุด้วย เพราะผู้ที่รู้แก่นสารเสียแล้วจึงรับแก่นสาร ผู้ที่รู้ว่าอันนี่เป็นเปลือก เป็นกระพี้จึงตัดเปลือกตัดกระพี้ออกไป ไม่ไปมัวงมอยู่ไปแทะแค่เปลือกแทะกระพี้รับแค่เปลือก และกะพี้และเข้าใจเข้าว่า อันนี้คือแก่น เพราะฉะนั้นผู้นี้แหละเป็นผู้ที่รู้แก่นแท้ๆ สาระแท้ๆ แล้ว อาตมาจึงอนุโมทนาสาธุด้วยอย่างยิ่ง ที่มานั่งฟังกัน

เพราะฉะนั้น ผู้ที่ไปฟังเพลิดเพลินอยู่ในโลกเฉยๆ ได้แต่เปลือกได้แต่กะพี้ฟังๆกันไปมากๆ แน่นอน ในโลกนี้ย่อมมีอย่างนั้นแหละมากกว่า อาตมาไม่เห็นจะแปลกตรงไหนเลยเป็นสัจธรรม เพราะโลกียะมันมีมากกว่าโลกที่เรียกว่าโลกุตระ เป็นของธรรมดา 

พระว่า... สุญญตาก็ยังมีรูปนามแต่ไม่มีความสำคัญมั่นหมายใช่ไหมครับ ที่นี้สูญญตาจะไปตรงกับจิตเดิมหรือจิตประภัสสรได้ไหม 

พ่อครูว่า... เมื่อใดเวลาใดดับลงก็เป็นจิตประภัสสรอยู่ เวลาใดดับลงจิตวางลงว่างลงแล้ว เมื่อนั้นเป็นจิตเดิมแท้อยู่ นี่พูดตามภาษาได้ 

พระว่า...เรียกว่า สุญญตะ คือจิตประภัสสรได้ไหม 

พ่อครูว่า... สูญญตะคือ จิตประภัสสรคือจิตเดิมแท้สุญญตะนั่นคือพุทธะ

          ฟังให้ดีนะสุญญตะคือพระพุทธเจ้าเอาอย่างนั้น 

พระว่า...เป็นการหลุดพ้นทุกข์หรือยัง 

พ่อครูว่า... ก็หลุดพ้นแล้วสุญญตะ ก็วางแล้วปลงแล้วหยุดแล้วคุณก็หลุดพ้นแล้ว ว่างแล้วปลงแล้วหยุดแล้วเลิกแล้วละแล้ว มันก็พ้นแล้วมันก็พ้นทุกข์แล้ว 

พระว่า...ผมเข้าใจว่ามันยังมีรูปนามอยู่ 

พ่อครูว่า... มีรูปนามอยู่ในตัวหมายความว่าเราจะยกจิตของเราขึ้นรู้ เราก็รู้ได้พระพุทธเจ้าท่านก็บอกไว้หลายทีในนี้ บอกว่ารู้ก็ให้สำคัญรู้ให้ได้ ไอ้สิ่งที่ไม่มีอยู่ก็ให้รู้ว่าไม่มี ไอ้สิ่งที่มีก็ให้รู้ว่ามีอยู่ เพราะฉะนั้นจะรู้ว่ามีก็ยกจิตขึ้นมา ไอ้ที่มีกับเขาก็มีได้ไอ้ที่ไม่มีก็ไม่มีได้ทั้งสองฝ่าย คุณไปคิดเป็นการบ้าน ความไม่มีคือรูป ความมีคือนาม เอาไปคิด คุณเอาไปคิด 

พระว่า…ความไม่มีในรูป คือไม่มีบุญไม่มีบาป ความมีในนาม คือความมีบุญมีบาปได้ไหม ความไม่มีคือรูปนั้นหมายความว่า ความไม่มีบุญมีบาปอยู่ในโลกเราเป็นสภาพของอพยากตธรรม ส่วนนามนั้นที่ว่ายังมีความมีอยู่นั้นคืออาจจะมีบุญมีบาปอยู่หรือมีอยู่นั่นแหละ เพราะว่ามันเป็น ไม่ใช่อกุศลธรรม เป็นกุศลธรรม หากเป็นพระอาริยะแล้ว สิ่งเหล่านี้ไม่เรียกว่ากุศล หรืออกุศลก็ต้องแยกว่าเป็นกิริยาไป พ้นจากบุญบาปแล้ว 

พ่อครูว่า... สำหรับท่าน ท่านเป็นอโหสิกรรม ท่านต้องมีกรรมแต่เป็นอโหสิกรรมหมด แต่บาปกับบุญมันจบอยู่ที่คนรับ สมมุติว่าอาตมาจะอธิบายอันนี้ต่อ ที่ว่าอโหสิกรรม หรือว่าบาปกับบุญมันเกิด เพราะว่าโลกปรุงแต่งมันมีผล ที่กล่าวเมื่อกี้ว่าความไม่มี รูป คือความไม่มี ไม่มีอะไร ไม่มีบาป ไม่มีบุญ ก็ได้ ไม่มีสังขาร คือการปรุงแต่ง ก็ได้ทั้งสองอย่าง 

เพราะฉะนั้น ถ้ามีสังขาร หรือมีการปรุงแต่งขึ้นมา มันจะมีบาป และมีบุญขึ้นมา แต่บาปและบุญอันนี้มันเกิดอยู่ในโลก ผู้ใดรับบาปไปผู้นั้นก็รับบาป ผู้ใดรับบุญไปผู้นั้นก็รับบุญ แต่ส่วนท่านผู้ปรุงผู้นี้เหมือนกับพ่อครัว ปรุงมีหน้าที่ปรุงอย่างเดียว แล้วก็ปรุงเสร็จพอปรุงอาหารเสร็จยกออกไป คุณเอาไปกินคุณบอกว่า อร่อย คุณก็ได้บุญ คนนี้บอกว่าไม่อร่อยกินไม่ได้ก็บอกว่าได้บาป บาปบุญเกิดที่ใครอยู่ที่เขา คุณบอกว่า อร่อย คุณก็เกิดบุญที่คุณใช่ไหม 

เพราะฉะนั้นตัวผู้นี้เอง คุณจะอร่อยคุณจะไม่อร่อยก็เรื่องของคุณสิเรามีหน้าที่ปรุงให้คุณเท่านั้น เหมือนอาตมาอธิบายให้คุณฟัง ถึงเรียกว่าอโหสิกรรมไง คนนี้มีการกระทำแต่การกระทำอันนี้คุณจะรับเป็นบาปเป็นบุญของคุณ เขาก็ไม่เกี่ยว คุณจะไม่อร่อยจนกระทั่งมาตีอาตมา ฆ่าอาตมาบอกว่าเอาขี้หมามาให้กินก็ว่าช่างคุณปะไร จะเกิดถึงขนาดนั้นก็ช่างคุณ แต่คุณเองกินแล้วคุณชอบคุณอร่อย ยึดถืออาตมา ดีจริงนะเอาของอร่อยมาให้กิน แล้วคุณก็จะรักจะชอบก็จะศรัทธาก็ช่างคุณปะไร อาตมาก็เฉยๆ 

พระว่า…จิตของพระอรหันต์ หมายความว่าน้ำไม่ซึมเข้าในใบบอนใช่ไหมครับ 

พ่อครูว่า... ก็อย่างนั้นเพราะฉะนั้นยังมีกรรมอยู่ได้ มีกุศลกรรม มีอกุศลกรรมแต่ไม่เป็นของท่าน 

พระว่า...เมื่อครั้งพุทธกาลฟังแล้วก็รื่นเริงในภาษิต เบิกบาน เบาใจ 

พ่อครูว่า... มีใครอีกไหม ตอนนี้ก็ชักจะเย็นลงไปแล้ว ..ผู้ฝึกฝนเป็นเสขบุคคล เสขบุคคลเหล่านั้นจะประกอบด้วย สัทธานุสารี ธัมมานุสารี สัทธาวิมุติ แล้วก็ทิฏฐิปัตตะ แล้วก็เป็นกายสักขี และกลายเป็นปัญญาวิมุติ มันก็จะสูงขึ้นไปอย่างนี้ตามลำดับตามลำดับๆ ด้วยเรื่อยไป จนกระทั่งถึงเป็น อุภโตภาควิมุติ หมายความว่าวิมุติได้พร้อมทั้งปัญญาวิมุติ และเจโตวิมุต ทำได้ทั้ง 2 ส่วนพร้อมกันในตัว 

อุภโตแปลว่า 2 เหมือนกระเทย มี 2 เพศอยู่ในตัว 

อุภโตภาควิมุติ แปลว่า 2 ส่วนได้ ทั้งเจโตวิมุติ กับปัญญาวิมุติได้พร้อมกันในตัว เพราะฉะนั้น ถ้าจะวิมุติโดยที่เราเองพยายามเพ่งให้เกิดเป็นปัญญามันไว ไปเพ่ง พิจารณาเดินเหินยืนนอนไปมาทุกอย่างแล้ว จะกินแล้วจะอยู่เราจะใช้เราจะสอยเราจะทำอะไร แม้กระทั่งทำงานทำการทุกเวลานี้ เราพยายามมีจิตเข้ามารู้ให้ได้ว่าเราเองกำลังปรุงแต่งทั้งนั้นอยู่ ทุกอย่างที่เรากำลังอยู่นี้ปรุงแต่งทั้งนั้น อาตมากำลังพูดอยู่นี่ก็ปรุงแต่ง ปรุงแต่งอะไรท่านเรียกว่า วจีสังขาร ที่กำลังพูดนี่เป็นวจีสังขาร เพราะฉะนั้น วจีสังขารนี่ถ้าอาตมาไม่ยกมรรคองค์ 8 เป็นสัมมาสมาธิขึ้นมาพูดแล้วล่ะก็ วจีสังขารอันนี้ถ้าเริ่มต้นมีมิจฉาทิฏฐิตัวแรกแล้ว ไปก่อนเพื่อน  
...เน็ตไม่ดี..​

เพราะฉะนั้นถ้ามีความเห็นถูกอาตมา ถ้าเห็นไม่ถูกอาตมาอธิบายไปแล้วก็เข้าป่า เพราะฉะนั้นคนที่มีมิจฉาทิฏฐิตัวแรกอธิบายเข้าป่าเสมอ ไม่พาเข้าไปนิพพานหรอก

เพราะฉะนั้นตัวแรกที่จะเห็นจริงเป็นสัมมาทิฏฐิ แล้วก็พยายามให้ตัวเอง มีความขยันหมั่นเพียร สัมมาวายามะ พยายามปรุงขึ้นมาๆ ถ้าไม่ปรุง ถ้าเอาอยู่เฉยๆ มันก็สุขหรอก แต่ถ้าปรุงขึ้นมาเป็นประโยชน์โลกทุกข์นิดหน่อย   

บางทีต้องใช้ Energy น่าดูเหมือนกัน บางทีต้องปั้นสีหน้าปั้นเรี่ยวแรงเน้นคำนั้น คำนี้มันก็ต้องปรุง ให้เกิดสัมมาวายามะ เพราะว่าเดี๋ยวนี้คนมีจิต ที่เรียกว่า จิตเดิมแท้นั้นมันลึกเหลือเกิน ต้องไชกันให้หนัก ไชกันก็ไปให้ลึกถึงจะถึงที่ เพราะฉะนั้นเราพูดอ่อยๆ เหมือนกับอย่างสมัย 2,500 กว่าปีมาแล้ว อย่างพระพุทธเจ้าท่านพูดท่านตรัส อย่างนั้นอย่างนี้เรื่อยๆ ธรรมดาๆ ไม่ใช่ยุคแล้ว ยุคนี้พูดอย่างนั้นไม่ได้ ยุคนี้ถ้าพูดอย่างนั้นอ่อยๆ รับรองเหลือนี่ 5 คน เหลือตรงนี่ 5 คนจริงๆ ด้วยถ้าพูดอ่อยๆ 5 คนจริงๆ 

เพราะฉะนั้นอาตมามาบรรยายที่นี่ อาตมาได้รับจดหมายจากพระที่นี่ ท่านเขียนไปท่านเตือนว่า แหม ท่านบรรยายธรรมะดี แต่อาตมาไม่รู้นะว่าอยู่ที่ไหน ก็ไม่รู้จักท่านแต่ท่านเจตนาดีเพราะเห็นท่านเองท่านรับสิ่งนั้นท่านเห็นว่าสิ่งนั้นควรจะมีอยู่ที่อาตมา อาตมาเองก็อยากมีสิ่งนั้นตลอดกาล แต่มันทำไม่ได้มันต้องใช้มันต้องปรุงในเวลาอย่างที่กระทำอยู่อย่างนี้แหละไม่ใช่อาตมาไม่รู้แต่อาตมารู้  

หมายความว่า แค่พูดแค่ส่งเสียงแค่กายสังขาร หมายความว่าอากัปกิริยาต่างๆ ที่แสดงออกก็ควรจะอยู่ในภาวะสงบสงบให้มาก แล้วจะเป็นที่น่าบูชามากขึ้นอีกจริง จริงไม่เป็นของแปลกเลยและถูกที่สุด  อาตมาก็อยากอยู่ในสภาวะนั้นที่สุด แต่นั่นแหละอาตมาถึงบอกว่า ถ้าอาตมามานั่งเทศน์อ่อยๆ อย่างนี้เหลือ 5 คน เหลือ 5 คนจริงๆ เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าในภาวะที่อาตมาจะเน้นหลับหูหลับตาพูด สลัดหน้าสลัดหลังอะไร อาตมาธรรมดาเดินยืนนั่งยืนอาตมาก็ไม่มานั่งสลัดหน้าสลัดตาหรอกอาตมาไม่ได้ทำหรอก แต่ทำในขณะที่ควรจะทำในขณะที่ปรุงออกมาเพื่อจะสู่กันฟัง และชักจูงกันบ้าง มันลึกกว่าที่ว่านี้ ต้องทิ่มกันให้แรงๆหน่อย มันถึงจะถูกจิต

พระว่า… เป็นศิลปะได้ไหม 

พ่อครูว่า... เรียกว่าศิลปะก็ได้ โลกเรามีชื่อเรียกว่าศิลปะ ถ้าเรียกในภาษาพระพุทธเจ้าก็เรียกว่า อุปายะ เรียกว่า อุปายโกศล พวกมหายานเที่ยวไปสอนกันบอกว่า โพธิสัตว์มี อนิยตะ นิยตะ และพยายามดันทุรังไปสร้างแต่อภิญญาแต่ปัญญาญาณอันนี้ไม่สร้าง ดันทุรังไปเถิดพวกนี้มหายาน ถ้าพวกนี้ไม่เข้าใจแบบนี้แล้วจะเดินแบบสัทธาธิกะหรือวิริยาธิกะ แต่ถ้าใครเข้าใจแบบนี้นะ เดินแบบปัญญาธิกะ สร้างทานศีลเนกขัมมะหรือสมาธิและเกิดปัญญา จนกระทั่งปัญญาบรรลุได้แล้ว จึงค่อยเพิ่มวิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน บำเพ็ญอภิญญาต่างๆ หวานเลย บารมี 10 ทัศนี่เดินเข้าไป พอทำแล้วก็สงเคราะห์โลกเป็นมีเมตตาธรรม และก็รู้จักวางให้ตัวเองมีอุเบกขา 

เพราะฉะนั้นของเถรวาทเรานั้นบารมี 10 ทัศ ถึงเป็นแบบนี้ แต่บารมีหรือปารมิตาของสายมหายานไปแปรรูปเสียเลยไม่เป็นแบบนี้ เข้าป่า เป็นของพวกสัทธาธิกะและวิริยาธิกะ ไม่ใช่ของพระสมณโคดมของพระพุทธเจ้าของเรา มีพระพุทธเจ้าแบบอื่นก็มี แต่แหมสู้ทนนานเหลือเกิน เพราะฉะนั้น ปัญญาธิกะจึงบำเพ็ญแค่ 20 อสงไขยกัปจบ แต่สัทธาธิกะดันทุรังทำ 40 อสงไขยกัป เพิ่มเป็น 2 เท่า พวกสัทาธิกะหมายความว่าฉันไม่ฟังเสียงแล้ว ฉันจะดันทุรังของฉันแบบนี้ไปได้เหมือนกัน ไม่เป็นไรหรอกไอ้ของกลมๆทั้งนั้นในโลกนี้ ไปได้เหมือนกันมันจะถึงจนได้ เช่นเดียวกันกับจะเดินไปทางอเมริกาไปได้เหมือนกันปักหัวดิ่งตรงไหนก็ได้มันถึงเหมือนกันนะอเมริกานี่ ไปซ้ายก็ได้ไปขวาก็ได้ ถึงเหมือนกัน แต่ไปดันทุรังเข้าทางซ้ายไม่ถึงง่าย นานช้าถึงเรียกว่า 40 อสงไขย พวกสัทธาธิกะปักดิ่งยึดมั่นเลย 

แต่พวกวิริยาธิกะ ไอ้คนนี้พูดอย่างนี้เอาทีแต่แม้เพียรเหลือเกินขยันทำเสียจริงวิริยาธิกะขยัน ประเดี๋ยวคนมาพูดอีกอย่างนึงก็เอาอีกที่ไม่ค่อยได้เรื่อง      เปลี่ยนดีกว่า มาทางนี้เอาทีแฮะ อ้าไปได้หน่อย พอบอกคนนี้มาเป่าหูอย่างนั้นไม่ใช่ กลับไปกลับมากลับไปกลับมา 80 อสงไขยกัปนะ กว่าจะจบนะ บรรลุเป็นพระพุทธเจ้าพวกนี้อ้วกเลย เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าถึงบอกว่า ถ้าไม่ใช้อะไรเป็นปัญญานำนะไม่ได้ เพราะฉะนั้นต้องปรุงให้ได้ ให้ปัญญานำหน้าเสมอ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าองค์สัมมนาโคดมของเราจึงเป็นผู้ที่มีปัญญาเลิศ เป็นผู้ที่สูงที่สุดในจริต ที่นี้ปัญญาสูงกว่าพระพุทธเจ้าที่มีสัทธาธิกะและวิริยาธิกะจึงเรียกท่านว่าเป็น  ปัญญาธิกะ และท่านต้องมาสอนคนที่โง่ที่สุด คือคนยุคนี้ เพราะฉะนั้นคนยุคต่อไปให้พระพุทธเจ้าแค่องค์สัทธาธิกะ หรือ วิริยาธิกะสอนก็ได้ ไม่ต้องเอาปัญญาเลิศๆมาสอนหรอก เพราะสอนคนยิ่งโง่ต้องใช้คนที่ปัญญาสูง มันถึงจะคุ้มกัน เพราะฉะนั้นถ้าสอนคนปัญญาสูง เอาคนปัญญาไม่ค่อยสูงมาสอนก็ได้ ให้เขาเหนือกว่านิดหน่อยก็แล้วกัน เหนือกว่านิดหน่อยก็สอนได้ เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าถ้าเข้าใจอย่างนี้แล้วนะพระพุทธเจ้าเองก็ยังมีความไม่เท่ากัน จะพูดให้ฟัง 

พระว่า… ปัญญาธิกะนี่ ขั้นสูงเป็นพระอรหันต์แล้วกลับมาทำหน้าที่ต่อได้ไหม 

พ่อครูว่า... ปัญญาธิกะนี่แหละ จะต้องเป็นพระโพธิสัตว์ที่บรรลุอรหันต์ก่อน และเป็นโพธิสัตว์ที่แท้ด้วย และเป็นโพธิสัตว์ที่ไปได้เร็วรวด แบบพระสมณโคดมของเรานี่ และเป็นพระโพธิสัตว์ที่จะบรรลุได้แน่นอนด้วย จึงเรียกไปว่าเป็นพระนิยตโพธิสัตว์ด้วย เพราะว่าเที่ยงแท้ เพราะท่านรู้หลักหลบเหลี่ยมทุกข์ ท่านมีเหตุผลหลบเหลี่ยมทุกข์แล้ว 

พระว่า...หมายความว่าท่านมีปัญญารอบรู้ และก็รู้รอบอีกด้วย 

พ่อครูว่า... รู้รอบด้วย จึงสามารถที่จะบำเพ็ญตนไปได้ เพราะฉะนั้นเช่นเดียวกันกับพระสมณะโคดมของเรานี่นะ ในสมัยที่ท่านเป็นพระสุเมธดาบส ท่านรู้ท่านจะเป็นอรหันต์เดี๋ยวนั้นท่านก็ได้ แต่ท่านยังไม่เอาหรอกท่านยังไม่ ไม่ยอมเอาแค่นี้ไม่ขอจบชาตินี้  สมัยตอนที่พระพุทธเจ้าสมณโคดมเกิดเป็นพระสุเมธดาบสและท่านก็ทอดตัวให้พระพุทธเจ้าทีปังกรดำเนินผ่าน ข้าม ตอนนั้นท่านบอกว่าจะบำเพ็ญโพธิสัตว์ต่อ ท่านจะเป็นพระพุทธเจ้าเดี๋ยวนี้โดยที่เรียกว่า ท่านไม่ต้องให้พระพุทธเจ้าทีปังกรพยากรณ์ก็ได้ เพราะท่านจะเป็นอรหันต์เดียวนั้นก็ได้ แต่ท่านไม่เอา นี่แหละตัวอย่างอันแท้จริง เพราะฉะนั้นพระโพธิสัตว์แบบปัญญาธิกะจึงบรรลุอรหันต์ก่อน ถ้าคลี่คลายออกมาแบบนี้แล้วจะเข้าใจ  

ถ้าไม่คลี่คลายอาตมาเขียนหนังสือเล่ม 2 เล่ม 3 ถูกว่า อาตมาพูดอะไรออกไปนอกๆ เรียกว่านอกเขตนอกตำราเขามาก บอกว่าอรหันต์ ก็ยังไม่จบ พระพุทธเจ้าก็ไม่จบบ้าง 

พระว่า...การที่ท่านพูดได้นี้เป็นอุตริมุสธรรมถึงพูดได้อย่างนี้ 

พ่อครูว่า... อุตริ อุตระ แปลว่า เหนือ มนุษย์ บอกแล้วว่าเป็นธรรมะ อุตระ มนุสสะ ธัมมะ เป็นธรรมะที่เหนือมนุษย์ ก็ผู้นั้นเอามาพูดได้แล้ว ก็ต้องตรวจหน่อยสิว่ามันมี 

พระว่า…ผู้รู้ได้อย่างนี้ และแล้วพูดไปเป็นอุตริไหม 

พ่อครูว่า... เป็นอุตริเหมือนกัน หมายความว่าถ้าพูดไม่ถูกวาระแล้วพระพุทธเจ้าก็ปรับอาบัติเหมือนกันเป็นปาจิตตีย์ ไม่มากหรอก ถ้าคนนั้นมีอุตรินั้นจริง มีความเหนือมนุษย์นั้นจริง ผู้พูดได้อวดได้ แต่ท่านตรัสไว้ว่าลงโทษหน่อยนะ ถ้าไม่พูดแล้วเราจะรู้ของที่เหนือมนุษย์ได้อย่างไรล่ะ ถ้าอาตมาไม่พูดพวกคุณจะรู้ได้อย่างไรล่ะ เอากันจริงๆ เมื่อพวกคุณก็ใส่ใจธรรมนะ โดยแท้จริงนี่อาตมา ตีคำว่าอนุปสัมบัน ไม่ใช่แค่ว่าผู้ไม่ได้บวช อนุปสัมบัน คือผู้ได้ปฏิบัติบ้างแล้ว เพราะฉะนั้นคนที่ไม่ได้ปฏิบัติเลยพวกอนุปสัมบันเลิกกัน ผู้ที่ปฏิบัติบ้างแล้วพูดสู่กันฟังได้ 

เพราะฉะนั้นอนุปสัมบันนี่ หากไม่ได้ปฏิบัติอะไรมา ก็ช่างมันเถอะ 

พระว่า…พอท่านไม่รู้ก็หาว่ารู้ดีมาก 

พ่อครูว่า... ก็เป็นธรรมดาไง อันนั้นถูกเป็นเรื่องธรรมดา อาตมากล้าพูดอีกอันนึงในขณะนี้ว่า  ผู้ที่นั่งฟังอาตมาอยู่นี่  แล้วได้เคยอ่านหนังสืออาตมาเล่ม 2 เล่ม 3 มาก่อนพออ่านมาถึงจุดนี้ที่ว่าพระอรหันต์ยังไม่จบ แล้วพระพุทธเจ้ามีอะไรต่ออะไรอะไรต่างๆ นานา ซึ่งในหนังสืออาตมามีเยอะเลยที่อีกหลายอย่าง อาตมาช่วยเลยว่าผู้นั้นผู้นั้น พออ่านถึงจงดีใจจะบอกว่าเอาอะไรมาพูด อาตมาเชื่อเลยอะไรและมานั่งฟังจนกระทั่งถึงวันนี้ ที่อาตมาอธิบายอยู่นี่ จะคลี่คลายความเข้าใจที่เคยเข้าใจอย่างนั้นมาแล้วเยอะ อาตมาเชื่ออันนี้กล้าพูด 

พระว่า...คำว่า การปฏิบัติรู้จริงเห็นจริงเข้าใจจริงด้วยตัวของตนเอง ตรงนี้คือรู้แจ้งเห็นจริง ที่นี่บุคคลยังไม่เคยปฏิบัติเลย เขาก็ฟังไม่รู้เขาก็ฟังไม่รู้เรื่อง  

พ่อครูว่า... เพราะฉันอาตมาถึงยืนยันเหลือเกินว่าฟังไปเถอะอยากจะฟังเพลิด ตั้งค่าอธิบายจนถึงอาการของพระอรหันต์จะตายทำยังไง จะทำยังไง จนกระทั่งตายในท่านั่งท่านอนท่าเดินอะไรอธิบายให้ฟังจน อาตมาก็ว่าใครก็คงไม่มานั่งเล่าให้ฟังอย่างนี้หรอก ถ้านั่งเล่าให้ฟังนี้ก็จะบอกว่าแม้วันนี้ฟังถึงกระทั่งอรหันต์ตายในท่านั้น ท่าโน้น ท่านี้ ฟังจนกระทั่งถึงอรหันต์จะต่อยังไง พระพุทธเจ้ามีความไม่เท่ากันยังไง บอกว่าวันนี้ฟังธรรมะสูงเพลิด แต่ว่าไม่เอาไอ้ที่ต่ำๆ ที่เรายังไม่ถึงนั่นไปปฏิบัตินี่มันก็ไม่ได้อะไร ไม่ได้อะไร 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่า จะทำให้เกิดผลจริงเป็นจริงรู้จริงแจ้งจริงนั้นไม่ใช่เอาแต่มาฟังว่าแม้วันนี้ฟังสูงมากแล้ว และก็ผยองตน ไม่ใช่ ต้องเอาไปปฏิบัติจับให้ได้รู้ฐานะของตนเองให้ได้ เรียกว่ากรรมฐาน เรียกว่ากรรมฐาน 

กรรมฐานนี้ไม่ใช่อะไร คือฐานะที่ตัวเองจะกระทำ อย่าไปหลงงมงายเอาว่ากรรมฐานต้องไปนั่งหลับตาเฉยๆ ไม่ใช่นะ กรรมฐานต้องรู้ฐานะของตนเองที่กำลังกระทำอยู่ ถ้าตัวเองมีภูมิธรรมเท่านี้ ก็ทำตามฐานะของเรา อย่าไปหลงเพลิดว่าตัวเองนี้เลิศลอยแล้ว หรือว่าต่ำเกินไปก็ไม่ใช่ฐานะ สูงเกินไปก็ไม่ใช่ฐานะ ต้องรู้ฐานะที่เป็นจริงอย่างแท้จริงของตัวเอง เมื่อรู้แล้ว นั่นแหละจงปฏิบัติเอาทำเอา เรียกว่ารู้กรรมฐาน และกรรมฐานอะไรที่เราจะเอาไปปฏิบัติก็ต้องรู้ ถ้าเราไม่รู้แม้กระทั่งผมนี่เป็นอนิจจังนะนี่ยาวแล้วก็มีแตกได้นะ ท่านก็ให้เพ่งดูเสียก่อน ที่นี้บอกกรรมฐานพื้นๆ เล็บมันมียาวแล้วก็มีขาดหายไปนะ กรรมฐาน 5 ถึงบอกว่ามีเล็บ มีผม มีขน มีฟัน มีหนัง ที่เห็นง่ายๆ ฟันนิดเดียวก็หลุดหายไปได้ง่ายนะ ท่านถึงให้อ่านอยู่แค่นี้นี่เป็นของพื้นๆต่ำๆเตี้ยๆ ถ้าเราทำได้แล้วแจ้งจริงหรือยัง 

ถ้ายัง ไม่รู้ได้กรรมฐานของเราก็เพ่งแค่นี้นะ อ่านแค่นี้ให้ออกนะ อย่าไปเอาอะไรสูงกว่านี้นะเพราะฉะนั้นกรรมฐานไม่ใช่ว่าไปนั่งหลับตาแล้วเห็นฟันหลับตาและเห็นผมไหม หลับตาและเห็นขนไหมไม่เห็นนะ เพราะฉะนั้นมันหลุดก็รู้อาการมันหลุดให้แท้ ผมมันยาวออกมาแล้วมันก็มีการแตกปลายมันมีการแก่เกิดแก่เจ็บตายอยู่ในเส้นผม และมีการเกิดแก่เจ็บตายอยู่ในเล็บ ผิวหนังมีการเกิดแก่เจ็บตายอยู่ในผิวหนัง ขนมีการเกิดแก่เจ็บตายอยู่ในขน รู้ให้มันได้ชัดๆ เจนๆ แจ้งๆ เมื่อรู้แล้วเลื่อนกรรมฐานของตัวเองขึ้นมา 

พระว่า… กรรมฐานเห็นอย่างนี้ต้องเห็นด้วยตา 

พ่อครูว่า... เห็นด้วยตาพูดอย่างนี้ เห็นด้วยกันได้ขนมันยาวได้ แล้วใจที่จะไปรู้แจ้งชัดในใจเกิดเป็นสภาวะเป็นยังไง เกิดจริงอันนี้ก็ให้อ่านจริงๆ เห็นความไม่เที่ยงในจิตจริงๆ 

พ่อครูว่า... อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

พ่อครูว่า... ต้องทำให้เป็นจริงเป็นหนึ่งจิตสงบระงับจากกิเลสกาม จากกิเลสนิวรณ์ทั้ง 5 จากพยาบาท จากถีนมิทธะนั่งให้จิตใจใสแจ๋วแล้ว ก็ยกขึ้นมาว่าเออเนื้อหนังเรานะ ผมเรานะ ฟันเรานะ แล้วก็คิดมาจริงๆ เอาออกมาวิจัยทำอย่างนั้นจริงๆ มีวิตกวิจารในขณะนั้นจริงๆ เอาออกมาเป็นธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์จริงๆ เอามาวิจัยมันจริงๆ ว่าผิวหนังอะไรต่ออะไรของเราเอามาถามจริงๆ ไม่ใช่มานั่งหลับตาเฉยๆ เมื่อไหร่ ยกกรรมฐานอันนี้ขึ้นมานั่งคิดในสภาวะที่กำลังมีอารมณ์เป็นฌานขณะนั้นจริงๆ และเอามาคิด ไม่ใช่ท่านบอกให้อารมณ์ 5 กรรมฐาน 5 เอาเป็นกรรมฐาน 5 ไปศึกษาที่ไหนก็ไม่รู้ แต่ไม่เคยยกจิตขึ้นให้เป็นสมาธิ ทำจิตให้เป็นสมาธิไม่มีนิวรณ์ทั้ง 5 แล้วแล้วก็ยกผมของขึ้นมาพิจารณา ยกฟันขึ้นมาพิจารณายกเล็บขึ้นมาพิจารณา ยกผิวหนังขึ้นมาพิจารณาไม่เคยยกจริงๆ เลยแล้วสภาวะที่เราจะเห็นแจ้งแทงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของผมของฟันของหนังจริงๆ 

พ่อครูว่า... สมมุติสิ่งที่พูดกันเฉยๆ แต่ลองทำจริงๆ สิถ้าใครหลงตัว           ว่าแค่นี้  อั๊วะก็เข้าใจแล้วคนนั้นก็ไม่ได้ทำ แต่ถ้าใครทำจริงคนนั้นจะเห็นจริง 

พระว่า… เห็นเป็นสภาวะจริงๆ สภาวะอันไหนครับ 

พ่อครูว่า... สภาวะ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา  จะเห็นไตรลักษณ์อันนั้นได้ 

พระว่า...สติมันไปเห็น จนเกิดปัญญา

พ่อครูว่า... เห็นจริงเลย ถ้าเห็นตอนนี้เห็นเป็นภาษา ถ้าไปนั่งเห็นด้วยจิตที่มันเป็นฌานจริงๆ นะ จิตที่มันละเอียดจริงๆ จิตที่มันไม่มีกิเลสจริงๆ แล้วอ่านให้จริง เป็น ยถาภูตญาณทัสสนะ เห็นความแท้จริงอันแท้จริง ยถาภูตญาณ อันนั้นจึงจะเกิด เพราะฉะนั้นพูดกันไปแล้ว นี่นะไปทำกันซะบ้าง ไปทำจริงๆ ด้วย อยากไปนั่งเอาแต่ฟังๆๆ แล้วก็ แหม… วันนี้ฟังดีอร่อยเลิศเลยสูงด้วย แต่ไม่เคยไปนั่งเพ่งพินิจเลยว่าอะไรมันเกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่เคย เพราะฉะนั้นบอกว่าอย่าเอาแต่ฟัง 

พระว่า...ฟัง ไม่เห็นสภาวะเห็นแต่ความแก่ชรา ฟันหลุดได้ ขนมันหลุด ก็ไม่เห็นความเกิดดับนี่ครับ ภาวะการเกิดดับ มันต้องเห็นด้วยจิต 

พ่อครูว่า... มันไม่เห็นไตรลักษณ์ 

เอาล่ะ วันนี้ก็พอสมควรแก่เวลาสาธุ 

จบ

ที่มา ที่ไป

การแสดงธรรมจากพ่อท่าน ที่วัดธาตุทอง วันที่ 26 ตุลาคม  2514 (ตอนที่2)141026 จูฬสุญญตสูตร ตอนที่ 2-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง


เวลาบันทึก 08 พฤษภาคม 2567 ( 13:23:54 )

15 ปีเท่านั้นของการเปิดตัวทางการเมืองมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2549

รายละเอียด

พ.ศ. 2549 ก็ 15 ปีผ่านมา 

15 ปีเท่านั้น อาตมาเปิดตัวทางการเมืองมา 15 ปีเท่านั้น ขอยืนยัน ก็บอกต่อไปว่ายังจะมีรายละเอียด ของเรื่องการเมืองอีกที่อาตมายืนยันว่าเป็นนักการเมือง ประชาธิปไตยอย่างพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นโลกุตรธรรมแม้แต่ในเมืองไทยก็เป็นโลกุตระ แต่ยังไม่เต็มรูป ยังไม่ออกไปเท่าที่ควร อาตมาก็จะต้องทำต่อ อาตมาจะเป็นตัวนามหรือธรรมะ ผู้ที่ทำการเมืองจะต้องเป็นฆราวาสเป็นรูป สำหรับนักบวชก็ได้ประมาณหนึ่งที่พวกเราทำขนาดนี้ ไม่ได้หลบหน้าหลบตาแต่ออกมาพูดแต่รู้เขตขีดว่านักบวชควรอยู่ประมาณไหน สำหรับฆราวาสนั่นแหละจะไปออกบทบาท แม้นักบวชก็ไม่ไป แบบศรีลังกาที่เข้าไปเป็นส.ส.นั่งในสภากัน จะไม่ไปถึงขนาดนั้น เป็นแต่เพียงว่าจะเป็นปุโรหิต ให้คำปรึกษาเลือกข้างที่ถูกต้องมากที่สุดแหละ

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ วิถีอาริยธรรม ทำไมพ่อครูพาชาวอโศกลงสู่สนามการเมือง วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม 2564 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 19 กุมภาพันธ์ 2564 ( 05:38:01 )

150000 จะดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

รายละเอียด

150000 จะดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 

พ่อครูว่า... เราก็มาพูดกัน จะดับอวิชชาด้วยวิธีใด ฟังแล้วก็คือเราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร? ด้วยวิธีใด เราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร ถ้าเราไม่เอาความหมายอย่างนี้ เราก็จะรู้ว่า ที่เราจะพูดกันด้วยธรรมะ ที่อาตมาพูดอย่างนั้นก็หมายความว่า คำว่า “อวิชชา”นั้น โดยความหมายของมันอย่างแท้จริงแล้วล่ะก็ ต้องหมายความว่า เราจะมีนิพพานที่จะได้นิพพาน หรือเป็นพระอรหันต์ จึงเรียกว่า อวิชชา 

แต่ถ้าเราจะเอาคำว่าอวิชชามาพูดธรรมดาๆ แล้วล่ะก็ วิชาทั่วๆ ไปในโลกนี้ แปลว่าความรู้ เพราะฉะนั้นความรู้อะไรก็แล้วแต่ที่เราเองไม่รู้ ก็เรียกมันว่า อวิชชาได้เหมือนกัน ที่พูดกันอย่างโลกๆ ทั่วไป ใครที่ไม่รู้อะไรก็ เรียนเอา เรียนเอา เรียนเอา ไอ้คนนั้นก็ได้หรือพ้นอวิชชาแบบโลกๆ ไปได้ทั้งหมด ทุกอันทุกสิ่ง นับไม่ถ้วน เหมือนใบไม้ เหมือนต้นไม้ เหมือนๆ ใบไม้ทั้งหมดน่ะ ที่หล่นอยู่ใต้ต้นไม้ และหมดต้นไม้ทั้งหมด นั่นเรียกว่าเป็นวิชาทั้งนั้น พระพุทธเจ้าของเรา รู้หมดแล้ว รู้ทั้งใบไม้บนต้น รู้ทั้งใบไม้ที่หล่นอยู่ นี่พระพุทธเจ้ารู้นะ แต่พระพุทธเจ้าของเรานั้น ท่านเค้นเอามาหรือคั้นเอามา หรือคัดเอามา ว่าสิ่งที่จำเป็นที่สุด ที่จะเป็นวิชชาที่ควรเรียนนั้น คั้นออกมาแล้วเหลือกำมือเดียว ท่านเอาใบไม้กำมือเดียวเท่านั้น 

เพราะฉะนั้นผู้ใดทำใบไม้กำมือเดียวนี้ให้ได้รู้แจ้งแทงทะลุแล้ว รู้เท่านี้ พ้นอวิชชาเท่านี้ หรือได้วิชชาเท่านี้ จำกัดความลงไปเหลือแค่ใบไม้กำมือเดียวนี้ ท่านบอกว่าเท่านี้แหละจำเป็นที่สุดในชีวิตของสัตว์โลกที่เรียกว่ามนุษย์ นอกจากนั้น ท่านไม่วุ่น ท่านไม่วุ่นแล้ว

เพราะฉะนั้นเราจะต้องมาทำคำจำกัดความ หรือมารอบรัดกันซะก่อนว่า ไอ้แค่ใบไม้กำมือเดียวกันนี้ล่ะ  ใบไม้กำมือเดียวของที่พระพุทธเจ้าท่านเปรียบเทียบให้ฟังที่ป่าศรีษะเนี่ย ศรีษะป่าเนี่ย ที่ท่านเรียก ท่านถามภิกษุเนี่ย เรามารอบรัดกันซะก่อนว่า มันกินความแค่ไหน มันกินความแค่ไหน

มันก็กินความอยู่แค่ว่า เราจะต้องมีความรู้ ที่เรารู้กันมาทั้งหมดแล้วง่ายๆ พื้นๆ ทุกคนก็ได้ฟังกันมาจนหูจะแฉะแล้ว คือ รู้อริยสัจ 4 

รู้ทุกข์ กำหนดรู้มันให้ได้ ปริญเญยยะ หรือเรียกว่า ปริญญายติ ปริญเญยยะเนี่ย รู้ ทุกข์เนี่ยกำหนดรู้ ไม่ใช่วิชาที่จะไปตามรู้เรื่องอื่น เป็นความรู้ที่จะต้องรู้ทุกข์ ทำปริญญายติ ปริญเญยยะ ให้รู้ตัวนี้ กำหนดรู้มัน 

เมื่อรู้ทุกข์แล้วทำยังไง เมื่อรู้ทุกข์แล้วท่านก็บอกว่า ให้รู้พ่อแม่ของทุกข์ด้วย รู้ทุกข์แล้วให้รู้พ่อแม่ของมันด้วย คือรู้ตัวที่มันทำให้มันเกิดอยู่ ตัวที่มันทำให้เกิดนั้น เราเรียกว่าสมุทัย หรือต้นเหตุ หรือต้นทาง หรือพ่อแม่ หรืออะไรก็ตามแต่ 

ไอ้ตัวสมุทัยนี่ นอกจากจะรู้ทุกข์แล้ว เราจะต้องทำความรู้ต่อไปอีก จนกระทั่งไปรู้ถึงสมุทัย แล้วไม่รู้เปล่าด้วยนะสมุทัยเนี่ย ต้องทำการละทุกข์ด้วย แม้รู้สมุทัย เข้าใจสมุทัยแล้ว ต้องละด้วย เรียกว่า ปหานกิจ หรือ ปหานปธาน ต้องประหารมัน ต้องฆ่ามัน ต้องละมัน ต้องเลิกมัน สมุทัยนี่ 

ต้องฟังให้ดีนะ รู้ทุกข์ ไอ้ตัวทุกข์นี่ไม่ได้ดับเลย อย่าเข้าใจเพี้ยน เราสิ้นทุกข์โดยที่เราไม่ต้องดับทุกข์ เราไม่ต้องฆ่าทุกข์  แต่เราไปฆ่าสมุทัย ฟังให้ดี  พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ละเอียดลออ ท่านสอนเอาไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 

ทุกข์นั้นต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ ต้องทำการละ 

ทีนี้ทำการละแล้วเป็นยังไง ละแล้ว เราก็จะถึงซึ่งนิโรธ จะถึงซึ่งความดับ จะถึงซึ่งความหมด จะถึงซึ่งความหยุด มันจะเป็นอย่างนี้ พอเราละสมุทัยแล้วมันจะถึงซึ่ง ความดับ ความหยุด ความหมด ความจบ ท่านเรียกว่ามันจะถึงซึ่ง ปฏิกโรติ ต้องมีปฏิกโรติคือ ทำตัวนี้ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ให้มันรู้พร้อม ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ปฏิกโรติ ทำให้แจ้ง ทำให้รู้พร้อม ถ้าเข้าใจแล้ว อ๋อ อย่างนี้เองเหรอนิโรธ ต้องให้รู้อย่างนี้ อ๋อ..สภาพนิโรธเป็นอย่างนี้เองหรือ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดรู้ทุกข์แน่นอน อ๋อ.. อย่างนี้เองที่เรียกว่าทุกข์ แล้วก็รู้ด้วยว่าเหตุที่มันเกิดทุกข์นี้ ก็เพราะอย่างนี้เอง อ๋อ.. อันนี้คือสมุทัยอย่างนี้ เอาละ ไอ้สมุทัยอันนี้ฆ่าให้ได้ ดับให้ได้ เลิกให้ได้ ละให้ได้ ทำลายให้ได้ ประหารมันลงไปให้ได้ พอละเแล้วเสร็จ ผลก็เกิดขึ้นแล้วอ่อ ละสมุทัย หรือฆ่าสมุทัย ดับสมุทัยแล้ว ผลที่มันเกิดมาเป็นอย่างนี้เอง ภาษาโลกเรียกมันว่า นิโรธ หรือวิมุติ 

ภาษาเค้าเรียกว่า นิโรธ หรือ วิมุติ ทำนิโรธหรือวิมุติ นี้ให้เห็นขึ้นมาที่ในนี้เป็นปัจจัตตัง ขึ้นมาในนี้ ไม่รู้จะที่ไหนก็ตามแต่ อาตมาจิ้มไม่ถูก ให้มันเกิดที่ไหนก็ช่างเถอะ  ให้มันเกิดในขันธ์ 5 นี่แหละ ให้มันเกิดนิโรธขึ้นมา จนกระทั่งรู้ว่า อ๋อ..อย่างนี้นะหรือนิโรธ จึงเรียกว่าทำให้แจ้ง นิโรธต้องทำให้แจ้ง ปฏิกโรติ ต้องทำให้แจ้ง ทำให้แจ้ง เหตุที่มันแจ้งด้วยนิโรธ เพราะว่าเราดับเหตุตัวสมุทัย ดับเหตุตัวสมุทัยแล้วก็แจ้ง รู้ว่านิโรธเป็นอย่างนี้เอง 

ทุกวันนี้เราเข้าใจนิโรธกันไม่ถูก เราเข้าใจนิโรธกันไปเยอะแยะเป็นนิโรธแบบไหนก็ได้ นิโรธมีต่างๆ นานา อภิสัญญานิโรธก็มี สัญญาเวทยิตนิโรธก็มี ซึ่งล้วนแล้วแต่เรียกว่า นิโรธสมาบัติทั้งนั้น อภิสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็เรียกว่านิโรธสมาบัติ สัญญาเวทยิตนิโรธ เขาเรียกว่า นิโรธสมาบัติ แต่มันยังไม่เป็นนิโรธที่แท้จริง ที่เรียกว่านิโรธอริยสัจ ของพระพุทธเจ้า เราเรียกว่านิโรธอริยสัจ คือเป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด นิโรธอริยะ แปลว่าฉลาด สัจจะแปลว่าแท้จริง เป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด 

เพราะฉะนั้นต้องเอาคำจำกัดความอันนี้ มาเรียกให้ได้ว่า นิโรธของผู้ที่ฉลาดอย่างแท้จริง มันเป็นรูปร่างลักษณะอย่างไร รูปร่างลักษณะของนิโรธอริยสัจนั้นก็คือ มันดับ ดับอย่างสว่างๆ แหม! ฟังแล้วเมา เมาแน่ๆ ดับยังไง ดับอย่างสว่างๆ ฟังให้ดีนะ มันดับอย่างสว่างๆ มันไม่ดับอย่างมืดๆ ตามธรรมดาแล้วเราดับอะไรก็ตามเราดับแล้วมันจะมืด แต่ของพระพุทธเจ้าของเราดับแล้วสว่างๆ  แหม! มันยาก มันต้องแจ้งตรงนี้แหละ ถึงบอกว่ามันถึงยากตรงนี้ จึงต้องแจ้งตรงนี้ 

เพราะมันดับอย่างสว่างๆ ไม่ใช่ดับอย่างมืดๆ มืดตึบตื๋อ ยังไงก็ไม่รู้ ไม่ใช่ แต่ที่นี้อาตมาจะยกตัวอย่างให้ฟังอีกนิดนึง ก่อนจะยกตัวอย่าง จะขออธิบายอริยสัจ 4 ให้ครบ 4 ตัวก่อนประเดี๋ยวจะขาดไป

ผู้ใดทำความรู้แจ้งให้ได้ว่า รู้ทุกข์แล้ว แล้วก็รู้ตัวสมุทัยต่อลงไป  นอกจากรู้สมุทัยแล้ว ไม่รู้เปล่า ดับลึก ต้องประหารหรือฆ่าด้วย ต้องทำการปหานกิจ ปหานปธานให้ได้ พอปหานกิจนี้หมดแล้ว เป็น ปหานปธาน จบแล้วเราก็จะเกิดนิโรธ เป็น ปฏิกโรติ เป็นการแจ้งสว่างในนิโรธ มาเข้าใจนิโรธ รู้แจ้งถึงนิโรธบรรลุล่วงในนิโรธ นิโรธอันนี้มันบรรลุเป็นนิโรธเกิดอยู่ในนี้ เป็นสันทิฏฐิโกมีแล้วที่ตัวเรา หรือเป็นปัจจัตตัง หรือได้เองคนอื่นไม่เกี่ยว ถ้าคนไหนมีปัจจัตตังด้วยกัน คนนี้ก็มีปัจจัตตังตัวนี้ นิโรธตัวเดียวกันนะที่พูด ยังไม่ต้องคุยกันเลยแม้แต่สายตาก็จะรู้ว่ามีนิโรธเหมือนกัน แต่ถ้าคนมีนิโรธไม่เหมือนกันอย่าว่าแต่สายสายตาเลย พูดกันแล้วบอกกันแล้ว กรอกหูกันแล้ว อธิบายกันแล้ว บีบให้ดูแล้วชักให้ดูแล้ว ทุกวิถีทางก็จะไม่เห็น ไม่เห็นไม่เข้าใจไม่ลงตัวกัน แต่ถ้าคนที่มีสิ่งเดียวกัน ปั๊บ ลงตัวกันเป๊ะเลยไม่ต้องพูดกันหลายคำ 

นิโรธมันมีตัวของมัน มันเหมือนมันมีอะไรก็ไม่รู้มันบอกไม่ถูกมันเป็นวิญญาณอันนึงก็ได้ ใครทำนิโรธนี้ให้แจ้งแล้วเรียบร้อย ผู้นั้นทำได้จนกระทั่งมากพอ จนถ้วนทั่ว รอบถ้วนหมด ในทุกเหลี่ยมทุกมุมแล้ว ทำรอบถ้วนเป็นทุกเหลี่ยมทุกมุมพร้อมแล้ว คนนั้นก็จบอวิชชา ทำแค่นี้ให้จบ ทำทุกข์รู้ทุกข์ให้ได้ รู้สมุทัยของทุกข์ให้ได้ แล้วก็ทำให้มันเกิดนิโรธให้ได้ ทำให้ดับไม่เกิดนิโรธให้ได้ทำอย่างนี้แหละ ให้จบ พอจบปั๊บคนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว คนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว 

ทำไมถึงว่ารู้มรรค ก็เพราะเหตุว่าคนนั้นมีมรรคถ้วนทั่ว ทำไมถึงเรียกว่ามีมรรค ก็เพราะเหตุว่า คนใดก็ตามแต่ ถ้ารู้ทุกข์ และรู้สมุทัยของทุกข์ และฆ่าสมุทัยนี้ ดับสมุทัยนี้ได้จนเกิดการดับการหยุดการจบการตาย การดับสิ้นหมดรอบหมดแล้ว เป็นนิโรธได้ คนนั้นก็จะรู้วิธีทำและรู้นิโรธที่แท้จริง 

วิธีนั้นทำยังไงจึงจะดับสมุทัยได้ รู้วิธีที่อย่างแท้เที่ยง รู้หนทางที่จะดับนั่นเอง ถ้าดับได้อันนึง รู้วิธีหนึ่ง ดับได้สอง อันก็รู้สองอัน ดับได้สามอัน ก็รู้สามอัน ดับได้สี่ ดับได้สิบ ดับได้ร้อย ดับได้พันอัน ก็รู้ ดับได้ร้อย ได้หมื่น ได้แสน ดับได้ทุกอันทุกอัน ก็เรียกว่าได้มรรคทุกอัน ทุกอัน ทุกอัน จนกระทั่งรู้หมดแล้ว ดับได้รอบแล้วกิเลสหมดนี้ก็รู้ กามตัณหา ภวตัณหาก็รู้ รู้ไปจนกระทั่งถึงชั้นลึกสุด เป็น

อาสวะ อ๋อ..หมดเป็นกามาสวะ ภวาสวะเกลี้ยงเลย อวิชชา ก็ถึงซึ่งอวิชชาสวะได้จริงๆ ด้วย อวิชาก็ถึง อวิชชาสวะ ด้วย 

จึงเรียกว่าเป็นผู้ค้นอวิชชา จนถึงขั้นลึกสุดในอาสวะได้แล้ว คนนั้นก็มีมรรคเต็ม เพราะฉะนั้นมรรคนี้จึงเรียกว่าต้องมี มรรคต้องมี ต้องเป็นภาวนาจิต คือสำเร็จกำหนดบรรลุประสบผล ภาวนาหมายความว่าเกิดประสบผล เกิดการประสบผลเรียบร้อยแล้ว เรียกว่าภาวนา หรือ ภเวติ มรรคต้องเป็นภเวติหรือมรรคต้องเป็นภาวนาจิต มรรคต้องมีนั่นเอง ผู้ใดบรรลุล่วงเสร็จเรียบร้อยจบแล้ว ก็ต้องอยู่กับมรรคเท่านั้นเอง พระอรหันต์ทุกองค์มีมรรค บริสุทธิ์ผุดผ่องเป็นองค์ 8 อยู่พร้อมตั้งแต่ 

สัมมาทิฏฐิถึงสัมมาสมาธิ ต้องเต็มพร้อมอยู่แล้วในองค์มรรค ทุกอย่างเป็นไปในอัตโนมัติ แล้วมีมรรคเป็นองค์ 8 พร้อมแล้วกันอยู่สบายเลย พระอรหันต์เป็นอย่างนั้นเพราะฉะนั้นต้องมีมรรค เป็นมรรคที่มีในตนพร้อมเลย อาตมาจะขอเขียนย่อๆ สำหรับอริยสัจ 4 นะ 

มันสั้นๆ ต้องตั้งที่ว่า 

“ทุกข์ควรรู้ สมุทัยควรละ นิโรธควรแจ้ง มรรคควรมี”

จำง่ายๆ ไม่ต้องไปจำเอาบาลีมันเลอะ บาลีเอาไว้พูดขู่คนเท่านั้นแหละ อาตมาก็รู้เป็นอย่างนั้นเหมือนกัน รู้ไว้ขู่คน รู้ไว้ขู่คนเก่ง เอาจริงๆ เนื้อๆ แท้ๆ  ไม่ต้องไปท่องบาลีอะไรหรอก จะท่องก็เอาถ้าใครอยากจะท่องไว้ขู่คนบ้างก็เอา แต่รู้ไว้บ้างก็ดี ไม่ได้ประหลาดอะไรหรอก รู้มันก็กำไรถ้าไม่รู้ก็ไม่เป็นไร ขอให้ได้มีเนื้อๆ ก็แล้วกันเข้าใจให้ได้ ถ้าเข้าใจไม่ได้แล้วมันปนกันนะ มันเฝือเหมือนกันนะ ควรรู้ควรละ ควรแจ้ง ควรมี 

ที่อาตมาพูด อธิบายมาเมื่อกี้นี้แล้ว ค่อยๆ ไล่ระดับๆ มาให้ฟัง อย่าไปจำผิดว่า ทุกข์นั้นเราจะไปดับมัน เราพูดกันเรียกว่า พูดเร็วๆ พูดหวัดๆ พูดกันรวบเลยว่าดับทุกข์ดับทุกข์ แต่คุณเอ๋ย คุณยังไม่ตายดับดิ้น  คุณจะดับทุกข์ไม่ได้ ไม่ได้เพราะ สัพเพ สังขารา ทุกขา แม้แต่ใจมันปรุงขึ้นมานิดนึงเป็นอุทธัจจะ ก็ทุกข์แล้วคุณทุกข์แล้ว ใครจะรู้ได้ละเอียดล่ะ 

คนผู้รู้เท่านั้นถึงรู้ว่าแม้แต่ใจมันคิดขึ้นมานิดนึงมันก็ทุกข์ คนไม่รู้มันก็ไม่รู้ มันก็บอกว่าสบายสิ ทนได้นี่นา เหงื่อตกซอกๆ ก็บอกว่าสบาย มันส์ อร่อย มันไม่ได้ทุกข์เลย ขนาดเหงื่อตกซอกๆ มันก็ยังบอก  มันอร่อย เพราะอะไร เพราะเขาไม่รู้ว่าทุกข์เป็นยังไง ทุกข์มีลักษณะยังไง เขาไม่รู้เขาถึงบอกว่ามันอร่อย ไม่มีอะไรในโลกเลย สัพเพสังขาราทุกขา ไม่มีอะไรเลยที่ไม่เป็นสังขารที่มันจะไม่ทุกข์เลยไม่มี ทุกสิ่งทุกอย่างยังเกิดอยู่ ย่อมเป็นการปรุงแต่ง ย่อมเป็นสังขารทั้งนั้นเลย แม้แต่จิตเริ่มเกิดเป็นตัวตนขึ้นมานิดนึง มันก็เป็นสังขารแล้ว 

พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ตรัสเอาไว้ว่า ผู้ที่จะรู้ทุกข์ได้นั้น เป็นการยากยิ่ง จะมีบุรุษหนึ่ง ยิงลูกศรจากที่ไกล ให้ไปเสียบที่รูกุญแจ ให้ไปเสียบอยู่ที่รูกุญแจซ้อน ๆ กันเข้าไปร้อยดอก ที่รูกุญแจรูเดียวนั้น ยากยิ่งเหลือเกินแล้ว แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่ยากเท่า ผู้ที่จักเส้นผมเส้นหนึ่ง ให้ออกเป็นร้อยแฉก แล้วเส้นผมแต่ละแฉกที่จักนั้นต้องเท่ากันด้วยนะ อันนี้ยิ่งยากกว่าผู้ที่ยิงลูกศรไปให้เสียบที่รูกุญแจรูเดียว ณ ที่ไกล จักเส้นผมให้เป็นร้อยแฉกนี้ยากกว่า 

ถึงกระนั้นก็ตาม ยังไม่ยากเท่า ที่จะรู้จักทุกข์ได้หมดสิ้น คุณคิดเอา ถึงขนาดนั้นยังไม่ยากเท่าที่จะรู้จักทุกข์ให้ได้หมดสิ้น พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้อย่างนี้ คิดดูซิ มันยากแค่ไหนที่จะรู้ทุกข์ถ้วนทั่ว ใครไม่เข้าใจนี่อาตมาลงไว้ในหนังสืออโศกนานแล้วประโยคนี้ เอาลงไว้ในหนังสือเล่ม 1 เลยทีเดียว จริงๆ อย่างพระพุทธเจ้าท่านว่ามัน โอ้โห! ถ้าใครไม่รู้ทุกข์แบบนี้นะ คุณเอ๋ย เหลือเศษไว้เกิดทั้งนั้นแหละ เหลือกิเลสไปเกิดทั้งนั้นแหละ มันจะรู้สึกว่าสบายดีนี่หว่า นี่มันก็ยังสบายนี่เลยว่ะ นี่มันไม่ทุกข์อะไรเลย คุณยังเหลือเศษไว้ทั้งนั้นแหละ กว่าคุณจะรู้จริงๆ ด้วย ว่าอะไรที่มีแม้ตั้งแต่ขั้นอุทธัจจะ ก็ทุกข์ขึ้นมาเท่านั้นเองก็ทุกข์แล้ว ทุกข์แล้ว 

ฉะนั้นเราจะต้องมาไล่กันดูซิว่าทำยังไงเราจะดับอวิชชาได้สิ้น จะต้องรู้จนกระทั่งทะลุถึง อุทธัจจะ แล้วเราก็จะดับอวิชชาได้ อาตมาจะเขียนสูตรไว้ที่บนกระดานซะก่อนและอาตมาจะค่อยๆ ไล่มาจนกระทั่งอวิชชา นั่นคือสูตร 

ตั้งแต่ข้อ 1 มายันข้อ 10 นั่นคือสูตรที่เราจะต้องกระทำ เราจะต้องรู้ รู้เป็นลำดับๆ มา สิ่งเหล่านี้ทั้งหมดนี้แหละ มันผูกเราไว้ มันดึงเราไว้ มันล่ามเราไว้ ให้เราติดอยู่ในโลก พ้นจากโลกไปไม่ได้ มีอยู่ 10 ข้อนี่แหละ และข้อที่ 10 นั้นคือ อวิชชา 

เราไม่ไปเรียนวิชชาอื่น วิชชาที่เราจะเรียนนั้นคือ 

1. เรียนรู้ สักกายะ 

2. เรียนรู้ กามราคะ 

3. เรียนรู้ รูปราคะ

4. เรียนรู้ มานะ 

1. เรียนรู้สักกายะ 2. เรียนรู้กามราคะ 3. เรียนรู้รูปราคะ ถ้าละเอียดขึ้นก็เรียกว่า อรูปราคะต่อ ที่จริงเราไม่ไปอ่านซ้อนเราไม่ไปเอาซ้อนถ้ารู้ละเอียดแล้ว แล้วอีกลักษณะหนึ่งก็คือมานะ 4 จะเอาให้ชัดอีกอันนึงก็ได้อุทธัจจะ คือสภาวะแห่งการเกิดที่ละเอียดที่สุดคืออุทธัจจะ ถ้าใครรู้อุทธัจจะ อันแท้จริงของคนได้แล้ว ใครรู้จักอุทธัจจะเจตสิก หวานเลย รู้จักอุทธัจจะเจตสิกที่มันคลิกขึ้นมา แฮ่ จับได้แล้ว เริ่มแล้วไหมล่ะ ก่อตัวขึ้นไหมล่ะ จับได้ไล่ทันอย่างนี้แล้วนะ พอรู้ว่ามันพลิกขึ้นมาปั๊บ เอาสติคุมเลย เอ๊ยเกิดมาแล้วสติคุมเลย พอเอาสติคุมไปได้ตลอดเวลาแล้วที่นี้คุณจะทำอะไรล่ะ ถ้าคุณเห็นว่าในโลกนี้ควรทำให้ดี สิ่งที่ทำนี้เป็นกุศล เชิญเลยทีเดียว เพื่อการเกื้อกูลโลก  โปรดโลกก็ทำ 

แต่ถ้าสิ่งใดเป็นอกุศล สติเรารู้ดีอยู่แล้ว แยกแยะออกแล้ว ว่าเป็นอกุศล หยุด เพราะเรารู้เสร็จแล้วนี่ อะไรเป็นสมุทัยแห่งตัวนี้ พอรู้อุทธัจจะแล้ว ดับอุทธัจจะปั๊บเลย อาตมาพูดย้อนตั้งแต่ปลายมาหาต้น ดับพรึ่บเลย อย่าปรุงอย่าฟุ้ง ถ้าฟุ้งมาเพื่อตัวตนนี้อย่าฟุ้ง ดับเลย พอดับพรึ่บลงแล้ว มันก็ไม่มีอะไร มันก็อยู่สบาย 

เพราะฉะนั้น อวิชชาตัวนั้นไม่เรียกว่า อวิชชา อวิชชาตัวนั้นเรียกมันว่า วิชชา ว่ารู้เท่า รู้ทัน รู้แจ้ง รู้สว่าง เข้าใจชัดแจ๋เลย นี่แหละเรียกว่า สว่างไสวอยู่ในการดับ หรือดับอย่างสว่างโล่ง นี่แหละ คือมีวิชชา เป็นวิชชาสว่างไสวรู้แจ้งแทงทะลุอยู่ชัดเจนเลย 

ไม่ใช่ดับอย่างอภิสัญญานิโรธ เพราะว่าถ้าไปดับอย่างอภิสัญญานิโรธแล้ว มันไม่สว่างไสว มันมืดตึ๊ดตื๋อเลย ไม่รู้เรื่องเลย ดับอย่างนั้น พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าไม่เอา ไม่เอา ดับอย่างนั้นไม่เอา พระพุทธเจ้าท่านสอนพระอานนท์อยู่ในสูตร  โปฏฐปาทสูตร(พตปฎ.เลมที่ 9 ข้อ 275 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 1 ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค) ท่านสอนพระอานนท์เอาไว้ คือ ปาทะพราหมณ์มาถามพระพุทธเจ้าว่า ท่านผู้เจริญ อภิสัญญานิโรธนี้มันเป็นยังไง มาทูลถามพระพุทธเจ้า 

พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสบอก อภิสัญญานิโรธ มันเป็นอย่างนี้แหละเธอ แล้วท่านก็อธิบายให้ฟังว่า ถ้าผู้ใดทำตนให้รู้ในฌาน เป็นรูปฌานเสร็จแล้ว แล้วเราก็พยายามทำรูปฌานนี้ให้ละเอียดยิ่งขึ้นอีก กระทั่งว่างลง ว่างลงเป็น อากาสานัญจายตนะ แล้วก็รู้ให้ได้นะว่าที่เรามี อากาสานัญจายตนะ เรายังมีตัวมีตนนะ ยังมีรูปมีนาม รูปของอากาสานัญจายตนะ ยังมีนามซ้อนอยู่ตัวหนึ่ง  เรียกว่า วิญญาณ  

เพราะฉะนั้นทำความรู้ในวิญญาณนี้ให้ได้ ถ้าใครระลึกรู้ว่า อ๋อ.. วิญญาณนี้เราเข้าไปเสพ อากาสานัญจายตนะ เธอเข้าไปเสพอากาศมันเป็นอย่างนี้เองนะ ผู้นั้นก็จะเกิดวิญญาณัญจายตนะ ผู้ใดทำวิญญาณัญจายตนะได้แล้ว ก็จะรู้ว่าตัวเองยังมีตัวรู้อยู่ในตัวอีกตัวนึง ให้ดับตัวรู้นี้ลงไป ให้สิ้นซากอย่าให้เหลือหลอ ดับตัวรู้นี้ลงไปให้ไม่มีเหลืออะไรเลย ให้ไม่มีตัวรู้เลยเป็น อากิญจัญญายตนะ ดับลงไปๆ ให้สนิท เป็นอากิญจัญญายตนะ ให้ตัวเองไม่รู้อะไร จะพยายามให้ไม่มีทุกสิ่งในโลก ดับไปอย่างที่คนจะไม่มีชีวิตอยู่ในโลกเลย ก็เป็น อากิญจัญญายตนะ 

ถ้าผู้ใดเกิด อากิญจัญญายตนะ นิดหนึ่ง น้อยหนึ่ง อะไรก็ไม่มีหมดแล้วเรียบร้อยแล้วนะ ท่านให้ดับต่อไปอีกเลย แล้วดับให้มันสนิทที่สุดเท่าที่มันจะสนิทได้ ต่อจาก อากิญจัญญายตนะเลย ดับพรึบให้ยิ่งกว่านั้นเลย อายตนะก็ไม่ให้เหลืออะไรก็ไม่เหลือ ดับสูญที่สุดเท่าที่เราจะสามารถ อันนี้และเรียกว่า  อภิสัญญานิโรธ ไม่ต้องไปต่อ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ต้อง ไม่ต้องไปต่อ ดับให้ยิ่ง 

อภิ แปลว่ายิ่ง นิโรธ แปลว่าดับ อภิสัญญานิโรธ คือดับสัญญานี่แหละในตัวคนที่จะเหลืออยู่ก็มีสัญญากับอัตตา อันใดเป็นอัตตา ก็เรียกว่ายังมีรูป อันใดมีสัญญาอยู่ก็เรียกว่า มีรูปมีนาม นามเราเรียกว่า สัญญาตัวสุดท้าย รูปเราก็เรียกว่าอัตตา ใครเหลือนามเหลือรูป ก็เป็นอย่างนี้ถ้าใครไม่เหลือนามเหลือรูปก็ไม่ต้องมีอะไร อย่างนี้เป็นต้น 

พระพุทธเจ้าท่านให้ดับอย่างนี้ นี่ท่านทรงสอนเอาไว้ใน โปฏฐปาทสูตร คือ โปฏฐปาทพราหมณ์ ไปทูลถามท่าน การดับดับอย่างนี้เท่านั้น แต่พระพุทธเจ้าท่านเคยเรียนมานะ เรียนมากับพวกศาสดาจารย์ต่างๆ อาฬารดาบส อุทกดาบสก็ดีสอนท่านสอนถึงขั้น อากิญจัญญายตนะแล้ว ยังมียิ่งกว่านี้อีกนะยังเป็น เนวสัญญานาสัญญายตนะ พระพุทธเจ้าเคยเรียน ก็มันมีดับแล้วมันก็มีรู้  รู้แล้วมันก็ดับ  ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ พระพุทธเจ้าท่านเข้าใจท่านก็เลยบอกว่า ปัดโธ่ ไม่รู้จักจบ อยู่แค่นี้เอง ที่มันไม่จบเพราะอะไร เพราะคนมันยังมีรูปมีนาม มันยังมีกายยังมีใจ เมื่อมันยังมีกาย ยังมีใจ มันยังไม่ตายแท้นั้นมันยังไม่ตายจริงหรอก 

แต่คนจะพ้นทุกข์ไปได้จริงแทนนั้นจะต้องรู้กิเลสตัณหาให้ชัด เมื่อรู้กิเลสตัณหาให้ชัดแล้วดับกิเลสตัณหา ให้เปลื้องจากตัวตนไม่ให้เหลืออยู่ จิตก็ให้เหลืออยู่ กายก็ให้เหลืออยู่ ก็จบ แล้วคนนี้ก็เหลือแต่กายกับจิตที่ไม่มีของใคร เป็นของโลกเป็นของว่างๆ เป็นของสาธารณะ มีจิตกับกายอย่างสาธารณะ แต่ไม่ทำเหมือนคนสาธารณะ แบบผู้หญิงสาธารณะ ผู้ชายสาธารณะ ไม่ใช่นะไม่ทำอย่างนั้นนะ แต่สาธารณะในสิ่งที่ดีที่ควร ใครจะมาเอาสิ่งที่ดีที่ควรจากท่าน ท่านผู้บรรลุนี้ ท่านผู้ที่หมดแล้วจากกิเลสตัณหาทั้งหลายนี้ จะมอบทุกสิ่งทุกอย่างให้ จะให้เป็นสาธารณะในสิ่งที่ดี แต่ไม่ใช่เป็นสาธารณะในสิ่งที่ชั่ว ไม่เป็นเลย นี่เรียกว่า เป็นผู้ดับที่รู้ว่าชั่ว ดับอย่างฉลาดดับอย่างรู้เท่าทันคำว่า ชีวิต เพราะชีวิตมันไม่ตายจริง มันไม่ดับจริง ดับให้เหลือน้อยหนึ่ง จนไม่รับรู้อะไรเลยก็เหลือแต่รูปเปล่าๆ เหลือแต่ร่างกายแข็งทื่อเฉยๆ ไม่รับรู้โลกเลย เป็นอาสัญญีอย่างนี้ท่านไม่เอา หรือเป็นอภิสัญญานิโรธท่านไม่เอา ไม่เอา อภิสัญญานิโรธ หรืออสัญญีสัตว์ ไม่เอา ท่านไม่เอา อย่างนี้ไม่ได้ประโยชน์อะไรท่านไม่เอา 

จงเข้าใจให้ได้ แบบนี้ใบไม้กำมือเดียวของพระพุทธเจ้า คือ นิโรธอริยสัจ นี่แหละ เพราะฉะนั้นก็หันกลับเข้าไปหาสิ่งที่ถูก ก็นิโรธต้องรู้ว่าอย่างนี้หนอ ต้องเรียกว่า สักกายะ อย่างนี้เรียกว่า กามราคะ เศษของกามราคะ เรียกว่า ปฏิฆะ ก็รู้ให้ได้ อย่างนี้เรียกว่า รูปราคะ รู้ให้ชัด ลึกเข้าไปกว่ารูปราคะเรียกว่า    อรูปราคะ ซ้อนไปอีกก็รู้ให้ชัด และรู้ว่าอย่างนี้เรียกว่า มานะ พอรู้มานะ มานะนี่คือใจ คำว่ามานะเนี่ยแปลว่าจิต คือรู้ให้ชัดว่านี่แหละคือมานะ ถ้ามันถือดีในจิตใจเป็นปรมาตมันก็รู้มันให้ชัด พอรู้มานะชัดแล้ว หมดมานะ ละ ไอ้ที่มันยึดมั่นถือมั่นในตัวตนว่าฉันใหญ่ ฉันเล็ก ความใหญ่ความเล็กไม่มีแล้ว 

รู้ละเอียดจนกระทั่งว่า ถ้ามันเริ่มเกิดขึ้นมานิดนึงเป็นปฏิกิริยาในจิตวิญญาณเล็กขึ้นมาน้อยหนึ่งได้แล้วนี่ เริ่มเป็นโอปปาติกะสัตว์ขึ้นมาในโลกก็เริ่มนิดขึ้นมาเป็นอุทธัจจะก็รู้ได้ คราวนี้แหละ หวานเลย คุมได้เลย ตอนนี้คุมติดตลอดเลย รู้ละเอียดได้ถึงขนาดอุทธัจจะผุดขึ้นมานิดนึงตอนนี้เราคุมได้ตลอดเลย โอปปาติกะก็โอปปาติกะเถิด จิตของเราเองเราคุมได้เลยอย่างนี้ มันไม่เป็นผีแน่ โอปปาติกะตัวนี้ไม่เป็นผีแน่ และไม่ใช่เทวดาหลงกามแน่ เพราะรู้เสียแล้วนี่ว่ากามเป็นยังไง ฆ่ากามแล้ว ไม่เป็นเทวดาชั้นพรหมแน่ด้วย คือมันใหญ่มันยิ่งมันโตไม่เป็นด้วย เพราะฉลาดรู้เท่าทันหมดแล้ว มีวิชชาซะแล้ว พ้นอวิชชาซะแล้วเข้าใจได้ซะแล้วก็คุมได้สบายเลย (28.00)

ที่มา ที่ไป

150000 จะดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 


เวลาบันทึก 09 พฤษภาคม 2567 ( 12:36:19 )

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด

รายละเอียด

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 

พ่อครูว่า... เราก็มาพูดกัน จะดับอวิชชาด้วยวิธีใด ฟังแล้วก็คือเราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร? ด้วยวิธีใด เราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร ถ้าเราไม่เอาความหมายอย่างนี้ เราก็จะรู้ว่า ที่เราจะพูดกันด้วยธรรมะ ที่อาตมาพูดอย่างนั้นก็หมายความว่า คำว่า “อวิชชา”นั้น โดยความหมายของมันอย่างแท้จริงแล้วล่ะก็ ต้องหมายความว่า เราจะมีนิพพานที่จะได้นิพพาน หรือเป็นพระอรหันต์ จึงเรียกว่า อวิชชา 

แต่ถ้าเราจะเอาคำว่าอวิชชามาพูดธรรมดาๆ แล้วล่ะก็ วิชชาทั่วๆ ไปในโลกนี้ แปลว่า ความรู้ เพราะฉะนั้นความรู้อะไรก็แล้วแต่ที่เราเองไม่รู้ ก็เรียกมันว่า อวิชชา ได้เหมือนกัน ที่พูดกันอย่างโลกๆ ทั่วไป ใครที่ไม่รู้อะไรก็ เรียนเอา เรียนเอา เรียนเอา ไอ้คนนั้นก็ได้หรือพ้นอวิชชาแบบโลกๆ ไปได้ทั้งหมด ทุกอันทุกสิ่ง นับไม่ถ้วน เหมือนใบไม้ เหมือนต้นไม้ เหมือนๆ ใบไม้ทั้งหมดน่ะ ที่หล่นอยู่ใต้ต้นไม้ และหมดต้นไม้ทั้งหมด นั่นเรียกว่าเป็นวิชชาทั้งนั้น พระพุทธเจ้าของเรา รู้หมดแล้ว รู้ทั้งใบไม้บนต้น รู้ทั้งใบไม้ที่หล่นอยู่ นี่พระพุทธเจ้ารู้นะ แต่พระพุทธเจ้าของเรานั้น ท่านเค้นเอามาหรือคั้นเอามา หรือคัดเอามา ว่าสิ่งที่จำเป็นที่สุด ที่จะเป็นวิชชาที่ควรเรียนนั้น คั้นออกมาแล้วเหลือกำมือเดียว ท่านเอาใบไม้กำมือเดียวเท่านั้น 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดทำใบไม้กำมือเดียวนี้ให้ได้รู้แจ้งแทงทะลุแล้ว รู้เท่านี้ พ้นอวิชชาเท่านี้ หรือได้วิชชาเท่านี้ จำกัดความลงไปเหลือแค่ใบไม้กำมือเดียวนี้ ท่านบอกว่าเท่านี้แหละจำเป็นที่สุดในชีวิตของสัตว์โลกที่เรียกว่า มนุษย์ นอกจากนั้น ท่านไม่วุ่น ท่านไม่วุ่นแล้ว

เพราะฉะนั้น เราจะต้องมาทำคำจำกัดความ หรือมารอบรัดกันซะก่อนว่า ไอ้แค่ใบไม้กำมือเดียวกันนี้ล่ะ  ใบไม้กำมือเดียวของที่พระพุทธเจ้าท่านเปรียบเทียบให้ฟังที่ป่าศีรษะเนี่ย ศีรษะป่าเนี่ย ที่ท่านเรียก ท่านถามภิกษุเนี่ย เรามารอบรัดกันซะก่อนว่า มันกินความแค่ไหน มันกินความแค่ไหน

มันก็กินความอยู่แค่ว่า เราจะต้องมีความรู้ ที่เรารู้กันมาทั้งหมดแล้วง่ายๆ พื้นๆ ทุกคนก็ได้ฟังกันมาจนหูจะแฉะแล้ว คือ รู้อริยสัจ 4 

รู้ทุกข์ กำหนดรู้มันให้ได้ ปริญเญยยะ หรือเรียกว่า ปริญญายติ ปริญเญยยะเนี่ย รู้ ทุกข์เนี่ยกำหนดรู้ ไม่ใช่วิชชาที่จะไปตามรู้เรื่องอื่น เป็นความรู้ที่จะต้องรู้ทุกข์ ทำปริญญายติ ปริญเญยยะ ให้รู้ตัวนี้ กำหนดรู้มัน 

เมื่อรู้ทุกข์แล้วทำยังไง เมื่อรู้ทุกข์แล้วท่านก็บอกว่า ให้รู้พ่อแม่ของทุกข์ด้วย รู้ทุกข์แล้วให้รู้พ่อแม่ของมันด้วย คือรู้ตัวที่มันทำให้มันเกิดอยู่ ตัวที่มันทำให้เกิดนั้น เราเรียกว่า สมุทัย หรือต้นเหตุ หรือต้นทาง หรือพ่อแม่ หรืออะไรก็ตามแต่ 

ไอ้ตัวสมุทัยนี่ นอกจากจะรู้ทุกข์แล้ว เราจะต้องทำความรู้ต่อไปอีก จนกระทั่งไปรู้ถึงสมุทัย แล้วไม่รู้เปล่าด้วยนะสมุทัยเนี่ย ต้องทำการละทุกข์ด้วย แม้รู้สมุทัย เข้าใจสมุทัยแล้ว ต้องละด้วย เรียกว่า ปหานกิจ หรือ ปหานปธาน ต้องประหารมัน ต้องฆ่ามัน ต้องละมัน ต้องเลิกมัน สมุทัยนี่ 

ต้องฟังให้ดีนะ รู้ทุกข์ ไอ้ตัวทุกข์นี่ไม่ได้ดับเลย อย่าเข้าใจเพี้ยน เราสิ้นทุกข์โดยที่เราไม่ต้องดับทุกข์ เราไม่ต้องฆ่าทุกข์  แต่เราไปฆ่าสมุทัย ฟังให้ดี  พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ละเอียดลออ ท่านสอนเอาไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 

ทุกข์นั้นต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ ต้องทำการละ 

ทีนี้ทำการละแล้วเป็นยังไง ละแล้ว เราก็จะถึงซึ่งนิโรธ จะถึงซึ่งความดับ จะถึงซึ่งความหมด จะถึงซึ่งความหยุด มันจะเป็นอย่างนี้ พอเราละสมุทัยแล้วมันจะถึงซึ่งความดับ ความหยุด ความหมด ความจบ ท่านเรียกว่ามันจะถึงซึ่ง ปฏิกโรติ ต้องมีปฏิกโรติ คือ ทำตัวนี้ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ให้มันรู้พร้อม ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ปฏิกโรติ ทำให้แจ้ง ทำให้รู้พร้อม ถ้าเข้าใจแล้ว อ๋อ อย่างนี้เองเหรอนิโรธ ต้องให้รู้อย่างนี้ อ๋อ..สภาพนิโรธเป็นอย่างนี้เองหรือ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดรู้ทุกข์แน่นอน อ๋อ.. อย่างนี้เองที่เรียกว่า ทุกข์ แล้วก็รู้ด้วยว่าเหตุที่มันเกิดทุกข์นี้ ก็เพราะอย่างนี้เอง อ๋อ.. อันนี้คือสมุทัยอย่างนี้ เอาละ ไอ้สมุทัยอันนี้ฆ่าให้ได้ ดับให้ได้ เลิกให้ได้ ละให้ได้ ทำลายให้ได้ ประหารมันลงไปให้ได้ พอละเแล้วเสร็จ ผลก็เกิดขึ้นแล้วอ่อ ละสมุทัย หรือฆ่าสมุทัย ดับสมุทัยแล้ว ผลที่มันเกิดมาเป็นอย่างนี้เอง ภาษาโลกเรียกมันว่า นิโรธ หรือ วิมุติ 

ภาษาเค้าเรียกว่า นิโรธ หรือ วิมุติ ทำนิโรธหรือวิมุติ นี้ให้เห็นขึ้นมาที่ในนี้เป็นปัจจัตตัง ขึ้นมาในนี้ ไม่รู้จะที่ไหนก็ตามแต่ อาตมาจิ้มไม่ถูก ให้มันเกิดที่ไหนก็ช่างเถอะ  ให้มันเกิดในขันธ์ 5 นี่แหละ ให้มันเกิดนิโรธขึ้นมา จนกระทั่งรู้ว่า อ๋อ..อย่างนี้นะหรือนิโรธ จึงเรียกว่า ทำให้แจ้ง นิโรธต้องทำให้แจ้ง ปฏิกโรติ ต้องทำให้แจ้ง ทำให้แจ้ง เหตุที่มันแจ้งด้วยนิโรธ เพราะว่าเราดับเหตุตัวสมุทัย ดับเหตุตัวสมุทัยแล้วก็แจ้ง รู้ว่านิโรธเป็นอย่างนี้เอง 

ทุกวันนี้เราเข้าใจนิโรธกันไม่ถูก เราเข้าใจนิโรธกันไปเยอะแยะเป็นนิโรธแบบไหนก็ได้ นิโรธมีต่างๆ นานา อภิสัญญานิโรธก็มี สัญญาเวทยิตนิโรธก็มี ซึ่งล้วนแล้วแต่เรียกว่า นิโรธสมาบัติ ทั้งนั้น อภิสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็เรียกว่านิโรธสมาบัติ สัญญาเวทยิตนิโรธ เขาเรียกว่า นิโรธสมาบัติ แต่มันยังไม่เป็นนิโรธที่แท้จริง ที่เรียกว่านิโรธอริยสัจ ของพระพุทธเจ้า เราเรียกว่า นิโรธอริยสัจ คือเป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด นิโรธอริยะ แปลว่า ฉลาด สัจจะ แปลว่า แท้จริง เป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด 

เพราะฉะนั้น ต้องเอาคำจำกัดความอันนี้ มาเรียกให้ได้ว่า นิโรธของผู้ที่ฉลาดอย่างแท้จริง มันเป็นรูปร่างลักษณะอย่างไร รูปร่างลักษณะของนิโรธอริยสัจนั้นก็คือ มันดับ ดับอย่างสว่างๆ แหม! ฟังแล้วเมา เมาแน่ๆ ดับยังไง ดับอย่างสว่างๆ ฟังให้ดีนะ มันดับอย่างสว่างๆ มันไม่ดับอย่างมืดๆ ตามธรรมดาแล้วเราดับอะไรก็ตาม เราดับแล้วมันจะมืด แต่ของพระพุทธเจ้าของเราดับแล้วสว่างๆ  แหม! มันยาก มันต้องแจ้งตรงนี้แหละ ถึงบอกว่ามันถึงยากตรงนี้ จึงต้องแจ้งตรงนี้ 

เพราะมันดับอย่างสว่างๆ ไม่ใช่ดับอย่างมืดๆ มืดตึบตื๋อ ยังไงก็ไม่รู้ ไม่ใช่ แต่ที่นี้อาตมาจะยกตัวอย่างให้ฟังอีกนิดนึง ก่อนจะยกตัวอย่าง จะขออธิบายอริยสัจ 4 ให้ครบ 4 ตัวก่อนประเดี๋ยวจะขาดไป

ผู้ใดทำความรู้แจ้งให้ได้ว่า รู้ทุกข์แล้ว แล้วก็รู้ตัวสมุทัยต่อลงไป  นอกจากรู้สมุทัยแล้ว ไม่รู้เปล่า ดับลึก ต้องประหารหรือฆ่าด้วย ต้องทำการปหานกิจ ปหานปธานให้ได้ พอปหานกิจนี้หมดแล้ว เป็น ปหานปธาน จบแล้วเราก็จะเกิดนิโรธ เป็น ปฏิกโรติ เป็นการแจ้งสว่างในนิโรธ มาเข้าใจนิโรธ รู้แจ้งถึงนิโรธบรรลุล่วงในนิโรธ นิโรธอันนี้มันบรรลุเป็นนิโรธเกิดอยู่ในนี้ เป็นสันทิฏฐิโกมีแล้วที่ตัวเรา หรือเป็นปัจจัตตัง หรือได้เองคนอื่นไม่เกี่ยว ถ้าคนไหนมีปัจจัตตังด้วยกัน คนนี้ก็มีปัจจัตตังตัวนี้ นิโรธตัวเดียวกันนะที่พูด ยังไม่ต้องคุยกันเลยแม้แต่สายตาก็จะรู้ว่ามีนิโรธเหมือนกัน แต่ถ้าคนมีนิโรธไม่เหมือนกันอย่าว่าแต่สายสายตาเลย พูดกันแล้วบอกกันแล้ว กรอกหูกันแล้ว อธิบายกันแล้ว บีบให้ดูแล้วชักให้ดูแล้ว ทุกวิถีทางก็จะไม่เห็น ไม่เห็นไม่เข้าใจไม่ลงตัวกัน แต่ถ้าคนที่มีสิ่งเดียวกัน ปั๊บ ลงตัวกันเป๊ะเลยไม่ต้องพูดกันหลายคำ 

นิโรธมันมีตัวของมัน มันเหมือนมันมีอะไรก็ไม่รู้มันบอกไม่ถูกมันเป็นวิญญาณอันนึงก็ได้ ใครทำนิโรธนี้ให้แจ้งแล้วเรียบร้อย ผู้นั้นทำได้จนกระทั่งมากพอ จนถ้วนทั่ว รอบถ้วนหมด ในทุกเหลี่ยมทุกมุมแล้ว ทำรอบถ้วนเป็นทุกเหลี่ยมทุกมุมพร้อมแล้ว คนนั้นก็จบอวิชชา ทำแค่นี้ให้จบ ทำทุกข์รู้ทุกข์ให้ได้ รู้สมุทัยของทุกข์ให้ได้ แล้วก็ทำให้มันเกิดนิโรธให้ได้ ทำให้ดับไม่เกิดนิโรธให้ได้ทำอย่างนี้แหละ ให้จบ พอจบปั๊บคนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว คนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว 

ทำไมถึงว่ารู้มรรค ก็เพราะเหตุว่าคนนั้นมีมรรคถ้วนทั่ว ทำไมถึงเรียกว่ามีมรรค ก็เพราะเหตุว่า คนใดก็ตามแต่ ถ้ารู้ทุกข์ และรู้สมุทัยของทุกข์ และฆ่าสมุทัยนี้ ดับสมุทัยนี้ได้จนเกิดการดับการหยุดการจบการตาย การดับสิ้นหมดรอบหมดแล้ว เป็นนิโรธได้ คนนั้นก็จะรู้วิธีทำและรู้นิโรธที่แท้จริง 

วิธีนั้นทำยังไงจึงจะดับสมุทัยได้ รู้วิธีที่อย่างแท้เที่ยง รู้หนทางที่จะดับนั่นเอง ถ้าดับได้อันนึง รู้วิธีหนึ่ง ดับได้สอง อันก็รู้สองอัน ดับได้สามอัน ก็รู้สามอัน ดับได้สี่ ดับได้สิบ ดับได้ร้อย ดับได้พันอัน ก็รู้ ดับได้ร้อย ได้หมื่น ได้แสน ดับได้ทุกอันทุกอัน ก็เรียกว่าได้มรรคทุกอัน ทุกอัน ทุกอัน จนกระทั่งรู้หมดแล้ว ดับได้รอบแล้วกิเลสหมดนี้ก็รู้ กามตัณหา ภวตัณหาก็รู้ รู้ไปจนกระทั่งถึงชั้นลึกสุด เป็น

อาสวะ อ๋อ..หมดเป็นกามาสวะ ภวาสวะเกลี้ยงเลย อวิชชา ก็ถึงซึ่งอวิชชาสวะได้จริงๆ ด้วย อวิชาก็ถึง อวิชชาสวะ ด้วย 

จึงเรียกว่าเป็นผู้ค้นอวิชชา จนถึงขั้นลึกสุดในอาสวะได้แล้ว คนนั้นก็มีมรรคเต็ม เพราะฉะนั้นมรรคนี้จึงเรียกว่าต้องมี มรรคต้องมี ต้องเป็นภาวนาจิต คือสำเร็จกำหนดบรรลุประสบผล ภาวนาหมายความว่าเกิดประสบผล เกิดการประสบผลเรียบร้อยแล้ว เรียกว่าภาวนา หรือ ภเวติ มรรคต้องเป็นภเวติหรือมรรคต้องเป็นภาวนาจิต มรรคต้องมีนั่นเอง ผู้ใดบรรลุล่วงเสร็จเรียบร้อยจบแล้ว ก็ต้องอยู่กับมรรคเท่านั้นเอง พระอรหันต์ทุกองค์มีมรรค บริสุทธิ์ผุดผ่องเป็นองค์ 8 อยู่พร้อมตั้งแต่ 

สัมมาทิฏฐิถึงสัมมาสมาธิ ต้องเต็มพร้อมอยู่แล้วในองค์มรรค ทุกอย่างเป็นไปในอัตโนมัติ แล้วมีมรรคเป็นองค์ 8 พร้อมแล้วกันอยู่สบายเลย พระอรหันต์เป็นอย่างนั้นเพราะฉะนั้นต้องมีมรรค เป็นมรรคที่มีในตนพร้อมเลย อาตมาจะขอเขียนย่อๆ สำหรับอริยสัจ 4 นะ 

มันสั้นๆ ต้องตั้งที่ว่า 

“ทุกข์ควรรู้ สมุทัยควรละ นิโรธควรแจ้ง มรรคควรมี”

จำง่ายๆ ไม่ต้องไปจำเอาบาลีมันเลอะ บาลีเอาไว้พูดขู่คนเท่านั้นแหละ อาตมาก็รู้เป็นอย่างนั้นเหมือนกัน รู้ไว้ขู่คน รู้ไว้ขู่คนเก่ง เอาจริงๆ เนื้อๆ แท้ๆ  ไม่ต้องไปท่องบาลีอะไรหรอก จะท่องก็เอาถ้าใครอยากจะท่องไว้ขู่คนบ้างก็เอา แต่รู้ไว้บ้างก็ดี ไม่ได้ประหลาดอะไรหรอก รู้มันก็กำไรถ้าไม่รู้ก็ไม่เป็นไร ขอให้ได้มีเนื้อๆ ก็แล้วกันเข้าใจให้ได้ ถ้าเข้าใจไม่ได้แล้วมันปนกันนะ มันเฝือเหมือนกันนะ ควรรู้ควรละ ควรแจ้ง ควรมี 

ที่อาตมาพูด อธิบายมาเมื่อกี้นี้แล้ว ค่อยๆ ไล่ระดับๆ มาให้ฟัง อย่าไปจำผิดว่า ทุกข์นั้นเราจะไปดับมัน เราพูดกันเรียกว่า พูดเร็วๆ พูดหวัดๆ พูดกันรวบเลยว่าดับทุกข์ดับทุกข์ แต่คุณเอ๋ย คุณยังไม่ตายดับดิ้น  คุณจะดับทุกข์ไม่ได้ ไม่ได้เพราะ สัพเพ สังขารา ทุกขา แม้แต่ใจมันปรุงขึ้นมานิดนึงเป็นอุทธัจจะ ก็ทุกข์แล้วคุณทุกข์แล้ว ใครจะรู้ได้ละเอียดล่ะ 

คนผู้รู้เท่านั้นถึงรู้ว่าแม้แต่ใจมันคิดขึ้นมานิดนึงมันก็ทุกข์ คนไม่รู้มันก็ไม่รู้ มันก็บอกว่าสบายสิ ทนได้นี่นา เหงื่อตกซอกๆ ก็บอกว่าสบาย มันส์ อร่อย มันไม่ได้ทุกข์เลย ขนาดเหงื่อตกซอกๆ มันก็ยังบอก  มันอร่อย เพราะอะไร เพราะเขาไม่รู้ว่าทุกข์เป็นยังไง ทุกข์มีลักษณะยังไง เขาไม่รู้เขาถึงบอกว่ามันอร่อย ไม่มีอะไรในโลกเลย สัพเพสังขาราทุกขา ไม่มีอะไรเลยที่ไม่เป็นสังขารที่มันจะไม่ทุกข์เลยไม่มี ทุกสิ่งทุกอย่างยังเกิดอยู่ ย่อมเป็นการปรุงแต่ง ย่อมเป็นสังขารทั้งนั้นเลย แม้แต่จิตเริ่มเกิดเป็นตัวตนขึ้นมานิดนึง มันก็เป็นสังขารแล้ว 

พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ตรัสเอาไว้ว่า ผู้ที่จะรู้ทุกข์ได้นั้น เป็นการยากยิ่ง จะมีบุรุษหนึ่ง ยิงลูกศรจากที่ไกล ให้ไปเสียบที่รูกุญแจ ให้ไปเสียบอยู่ที่รูกุญแจซ้อน ๆ กันเข้าไปร้อยดอก ที่รูกุญแจรูเดียวนั้น ยากยิ่งเหลือเกินแล้ว แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่ยากเท่า ผู้ที่จักเส้นผมเส้นหนึ่ง ให้ออกเป็นร้อยแฉก แล้วเส้นผมแต่ละแฉกที่จักนั้นต้องเท่ากันด้วยนะ อันนี้ยิ่งยากกว่าผู้ที่ยิงลูกศรไปให้เสียบที่รูกุญแจรูเดียว ณ ที่ไกล จักเส้นผมให้เป็นร้อยแฉกนี้ยากกว่า 

ถึงกระนั้นก็ตาม ยังไม่ยากเท่า ที่จะรู้จักทุกข์ได้หมดสิ้น คุณคิดเอา ถึงขนาดนั้นยังไม่ยากเท่าที่จะรู้จักทุกข์ให้ได้หมดสิ้น พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้อย่างนี้ คิดดูซิ มันยากแค่ไหนที่จะรู้ทุกข์ถ้วนทั่ว ใครไม่เข้าใจนี่อาตมาลงไว้ในหนังสืออโศกนานแล้วประโยคนี้ เอาลงไว้ในหนังสือเล่ม 1 เลยทีเดียว จริงๆ อย่างพระพุทธเจ้าท่านว่ามัน โอ้โห! ถ้าใครไม่รู้ทุกข์แบบนี้นะ คุณเอ๋ย เหลือเศษไว้เกิดทั้งนั้นแหละ เหลือกิเลสไปเกิดทั้งนั้นแหละ มันจะรู้สึกว่าสบายดีนี่หว่า นี่มันก็ยังสบายนี่เลยว่ะ นี่มันไม่ทุกข์อะไรเลย คุณยังเหลือเศษไว้ทั้งนั้นแหละ กว่าคุณจะรู้จริงๆ ด้วย ว่าอะไรที่มีแม้ตั้งแต่ขั้นอุทธัจจะ ก็ทุกข์ขึ้นมาเท่านั้นเองก็ทุกข์แล้ว ทุกข์แล้ว 

ฉะนั้นเราจะต้องมาไล่กันดูซิว่าทำยังไงเราจะดับอวิชชาได้สิ้น จะต้องรู้จนกระทั่งทะลุถึง อุทธัจจะ แล้วเราก็จะดับอวิชชาได้ อาตมาจะเขียนสูตรไว้ที่บนกระดานซะก่อนและอาตมาจะค่อยๆ ไล่มาจนกระทั่งอวิชชา นั่นคือสูตร 

ตั้งแต่ข้อ 1 มายันข้อ 10 นั่นคือสูตรที่เราจะต้องกระทำ เราจะต้องรู้ รู้เป็นลำดับๆ มา สิ่งเหล่านี้ทั้งหมดนี้แหละ มันผูกเราไว้ มันดึงเราไว้ มันล่ามเราไว้ ให้เราติดอยู่ในโลก พ้นจากโลกไปไม่ได้ มีอยู่ 10 ข้อนี่แหละ และข้อที่ 10 นั้นคือ อวิชชา 

เราไม่ไปเรียนวิชชาอื่น วิชชาที่เราจะเรียนนั้นคือ 

1. เรียนรู้ สักกายะ 

2. เรียนรู้ กามราคะ 

3. เรียนรู้ รูปราคะ

4. เรียนรู้ มานะ 

1. เรียนรู้สักกายะ 2. เรียนรู้กามราคะ 3. เรียนรู้รูปราคะ ถ้าละเอียดขึ้นก็เรียกว่า อรูปราคะต่อ ที่จริงเราไม่ไปอ่านซ้อนเราไม่ไปเอาซ้อนถ้ารู้ละเอียดแล้ว แล้วอีกลักษณะหนึ่งก็คือมานะ 4 จะเอาให้ชัดอีกอันนึงก็ได้ อุทธัจจะ คือสภาวะแห่งการเกิดที่ละเอียดที่สุดคืออุทธัจจะ ถ้าใครรู้อุทธัจจะ อันแท้จริงของคนได้แล้ว ใครรู้จักอุทธัจจะเจตสิก หวานเลย รู้จักอุทธัจจะเจตสิกที่มันคลิกขึ้นมา แฮ่ จับได้แล้ว เริ่มแล้วไหมล่ะ ก่อตัวขึ้นไหมล่ะ จับได้ไล่ทันอย่างนี้แล้วนะ พอรู้ว่ามันพลิกขึ้นมาปั๊บ เอาสติคุมเลย เอ๊ยเกิดมาแล้วสติคุมเลย พอเอาสติคุมไปได้ตลอดเวลาแล้วที่นี้คุณจะทำอะไรล่ะ ถ้าคุณเห็นว่าในโลกนี้ควรทำให้ดี สิ่งที่ทำนี้เป็นกุศล เชิญเลยทีเดียว เพื่อการเกื้อกูลโลก  โปรดโลกก็ทำ 

แต่ถ้าสิ่งใดเป็นอกุศล สติเรารู้ดีอยู่แล้ว แยกแยะออกแล้ว ว่าเป็นอกุศล หยุด เพราะเรารู้เสร็จแล้วนี่ อะไรเป็นสมุทัยแห่งตัวนี้ พอรู้อุทธัจจะแล้ว ดับอุทธัจจะปั๊บเลย อาตมาพูดย้อนตั้งแต่ปลายมาหาต้น ดับพรึ่บเลย อย่าปรุงอย่าฟุ้ง ถ้าฟุ้งมาเพื่อตัวตนนี้อย่าฟุ้ง ดับเลย พอดับพรึ่บลงแล้ว มันก็ไม่มีอะไร มันก็อยู่สบาย 

เพราะฉะนั้น อวิชชาตัวนั้นไม่เรียกว่า อวิชชา อวิชชาตัวนั้นเรียกมันว่า วิชชา ว่ารู้เท่า รู้ทัน รู้แจ้ง รู้สว่าง เข้าใจชัดแจ๋เลย นี่แหละเรียกว่า สว่างไสวอยู่ในการดับ หรือดับอย่างสว่างโล่ง นี่แหละ คือมีวิชชา เป็นวิชชาสว่างไสวรู้แจ้งแทงทะลุอยู่ชัดเจนเลย 

ไม่ใช่ดับอย่างอภิสัญญานิโรธ เพราะว่าถ้าไปดับอย่างอภิสัญญานิโรธแล้ว มันไม่สว่างไสว มันมืดตึ๊ดตื๋อเลย ไม่รู้เรื่องเลย ดับอย่างนั้น พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าไม่เอา ไม่เอา ดับอย่างนั้นไม่เอา พระพุทธเจ้าท่านสอนพระอานนท์อยู่ในสูตร  โปฏฐปาทสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ 9 ข้อ 275 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 1 ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค) ท่านสอนพระอานนท์เอาไว้ คือ ปาทะพราหมณ์มาถามพระพุทธเจ้าว่า ท่านผู้เจริญ อภิสัญญานิโรธนี้มันเป็นยังไง มาทูลถามพระพุทธเจ้า 

พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสบอก อภิสัญญานิโรธ มันเป็นอย่างนี้แหละเธอ แล้วท่านก็อธิบายให้ฟังว่า ถ้าผู้ใดทำตนให้รู้ในฌาน เป็นรูปฌานเสร็จแล้ว แล้วเราก็พยายามทำรูปฌานนี้ให้ละเอียดยิ่งขึ้นอีก กระทั่งว่างลง ว่างลงเป็น อากาสานัญจายตนะ แล้วก็รู้ให้ได้นะว่าที่เรามี อากาสานัญจายตนะ เรายังมีตัวมีตนนะ ยังมีรูปมีนาม รูปของอากาสานัญจายตนะ ยังมีนามซ้อนอยู่ตัวหนึ่ง  เรียกว่า วิญญาณ  

เพราะฉะนั้นทำความรู้ในวิญญาณนี้ให้ได้ ถ้าใครระลึกรู้ว่า อ๋อ.. วิญญาณนี้เราเข้าไปเสพ อากาสานัญจายตนะ เธอเข้าไปเสพอากาศมันเป็นอย่างนี้เองนะ ผู้นั้นก็จะเกิดวิญญาณัญจายตนะ ผู้ใดทำวิญญาณัญจายตนะได้แล้ว ก็จะรู้ว่าตัวเองยังมีตัวรู้อยู่ในตัวอีกตัวนึง ให้ดับตัวรู้นี้ลงไป ให้สิ้นซากอย่าให้เหลือหลอ ดับตัวรู้นี้ลงไปให้ไม่มีเหลืออะไรเลย ให้ไม่มีตัวรู้เลยเป็น อากิญจัญญายตนะ ดับลงไปๆ ให้สนิท เป็นอากิญจัญญายตนะ ให้ตัวเองไม่รู้อะไร จะพยายามให้ไม่มีทุกสิ่งในโลก ดับไปอย่างที่คนจะไม่มีชีวิตอยู่ในโลกเลย ก็เป็น อากิญจัญญายตนะ 

ถ้าผู้ใดเกิด อากิญจัญญายตนะ นิดหนึ่ง น้อยหนึ่ง อะไรก็ไม่มีหมดแล้วเรียบร้อยแล้วนะ ท่านให้ดับต่อไปอีกเลย แล้วดับให้มันสนิทที่สุดเท่าที่มันจะสนิทได้ ต่อจาก อากิญจัญญายตนะเลย ดับพรึบให้ยิ่งกว่านั้นเลย อายตนะก็ไม่ให้เหลืออะไรก็ไม่เหลือ ดับสูญที่สุดเท่าที่เราจะสามารถ อันนี้และเรียกว่า  อภิสัญญานิโรธ ไม่ต้องไปต่อ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ต้อง ไม่ต้องไปต่อ ดับให้ยิ่ง 

อภิ แปลว่ายิ่ง นิโรธ แปลว่าดับ อภิสัญญานิโรธ คือดับสัญญานี่แหละ ในตัวคนที่จะเหลืออยู่ก็มีสัญญากับอัตตา อันใดเป็นอัตตา ก็เรียกว่ายังมีรูป อันใดมีสัญญาอยู่ก็เรียกว่า มีรูปมีนาม นามเราเรียกว่า สัญญาตัวสุดท้าย รูปเราก็เรียกว่าอัตตา ใครเหลือนามเหลือรูป ก็เป็นอย่างนี้ถ้าใครไม่เหลือนามเหลือรูปก็ไม่ต้องมีอะไร อย่างนี้เป็นต้น 

พระพุทธเจ้าท่านให้ดับอย่างนี้ นี่ท่านทรงสอนเอาไว้ใน โปฏฐปาทสูตร คือ โปฏฐปาทพราหมณ์ ไปทูลถามท่าน การดับดับอย่างนี้เท่านั้น แต่พระพุทธเจ้าท่านเคยเรียนมานะ เรียนมากับพวกศาสดาจารย์ต่างๆ อาฬารดาบส อุทกดาบสก็ดีสอนท่านสอนถึงขั้น อากิญจัญญายตนะแล้ว ยังมียิ่งกว่านี้อีกนะยังเป็น เนวสัญญานาสัญญายตนะ พระพุทธเจ้าเคยเรียน ก็มันมีดับแล้วมันก็มีรู้  รู้แล้วมันก็ดับ  ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ พระพุทธเจ้าท่านเข้าใจท่านก็เลยบอกว่า ปัดโธ่ ไม่รู้จักจบ อยู่แค่นี้เอง ที่มันไม่จบเพราะอะไร เพราะคนมันยังมีรูปมีนาม มันยังมีกายยังมีใจ เมื่อมันยังมีกาย ยังมีใจ มันยังไม่ตายแท้นั้นมันยังไม่ตายจริงหรอก 

แต่คนจะพ้นทุกข์ไปได้จริงแทนนั้นจะต้องรู้กิเลสตัณหาให้ชัด เมื่อรู้กิเลสตัณหาให้ชัดแล้วดับกิเลสตัณหา ให้เปลื้องจากตัวตนไม่ให้เหลืออยู่ จิตก็ให้เหลืออยู่ กายก็ให้เหลืออยู่ ก็จบ แล้วคนนี้ก็เหลือแต่กายกับจิตที่ไม่มีของใคร เป็นของโลกเป็นของว่างๆ เป็นของสาธารณะ มีจิตกับกายอย่างสาธารณะ แต่ไม่ทำเหมือนคนสาธารณะ แบบผู้หญิงสาธารณะ ผู้ชายสาธารณะ ไม่ใช่นะไม่ทำอย่างนั้นนะ แต่สาธารณะในสิ่งที่ดีที่ควร ใครจะมาเอาสิ่งที่ดีที่ควรจากท่าน ท่านผู้บรรลุนี้ ท่านผู้ที่หมดแล้วจากกิเลสตัณหาทั้งหลายนี้ จะมอบทุกสิ่งทุกอย่างให้ จะให้เป็นสาธารณะในสิ่งที่ดี 

แต่ไม่ใช่เป็นสาธารณะในสิ่งที่ชั่ว ไม่เป็นเลย นี่เรียกว่า เป็นผู้ดับที่รู้ว่าชั่ว ดับอย่างฉลาดดับอย่างรู้เท่าทันคำว่า ชีวิต เพราะชีวิตมันไม่ตายจริง มันไม่ดับจริง ดับให้เหลือน้อยหนึ่ง จนไม่รับรู้อะไรเลยก็เหลือแต่รูปเปล่าๆ เหลือแต่ร่างกายแข็งทื่อเฉยๆ ไม่รับรู้โลกเลย เป็นอาสัญญีอย่างนี้ท่านไม่เอา หรือเป็นอภิสัญญานิโรธท่านไม่เอา ไม่เอา อภิสัญญานิโรธ หรืออสัญญีสัตว์ ไม่เอา ท่านไม่เอา อย่างนี้ไม่ได้ประโยชน์อะไรท่านไม่เอา 

จงเข้าใจให้ได้ แบบนี้ใบไม้กำมือเดียวของพระพุทธเจ้า คือ นิโรธอริยสัจ นี่แหละ เพราะฉะนั้นก็หันกลับเข้าไปหาสิ่งที่ถูก ก็นิโรธต้องรู้ว่าอย่างนี้หนอ ต้องเรียกว่า สักกายะ อย่างนี้เรียกว่า กามราคะ เศษของกามราคะ เรียกว่า ปฏิฆะ ก็รู้ให้ได้ อย่างนี้เรียกว่า รูปราคะ รู้ให้ชัด ลึกละเอียดลงไปเข้าไปกว่ารูปราคะเรียกว่า   อรูปราคะ ซ้อนไปอีกก็รู้ให้ชัด และรู้ว่าอย่างนี้เรียกว่า มานะ พอรู้มานะ มานะนี่คือใจ คำว่ามานะเนี่ยแปลว่าจิต คือรู้ให้ชัดว่านี่แหละคือมานะ ถ้ามันถือดีในจิต ใหญ่เป็นปรมาตมันอยู่ก็รู้มันให้ชัด พอรู้มานะชัดแล้ว หมดมานะ ละ ไอ้ที่มันยึดมั่นถือมั่นในตัวตนว่าฉันใหญ่ ฉันเล็ก ความใหญ่ความเล็กไม่มีแล้ว 

รู้ละเอียดจนกระทั่งว่า ถ้ามันเริ่มเกิดขึ้นมานิดนึงเป็นปฏิกิริยาในจิตวิญญาณเล็ก เป็นปฏิสนธิวิญญาณขึ้นมาน้อยหนึ่งได้แล้วนี่ เริ่มเป็นโอปปาติกะสัตว์ขึ้นมาในโลก พอเริ่มนิดขึ้นมาเป็นอุทธัจจะก็รู้ได้ คราวนี้แหละ หวานเลย คุมได้เลย ตอนนี้คุมติดตลอดเลย รู้ละเอียดได้ถึงขนาดอุทธัจจะผุดขึ้นมานิดนึงคุมได้ตลอดเลย ตอนนี้ล่ะ โอปปาติกะก็โอปปาติกะเถอะ จิตของเราเองเราคุมได้เลยอย่างนี้ มันไม่เป็นผีแน่ โอปปาติกะตัวนี้ไม่เป็นผีแน่ และไม่ใช่เทวดาหลงกามแน่ 

เพราะรู้เสียแล้วนี่ว่ากามเป็นยังไง ฆ่ากามแล้ว ไม่เป็นเทวดาชั้นพรหมแน่ด้วย  ที่มันใหญ่ มันยิ่ง มันโต ไม่เป็นด้วย เพราะฉลาดรู้เท่าทันหมดแล้ว มีวิชชาซะแล้ว พ้นอวิชชาซะแล้ว เข้าใจได้ซะแล้ว ก็คุมได้สบายเลย แต่การคุมนี้ไม่ได้คุมเปล่า การที่จะรู้นี้ วิชชาที่รู้นี้ ของผู้ที่เป็นพระอาริยเจ้าของท่านหมดจริง ท่านมีแต่กุศลจริง แต่ของคนอื่นไม่เท่าของท่าน ฟังให้ดีนะจุดนี้สำคัญ ของท่านหมดจริง ท่านไม่ยึดแม้แต่เศษเสี้ยวของโอปปาติกะ แม้แต่เศษเสี้ยวของวิญญาณ

แม้แต่เศษเสี้ยวของปฏิสนธิวิญญาณที่เกิดมาเป็นตัวตนแรกเริ่ม ท่านก็ไม่หลงยึดอะไรเลย แต่ว่าของคนอื่นนั้นยังทำไม่ได้เท่านี้ ของคนอื่นคนนี้ๆ บางคนยังมีเศษของกามอยู่ก็มี เศษของปฏิฆะอยู่ก็มี ยังมีเศษของรูปราคะ อรูปราคะ มีเศษของมานะก็มีอยู่ทั้งนั้น 

พวกนี้ยังตามรู้ถึงขั้นที่เป็นอุทธัจจะเจตสิกยังไม่ได้ พระอรหันต์ก็จะเข้าใจจิตของผู้นี้ว่า อ๋อ..คนนี้ยังมีกาม เศษกามยังมี ผู้นี้เศษของรูปราคะยังมี ผู้นี้เศษของมานะยังมี พระอรหันต์จะรู้เท่าทัน พอรู้แล้วก็เขียนไว้ คนนี้ กามราคะยังไม่หมดเลย จะให้ไปละมานะไม่ได้ ไม่ได้ ก็สูตรมันบอกอยู่แล้วนั่นน่ะ อาตมาขีดเส้นใต้ไว้ระดับที่ 5 นะ ระดับจาก 5 ไปหา 1 เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ หมายความว่าสังโยชน์เบื้องต้น ที่ขีดเส้นใต้เอาไว้สังโยชน์เบื้องต้น 

เพราะฉะนั้นเมื่อเบื้องต้นเรื่องหยาบเรื่องตื้นยังไม่หมดได้ สังโยชน์เบื้องสูงจากข้อ 6 ไปจนกระทั่งทะลุรวดถึงอวิชชาเลยนี่  ที่เรียกว่า อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ย่อมยังไม่ได้ อ๋อนี่เห็น กามก็ยังไม่หมดเลย ย่อมไม่ใช่พระอนาคามี 

พระอนาคามีหมดแล้ว 5ข้อทั้งหมด พระอนาคามียังเหลือแต่เศษ รูปราคะ อรูปราคะ ไปถึงอวิชชา เหลือแต่ อุทธัมภาคิยสังโยน์ แต่นี่กามก็ยังไม่รู้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พักไว้ก่อน ไปเล่นภพชาติอยู่ข้างใน ในจิตเลย ไปเล่นมานะ อาตมาบอกแล้ว มานะ แปลว่า จิต จิตอะไร รูปจิต ที่เป็นรูปราคะ อรูปจิตที่เป็นอรูปราคะ แล้วก็ไปมานะ ไปดับไปฆ่าในโน้น แต่กามราคะไม่รู้เรื่องเลยไม่ได้ทำมาเลย คนนี้จึงเรียกว่า จะเป็นผู้ที่ดับได้สิ้นรอบไม่ได้  เพราะฉะนั้นเราจะต้องเรียนรู้เป็นเบื้องต้น ท่ามกลาง บั้นปลาย ให้ถูกคำสอนพระพุทธเจ้ามันลงรอยลงร่องกันหมด ผู้ใดจะเริ่มต้นทำก็จะต้องหัดตั้งแต่ นิวรณ์ 5 

นิวรณ์ 5 ท่านสอนว่ายังไง หัดเรียนรู้กาม อ้าว กามเบื้องต้นอีกแล้ว ให้เรียนรู้พยาปาทะ ให้เรียนรู้พยาบาทให้รู้ ถีนมิทธะ ให้เรียนรู้อุทธัจจะ ซึ่งอุทธัจจะมันเข้าไปหาข้างล่างแล้ว ก็คือ  รูปราคะ อรูปราคะ มานะ ถีนมิทธะ ฟังให้ดี นิวรณ์ 5 นี่นะ แบ่งครึ่งกามกับพยาบาทเป็นตัวหยาบเป็นตัวต้น ถีนมิทธะ อุทธัจจะเป็นตัวปลาย วิจิกิจฉานั้นอย่าไปพูดถึงมัน เพราะวิจิกิจฉามันไม่มีอะไรมันเป็นตัวไม่รู้แจ้งยังลังเลสงสัย มันยังไม่ทะลุทะลวง ยังคล่องๆ คาๆ อยู่ ยังไม่เข้าใจชัดอย่างแท้จริงแค่นั้นเอง วิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้นถ้าเราเข้าใจอย่างแท้จริงพ้นวิจิกิจฉาแล้วนะ วิจิกิจฉามันก็หลุดไปเอง ไม่ต้องไปทำอะไรในตัววิจิกิจฉาคือ มันเป็นตัวที่ยังไม่รู้แจ้งแทงทะลุรอบถ้วนนั่นคือวิจิกิจฉา ซึ่งอาตมาอธิบายสังโยชน์ 10 อยู่ อาตมาถึงยังไม่ได้พูดถึงวิจิกิจฉาเลย เพราะไม่ต้องไปทำอะไรมันนี่ วิจิกิจฉา คือตัวจิตของเราที่บรรลุเป็นปัญญาอย่างแท้จริงเท่านั้นเอง พอบรรลุซึ่งปัญญารอบถ้วนอย่างแท้จริง วิจิกิจฉามันก็ผล็อยลงไปเองไม่มีอะไรเหลือวิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้น ตัววิจิกิจฉาไม่ต้องไปทำอะไรมัน ไม่ต้องไปทำอะไรมันเลย เป็นแต่เพียงว่าพยายามทำให้รอบสิ้นเป็นรอบๆๆ ไปเท่านั้นเอง วิจิกิจฉา          นี่เรียกว่า เราเข้าใจ แม้แต่นิวรณ์ 5 ก็เหมือนกันเห็นไหม อาตมาแบ่งหยาบๆ ให้ฟังเหมือนกัน ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 นิวรณ์ 5 ก็ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 ไม่ขัด

เพราะฉะนั้น ก็ขอมาเริ่มต้นที่ เบื้องต้นซะก่อน มาเริ่มต้นที่ สักกายะ

เราจะรู้ว่าสักกายะเป็นอะไร เราก็ต้องมาเรียนรู้ภาษาซะก่อนว่า สักกายะท่านหมายความว่าอย่างไร 

สักกายะ ท่านก็หมายความว่า ไอ้ที่มันหลงเป็นตัวเป็นตนอันใหญ่ สักกะ แปลว่า ใหญ่ ๆและตัวตนอันใหญ่นี่ มันไม่ได้กินความแค่นี้ มันไม่ได้กินความแค่ร่างกายเท่านี้หรอก มันกินความถึง 6 ทวาร ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจด้วย ใจด้วย อาตมาจะพูดใจก่อน สักกายะตัวนี้ อาตมาจะพูดใจซะก่อนเพราะหยาบกว่าคือ 

ใจของเรานี่มันโง่ โง่ที่มันไปหลงภพ หลงชาติ เรียกว่า ภวตัณหา นี่พูดภวตัณหาก่อนกามตัณหาเสียด้วย เพราะมันเป็นภพหยาบๆ เป็นโลกียธรรมหรือเป็นโลกธรรมธรรมดาธรรมดา เป็นอะไรบ้าง มีหลงภพแห่งความร่ำรวย ภพ

แห่งการเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งการที่จะได้รับคำสรรเสริญเยินยอ ชูช่อชูเชิด ภพแห่งสิ่งที่หลงว่า สุขสำราญเหลือเกิน สุขสำราญเหลือเกิน มีแค่นี้แหละ รวมความแล้วก็คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ไม่มีอะไร 

ภพแห่งความร่ำรวยก็คืออยากจะได้ลาภเยอะแยะ ภพแห่งการที่จะได้ความใหญ่ความโต​​ ความมหึมาของยศฐานะ  ภพที่จะได้รับคำเยินยอสรรเสริญ ภพแห่งความที่จะหลงว่ามันเป็นสุขทั้งนั้นในโลกนี้ ไม่ว่าอะไรก็หลงว่าเป็นสุขหมด มีอยู่เท่านี้ อาตมาเคยอธิบายละเอียดละออมาแล้ว วันนี้ไม่พูดซ้ำแต่เน้นให้ฟังให้เข้าใจ 

ถ้าผู้ใดไม่หลงภพที่หยาบๆ แบบนี้แล้วแล้วก็ ผู้นั้นจะเข้าใจสักกายะอย่างหยาบที่สุดได้แล้ว แล้วก็หัดตัด หัดตัด หัดละ ถ้าคุณเองยังไปหลงภพแห่งความรวย ทำไมคุณยังไปหลงภพแห่งความรวย ก็คุณเข้าใจว่าความรวยนั้นมันดี มันเป็นของดี ของควรได้  ควรเป็นควรมี มันก็เป็นเพราะว่าตัณหาเท่านั้น แล้วคุณก็อยากได้ว่าเป็นของควรได้ควรมีควรเป็น คุณก็อยากได้สิ่งนั้น อยากเป็นสิ่งนั้น อยากมีสิ่งนั้น คุณก็ละอยากไปสิ ไม่ต้องไปอยากมัน ไปอยากมันทำไม ละมันเสีย แล้วมันจะเป็นคนรวยเอง ฟังให้ดีนะตลก 

ถ้าคุณละอยากซะแล้ว อย่าอยากรวยและคุณจะรวยเอง ใครยิ่งอยากรวยยิ่งไม่เคยรวย ถ้าใครยิ่งไม่อยากรวย นั่นแล้วยิ่งจะรวยเข้าไปทุกทีทุกที นี่อาตมาไม่ได้พูดเล่นลิ้นไม่ได้เล่นภาษา อาตมา มหาศาลรวยจริงๆ รวย อาตมารวยมหาศาลเลยไม่ขาดตกบกพร่องเลย ทุกวันนี้สบายมาก สู้เขาได้สบายมาก จริงๆ อาตมารวยมหาศาลเลยทุกวันนี้ เพราะอะไร เพราะอาตมาไม่อยากได้ เต็มเสียแล้วนี่ แต่คนที่อยากรวยนั้น มี 5 พันล้านแล้วยังไม่เต็มเลย คุณคิดดูให้ดี มี 5,000 ล้านแล้วยังไม่เต็มเลย ยังอยากอีก ทำเหน็ดเหนื่อยเข้าไปสู้เอา 5,000 ล้าน ไปหาเอาใหม่ต่ออีกทำอะไรต่ออะไรอีกแล้วเมื่อไหร่มันจะรวย 

คุณคิดดูซิ ไม่รวย ต่อให้มีหมื่นล้านนี่ยังไม่รวยเลยเพราะเขายังไม่เต็มสักที แต่อาตมาเต็มซะแล้ว เต็มแล้วยัดไม่ลงเดี๋ยวนี้บาทหนึ่งยังยัดไม่ลงเลยเต็มปรี่เลย แล้วคุณคิดดูซิคนที่เต็มปรี่แล้ว บาทนึงยังยัดไม่เข้า นี่กับคนที่มีหมื่นล้านแล้ว มีเท่าไหร่ก็ทิ้งหายทิ้งหายเหมือนหาย เอาไปทิ้งอีก 20,000 ล้าน ก็หายอันไหน เรามันจะเต็มอันไหนมันจะที่มันจะรวยกว่ากันก็คนที่ยัดไม่เข้าสิรวย มันรวยเด็ดขาดเลย โอ้โหเต็มปรี่เลยไม่รู้จะทำยังไงบาทนึงก็ยัดไม่เข้าจริงๆ

แล้วแสนสุขสบายเลยไม่เหน็ดเหนื่อย ส่วนคนที่มี 5,000 ล้านแล้วยังเหน็ดเหนื่อยยังอยากได้ยังคิดหาวิธีปวดขมับปวดขมอง คิดแต่จะเอายังไงดีโว้ย  ยังไงดีโว้ย เสร็จแล้วพอจะตายตายก็ต้องมานั่งทำพินัยกรรมอาตมาตายแล้วไม่ต้องนั่งทำพินัยกรรมเลยสบายมาก ตายที่ไหนก็ได้ ตายไม่บอกใครก็ได้อาตมาจะตายที่ป่าที่ภูเขาที่ไหนก็สบาย  แต่ถ้าคุณมี 5,000 ล้าน จ้างคุณก็ไม่กล้าไปตายในป่าในเขา จะตายก็ต้องเรียกให้พี่น้องมาทำพินัยกรรมกันนะ อย่าเถียงกันนะอย่าตีกันนะ ขนาดบอกไปแล้วเดี๋ยวมันก็ตีกัน บางทีตีต่อหน้ายังไม่ทันตายเลย บางคนก็อดทนเอาไว้ พอตายแล้วไปตีกัน เพราะแบ่งให้อั๊วะน้อยแบ่งให้ลื้อมาก ให้เป็นพี่น้องกันก็ยังตีกันยุ่ง ยุ่งทุกอย่าง  เพราะฉะนั้นอาตมานี้ไม่ยุ่งเลย ตายแล้วไม่ต้องทำพินัยกรรมทุกอย่างสบายมาก 

เพราะฉะนั้นอาตมาถึงบอกว่าใครที่หมดอยากแล้ว รวยไม่เป็นคนนั้นรวยคนนั้นรวยที่สุด ไม่เอาอะไรเลยรวยที่สุด แต่ใครเองยังเอาอยู่ไม่รวยเลยไม่มีวันเต็มไม่มีวันรวย นี่แหละถึงบอกว่า อย่าไปหลงในลาภ ยศก็เหมือนกัน 

เวลามาเป็นพระพุทธเจ้านี่ท่านไม่มียศเลยนะ ท่านถอดยศจากราชกุมารมานะ แล้วรัชทายาทนะ พระพุทธเจ้าท่านถอดยศรัชทายาทลงมาเป็นคนถือบาตร บิณฑบาตขอข้าวกิน เสื้อผ้าก็มีน้อยนอนโคนป่าโคนเขานะ ซึ่งแต่เดิมยศฐาบรรดาศักดิ์ท่านขึ้นเรื่อยๆ สุดท้าย พระเจ้าปเสนที่เป็นเจ้าแห่งแคว้นโกศลยังมากราบไหว้

แต่ถ้าพระพุทธเจ้ายังเป็นราชกุมารย่อมเป็นผู้ที่จะครองราชย์อยู่ที่กรุงกบิลพัสดุ์นะ เจอพระเจ้าปเสนทิต้องกราบพระเจ้าปเสนทิก่อน ต้องกราบก่อนนะ พระพุทธเจ้านี่โดยศักดิ์ ก็กรุงกบิลพัสดุ์น่ะกรุงเล็ก แคว้นเล็กไม่ใช่แคว้นใหญ่หรอก แคว้นโกศลเป็นแดนใหญ่แคว้นกว้างขวางใหญ่โต พระเจ้าปเสนทิโกศลนี้ใหญ่ มีศักดิ์เป็นผู้ใหญ่

เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่าพระพุทธเจ้าเราครองราชย์ ครองกรุงกบิลพัสดุ์นะ ต้องมากราบ มีฐานะต้องมากราบมาเคารพพระเจ้าปเสนทิโกศล แต่พอพระพุทธเจ้าไม่เอาแล้ว ยศฐาบรรดาศักดิ์แบบนี้ไม่เอาแล้ว โยนทิ้งเลย ไปเป็นคนนอนกะดินกินกะทราย มีกินน้อยมีใช้น้อย โอ้โห ยศฐาบรรดาศักดิ์พระเจ้าปเสนทิว่าใหญ่ เจ้าแคว้นโกศลต้องมากราบเลย ต้องมาเคารพเลย  คิดดูซิว่า ฐานะที่พระพุทธเจ้าได้นั้น ยศที่พระพุทธเจ้าได้นั้นสูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าแล้ว 

อาตมาเห็นจริง เห็นชัดเหลือเกิน แหม แจ่มจริงหนอ  ชัดจริงหนอ พระพุทธเจ้าทำทานมาสูงจริงหนอ บริบูรณ์จริงหนอ ถึงสิ่งที่เรียกว่าคุณธรรมในตนอย่างนี้แล้ว ยศฐานะบรรดาศักดิ์ขึ้นเอง และไม่ได้อยากได้ด้วยแต่มีเอง มีเอง มีเองจริงๆ เพราะฉะนั้นผู้ใดยิ่งไม่เอาลาภ ไม่เอายศ ไม่เอาสรรเสริญ ยิ่งดังด้วย พระพุทธเจ้าดังมาตั้ง 2,500 กว่าปีแล้ว เดี๋ยวนี้เราก็ยังรู้จักท่านดีเหมือนกับท่านนั่งอยู่ตรงนี้พระพุทธเจ้า ดังไหม ใครที่ทำให้ดัง ยิ่งเดี๋ยวนี้ มาร์ลอน แบรนโด ที่ว่าดังๆ เนี่ย ปัดโธ่เอ๋ย  ฮิสตัน มันกำลังดัง ๆ อยู่นี้ นับไปกี่ปี ใครจะอยู่รอดูก็ได้ 100ปี 200ปี 300 ปี ดูซิจะดังไปได้แค่ไหน ไม่สู้ คนที่เป็นจอมจักรพรรดิยิ่งกว่าพระพุทธเจ้ารุ่นหลังกว่าพระพุทธเจ้าอีก ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย  

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่อยากได้ลาภ ไม่อยากได้ยศ ไม่อยากได้สรรเสริญ  ยิ่งได้ 

ทีนี้สุขล่ะ ไม่อยากได้สุข จะได้สุขไหม ได้แฮะ ได้อย่างบริบูรณ์ถ้วนรอบ บอกใครไม่ถูก ภาษาพระท่านขอยืมภาษาโลกท่านมาเรียกว่า มาเรียกว่า บรมสุข แต่ไม่ใช่สุข ฟังดีๆ นะ ขอเอายืมภาษาโลกมาเรียกว่า บรมสุข หรือแปลว่า นิพพาน

 นิพพานังปรมังสุขัง นิพพานนั่นแล เรียกว่าบรมสุข ขอยืมภาษาโลกเรียกว่า บรมสุข  ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรมาเรียกแล้ว เรียกว่านิพพาน คุณก็ไม่รู้ว่านิพพานคือตัวยังไง อารมณ์ยังไง ตัวมันเป็นยังไง คุณไม่รู้ ก็เลยขอเทียบเคียงไอ้สุขโลกๆ เนี่ย คุณรู้สุข  สุขแบบโลกคุณรู้ ว่ามันไม่ใช่สุขธรรมดานะ มันบรมนะ มันยิ่งนะ บรมนี่แปลว่า ยิ่งนะ ปรมัง บรม มันยิ่งกว่าสุขขึ้นไปอีกแหนะ ไม่มีชื่อเรียก แต่เรียกว่ายิ่งกว่าสุข เรียกว่ายิ่งกว่าสุข ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรเรียก 

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ไม่มีสุข แต่มีอันนึง เรียกว่านิพพาน เรียกว่าสุญญตา เรียกว่า นิโรธอริยสัจยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ตัวนี้แหละ ไม่อยากได้สุขเลย แต่มีอีกสิ่งหนึ่งมาแทนยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ใครมี คนนั้นจะเบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ แจ่ม ใสอยู่ เบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ หมดความเสพ สิ้นความอยาก หมดความเสพ สิ้นความอยาก อยู่อย่างนั้นบริบูรณ์อยู่ นี่เรียกว่า ผู้ใดหลงภวตัณหาอย่างหยาบแบบนี้แหละ ถ้าเราเอาแค่ภวตัณหานี้เดินเข้าไปอย่างนี้ถึงลึกละเอียดก็ได้ด้วย

 แต่มันก็เข้าใจไม่ได้สำหรับคน ต้องยักย้ายภาษาหน่อย และให้ตามสภาวะมาไม่งั้นมันดื้อ ไม่งั้นมันดื้อ มันลึกนึกว่าตัวเองมันจบอยู่ที่สุด นึกว่าน้ำเต็มตุ่มแล้ว ทุกที ที่จริงควรเปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ตุ่มนี้ไม่ขยันเอาตุ่มใหม่หน่อยก็ได้สิ่งใหม่ๆ มา อืมแหม ตุ่มใหม่นี้น่าตักใส่ ตักใส่ใหม่หน่อยค่อยยังชั่ว ต้องอาศัยหลอกบ้างเหมือนกัน คนถ้าไม่หลอกไม่เอา ตักน้ำใส่ตุ่มเก่าไม่อยากตักเอาตุ่มใหม่มาให้ค่อยยังชั่ว ตักก็ยอมตักหน่อย อย่างนี้ยักย้ายหน่อย 

ยักย้ายจาก ภวตัณหาเข้ามาหากามตัณหา กามตัณหาอย่างหยาบ ไม่ต้องพูดมากวันนี้ไม่ตั้งใจพูดถึงเรื่องพวกนี้มาก เอาแต่เพียงคร่าวๆ  พอเราทำกามตัณหาให้รู้ กำลังขึ้น สูตรอันที่เรียกว่าข้อที่ 4 ก็มีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ที่ติดตัวแล้วตอนนี้ เมื่อกี้นี้มีแต่ใจนะทวารใจ ที่บอกแล้วใจมันไม่อยู่ในภพร่ำรวยอยู่ในภพแห่งความเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งความเป็นความดังสรรเสริญเยินยอ ภพแห่งสุข ตอนนี้ไม่ใช่ภพข้างนอกแล้วนะ ไม่ใช่เอาใจไปผูก เอาตา เอาหู เอาจมูก เอาลิ้น เอากาย ว่ากันชัดๆ เลย 

พอตาสัมผัสเข้าปั๊บ แหม เป็นตัณหาเลย แหม สวยจริงโว้ย อยากได้จริงแฮะ เอาเลย หูได้ยินไอ้นี่ แหมดีจริงถูกหูจริง ไพเราะเสนาะพริ้ง หรือว่า มันส์ บางทีก็ไม่ไพเราะหรอก  เป็นรสชาติอย่างไรก็ตาม บางคนก็ชอบการด่าเหมือนกันนะ ด่าแบบนี้ดีเหมือนกันนะ  มันส์ๆ ดีเหมือนกัน มันคันๆ หัวใจดีเหมือนกัน บางคนคิดชอบด่า ถ้าไม่ด่าไม่ขยัน บางทีลูกเต้าบอกพูดหวานๆ ลูกเอ๋ย ทำอย่างนี้หน่อย ไม่ทำ พอด่าเข้าสักเปิง 2 เปิงประเดี๋ยวแหนะ ซัดซะนี่ ทำเลย นี่ บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน  บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน ชอบด่า เพราะฉะนั้นเราก็ไม่ต้องพูด บางคนถ้าได้มาในเสียงที่ยึดมั่นถือมั่นก็ชอบ ถือว่าต้องทำ ถือว่าต้องเอา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ทุกประตูในทวาร 5 ทีนี้ไม่ใช่ทวารใจ 

ถ้ายังไปหลงอย่างนี้อยู่ อยากอยู่ เพราะทวารทั้ง 5 นี้ เรียกว่า กามราคะ เรียกว่ากามราคะ เพราะฉะนั้นภพภวตัณหาหยาบแล้ว กามตัณหาอย่างหยาบแล้วนี้ เราต้องเรียนรู้ให้ได้ เรียนรู้ มันเป็นสมุทัย ภวตัณหา กามตัณหา มันเป็นสมุทัย ตัณหานี้เป็นสมุทัย รู้ให้ชัด เข้าใจมันให้ได้ แล้วหาทางไปฆ่ามัน ทางที่จะเอาไปฆ่ามันทำอย่างไรล่ะ

พระพุทธเจ้า ท่านว่าไว้ละเอียดหมดเลย ท่านให้เอาศีลไปฆ่า เอาศีลไปประพฤติ เอาศีลไปบำเพ็ญ มาถึงข้อที่ 3 แล้ว ศีล พรต เอาศีลไปประพฤติ พรต ตัวนี้ แปลว่าบำเพ็ญ เอาศีลตัวนี้ไปประพฤติเข้า ไปบำเพ็ญเข้า แล้วมันจะฆ่ากาย หรือฆ่ากาม ถึงจะละสักกายะหรือฆ่ากามราคะ มันจะฆ่าจริงๆ

เมื่อเรารู้มันซะก่อนแล้วว่า สักกายะ คืออย่างนี้ด้วย กามราคะคืออย่างนี้ด้วย ถ้าไม่รู้ก็ทำดื้อๆ ไม่รู้ก็บอกว่าพระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ปานาติปาตาเวรมณี อทินนาทานาเวรมณี อะไรก็ตามแต่ คุณก็เอาศีลนั้นมาอย่างดื้อๆ สมาทานตามที่พระพุทธเจ้าท่านว่าแปลอย่างดื้อๆ เอาง่ายๆ คุณก็ได้ง่ายๆ แต่คุณก็ไม่รู้ตัวรู้ตนมัน มันก็ยังไม่บริบูรณ์ ได้เหมือนกัน ได้ชั้นนึง ถ้าใครเข้าใจละเอียดลึกซึ้งเข้าไปอีก ศีลอันนี้เอามาบำเพ็ญก็รู้เนื้อรู้ตัวรู้สภาวะ รู้ทุกอย่างเรียบร้อยไปเป็นชั้นๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าทำๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าเอาศีลมาแล้วก็มาประพฤติอยู่เฉยๆ เหมือนกับ อ้าวศีล 5 บริบูรณ์แล้ว 

อาตมากล้าพูดด้วยในนี้ศีล 5 ไม่ใช่ตื้นๆ นะ 1.ยังไม่ฆ่าสัตว์ 2. ไม่ลักทรัพย์ 3. ไม่ผิดผัวเขาเมียใคร 4. ไม่โกหกใคร 5. ไม่กินเหล้า เนี่ยเอาตื้นที่สุด อาตมาเชื่อว่าในนี้นี่ เต็มตุ่มไปนานแล้วเยอะ ในนี้ ศีล 5 แค่นี้ ในนี้เต็มตุ่มไปนานแล้ว เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ เปลี่ยนตุ่มใหม่ซะบ้างสินะ ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มใหม่ คุณก็เทแล้วก็เทอีกอยู่ในตุ่มนั่นแหละ เทแล้วก็หก เทแล้วก็เลอะออกมา ก็มันเต็มแล้วนี่ ก็ไม่ได้ฆ่าสัตว์แล้วนี่ ก็ไม่ได้ขโมยของใคร ไม่ได้ผิดผัวเขาเมียใครแล้วนี่ ไม่ได้โกหกใคร ไม่ได้กินเหล้า ก็เต็มแล้วตุ่มนี่ เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ หรือไม่ก็ขยายตุ่มออกบ้าง 

ขยายตุ่มออกคือยังไงคือ ทำศีลให้ลึกลงไปอีก ถ้าไม่ขยายให้ทะลุเนื้อหาสาระของศีล 5 เอง ทำความเข้าใจไม่ได้ ก็เพิ่มศีล 6 ศีล 7 ศีล 8 ศีล 9 ศีล 10 เข้าไป เพิ่มเข้าไป ศีลเหล่านั้นเป็นศีลขยายความละเอียดความลึกซึ้งออกไป โดยภาษาโดยนิรุตติ ทำความเข้าใจในภาษาเหล่านั้น ไม่ใช่ตื้นๆ 

จะเอาแค่วิกาลโภชนา ประมาณกำหนดอาหารก็ได้ นัจจะ คีตะ วาทิตะ ไม่ดูการละเล่น ไม่ฟังเสียงร้องเสียงรำอะไรต่ออะไรต่างๆ ก็ได้ มาลาคันธะ วิเลปะนะ จะไม่หลงในดอกไม้ในของหอม ในเครื่องพอกทา ในเครื่องที่มาทรงแต่งไว้ ในเครื่องที่จะมารัดเอาไว้ต่างๆ นานา ที่จะเป็นฐานะแห่งการประดับตกแต่ง คุณเองคุณไม่ทำก็ได้ 

อุจจาสยนะ มหาสยนา จะไม่เอาแล้วที่นั่งที่นอนที่สูงที่ใหญ่อะไรแล้ว คุณก็ไม่เอาแล้วก็ได้ เอาหยาบๆ แค่นี้ก็ได้ ปฏิบัติศีล 8 เต็มแล้ว เต็มตุ่มอีก หยาบๆ แค่นี้นะ เต็มตุ่มแล้ว เปลี่ยนตุ่มอีกบ้าง ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มอีกนะ คุณก็ ตักเท ตักเท ตักไหลทิ้ง ตักไหลทิ้ง อย่างเก่าอีก

 อาตมาเชื่อว่าคุณหลายคนเต็มตุ่มแล้ว ตุ่มแตกนี้เต็มแล้ว เปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ขยายตุ่มเสียบ้างหรือเปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างตักใส่ใหม่เสียบ้าง ถ้าคุณไม่ขยายในสภาพที่ไม่ขยายตุ่ม หรือ  ไม่เปลี่ยนตุ่มนั่นแหละ  เรียกว่าสีลัพพตปรามาส ฉ่ำแฉะ หยำแหยะ สักแต่ว่าทำตามอย่างนั้นแหละ แล้วก็ไม่รู้ว่าได้แล้วหรือยัง เต็มตุ่มหรือยัง หลับหูหลับตาทำ เข้าใจไม่ได้ เต็มหรือไม่เต็มก็ยังไม่รู้ บางทีพอรู้ๆ เหมือนกันว่าตัวเองเต็ม แต่ว่าไม่รู้ว่าตัวเองเต็ม แต่ไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อ ไปมืดไปมัวอยู่ เรียกว่า สีลัพพตปรามาส สักแต่ว่าลูบๆ คลำๆ ทำ ๆ กันอยู่ ไม่เข้าใจ ไม่รู้ว่าควรจะเขยิบฐานะขึ้นอย่างไรๆ ไม่รู้เลย มันก็ไม่เดินทางน่ะสิ คุณก็ไม่ได้อะไรอีก คุณก็ได้แค่นั้นจนกระทั่งตาย บางคนถือศีล 5 จนตายเต็มตุ่ม ศีล 5 เต็มตั้งแต่ถือปีแรก ปีที่ 2 จนกระทั่งไปอีก 20 ปีก็ตาย เลยตักน้ำอีก 20 ปี เทตุ่มเต็มอันเก่านี้จนกระทั่งตาย มันน่าเสียดายไหมล่ะ น่าเสียดายไหมล่ะ

นี่แหละ สีลัพพตปรามาส คือสักแต่ว่าทำ ลูบๆ คลำๆ เล่นเฉยๆ ไม่ขยับฐานะไม่เลื่อนชั้น จารีตต่างๆ ท่านสอนไว้เนี่ยดี ประเพณีต่างๆ มีไว้ให้ทำและทำให้ถูกเรื่อง ถูกราวดี ทำให้บริสุทธิ์ได้ดี แต่ต้องรู้ว่ามันเต็มหรือยัง มันพอหรือยัง ควรจะขยายเพิ่มขึ้นหรือยัง ควรจะรู้ ถ้าเราได้มีปัญญาอ่านว่า  เราเต็มจริงแล้วควรขยายเพิ่มขึ้นไป เอาเลยแล้วมันจะสูงขึ้น 

ใครเต็มศีล 8 แล้วก็ขยายศีล 10 ใครขยายศีล 10 ได้แล้วก็เป็นจุลศีล มาให้หมด จุลศีลถ้าคุณไม่รู้มาหาอาตมา อาตมาจะให้ไป 26 ข้อ จุลศีลเต็มแล้วเอามัชฌิมศีลอีก มาหาอาตมา จะเอาให้ จะลอกพระไตรปิฎกให้อย่างไม่ผิดหรือเพี้ยนเลยล่ะ ลอกพระไตรปิฎกกันให้เลยล่ะ เพราะว่าอาตมาจะพูดเอง เอาพระไตรปิฎกให้ไปลอกเองก็ได้ อาตมาเอาพระไตรปิฎกไปให้ลอกเองก็ได้ มัชฌิมศีลได้ เอามหาศีลไป มหาศีลบริบูรณ์อีก เอาโอวาทปาฏิโมกข์ศีลต่างๆ นานา ที่อาตมาจะคัดให้คุณอีก อาตมาจะไม่ขี้เกียจ ขอให้มาขอเอาก็แล้วกัน จริงๆ ด้วย 

อย่างนี้ถึงเรียกว่าควรจะเลื่อนชั้น ควรจะประพฤติ อย่าให้มีวิจิกิจฉา ให้พ้นวิจิกิจฉา คือให้รู้แจ้งรอบได้ว่าเราเต็มตุ่มหรือยัง ไอ้ตุ่มเล็กๆ ใบที่เราทำขณะนี้เต็มหรือยังเต็มแล้วขยายตุ่ม หรือเปลี่ยนตุ่มใหม่ ตุ่มใบนี้เต็มหรือยัง ขยายไปเรื่อยๆๆๆ ตามความเป็นจริง คุณก็ใช้ศีล ใช้พรต ได้อย่างดี เรียกว่า เป็นผู้ที่รู้จักใช้ สีลัพพตุปาทาน คือมีศีลมาประพฤติ ยึดเอาศีลมาประพฤติ สีลัพพตุปาทาน หมายความว่า ยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติ พอยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติได้แล้วจนกระทั่งเราเต็มแล้ว ให้วาง อย่ายึดเอาไว้เป็นอุปาทานอีก 

ศีลที่เราประพฤตินี้ เมื่อได้แล้วเต็มแล้วบริบูรณ์แล้วถึงจิตบริสุทธิ์เป็นอธิจิตแล้ววาง เลิก หาศีลใหม่ มาพรตใหม่ หาศีลใหม่มาบำเพ็ญใหม่ พอบำเพ็ญใหม่ก็ไปเรื่อย ๆ สูงขึ้นอีก พอสูงขึ้นอีก เต็มอีกหยุด หยุดอุปาทาน หยุดยึดศีลนี้ แล้วก็หาศีลใหม่มายึดใหม่ เป็น พรต ใหม่อีก มันก็จะเขยิบฐานะอย่างนี้เรื่อยไปๆๆๆๆ  สูงขึ้นตามลำดับโดยแท้จริง 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำตามลำดับศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 เนี่ยนะ มันเป็นการฆ่ากามจริง เป็นการฆ่ากามตัณหา ศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 นี่ อย่างหยาบๆ นะ แต่โดยแท้จริงแล้วศีลข้อ 1 ถึงข้อ 5 อย่างละเอียดแล้ว คือลุไปถึง ทุกข์ ภวตัณหา กามตัณหา อย่างละเอียดสุดแล้ว ใครอ่านก็อ่านอะ อาตมาเขียนแล้ว ศีลคั้นออกมาจากศีล อย่างหยาบๆ ในเล่ม 1 ก็เขียนไว้แล้ว อย่างละเอียดในเล่ม 2 เขียนไว้อีก ในเล่ม 3 อีกที่จะละเอียดต่อไป ที่จะมีข้อ กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท และสุราเมรยะมัชฌะ ยังไม่ได้เขียน ยังไม่ได้ทำ  ที่จะทำต่อไปอีก ถ้าสรุปความแล้วจะไปยึดรวมเอา คือเอาจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล รวมเข้าไว้ ในการอันควรที่จะทำจะมีประโยชน์ 

หลักการพระพุทธเจ้าวางไว้ตามสูตรทำอย่างนี้ไม่ทำอื่น ไม่ได้ทำอื่น เอาศีลมาบำเพ็ญสิ ฆ่าสักกกายะ ฆ่ากามราคะ เศษเสี้ยวของสักกายะ กับ กามราคะที่เป็นปฏิฆะะอยู่ก็ค่อยๆ เลาะออกๆ ปฏิฆะ หมายความว่า ทวนไปทวนมา ให้มันเห็นรู้แจ้งในเศษเสี้ยวที่มันยังเป็นอาพาธอยู่ในจิต ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาม ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาย ที่เป็นกายใหญ่นะ สักกายะใหญ่ อาตมายังไม่ได้พูดถึงสักกายะเล็กนะ ยังไม่ได้พูดถึงกายเล็กนะ พูดถึงสักกะคือกายใหญ่ ถ้าชวนไปทวนมา ปฏิ คำนี้ แปลว่าทวนไปทวนมา ปฏิฆะ ถ้าหมายความว่า กลุ่ม หรือ หมู่ที่มันเกิด คณะนี้พอเป็น เปสิ กัลละ คณะ  ฆนะ เปสิ 

ก็เป็นก้อนเล็กนิดนึง ฆนะ ฆ แปลว่ากลุ่ม แปลว่าก้อน ถ้าใครทวนไปทวนมาเจอก้อนตรงไหนยังเป็นเศษเสี้ยนอยู่ยังเป็นเสี้ยนหนาม รู้ให้ได้ ทวนไปทวนมาให้หมด ลูบคลำ ให้เกลี้ยงให้ละเอียดถ้วนทั่วหมดเศษของกาย หมดเศษของกายเศษของกายอย่างหยาบแล้ว ก็เลื่อนชั้น ขึ้นหา อุทธัมภาคิยสังโยชน์

คือตอนนี้เป็นภวตัณหา อย่างละเอียด เข้าไปหาภพข้างในเลย ภพข้างในคืออะไร ภพข้างในก็คือความสงบระงับ ผู้ใด ฆ่าโลกธรรม 8 ได้แล้ว ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ คุณเองไม่ค่อยย่อหย่อนแล้วอย่างหยาบ คุณเลิกวางได้แล้ว และฆ่ากามได้แล้ว ทวนไปทวนมาเป็น ปฏิฆะ 

นี้จิตของคุณมันจะสงบระงับลงอย่างแท้จริงเพราะอะไร เพราะคุณขาดกิเลสตัณหาลงไปตั้งเยอะแล้ว กิเลสที่เป็นกาย กิเลสที่เป็นกามอย่างที่ว่าขาดโลกธรรมไปแล้ว ขาดกามคุณไปแล้ว คิดดูสิ จิตจะไม่สงบลงได้อย่างไร จิตที่มันเต้นอยู่มากๆ เพราะมันสร้างกายใหญ่ สร้างกามใหญ่มันก็เต้น พอกายกับกามลดลงไปได้มากแล้วคุณสงบลงเยอะ เต้นอยู่เบาๆ แล สงบลงไปตั้งเยอะ เพราะกามกิเลสกายกิเลสที่เป็นโลกธรรมมันขาดออกไปจริงๆ ไม่ได้ขาดเพราะคุณไปทำอื่นเลย 

เห็นไหมเอาสูตรพระพุทธเจ้ามาพูดแล้วมันจะชัด ไม่ใช่ว่ามันสงบลงเพราะกดหัวมันไว้ หยุดๆ อย่าดิ้นนะ ดิ้นเดี๋ยวตบๆๆๆ อย่าดิ้นนะ กดไว้ๆ อะระหังสัมมา อะระหังสัมมา กดไว้ หนอพองหนอยุบหนอพองหนอกดไว้ ปวดตรงไหนก็ปวดหนอ ตรงปวดหนอเจ็บหนอเจ็บหนอ กดไว้มันไม่ได้ฆ่ากามที่มันกดหัวมันเอาไว้ ไม่ได้รู้ว่าสักกายะคืออะไร ไม่รู้ว่ากามคืออะไร แต่อะไรมันดิ้นขึ้นมาก็ให้หยุดอธิบายเลยใช้มนต์คาถานั้นกดเอาไว้เป่าหัวสมองมันไว้ เอาคาถานั้นต่อไว้กดไว้ ซึ่งมันไม่ได้ทำอย่างนี้นะ ลักษณะอย่างนี้ แต่ต้องเป็นลักษณะรู้แจ้งรู้จริงว่าอะไรเป็นสมุทัยอะไรเป็นเหตุ เป็นเหตุที่มันก่อให้เกิดการดิ้นเป็นกายใหญ่ เป็นกามราคะใหญ่ อะไรเป็นเหตุ รู้เหตุแล้วก็ดับเหตุให้ได้ ยังเกิดอีกอยู่ในนี้ก็ เราเลิกรูป เลิกรสเลิกกลิ่น เลิกเสียอย่างนี้ มันสงบระงับอย่างนี้จริงๆ นะ มันก็เป็นนิโรธในตัวมันไป 

นิโรธก็ดับไปทุกทีดับไปทุกที อย่างนี้ต่างหากล่ะที่เราทำตามสายของพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นเมื่อมันหลุดออกมาจริง เรื่อยๆ มันก็สงบระงับเหลือลงแต่แค่จิตตรงนี้ จิตที่มันไม่ดิ้นเพื่อกาม มันไม่ดิ้นเพื่อกาย หรือไม่ดิ้นเพื่อโลกธรรมมากนักแล้ว และมันก็ไปติดอะไร มันก็ไปติดภพของจิตเข้าให้ แหม สบายดีจริงหนอ ช้าๆ อย่างนี้สบายไม่ร้อนแฉะเย็นดี สงบดี แต่ยังมีดิ้น ถ้าคุณยังไม่รู้ว่ามันยังดิ้นอยู่อย่างนี้นะ คุณก็ไม่รู้ว่าคุณยังเกิดอยู่ มันดิ้นอยู่มันก็ยังเกิดอยู่ ไม่ดับแน่ เพราะฉะนั้นสภาวะที่ยังดิ้นอยู่ แค่นี้ดีกว่ามันดิ้นเยอะ ดิ้นอย่างโอรัมภาคิยะ เพียงข้อ 1 ถึงข้อ 5 มันก็มากกว่า แต่ยังไม่หมดรอบ ยังมีรูปราคะ อรูปราคะอยู่ 

รูปราคะ อรูปราคะก็คือ ปีติ ปัสสัทธิ เป็นอุปกิเลสแล้ว ตั้งแต่ โอภาโสมาเลย โอภาส โอภาสคืออะไร คือปัญญารู้แล้วว่าเราหมดกิเลสกาม หมดกิเลสกายมาแล้ว มันยังดิ้นอยู่แค่นี้เรารู้แล้วรู้แล้วก็เกิดปีติใจ ก็เป็นอุปกิเลส เพราะฉะนั้นอย่าติด ความรู้แค่นี้ยังไม่สิ้นถ้วน ยังไม่หมดถ้วน ยังไม่ถ้วนทั่ว ยังมีเศษอยู่นะ ยังไม่ดับสนิทนะ ถ้าให้รู้ให้ได้ เพราะฉะนั้นการไปหลงโอภาสคือ ความรู้สว่างขนาดนี้อยู่ ทำไมท่านเรียก โอภาส   อาตมาบอกแล้วว่า ความรู้ของพระพุทธเจ้านั้นสว่างโล่ ประดุจดังแสง ปัญญาเหมือนอาภา หรือโอภาสเหมือนดังแสง นิโรธของพระพุทธเจ้าไม่ใช่ดับอย่างไม่รู้นะ แต่ดับอย่างรู้นะ กายดับกามอย่างรู้ด้วยนะถึงขณะนี้ก็ยังไม่จบถึงบอกว่าอย่าหลงโอภาส สว่างอยู่แค่นี้ก็อย่าเพิ่งหลง อย่าหลงปีติใจ แหมดีใจฉันได้แล้วนะแค่นี้ก็อย่าปีติ เลิก พยายามต่อ 

ดับให้มันด้วยวิธีใดก็แล้วแต่ ก็คือเรียนรู้จิตที่มันเป็นรูปกิเลส รูปราคะ อ๋อจิตอย่างนี้นี่นะ มันยังดิ้นอยู่ทำยังไงจะให้มันหยุด ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว ถ้าคุณตัดกามก็ได้ ตัดโลกธรรม 8 ก็ได้แล้ว ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว คุณจะต้องเรียนรู้ต่อไป 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่หลงโอภาส ไม่หลงปีติ เข้าใจให้ได้ว่าความรู้ของเราเป็นอย่างนี้ โอภาสเป็นอย่างนี้ อย่าหลงความรู้ของเรา ถ้าไม่หลงความรู้ของเรานั้น พร้อมกันนี้ คือการไม่ยึดมานะทิฏฐิ ไม่ยึดความใหญ่ของเรา ไม่หลงปีติไม่หลงตัวตน ภาคภูมิอยู่แต่ตัวแต่ตน ปีติ คืออัตตา ไม่หลงทางอัตตา ไม่หลงทางความใหญ่ของตัวเองเป็นมานะทั้งคู่เราไม่ลง หยุดให้ได้มันก็จะลดลง เป็นปัสสัทธิเรียกว่าสงบระงับลงแล้ว คือขันน็อตอย่างที่อาตมาว่าเมื่อกี้ ต้องรู้ให้ได้นะว่าจิตของเรา แหม มันหลงในภูมิรู้นี่ มันไม่ใช่เล่นนะคุณเอ๋ย นี่มันมโหฬาร ฉันมีความรู้นี่มัน .. แค่โอภาสแค่นั้นนะ แค่เป็นความรู้ชั้นต้น เป็นวิโมกข์ หรือเป็นวิโมกข์อย่างชั้นต้นก็ได้หรือเป็นวิมุติก็ได้ เป็นโมกขะ โมกขธรรมชั้นต้นก็ได้ 

พอเราดับแล้วไม่หลง ที่จริงเรามีความรู้อันนี้มีโอภาสอันนี้หรือมีวิโมกขะน้อยๆ อันนี้ มีโมกขะน้อยๆนี้ พอดับกามราคะ ดับสักกายะได้แล้ว เรามีจริงๆ แต่เราไม่หลงมัน ไม่หลงปีติยินดี ไม่หลงคือถือเนื้อถือตัวว่าฉันมีนะ เธอไม่มีเธอเล็กกว่าฉัน ฉันเหนือกว่าเธอไม่เอา ไม่มีอันนี้ ผู้ใดดับอันนี้ได้จริงๆ รู้จิตตัวที่เราไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้แล้ว เลิกแล้วอย่าไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้ อย่าไปอวดตัวอวดตนอย่าไปหลงยินดีปรีดาในสิ่งที่ตัวเองมี มีน่ะมันดีแล้วล่ะ แต่อย่าไปถือตัวเธอตนอย่าไปยินดีตรงภาคภูมิ อะไรก็ตามแต่ยึดเป็นอย่างนู้นอย่างนี้อยู่ มันก็จะสงบลงเป็นปัสสัทธิจริงๆ  

สงบลงแล้วทีนี้ก็ แหม นัตถิสันติปรังสุขัง คุณเอ๋ย ไม่มีสุขอะไรที่มันจะสงบ หรือ มันจะสุขเท่าไม่มีสุขอื่นที่จะเท่ากับไอ้ที่มันสันติลงเรื่อยๆ มันสงบระงับลงเรื่อยๆ ไม่มี ไม่มีความสุขไหนจะเท่า สนุกกับการสนุกสักกายะนั่นน่ะหรือ ปัดโธ่เอ๋ย อาตมาอยากจะใช้คำโลกๆ ฟังให้คุณรู้สึก ว่า สนุกอย่างบ้าเลือด สนุกด้วยการสนุกด้วยสักกายะะนั้นเหนื่อยแสนเหนื่อยเหน็ดเหนื่อยทรมาน สู้กับเขาลูกเอ๋ย เกิดมาลูกเอาเรียนเข้าไป แต่เรียนเดรัจฉานวิชาเท่านั้นนะไม่ใช่วิชาอย่างที่อาตมาว่า เรียนใบไม้ทั้งโลกเรียนใบไม้ทั้งป่าเลย เอาเรียนเข้าไปลูก อันนี้เขาตั้งวิชาใหม่อันนี้วิชาเก่าเรียนเข้าไปโลก ถูไถเข้าไปเพื่อที่จะอะไร เพื่อจะเอาวิชานั่นแหละไปข่มขู่เขา จะไปสร้างลาภ สร้างยศ สร้างสรรเสริญ สร้างได้ก็เอามาเสพกาม ลูกของกามขยายแถบออกมาเป็นพรวนเลย อยู่อย่างนั้นตลอดโลกนั่นมันเป็นการไม่จบ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดเข้าใจได้เห็นได้ว่าไอ้ความสงบที่หมดกาม หมดกาย หมดสักกายะนี่นะ แหม ยอดเยี่ยม

ไปหลงโอภาสหลงปีติก็ไม่มีไปหลงเป็นปัสสัทธิ เข้าใจได้ ดูได้เป็นรสได้ว่าปัสสัทธิ มันเป็นนิ่งสงบนะ ยิ่งอร่อยกว่า ยิ่ง ปรมังสุขัง ยิ่งกว่าเลย มันยิ่งบรมสุขยิ่งกว่า แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังเป็นกิเลส ยังไม่หมดตัวตนแฮะ ยังเป็นปัสสัทธิอยู่ที่อยู่ ไปกดกิเลสตัวที่ทำความรู้ขึ้นให้แจ้งว่าอันนี้ก็ไม่เอา อันนี้ก็ยังเป็นจิตที่ยังหยาบอยู่ ยังเป็นจิตที่จะต้องดับให้ได้อีก ผู้ใดรู้จิตที่เป็นปัสสัทธิตัวเองได้อีกนะ ความรู้สูงขึ้นไปดับปัสสัทธิ ดับที่ไปยึดอัตตาตัวนี้ได้อีกนะ มันจะหลงอยู่แค่ไหนก็ตาม แต่มันจะมีความหลงในความใหญ่หลงในอัตตาซ้อนเข้าไปอีก 

ถ้าเรามีปัญญารู้มันอีก ดับมันได้อีก เรียกว่า อธิโมกข์ ก็เป็นความรู้ที่รู้ ยิ่งกว่าเมื่อกี้อีกโอภาสก็เป็นความรู้อีก อธิโมกข์ เป็นความรู้ที่เหนือกว่าโอภาสอีก ยิ่งสว่างไสวรู้ใน โมกขะ รู้ในการตรัสรู้ รู้ในการดับกิเลสตัณหาลึกเข้าไปอีก เรียกว่า อธิโมกข์ 

เพราะฉะนั้น ไอ้นี่มันยิ่งใหญ่ขึ้น ความรู้ชั้นสูงขึ้นไปนี้ยิ่งผยองตัวอย่างขนาดหนักเลย ถ้าเผื่อว่าคุณรู้ไม่ทันนะ มันยิ่งโอ้โห ตอนนี้จบปริญญาโทและ มโหฬารเลย ถ้าคุณยังหลง อธิโมกข์นี้อีก บอกว่ามันดีจริงอธิโมกข์นี่มันดีจริง คุณก็ ปัคคาหะ ขยันหมั่นเพียร วิริยะอุตสาหะ ทำใหญ่เลย สร้างอธิโมกข์ ให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ที่จริงน่ะดี ก็ยิ่งสร้างคุณก็ยิ่งสูงขึ้น คุณก็ยิ่งสงบลง สงบลง คุณดูนะ สภาพอันนี้เดินทางเข้าไปหาสุญญตานะ ยิ่งสงบลงเรื่อยๆ นะ เมื่อกี้นี้เป็นไปเพื่อกามเพื่อกาย ดิ้นไปหาโลกอันนี้สงบลงมาแล้วนะ ยิ่งขยันหมั่นเพียร ปัคคาหะ หมายความที่ขยันหมั่นเพียรยิ่งสงบลงไปมาก ยิ่งสุขมากที่สุด เพราะฉะนั้น อุปกิเลสอีกหมู่หนึ่ง     อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง นี่อีกหมู่ เมื่อกี้นี้ โอภาส ญาณ ปีติ

สงบลงมาถึงขนาดนี้ อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง  มันยังไม่จบแฮะ จบปริญญาโท ยังไม่จบปริญญาเอก ต้องทำปัญญาให้ยิ่งๆ กว่านี้อีกกว่าโอภาส กว่าอธิโมกข์ ให้เป็น ญานังหรือญาณ ให้มีญาณสูง ๆ ละเอียดลึกกว่านี้อีก ทำเข้าไป สูงเยี่ยมจนกระทั่งในจิตของเราตั้งมั่นเป็นสติ อันครองพร้อมตั้ง ฐานะ อันที่เรียกว่า หมิ่นเหม่ต่ออรหันต์  แหม่ใช้ศัพท์อันนี้น่าดู จนกระทั่งเราจะหมิ่นเหม่ต่อความเป็นพระอรหันต์  อุปัฏฐาน อุปะ แปลว่า ใกล้ อุปัฏฐานตั้งมั่น เริ่มตั้งมั่นเข้าใกล้ ใกล้อะไร ก็ใกล้ที่จะพ้นอวิชชาสิ  ใกล้ที่จะพ้นกิเลสตัวละเอียดที่สุดแล้ว เรียกว่า อุปัฏฐาน ให้มีสติมั่นคงให้มีความรู้รอบเป็น ญาณ กิเลสปุริสสาก็มี ญาน อุปัฏฐาน

จนกระทั่งเราทำได้อย่างสนิทสนมพร้อมรู้ชัดในจิต ที่ดิ้นนิดนึงก็รู้แล้ว เข้าหาอุทธัจจะ จะมีมานะน้อยหนึ่งก็ไม่มี จะมีรูปแห่งราคะนิดนึงก็ไม่มีจะมี อรูปก็นิดนึงไม่มี ไม่มีรูปไม่มีอรูป เป็นมานะความถือตนถือตัว ความยินดีหลงในจิตตัวเองก็ไม่มี รู้ชัดแจ้งไปจนกระทั่งถึงเศษจิตที่เกิดขึ้นเป็นอุทธัจจะขึ้นมาก็รู้ ดับอุทธัจจะให้วางเฉยอยู่ได้เป็นอุเบกขา อุปกิเลสหมู่ที่ 3 ก็มี ญาน อุปัฏฐาน และ อุเบกขา หมู่นี้ละเอียดยิ่งกว่า เป็นความรู้ชั้นสูงยิ่งกว่า

ถ้าหลงอยู่แม้กระทั่งแม้ความรู้ชั้นละเอียดขนาดนี้ ก็ยังเป็นอุปกิเลสชั้นระดับสูงสุดเลย เห็นมั๊ยว่าทุกอย่างมันเป็น สมังคีธรรม ร้อยกันมาสูงสุด ถึงขนาดนั้นท่านพระพุทธเจ้าท่านบอก อย่าเพิ่ง ปัจจเวก ปัจจเวก ทวน ทวนต้นทวนปลายอีกนะ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกมั๊ยใน 9 อันนี้ ตั้งแต่ โอภาส มายัน อุเบกขานี้ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกไหม ถ้ามีเศษอยู่อันหนึ่งอันใดก็เรียกว่า นิกันติ   ทั้งนั้นเลย เรียกว่า นิกันติ  คือเศษของอุปกิเลสที่เหลือทั้งนั้นเลย ไม่ว่าอยู่ที่จิตไหนก็ตามแต่ มีเศษยังไม่นิกันติ ยังไม่หมดสิ้นที่แท้จริง ยังไม่ถึงซึ่งอันติม อันติมะหมดสนิท อันติมะเนี่ยหมายความว่าหมดสนิท นิกันติก็หมายความว่าไม่มีเลยที่สุดที่ไหนไม่มี ละเอียดยิบ เพราะฉะนั้นถ้ายังมีเศษของอุปกิเลสอยู่ไม่ได้ ทบทวนเป็นปัจจเวก จะเป็นเศษของมุมไหนก็ให้รู้ให้ละเอียดให้ได้ ถ้ามีเศษอันไหนอยู่ยังเป็นนิกันติหมด ทวนให้ได้ทั้ง 9 อันนี้ หมดอุปกิเลส 10 ผู้ใดทำหมดอุปกิเลส 10 นี้ จนกะทั่งรู้ถึงอุทธัจจะ อย่างที่อาตมาว่านี้ ฐานขึ้นมาปั๊บ อวิชชาก็ไม่มีกระอักแล้ว เหลือแต่วิชชาโผล่พรวดขึ้นมาเลย ใสสว่างโล่เป็นนิโรธมีแสง แหม อาตมาก็คงว่า พวกคุณก็คงไม่เคยได้ยินใครมาอุตริพูด นิโรธ มีแสงมันมีที่ไหนในโลก นิโรธดับอย่างสว่าง นิโรธมีแสงเลยมีวิชชาสว่างโล่ รู้ตัวรู้ตนวางทุกสิ่งอย่างเป็นอนัตตาธรรม เกิดดับเกิดดับไป โลกเอ๊ย กายนี้ จิตนี้ ขันธ์ 5 นี้ เอ็งเกิดเอ็งดับของเอ็งไป ฉันจะรู้ตามรู้เองทั้งหมด อันไหนที่มันจะปรุงขึ้นมาเป็นกุศล ฉันจะช่วยโลกปรุงให้แก่โลก อันไหนที่ปรุงขึ้นมาเป็นอกุศล อย่าทีเดียว อย่างนี้ไม่เอา 

ที่นี้กุศลกับอกุศลนี่ท่านจะปรุง พระอริยะท่านจะปรุงให้แก่คนอื่น ท่านก็จะมีสัจจานุโลมญาณ ลองย้อนเข้าหาโสฬสญาณดูบ้าง ไม่เคยพูดโสฬสญาณซักที วันนี้ลองดูบ้าง ตั้ง 16 ญาณ ที่จริง โสฬสญาน ไม่ใช่เรื่องพูด โสฬสญาณเป็นของละเอียดที่จะเกิดเองเป็นเองในนี้ ถ้าใครไม่มีสภาวะนะ เมายิ่งกว่า เอทานอล ไม่รู้เรื่องเลย ถ้าใครมีสภาวะพอจับบ้างแล้วก็พอรู้ เพราะอะไร เริ่มต้นตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ เอาแล้วเริ่มต้นมาแล้ว นามอะไรเอ่ย รูปอะไรเอ่ย ยังไม่รู้เลย เพราะฉะนั้น ต้องเรียนรู้มาตั้งแต่ รูปหยาบ ๆ นามหยาบ ๆ ไอ้รูปนั่ง รูปนอน รูปเดิน รูปยืน ไอ้รูปที่เป็นแบงค์ รูปที่เป็นลาภ รูปที่เป็นยศ รูปที่เป็นสรรเสริญ อะไรที่หยาบ ๆ ทั้งนั้น รูปที่เป็นกามคุณ  มาในเรื่องสี มาในเรื่องผิวพรรณ รูปที่มาในเรื่องของเสียงเข้ามาเข้าหู รูปที่มาในเรื่องของกลิ่น รูปที่มาในเรื่องของรส รูปที่มาในเรื่องสัมผัสส่วนไหนก็ตามแต่ รู้มันให้ได้หมดในรูปเหล่านั้น 

มันมาสัมผัสเราเมื่อใด  มันมีตัวสำคัญที่สุดคือ จิตตัวสำคัญคือนามนี่เข้าไปรู้ เมื่อรับเข้าก็ไม่รับเปล่านะปรุงเลย ทำงานเลย ทุกทีไป รู้ให้ทันอย่างนี้ แยกให้ออกว่า อ๋อ ไอ้นั่นอันนึงเรียกว่ารูป เป็นสิ่งหนึ่งที่จะมีเป็นตัวปัจจัย อีกอันนึง เป็นตัวเรานี่เองกิเลสใหญ่ เหตุเพราะอะไร เหตุเพราะใจของเรามันโง่มันมีแต่อวิชชามีแต่อวิชชา ไอ้รูปต่างๆ ข้างนอกมาแตะปั๊บ ไอ้อวิชชาตัวนี้ ทำสั่งจิตเข้าไปสั่งนามเข้าไปให้สังขารเลย สังขารเลย ตรงเข้างับเข้าให้ ทุกทีไปเลยไม่รู้เหตุรู้ปัจจัย พอแยกรูปแยกนามออกชัด ไอ้นี่มาหรือ อ๋อ ไอ้นี่สีแดงมาเหรอ ปัดโธ่ ไอ้รูปเป็นแบบนี่อย่านะอย่าไปปรุงกับมัน แยกรูปแยกนามให้ออก รู้ว่าไอ้รูปนั้นกับนามนี้นี่แหละ ถ้าไม่รู้แล้วมันจะเป็นเหตุเป็นปัจจัยซึ่งกันและกันเป็นนามรูปะ นามรูปปริคคหญาณ ปัจจยเป็นปัจจัย ปริคคหะ ยังมีการม้วน เป็นห่วง ปริคคหะ แปลว่าห่วง ยังจะห่วงหวงกันอยู่ ยังจะยึดถือกันอยู่ ปริคคหะ เป็นปัจจัยที่จะทำการห่วงหวงผูกพันเป็นลูกโซ่ พันกันอยู่ มันเป็นอย่างนี้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเราแยกรูปแยกนามออกรู้ โสฬสญาณ อันที่ 1 เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ ปริเฉท แปลว่าอะไร ปริเฉทแปลว่า ว่างลงให้ได้ แยกมันออกจากกันให้ได้ ทำความคั่น นามกับรูปให้ได้ นามรูปปริเฉทญาณ หั่นออก นามก็แยกเป็นอันนึงรูปก็แยกเป็นอันนึงให้ได้ เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ เห็นมันให้ได้ชัดๆ อย่างนั้น  แล้วรู้ให้ได้นะ อ่อไอ้อันนี้รูปมาแล้ว โท่งๆ มาเลยอะ จะทางหูก็ชั่ง จะทางเสียง เห็นขี้ เคยขี้ไปหลายวันลอยฟ่อง ๆ มาแล้ว เนี่ยรู้เลยรูปอย่า นามอย่านะ ใส่โซ่นามไว้เลยจิตของเรา อย่า เอ็งอย่ามาทำอะไรกับฉันไม่ได้ เข้าทางลิ้นเข้าทางจมูกเข้าทางกาย สัมผัสเสียดสีทุกประตูรู้มันได้ แยกรูปแยกนามชัดอย่างนี้แล้วรู้ให้ได้มันเป็นปัจจัย 

เพราะฉะนั้น นามรูปปริเฉทญาณแล้ว ก็ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ไม่ให้เกิด  ไม่ให้มาทำเป็นห่วงพัวพันไม่ให้มีการเกิดเป็นสังขารอยู่ในนี้ รู้จนกะทั่งมันเป็นปัจจัยอย่างนี้ รู้ให้ชัดก็ทะลุเป็นญานที่ 2 นามรูปปัจจยปริคคหญาณได้ พอแยกได้ชัดอย่างนี้แล้วจบ ก็ทำความเข้าใจสิ่งพวกนี้ให้ได้ รู้สิ่งที่มันเกิดอยู่เสมอๆๆ เป็นธรรมดาเรียกว่า สมะ เรียกว่าสมะ ทุกอย่างมันเป็นเสมอๆ มันเป็นเนืองๆ อยู่เสมอเรียกว่า สมะ และมันจะตายอยู่เสมอๆๆ เรียกว่า สนะ ถ้าผู้ใดเข้าใจแล้ว อ๋อ มันจะมีเสมอเกิดอยู่เสมอ และมันก็ตายอยู่เสมอเป็นธรรมดา ธรรมดา ธรรมดาอ่านว่าธรรมดา เเต่ถ้าคนอายุมากๆ หน่อยเคยเรียนหนังสืออ่านแต่ก่อนนี้แบบเรียนเร็ว อ่านธรรมดาอ่านว่าธรรมดา ถ้ารุ่นใหม่ไม่มีอ่านอย่างนี้แล้ว มันจะเกิดอยู่เป็นธรรมดา มี สมะ กับ สนะ

รู้ สัมมสนญาณให้ได้ เกิดญาน เกิดปัญญารู้ให้รู้สัมมสนญาณ  ตัวเกิด และตัวดับ ใครรู้ตัวเกิดและตัวดับแยกออกแค่นี้ก็เก่งแล้ว  รู้ญานที่ 3 จะเกิดอะไรก็เกิด สีแดงเกิดมาเดี๋ยวมันก็ไม่แดง  ไอ้รสหวานหอมเนี่ยเกิดมา เอ้อ เดี๋ยวมันก็ไม่เกิดมันก็ไม่หวานไม่หอม หรือเหม็น จริงๆ อะไรทุกอย่างเลย มันเกิดขึ้นมาประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน ประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน เกิดแล้วมันจะมีดับ “สมะ” เอ็งเกิดของเอ็งอยู่เสมอ เพราะว่าทุกอย่างในโลกมีแต่สังขารธรรม มีแต่การปรุงอยู่เสมอปรุงให้เกิด เกิดแล้วเอ็งก็ต้องดับ ไม่ต้องไปทำอะไรมันก็ดับของมัน ตามกาลตามเวลา ตามเหตุตามผลของมัน ตามเหตุตามปัจจัยของมัน ไม่มีใครไปทำกับมันมันก็ดับ ให้รู้เกิดรู้ดับอย่างนี้จึงเรียกว่ารู้ สัมมสนญาณ มีปัญญารู้รอบในเรื่องนี้ 

ผู้ใดรู้ สัมมสนญาณ แล้วก็พยายามรู้ให้มันละเอียดให้มันช้า ละเอียดยิ่งกว่านี้ รู้เกิดรู้ดับเรียกว่ายังไม่เก่งจริง ต้องรู้เกิดมาแล้วมันก็ยังทรงอยู่นะ แล้วมันก็ดับลง เกิดมาแล้วก็ทรงอยู่นะไอ้ตอนทรงอยู่นี่แหละ คนหลงมันเเยะ นึกว่ามันเป็นนิจจัง ไอ้ตรงทรงอยู่นี่ ถ้าคนเห็นเกิดปั๊บดับปั๊บ คนก็ไม่งงไม่หลง แต่คนมาหลงตรงที่มันเกิดปั๊บแล้วมันก็ตั้งอยู่ มันยังไม่เสื่อมไปทีเดียวมันค่อยๆ โตขึ้นนิดนึงแล้วมันก็ค่อยๆ เสื่อมก็ได้ หรือพอเกิดปั๊บแล้วก็ค่อยๆ เสื่อมลง แต่กว่าจะเสื่อมหมดสิ้นก็ยังมีสภาพอยู่ยังมีสภาวะอยู่ คนก็ไปหลงว่าไอ้นี่เป็นนิจจัง ก็ไปคว้าไว้ อย่าจากไปนะเอ็ง อย่าหลุดไปนะ อย่าให้หายไปนะ มันได้ที่ไหนในโลก ไปห้ามมันได้ที่ไหน ไม่มี มีอะไรบ้างลองหยิบมาให้อาตมาดูมีอะไรบ้าง ว่าพระอาทิตย์มีอายุยืนนานว่าไม่เสื่อมไม่ดับเหรอ ดับ พระอาทิตย์ก็ดับ อย่าว่าแต่อะไรในโลกนี้เลย โลกก็กำลังดับอยู่ อะไรก็ดับอยู่ทั้งนั้น รู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ให้ละเอียดลออยิ่งกว่า สัมมสนญาณ เรียกว่า อุทยัพพยญาณ เรียกว่าอุทยัพพยญาณรู้ให้ชัดอย่างนี้ 

พอรู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นไตรลักษณ์ชัดเจนอย่างนี้แล้วทีนี้ก็มาจับแยกเลย ไอ้นี่เกิดขึ้น ไอ้นี่ตั้งอยู่ ไอ้นี่ดับไป 3 ส่วนแยกออกมาเลย แยกออกมาเป็นส่วนๆ เลย ดูให้เห็นชัดๆ เลยทีเดียวว่า อ๋อ ไอ้โลกนี้มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มันไม่มีของจริงเลยนี่ ไอ้เกิดนี่แล้ว เอ็งก็ยังเดินติดต่อกันอยู่เป็นธรรมดา ประเดี๋ยวเองตั้งไว้เองก็ดับลงไปเป็นธรรมดา มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มีแต่ความไม่ได้เข้าท่าอย่างนี้เองนี่ เห็นมันให้ได้ว่ามันเป็นภัยอย่างนั้น มันไม่มีอะไรเลยถ้าเราไปยึดมั่น ถือมั่น มันไปหลงเข้าใจผิดว่า เอ็งต้องอยู่มั่น ๆ นะ เอ็งต้องนิจจังนะ เอ็งเที่ยงนะ เอ็งอย่าไปหายไม่ได้นะ  ถ้าใครไปหลงอย่างนี้เป็นภัยอย่างยิ่ง เป็นความน่ากลัวอย่างยิ่ง เป็นความน่าเศร้าใจอย่างยิ่ง 

พระอรหันต์ทั้งหลาย ท่านจะเอาคำว่า สงสารมาให้ ท่านจะบอกว่า แหม มันน่าสงสารจริง ไปหลงในภัยอันนี้ มีความรู้ในภัยเหล่านี้เรียกว่า “ภยญาณ” เรียกว่า ภยญาณ เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดรู้ในความน่ากลัว แบบนี้ รู้ในสิ่งที่มันยึดไม่ได้ เอาไม่จริงได้แบบนี้ คนนั้นก็มีจิตมีปัญญาที่สูงละเอียดขึ้นไปอีก ก็จะเกิดการเห็นแต่ว่าโลกนี้นั้น จะมีแต่ความดับสลายเป็นที่สุด ทุกอัน ไม่มีอะไรเลยที่มันจะไปยึดเอาไว้ได้ จะเห็นอย่างชัดอย่างแจ้ง ไม่ได้เห็นอย่างที่ปากอาตมาพูด คุณเห็นในญาณในปัญญาของคุณ คุณเห็นว่าคุณเองนี่ อาตมาจะเล่าประกอบยกตัวอย่าง 

แต่ก่อนนี้อาตมาทำงานเงินเดือนไม่กี่ตังค์รายได้ไม่กี่บาท อาตมาก็พยายามสร้างให้มันเกิดขึ้น จาก1000 เป็น 2,000 จาก 2,000 เป็น 3,000 จาก 3,000 เป็น 4,000 ให้มันได้เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น โดยความหวังตั้งใจอยู่ว่า ขอให้รายได้ของเรานี้จงตั้งอยู่ จงตั้งอยู่มั่นคงอยู่ พอบางเดือนมันไม่ได้ 4,000 มันไม่ได้ 5,000 ชักหน้าหงิก พอมันลดลงมามากอีก ก็พยายามใหม่ให้ได้ 5,000 ยืนทรงอยู่ให้ได้ ยิ่งได้ 6,000 แหม เก่งภาคภูมิ เอาให้มันทรงที่  6,000  พอมันลดจาก 6,000 มา หน้าหงิกอีก ไม่ได้ ต้องสู้อีก ให้ได้ 7,000...8,000…10,000 ถ้าคุณยิ่งขยันหมั่นเพียร ยิ่งทำให้คุณเห่อเหิม พากเพียรและขยัน

ได้แล้วอยากให้มันตั้งอยู่ แต่มันไม่ตั้ง บางทีมันก็ลด แล้วมันก็ลด บางทีมันก็ตั้งอยู่ ตั้งอยู่แล้วมันก็ลด ไม่เที่ยงสักทีแต่เราไม่เข็ดสักที กระหน่ำตัวเองเข้าเหมือนเฆี่ยนด้วยแส้ เอาเข้าไป ลดไม่ได้นะ เสียหายนะเรา เราเสียหายก็เฆี่ยนเข้าไป พากเพียรเข้าไป ทำอย่างนี้ทุกทีโดยไม่เคยเห็นภัย ไม่เคยเห็นว่า ไม่แน่หรอกเอ็งได้เดือนละล้านเอ็งก็ยังจะไม่ได้เลย สักวันหนึ่ง เอ็งก็จะไม่มีรายได้เลยซักวันนึง  อย่าว่าเอ็งแต่รักษามั่นไว้เลย เอ็งจะมีรายได้เดือนละล้าน เอ็งก็ไม่เหลือสักวัน เอ็งจะไม่มีรายได้เลยสักแดงเดียวในเดือนนึงเลย อาจจะเคยตอนนี้เคยได้เดือนละล้านแต่อีกหน่อยแกก็ไม่ได้ 

ไม่มีความเข้าใจเลยในตอนนั้น สมัยนั้น ก่อนนั้น ที่อาตมายังทำงานอยู่ หรือพวกคุณเองก็คิดเอาเอง เหมือนกัน ไม่ได้หวาดระแวงเลย ไม่เคยเห็นภัย แต่แท้จริงแล้ว มันมีแต่จะเดินทางไปหาความสูญ มีแต่ ภังคะ มีแต่หมดสิ้น มีแต่จะเดินไปหาความไม่มีอะไร ต่อให้คุณได้รายได้เดือนละแสน เดือนละหมื่น เดือนละล้านอะไรก็ตามแต่ คุณจะเหลือแต่สุดท้ายคุณจะสูญ ถ้าใครเห็นแจ้งอย่างนี้เป็น ภังคาญาณ นะ อ๋อ สุดท้ายมันจะมีแต่สูญอย่างนี้เหรอ เอ้ย อย่างงั้นเราสูญเองดีกว่า ไม่ต้องให้ใครมาทำลายดีกว่า เอาไปเลยเดือนนึงล้านนึงไม่เอาแล้ว อยู่เฉยๆ ดีกว่าไม่ต้องมีอะไร เดือนนึงอยู่สูญก่อน รู้เท่ารู้ทันมันอย่างนี้ปั๊บ คุณเอ๋ยจะเกิด    อาทีนวญาณ เบื่อหน่ายการมานั่งเฆี่ยนแส้ตัวเอง เฆี่ยนเข้า เฆี่ยนเข้าทำ เบื่อจริง ๆ  อาทีนวาญาณ จะเกิดเลย เห็นโทษของมัน อาทีนวะ เห็นโทษของมัน บอกปัดโธ่ เฆี่ยนเข้าไปฟาดลงเข้าไป หวังจะตั้งใจจะให้มันตั้งอยู่ ไม่มีที่สุดมันมีแต่ ภังคะ มันมีแต่จะชิบหาย มีแต่สูญสูญสูญ เดินไปเข้าหาความแตกดับสูญ ไม่มีอะไรจริงภังคะ และเห็นโทษมันอย่างนี้เเหล่ะ  เรียกว่าเห็นโทษมันจริงใครมี อาทีนวานุปัสสนาญาณ คนนั้นก็มี นิพพิทาญาณ ...​เบื่อ 

เรามาหลงเฆี่ยนตัวเองเพื่อเหตุแห่งดิ้นอยู่กับโลกเท่าแค่นี้เองแหล่ะหรือ แค่นี้หรือ ชีวิตมันดิ้นอยู่กับโลกแค่นี้เหรอ มันเฆี่ยนตัวเองไปแข่งกับโลกเขาแค่นี้เหรอ แล้วเราแข่งไปแล้วเสร็จก็ไปหา ภังคะ เข้าไปหาศูนย์อยู่อย่างเก่าดับสูญสิ้นไม่มีคงทนไม่มีอยู่ได้เหมือนเก่า ใครเห็นแล้วก็เกิดเบื่อจริงๆ พอเห็นโทษก็นิพพิทาญาณ เบื่อ เบื่อจริงๆ เบื่อ  พอเบื่อแล้วก็เป็นไง มุญจิตุกัมยตาญาณ ...เกิดเลย

เอ้าเปลื้องออกไป

ใครจะเอาเชิญ เชิญ ใครจะเอาอะไรเชิญ อาตมาเริ่มเเจกเลยเอ้างานนี้คนนี้จะเอา เอาไปเลย เอ้างานนี้เอาไปเลย รายได้เท่านั้นเท่านี้เอาไปเลยไม่ว่าเอาไปเลย หัดตัวเองน้อยลงกินให้น้อยลงอยู่ให้น้อยลง ดูซิว่าขันธ์ 5 นี้มันเลี้ยงมันไว้ด้วยได้เท่าไหร่ อาหารกี่กรัม อาหารวันหนึ่งกี่บาทลองเลี้ยงมันดูซิ เครื่องนุ่งห่มใช้น้อยๆลง น้อยๆๆน้อยลงคือน้อยที่สุดเท่ารายได้หัดน้อยลงๆ ของเรา งานการเราก็ทำอยู่ตามธรรมดาเท่าที่แรงเรามี ตอน อาตมายังเป็นฆราวาสอยู่ก็ทำ และอาตมาก็หัดน้อยลงๆ มีก็แจกออกไปเปลื้องออก มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้งออก เปลื้องออกไปจริงๆ ไม่ได้พูดเล่นเลย ไม่ใช่บอกตอนนี้ฉันเกิด มุญจิตุกัมยตาญาณแล้วนะ เปลื้องออกแล้วน่ะแต่เอามาสิ เปลื้องออกมาแล้วไปเอามาสิ มันจะเป็นเปลื้องอะไรอย่างนั้น เปลื้องมันต้องเปลื้องจริงๆ เปลื้องทั้งกามราคะ เปลื้องทั้งสักกายะ อันต้น แล้วก็ค่อยมาเปลื้องจิต รูปราคะ ความยึดมั่นถือมั่นความรู้ความใหญ่เป็นอุปกิเลสที่อธิบายไปแล้ว ค่อยมาเปลื้องอันนี้ เปลื้องออกไปสิอันนี้สิ มีของโตๆ ใหญ่ๆ เป็นวัตถุ สมบัติ เป็นญาติติโกโยติกา ลูกเขาเมียเราพ่อแม่เรา ญาติแฟนเราไม่เคย ไม่เคยเปลื้องออกสักอย่างเลย แล้วจะบอกว่าฉันได้ญาณ 9 แล้ว 

มุญจิตุกัมยตาญาณ 

ฟังเอานะนี่พูดตอนนี้ อาตมาไม่อยากจะกล่าวกับใครว่าตอนนี้ใครบอกว่าได้ มุญจิตุกัมยตาญาณ ท่านบอกว่า ได้ญาณนี้แล้ว แต่ไม่เห็นเปลื้องนี่ ฉันจะมีโต๊ะหมู่บูชาไว้มุมโน้น เอาพัดลมมาไว้ตรงนี้ อาสนะใหญ่ก็ไว้มุมนี้ Air condition ติดเลย นี่เหรอ นี่หรือมุญจิตุกัมยตาญาณ ไม่ใช่หยาบด้วยนะ ฉันแค่กายอันใหญ่กับกามอันโตด้วยนะ ไมใช่ขั้นรูปจิต อรูปจิตนะ ขั้นหยาบนะไม่ใช่ขั้นกายกับจิตนะ อธิบายให้ชัด 

เพราะฉะนั้นใครจะมีญานอันนี้จริง มันเป็นจริงสลัดออกจริงเปลื้อง        มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้องออกไม่เอา ค่อยๆ ผ่อนคลาย ลดๆๆ ลงจริงๆ ผู้ใดผ่อนลงได้ขนาดใด ขนาดใด ผู้นั้นทำได้ของตนเองอย่างแท้จริง พิจารณา มีการ ปฏิสังขาญาณ พิจารณา เราจะเหลือไว้แค่ใดเราจะออกไว้แค่ใดเปลื้องออกไปแค่ใด เอ้าเปลื้องได้แค่นี้เอาเปลื้อง พิจารณาทีเดียว ปฏิสังขาร หมายความว่าพิจารณา พิจารณาเหลือแค่นี้ก่อน ตอนนี้ยังมีฐานะยังไม่สูญแท้ เปลื้องออกได้แล้ว แล้วก็มักน้อยลง แล้วก็หัดเปลื้องออกอีก เปลื้องไป ปฏิสังขาญาณ เกิดรู้จักพิจารณาในการเปลื้องออกเริ่มออกทำออกไปเรื่อยๆ 

ผู้ใดทำได้เป็นจิตบริสุทธิ์ เมื่อพิจารณาเสร็จแล้วจัดการอันนี้ออกไป เป็นอิสระได้แล้วออกไป เป็นวัตถุ เป็นยศ เป็นเกียรติ เป็นกามคุณเอาออกไป ยกให้ ทำจนกระทั่งทางกายทำซะก่อน เปลื้องไปทางกายก่อน พิจารณาแล้วอันนี้ควรเปลื้องก็เปลื้อง ตั้งสมาทานศีลขึ้นมา ฉันจะเลิกสิ่งนี้แล้วฉันจะไม่เอาสิ่งนี้แล้วเราก็เปลื้องออกไป แม้ใจมันจะรอนๆ อยู่ ก็เปลื้องมันซะก่อน เพราะเราพิจารณาแล้วอันนี้    ปฏิสังขาร มีการพิจารณาถูกต้องแล้วพอเปลื้องแล้วเสร็จ 

กระทั่งจิตใจของคุณเข้าใจจิตของคุณเป็นอุเบกขา ไม่มีการสังขารไม่มีการปรุงสะเทือนไหว หวาบหวิว ให้เขาไปก็ยังเสียดายอยู่นะให้เขาไปก็ยังโหยหาอยู่นะไม่มี จนกระทั่งเกิด สังขารุเปกขาญาณ เห็นชัดแจ้งจริงว่าไม่มี อุเบกขาเฉยอยู่ในสังขารเหล่าานั้น ให้เขาไปก็ให้เฉยๆ เป็นสังขารธรรมดา เราเองไม่มีจิตสังขาร ไม่มีปรุง จิตเป็นอุเบกขา นี่ก็เป็น สังขารุเปกขาญาณ มีปัญญารู้เท่าทันในสังขารโลกและจิตสังขาร การกระทำของเราให้เขาไปนี้เป็นสังขารโลก เป็นการกระทำอย่างโลกๆ แต่จิตของเรา เฉย อุเบกขา ว่าง ไม่วาบไหว ไม่กระเทือน ไม่รู้สึกเดือดร้อนจึงเรียกว่า สังขารุเปกขาญาณ สังขาร+อุเบกขา เกิด สังขารุเปกขาญาณ อย่างแท้จริง 

ผู้ใดเกิด สังขารุเปกขาญาณ จะมีปัญญาญาณมาก จะทำอะไรต่ออะไรก็ทำได้ตามสบายเลย ทำอย่างอนุโลม ปฏิโลม ทวนไปทวนมาทำตั้งแต่โน่นแหละ นามรูปปริเฉทญาณ ทวนไปทวนมา มีอนุโลมปฏิโลมมากมาย และรู้สัจจะ รู้อริยสัจ รู้สัจจะทุกตัว อันนี้เป็นของที่เป็นทุกข์อยู่หนอ เป็นสมุทัยอยู่หนอ เอ้าดับมันเสีย หาทางดับมันเสีย รู้อย่างแท้จริงแล้วก็ทำไปตามควรเสมอ ถูกต้องโดยแท้จริงคนนี้ ก็มี สัจจานุโลมญาณ มีการอนุโลม ปฏิโลมอย่างเป็นสัจจะถูกต้องอย่างแท้จริง 

คนนี้เท่านี้คนนี้จะมาปรุงแต่งเรื่องอะไรกับเราเราก็อนุโลมได้ ของๆ เราที่จะเอาออกเราก็อนุโลมปฏิโลมได้ เรียกว่า สัจจานุโลมมิกญาณ

ผู้ใดทำแบบนี้ได้ก็ตัดโคตรของความเป็นคนออกไปได้ ทำได้นิดนึงก็ตัดโคตรรออกไปได้เรื่อยๆ ทำได้จริงจากเด็ดขาดตัดโคตร เรียกว่า โคตรภูญาณ สบายมากแล้วเราไม่ต้องเกี่ยวข้องกับอันนี้ ไม่ต้องเกี่ยวข้องเลยเงินเดือนเดือนละหมื่นเฉย ตัด ส บ ม สบายมาก กินข้าววันละ 3 ครั้ง กินข้าววันละจาน ไม่ได้กินเนื้อสัตว์อะไร เอาไปยศศักดิ์ฐานะ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข กามคุณ เอาไป แต่ละระดับแต่ละระดับ คุณตัดโคตรอย่างนี้ออกไปได้เรื่อยๆ บริสุทธิ์ขึ้นๆ ถ้าตัดโคตรชั้นหยาบได้ เขาเรียกว่าตัด โคตรภู ถ้าตัดโคตรชั้นสูงท่านเรียกว่าตัดโวทาน โวทานแปลว่าขาว คือบริสุทธิ์ขึ้นๆ โคตรภู ถ้าเรียกว่าชั้นต้น ถ้าตัดโคตรชั้นสูงเรียกว่าเดินทางตัดโคตรเข้าไปหาความบริสุทธิ์ เรียกว่าเข้าหาความบริสุทธิ์ผ่องใส

ใครตัด โคตรภู ได้จริงๆ คนนั้นก็บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ ไม่เห็นมีอะไร บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ อย่างแท้จริงเลย เผลอๆ พูดถึงมรรคผลแล้ว เสร็จแล้วก็ทวน ทวนดู ทวนดูอันนี้มันหลงหรือเปล่า จริงหรือเปล่า ที่เราทำนี้มันจริงหรือเปล่า จิตเราก็หมดสิ้นหรือเปล่า เป็นมรรคเป็นผลอันแท้จริงหรือเปล่า สว่างไสวชัดหรือเปล่า ไม่ใช่ดำๆ มืดๆ อะไรเป็นอะไรก็ไม่รู้ อาการอย่างนั้นเป็นอย่างนี้แล้ว ประมาณเอาก็ไม่ใช่ เปล่าอันนี้เห็นเลยว่าอันนี้คือกามเป็นสักกายะ อันนี้เป็นรูปราคะ อรูปราคะอันนี้เป็นมานะ รู้เป็นก้อนๆ แท่งๆ รู้เป็นความชัดๆ เลย ตอนนี้ก็ ปัจจเวกขณ์ เลย ทวนมาตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ สัมมสนญาณ  อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ภังคานุปัสสนาญาณ ภยตูปัฏฐานญาณ อาทีนวานุปัสสนาญาณ นิพพิทานุปัสสนาญสณ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ สังขารุเปกขาญาณ สัจจานุโลมิกญาณ โคตรภูญาณ 

มัคคญาณ ผลญาณ …ปัจจเวกขณญาณแล้ว ถึง 16 รอบ..เราตัดจริง บริสุทธิ์จริง มันไม่เห็นมีอะไร อวิชชาอยู่ที่ไหน…อวิชชาอยู่ที่ไหน? 

โยมว่า...แล้วนิพพานอยู่ที่ไหน

พ่อครูว่า... ที่คุณถามมานั้นคือ เพราะมันไม่รู้แจ้งตั้งแต่นามรูปมาตั้งแต่ต้นพอมันไม่รู้ว่าอันนี้คือ นามรูป กิเลสตัณหา กิเลสตัณหาก็เป็นตัวตนที่ประกอบด้วยนามรูป ไอ้ดอกไม้สวยๆ ที่เขากำลังถือมานี่ คุณแยกรูปแยกนามมันออกไหม แยกออกไหม ดอกไม้ที่เขาถือสวยๆ มานี้แยกออกไหม ถ้าแยกออก แล้วเรารู้ทันว่าไอ้นี่เเหล่ะตัวสำคัญ มาเป็นปัจจัยที่ทำให้เราไปยุ่งกับมันนะ รู้ทัน ก็รู้ถึง นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ล่ะ พอรู้ทันก็ใส่โซ่ตรวนใจเรารู้ทันนะเอ็งอย่าไปเกี่ยวกับมันนะเองเฉยๆ นะ มันดิ้นเท่าไหร่ก็เฆี่ยนมันไว้อย่านะ ได้ทำอย่างนี้หรือเปล่า  ไม่เลย หลับตา หลับตาก็ไม่เห็นดอกไม้สิ ถ้าลืมตาเห็นดอกไม้งามจริงหรอคว้าไป มันจะเป็น นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ได้อย่างไร มันก็ปรุงเข้าให้เท่านั้นเอง ก็ไม่เห็น สัมมสนญาณก็ไม่เกิด อุทยัพพยานุปัสสนาญาณก็ไม่เกิด ญานอันไหนก็ไม่เกิดเพราะชั้นต้นแค่นามรูปก็ไม่เห็นแล้วมันก็มีปัจจัยอะไร นามรูป ปัจจยปริคคหญาณ ก็ไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ทำไม่ได้ 

โยมว่า... เอาตำรามาพูดเฉยๆ 

พ่อครูว่า... จะมาพูดนี้เอาภาษาที่เขาว่าตามตำรา แล้วอาตมาพยายามอธิบายด้วยสำนวนของอาตมาที่จะให้คุณเข้าใจถึงเนื้อแท้ๆ ของมันเลย พอเข้าใจไหมเมื่อกี้นี้อาตมาพูดซะเหนื่อยเลยเมื่อกี้นี้ ถึงญาณ 16 ตั้งแต่ต้นเลยถึง 16 เลย 

โยม… ยังไม่รู้ในนี้ 

พ่อครูว่า... ก็แสดงว่าเรารู้แต่นอกเรารู้แต่บัญญัติของญาณ 16 ถ้าเรารู้เนื้อหาสาระของมัน มันเกิด อาตมาถึงบอกตั้งแต่ต้นแล้วว่าที่จริงโสฬสญาณมาพูดไม่ใช่เรื่องธรรมดา ถ้าใครมีสภาวะจริงๆ แล้วนะไม่ต้องเอาชื่อไปตั้งให้มันหรอก   ให้มันเกิดเองเป็นมรรคเป็นผลเอง ไม่ต้องไปตั้งชื่อให้มัน แต่ในไหนๆ ท่านก็ตั้งชื่อให้มันแล้ว อาตมาก็อธิบายบ้างเท่านั้นแหละ อาตมาไม่ได้ขยันอธิบายหรอกไม่ได้อยากอธิบายท่านเลยหรอก เพราะมันเป็นเรื่องลึกซึ้ง อาตมาบอกแต่ต้นแล้วไง ใครที่มีแล้ว ฟังไปอย่างเมาเอทานอลอย่างที่ว่า 

อาตมาบอกแต่ต้นมันไม่รู้เรื่องหรอกมันมีแต่ภาษานั่นแหละ ถ้าใครมีสภาวะรับแล้วนะบอกว่าจะ มันจะมีอย่างนี้เองมันจะเกิดเองอย่างนี้เอง เราก็โยนทิ้งอย่างนี้จริงๆ อย่างที่อาตมายกตัวอย่างอาตมาเปรียบเทียบให้ฟังนี่ มันเป็นไปตามจังหวะเป็นไปตามระยะจริงๆ แล้วทำอย่างไม่ได้เสแสร้ง ไม่ได้แกล้ง โลภะ มันไม่เอามันไม่มีโลภะ มันไม่ได้อยากได้เอาไว้ไม่ได้อยากยึดเอาไว้ ใครจะเอาไปก็ไม่โกรธ แล้วโทสะมันจะมีจากไหน เอาไปเลย ขนาดเขามาปล้นเรายังให้เลย 

อย่าว่าแต่ให้เขาเฉยๆ เฉยๆ ไม่มี ไม่มีการหวงไม่มีการยึด มันจึงจะมีการคลายการหน่ายการวาง การละ อันแท้จริงแล้วมันก็จบลง สู่ มรรคผลอันแท้จริง นอกจากจบมรรคผลอย่างที่ว่าแล้วเข้าใจด้วยปัญญาอย่างที่เราคิดว่าทำอันนี้ถูกทางไหม ท่านยังให้ปัจจเวกขณ์ อีกเที่ยวเลย เป็น ปัจจเวกขณญาณ ให้มีปัญญารู้ทบทวนว่ามันจริงไหมถ้าจริงปั๊บมันก็อ๋อ อวิชชาที่เราทำในเรื่องนี้ทุกเหลี่ยม ทุกมุมมันก็ลดลงไปตามส่วน ใครวางกี่อันใครหน่ายกี่อันใครรับไปกี่อัน ใครคลายกี่อันแล้วล่ะ มันก็อันนั้นแหละอะไรติดอยู่บ้างล่ะ 

ถ้าอะไรที่ติดอยู่ มันก็อันนั้นมันก็ไม่พ้นอวิชชา ถ้าอันไหนที่ไม่ติดแล้วเลิกแล้วโดยจริง มันก็พ้นอวิชชานั้นจริงๆ ไม่ใช่ภาษาพูดหรอก มันเป็นสูตร สูตรหนึ่ง ที่พูดอธิบายเอาไว้เฉยๆ เท่านั้นเอง ให้รู้ แต่โดยแท้จริงแล้วถ้าทำได้ถึงจิตแล้วไม่ต้องอธิบายไม่ต้องอธิบาย ไม่ต้องเอาภาษามาพูดเลย สภาวะมันจะต่อกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเราจบถึงอุทธัจจะ ปรุงขึ้นมานิดนึงก็รู้จิต

 พระอรหันต์เจ้าจะมีชีวิตอยู่ด้วย อุทธัจจะกับวิชชา เขียนให้ชัดๆ เมื่อเวลาจบแล้วท่านมีรูปนามอยู่คู่หนึ่งที่ยังอยู่ เป็นขันธ์ 5 คือ จิตของท่านที่ฟุ้งขึ้นมาเป็นอุทธัจจะ นั้นเป็นรูป และมีวิชชา คือ ความรู้อันเยี่ยมยอดที่จะคุมอุทธัจจะ อันนี้เอาไว้ให้มันไปตามทิศทาง ทำรูปอันนี้ให้มันเป็นกุศลทั้งหมดเลย ให้เป็นสิ่งที่เกื้อกูล 

ท่านมีรูปกับนาม 2 อย่างนี้แค่นั้นที่อาศัยอยู่ จนกว่าขันธ์ 5 นี้จะดับสูญสลายเป็น อนุปาทิเสสนิพพาน ท่านเหลือแค่นี้ นอกนั้นบ้อ แล้ว หมด ไม่มีมานะ ก็ไม่มี อรูปราคะ รูปราคะ ไม่มีทั้งนั้น ปฏิฆะ กามราคะ สักกายทิฏฐิ ไม่มี ถ้าเหลือแต่จิตที่มันปรุงขึ้นมาทำงาน แล้วทำงานอะไร วิชชาสั่งทั้งนั้น วิชชาสั่งทั้งนั้น ไม่มีทำงานโดยไม่สั่ง 

พุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย จึงทำงานด้วยวิชชาสั่งทุกตัว ในฐานะที่ยังเป็นผู้ที่ได้ สอุปาทิเสสนิพพาน หมายความว่า นิพพานอย่างที่เรียกว่าอย่างไม่ตาย ยังมีขันธ์ 5 อยู่ยังไม่ตายไป ท่านจะมีอย่างนี้อยู่มีนามรูปอันนี้อยู่ นี่อาตมาเรียกว่านามรูปนะ ไม่ใช่นามรูปอย่างโลกๆ นะ นามรูปของพระอรหันต์ นี่เป็นภาษานะ ที่จริงพระอรหันต์แล้วไม่มีนามรูปอะไรอีก แต่นำรูปที่ตั้งนั้นเป็นนามรูปแบบโลกๆ แต่ก็มีนามรูปเป็นโลกุตระอย่างนี้ ใช้ภาษาไปเรียกอย่างนี้ ท่านมีเท่านี้ มีเท่านี้ 

เพราะฉะนั้นถึงมีธาตุรู้อย่างสว่างไสว รวมแล้วก็เป็นวิญญาณ อุทธัจจะกับวิชชาเป็นวิญญาณ มีนามรูปที่อยู่อย่างสว่างไสว อุทธัจจะเจตสิกมันจะทำงานของมันตามบทบาทของมัน เจตสิกที่ฟุ้งขึ้นมานิดนึงท่านก็สั่งแล้ว เฮ้ย ไปทำงานดีๆ ทำงานอย่างโน้นนะ พิจารณาเสร็จมันไม่ดีก็อยู่เฉยๆ ถ้าดีก็ทำ ถ้าจะทำทำดีทุกอย่างท่านถึงเรียกว่า ท่านมีสัจจานุโลมิกญาณ อนุโลมให้ทำทุกอย่างทำดีทั้งนั้น และโอกาสกาลอันควร ทำกับหมู่นี้ขนาดนี้ถือว่าดี ทำกับหมู่ที่สูงกว่านี้ไอ้จิตที่ต่ำกว่านี้ก็เรียกว่า ไม่ดีแล้วทุกสิ่งทุกอย่างดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติทั้งนั้นดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติตามโลกจึงเรียกว่า สมมุติสัจจะ สมมุติเป็นความจริงเหมือนกันเป็นความจริงที่สมมุติ สมมุติตามโลกตามระดับตามกาลเทศะและมันเกิดอย่างนี้ในโลกมันมีอะไรดับหรอก จนกว่าเราเองเราจะดับไป ก็เลิกกัน คนอื่นจะยังไงก็เชิญ พระอรหันต์องค์อื่นจะเกิดต่อก็ทำต่อ 

เราจะดับอวิชชาด้วยวิธีก็อธิบายมาแล้วทั้งหมด อาตมาไม่รู้จะทำยังไง ทำยังไง ก็ที่อธิบายมาทั้งหมดคือ วิธีดับอวิชชาจะเหลือเป็นวิชชา ดับอวิชชาแล้วกลายเป็นวิชชาแล้วก็มีชีวิตอยู่แค่นี้ 

ชัดเลยว่า กายกับจิตมันก็ คือไอ้แค่นั้นแหละไอ้สมบัติสิ่งหนึ่งที่มันเกิดมาในโลก ถ้าหลงก็ไปทรมานชีวิตอยู่กับโลก ไปเฆี่ยนตัวเองต้องให้สู้กับโลก ไปเกาะไอ้นั่นไม่รู้ไอ้นี่เป็นกาม ไอ้นี่เป็นกายไอ้นี่เป็นรูป ไอ้นี่เป็นอรูป อะไรไม่รู้ทั้งนั้น มันก็ไปเพ้อพบอยู่ไหนก็ไม่รู้ พอรู้ชัดในที่นี้หมดแล้วมันก็หยุดหมด จึงไม่สร้างสิ่งเหล่านี้ให้แก่ตน 

อรรถะ ที่จะเป็นการพูดเป็นภาษา หรือ บรรยายกันเป็นเพียงแต่ปริยัติ เป็นสิ่งที่จะพึงรับเอาไปได้ไปฟัง ในขณะฟังนั้นเราก็มีความตั้งใจให้ดี ตามฟังธรรม พระพุทธเจ้าท่านก็สอนเสมอต้องพยายามฟังธรรมด้วยดี ตามฟังธรรมด้วยดีต้องฟังอย่างไร การฟังธรรมด้วยดีก็คือ เราต้องมีโยนิโสมนสิการหนึ่ง  สองนอกจากมีโยนิโสมนสิการ คือตั้งอกตั้งใจฟังให้ดีแล้ว เราจะต้องทำจิตให้เป็นกลาง ทำจิตให้เป็นกลาง อย่าเพิ่งไปคิดค้านอย่าเพิ่งไปคิดเห็นดี ทั้งไม่ค้านทั้งไม่เห็นดี แต่ให้เราใช้ปัญญาที่จะมีธรรมวิจัย หรือวิจัย วิจารไปพลางในขณะที่ฟังไปนั้น นอกนั้นมันจะดีหรือมันจะไม่ดีมันจะปรากฏผลบอกเรา ในสิ่งที่เราเดินเครื่องเพื่อที่จะทำธรรมวิจัยหรือแยกแยะทำมันนั้นอยู่ในจิตของเราเสมอ 

ถ้าเราไปคิดเสียว่า เราจะน้อมตามเสียทีเดียว หรือว่าเห็นขัดเสียทีเดียว มันก็จะกลายเป็นว่าเราไปตั้งจิตเพื่อ  1.เอนพร้อมจะตามไปง่ายทีเดียวก็ไม่ดี 2. จะไปขัดทีเดียวมันก็ดี เพราะฉะนั้นเราทำจะให้เป็นกลางจึงจะดี แล้วก็ฟังไปด้วยปัญญาใช้ปัญญาตรองไป คล้ายๆ ค่อยๆ พิจารณา พร้อมๆ กันไปเรื่อยๆ ตั้งจิตให้ถูก 

ชื่อเรื่องในวันนี้ตั้งเอาไว้ก็ดีมาก เพราะเป็นชื่อเรื่องที่ จะอธิบายกันได้ ละเอียดลึกซึ้ง ทั้งเป็นประโยชน์พร้อมที่เราจะเอาไปประพฤติปฏิบัติด้วย เห็นอย่างไร ที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรม น่าฟัง น่าฟังทีเดียว เห็นอย่างไร คือสิ่งที่จะต้องอธิบายคำว่าเห็นอย่างไร เนื้อความจริงๆ อยู่ที่ว่า ที่ว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

เพราะฉะนั้นก็เราก็มาจำเพาะเจาะจงลงไปถึงสิ่งที่ได้จำกัดลงไปแล้วว่าเราจะอธิบายกันสิว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

คำว่า มีดวงตาเห็นธรรมก็เป็นภาษา หรือเป็นสำนวนที่เราใช้เรียกกัน ใช้พูดกัน สำหรับ จะบอกแก่ผู้ที่เกิดธรรมะนั้นในจิตเรา ใช้สำนวนในภาษาไทยว่า มี

ดวงตาเห็นธรรม หมายความว่า เกิดธรรมะนั้นในดวงจิต ไม่ใช่ดวงตาโทโร่ ที่มองอยู่ 2 ข้างนี้ ที่เราลืมโพรงโพรงอยู่นี้ไม่ใช่ อันนี้ต้องมา เรียกว่าต้องมาทำความเข้าใจกันให้มากเสียก่อนว่า คำว่าดวงตาเห็นธรรมนี้ และคำว่าเห็นธรรมนี้ ไม่ได้หมายความว่า กายรูปนอก แต่หมายความว่าข้างในดวงตา และเห็นเป็นรูปเป็นนาม คำว่าดวงตาหมายความว่า “รูป” คำว่าเห็นหมายความว่า “นาม” 

รูปนามอันนี้เป็นสภาพของจิต ดวงตาเป็นรูป เห็นเป็นนาม เมื่อผู้ใด         เกิดมีดวงตา เรียกว่า ผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ เมื่อใดผู้นั้นมีดวงตา เรียกว่าผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณนี้ก็ไม่ได้หมายความว่า ตาเท่านั้นด้วย คำว่าจักขุ แปลว่า ตา แต่ไม่ได้หมายความว่าตา แต่หมายความ  เป็นวิญญาณเลยทีเดียวนะ ฟังให้ดี 

คำว่า จักขุวิญญาณนี้ อาตมากำลังแปลว่าดวงตา กำลังหมายความว่าดวงตา เพราะงั้นคำว่าดวงตานี้ อาตมาก็อธิบายลึกไปแล้ว ถ้าไอ้ลูกกลมๆ โท่โร่นี้เราเรียกว่าดวงตา หรือภาษาเราเรียกง่ายๆ เข้าใจอย่างภาษาโลก ต่อจากภาษาโลกที่ลึกเข้าไปอีกนั้น ดวงตาไม่ใช่ดวงตากลมๆ โทโร่นี้ แต่มันลึกเข้าไปถึงข้างในเรียกว่าจักขุวิญญาณ คือเป็นสภาพการรับรู้ การรับซับซาบเห็นได้ในจิต เรียกว่าจักขุวิญญาณ 

ที่นี้ จักขุวิญญาณไปเห็นสภาพ คำว่า เห็น คำนั้น สภาพคำว่าเห็นคำนััน เราเรียกว่า รูปารมณ์ เอากันง่ายๆ ก่อน รูปารมณ์ แต่คำว่าเห็น คำนี้เราจะจำกัดแค่ว่า รูปารมณ์เท่านั้น มันก็เข้าใจได้จุดหนึ่ง จุดเดียว จุดหนึ่งจุดเดียว ถ้าเราจะต่อไปอีกจากคำว่ามีดวงตาเห็นธรรม คำว่า ธรรม นั้นแน่นอนที่สุดไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องเห็นแต่เฉพาะดวงตา เราไม่จำเป็นจะเห็นแต่เฉพาะรูปารมณ์ แต่เราจะรับความเห็นได้หมดทุกวิญญาณ วิญญาณมีถึง 6 วิญญาณ 

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธรรมารมณ์ มีถึง 6 อารมณ์ หรือมีถึง 6 สิ่งที่จะให้เห็น ถ้าเราจะเอาเฉพาะแต่ว่าดวงตาซึ่งหมายถึงกายนอกนอกเท่านั้นเอง ธรรมะน้อยเดียวนิดเดียว มีวิญญาณจักขุวิญญาณอย่างเดียว อาตมากำลังไต่เข้าไปให้ลึกเป็นระดับนะ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้เป็นศัพท์โลกๆ ง่ายๆ ตื้นๆ แต่ความลึกมันจะเขยิบเข้าไปเรื่อยๆ มันจะไม่เกิดแต่เฉพาะดวงตา และอาตมากำลังตีความคำว่าดวงตาอย่างโลกทิ้งไป แต่จะไปเอาคำว่า ดวงตาอย่างธรรมะ และคำว่าดวงตาของธรรมะนี้มันลึกซึ้งเข้าไปจนกระทั่งถึง เป็นจักขุวิญญาณนั่นแหละ อาตมาให้ก้าวเข้าไปชั้นหนึ่ง

ตอนนี้ไม่ใช่จากจักขุวิญญาณแล้ว ลึกเข้าไปกว่าจักขุวิญญาณต่อเข้าไปอีกเป็น โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และก็ กายวิญญาณ จนกระทั่ง ถึงมโนวิญญาณ ลึกเข้าไปหมดเลย 6 วิญญาณ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้ จึงกลายเป็นวิญญาณ ทุกวิญญาณแล้ว ตอนนี้ลึกเข้าไปแล้วนะ ตั้งต้นตามให้ดีนะ ถ้าตาไม่ดีก็เมาเลยนะ ถ้าเรา ฟังตามภาษาโลกๆ มันไม่รู้เรื่องดวงตาเห็นธรรมอะไร ดวงตาลืมโท่โร่ และเห็นธรรมมันไม่ใช่ภาษาธรรมะ อันนี้มันโลกๆ ธรรมดาๆ

เอาย้อนใหม่อีก มีผู้มาใหม่บ้าง ก็เป็นการซ้ำ ซ้ำทบทวนอีก คำว่าดวงตา ไม่ได้หมายความว่า ลูกตากลมๆ ในภาษาธรรมะไม่ใช่ลูกตากลมๆ แต่ดวงตานี้หมายความว่า จักขุวิญญาณ อันแรกที่สุด ก็หมายความว่าจักขุวิญญาณก่อน คือสิ่งที่เข้าไปทำงานอยู่ข้างใน อะไรล่ะคือจิตหรือวิญญาณนี่ เราเรียกจำเพาะมุมหนึ่ง แง่หนึ่งเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ 

ทีนี้คำว่าเห็น เราไม่เอาภาษาโลกๆ เห็นเพียงดวงตาเห็นแล้วก็มองเห็นรูปอยู่นี่เป็นโลกๆ แต่จะไปใช้กับธรรมนั้น มันยังไม่พอ กับธรรมนั้นสิ่งที่ไปเห็นนั้นเราไม่ใช้แต่แค่ดวงตาที่เห็น หลับตาก็สามารถที่จะเห็นธรรมได้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เห็นนั้นจึงไม่ใช่หมายความว่าเอาลูกตานี้มอง หลับตานี้ก็เห็นได้ธรรม เห็นด้วยอะไร เห็นด้วยจักขุวิญญาณ แล้วจักขุวิญญาณไปเห็นอะไร คำว่าเห็นคำนั้นก็คือ รูปารมณ์  เห็นสิ่งที่เป็นอารมณ์ที่รับอยู่ในจิตอีกทีนึง จักขุวิญญาณก็เป็นรูป อย่างที่อาตมาได้แยกแยะตั้งแต่ต้นแล้ว รูปารมณ์ก็เป็นนาม ฟังเท่านี้แล้วพวกที่เรียนรูปนาม มาบอกว่าเข้าไปเห็นรูปนั้นเมาแล้ว ถ้าใครแยกแยะรูปนามไม่ออกเมาแล้ว เมาเเล้ว เมาจริงๆ เพราะอาตมาไปบอกวิญญาณเป็นรูปเสร็จแล้วนี่ จักขุวิญญาณ อาตมาบอกว่าเป็นรูป ถ้าใครเรียนมา รูปกับนามหยาบๆ นั้นชักจะเมาแล้วตั้งหลักให้ดี 

จักขุวิญญาณ อาตมากำลังยืนยันเด็ดขาดว่า มันกำลังคือรูป และนามธรรมของจักขุวิญญาณคือรูปารมณ์ คือสิ่งที่เกิดผลต่อมาจากจักขุ ฟังให้ดีนะเคยถอดเคยถอดให้ฟังแต่ก่อนนี้เคยถอดจิตซ้อนจิตเข้าไปอีกทีนึง รูปกับนามนี้มันจะต้อง 

สิ่งนี้เป็นตัวถูกรู้ สิ่งที่ถูกรู้นั้นเป็นรูป สิ่งที่รู้ เป็นตัวรู้จริงๆ เลย สิ่งที่ถูกรู้เป็นรูป สิ่งที่ถูกรู้จริงๆ เลยเป็นนาม  เพราะฉะนั้นขณะนี้ จักขุวิญญาณนี้เป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม รับรู้ รับรู้จากรูป จักขุวิญญาณเป็นตัวที่ทำรูปทำอะไรๆ ขึ้นมา เป็นตัวทำรูปทำร่างขึ้นมาจากจักขุวิญญาณ แต่ไอ้ตัวที่จะรู้นั้นมันเป็น รูปารมณ์ เป็นตัวรู้ จักขุวิญญาณตอนนี้มันก็รู้ ขึ้นมาแล้ว

จักขุ เฉยๆ ย้อนใหม่ จักขุ เฉยๆ เป็นรูป จักขุวิญญาณเป็นนามชั้นที่ 1 จากโลกมาหาธรรม ชัดๆ เลย จักขุ เรียกว่ารูป จักขุวิญญาณเรียกว่านาม

ต่อจากนี้อีก รูปตัวนี้ดับไปก็ทิ้งไอ้รูปหยาบทิ้ง ตาธรรมดาที่อาตมาว่าไม่ได้หมายถึงเพียงตานี้ จะยกจักขุวิญญาณที่เป็นรูป รูปารมณ์ ขึ้นมาเป็นนาม เกี่ยวข้องกันแล้ว ตอนนี้เราทิ้งแล้วจักขุธรรมดาทิ้งไปแล้ว จักขุวิญญาณเป็นรูป 

รูปารมณ์เป็นนาม

เพราะฉะนั้นตัวดวงตานี้จึงกลายเป็นจักขุวิญญาณ เมื่อกี้จักขุอยู่ข้างนอก จักขุคือดวงตา แล้วก็จักขุวิญญาณเป็นนามอยู่ข้างใน ทีนี้พักดวงตาข้างนอกหลับตาเสียไม่ใช้แล้วตอนนี้ เเต่จะเห็นเหมือนกันเห็นด้วยจิตวิญญาณ จักขุวิญญาณก็เป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม ลึกเข้าไปอีก จะเป็นอย่างนี้ 

สภาพที่จะซ้อนๆๆ ซ้อนลึกเข้าไป ถ้าเรารู้รูป รู้นามไม่ชัด หมด เมา  เพราะฉะนั้นรูปนามก็ไม่ใช่อัตตา จะไปยืนยันว่าจิตที่เป็นนามตลอดกาลนั้น ไม่ได้ อาตมาเคยพูดมาเเล้วสองสามคราวที่แล้วก็อธิบายว่า จนกระทั้งแม้ไปรู้ปรมัตถ์แล้วอาตมาแยกจิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม  อย่าเมานะอย่างงนะถ้างงก็หมายความว่าเรารู้ไม่ได้ เพราะฉะนั้นฟังปริยัติไปหรือฟังภาษาที่อาตมาอธิบายไปแล้ว เอาไปลอง พยายามอ่านดูให้ชัด สัมผัสดูให้จริงสิ อ๋อ ลักษณะรูปมันเป็นอย่างนี้จริงๆ ด้วยอย่างที่อาตมาว่ารับรู้ได้ เพราะนามมันเป็นตัวรู้ซ้อนเข้าไปได้จริงๆ มันก็จะลึกขึ้นลึกขึ้นจริงๆ 

จิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม รูปเป็นรูป นิพพานเป็นนาม อาตมาเอาปรมัตถ์มาพูด ปรมัตถ์มันมีจิต เจตสิก รูป นิพพาน โอเคอาตมาไม่เกี่ยง เพราะฉะนั้นถ้าอาตมาบอกว่าจิตกับเจตสิกนี่เป็นหมู่นึงคู่นึง รูปกับนิพพานเป็นรูปอีกคู่หนึ่งก็รู้ให้ได้นะ ตราบใดเราทำจิตของเราให้เป็นรูปแล้วเรามีเจตสิกเป็นนิพพาน จบ ทำจิตให้เป็นรูป ทำเจตสิกให้เป็นนิพพาน จบเลย 

แล้วเจตสิกตัวนี้ทำให้เป็นนิพพานแล้วมันจะเหลือตัวที่เก่งที่สุดอยู่อันเดียว คือปัญญาเจตสิก หรือ ปัญญินทรีย์ตัวเดียว ตัวอื่นๆ ไม่ยืนอยู่หรอกตัวอื่นๆ เป็นเพียงตัวผ่านเฉยๆ แต่ตัวที่ยืนตัวที่สุดจะมีปัญญาหรือ ปัญญินทรีย์ เท่านั้นที่ยืนอยู่ เราเรียกว่า เกิดญาณทัสสนะนั่นเอง 

แล้วปัญญาหรือปัญญินทรีย์ ถ้าใครเรียนพระอภิธรรมมาจะรู้เลยว่าตัวนี้เป็นตัวที่ 52 นะ เจตสิกตัวนี้ เจตสิกทั้งหมด 52 ตัวเท่านั้นแหละ แล้วตัวเจตสิกตัวปัญญานี่เป็นตัวที่ 52 เป็นตัวเล็กละเอียดที่สุดเลย นอกนั้นตั้งแต่ตื้นๆ ขี้กะโล้โท้ขึ้นมา ตั้งแต่ต้นๆ สิ่งที่เป็นหยาบๆ หนาๆ ตั้งแต่เป็นอกุศลไปจนกระทั่งอะไรต่ออะไรนั้นไม่ต้องล่ะ 

ถ้าเราไปนั่งท่องภาษามาก่อนก็ได้ ถ้าเราจับถูกฝาถูกตัว ถ้าเราไปนั่งท่องมาแล้วไม่ถูกฝาถูกตัว เราก็จะไปยึดติด ไปหลงในวิชชาอยู่เปล่าๆ แต่ถ้าเราปฏิบัติแล้วเราจับตัวให้มันถูก โดยไม่ต้องใช้ภาษาให้รู้ว่า อ๋อตัวนี้เองคือรูป ตัวนี้เองคือนาม อาจจะภาษาแค่คำว่ารูปว่านามก็พอ อ๋อตัวนี้ก็ถอดแบบนี้ไอ้นี่เป็นรูป อันนี้แสดงอาการเป็นรูปอันนี้แสดงอาการเป็นนาม รู้ชัดก็จะจับถูกเรื่อยไป 

ทีนี้มาหาเข้า คำว่าดวงตาเห็นธรรมอีกทีนึง ถ้าเอาตาจริงๆ มันก็มีเป็นเพียงแต่คำว่าดวงตากับเห็น ทีนี้เราจะเห็นธรรมะนะ อาตมาบอกแล้วว่าธรรมะไม่ได้มีอยู่แค่จักขุวิญญาณอย่างเดียว ธรรมะมันมีวิญญาณอื่นๆ เยอะแยะ จักขุวิญญาณก็มี โสตวิญญาณก็มี ฆานวิญญาณก็มี ชิวหาวิญญาณก็มี กายวิญญาณก็มี มโนวิญญาณก็มี มีถึง 6 วิญญาณ

จักขุก็แปลว่าวิญญาณทางตา โสตะ ก็หมายความว่าวิญญาณทางหู ฆานะ ก็หมายความว่าวิญญาณทางจมูก ชิวหาก็คือ วิญญาณทางลิ้น กายะ คือวิญญาณทางกาย มโน คือวิญญาณทางจิต มีวิญญาณถึง 6 วิญญาณ 

แล้วก็จำพวกวิญญาณต่างๆ เมื่ออาตมายกมันขึ้นมาเป็นรูปได้ โสตวิญญาณก็ต้องเป็นรูป ฆานวิญญาณมันก็ต้องเป็นรูป ชิวหาวิญญาณก็ต้องเป็นรูป กายวิญญาณต้องเป็นรูป มโนวิญญาณก็ต้องเป็นรูปหมด ไม่ใช่เป็นรูปแต่เฉพาะจักขุวิญญาณ เมื่อพวกนี้เป็นวิญญาณเป็นรูปหมดแล้ว มีนามของมันที่ควบคู่ซึ่งกันและกันทำงานร่วมกันอยู่ ก็จากโสตะ ก็เป็นพวก สัททารมณ์ ก็เป็นามของโสตะ เป็นนามของหู หู หรือว่า วิญญาณที่เกิดถ่ายทอดกันมาทางเสียง เสียงเป็นรูป จิตรับรู้เสียงนั้นเป็นนาม นี่พูดภาษาไทยๆ ถ้าพูดภาษาบาลีบาลีก็บอกว่า โสตวิญญาณเป็นรูป คือเสียง มันมาสัมผัสสัมผัสจิตแล้วก็รับรู้ตัวนั้นเข้า จิตที่ไปปรุงแต่งสังขารธรรมเข้ารับรู้เป็น สัททารมณ์ สัททารมณ์ก็เป็นนาม รู้คือรับรู้ว่าอาการของเสียงนั้น รสชาติของเสียงนั้นเป็นอารมณ์จิตที่รับรู้เลย เรียกว่าอันนั้นเป็นนาม 

ถ้าเราไปรับรู้มัน โดยที่เรียกว่าเราเกิดอารมณ์กับมันแล้วก็เพลิดเพลินสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา หรือไม่สุขเวทนาไม่ทุกขเวทนา แต่เป็น อทุกขมสุขเวทนา กลางๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข นั่นแหละ อาการอย่างนั้นแหละ อาการอย่างนั้นแหละที่เรียกว่า วิญญาณ ที่เรียกว่าวิญญาณ

อาการที่เรียกว่า มันเกิดสุขหรือทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์เฉยๆ นั่นแหละเรียกว่าวิญญาณ วิญญาณอย่างนั้นเป็นรูป เป็นรูป ฟังให้ดีนะตอนนี้กำลังจะไต่เข้าหาคำว่าธรรมะแล้วนะ ขณะใดเรารู้มันว่าเป็นสุขเวทนา ได้ยินเสียงอย่างที่ว่านี่ มันปรุงเป็นสุขเวทนา ไปรู้ตัวว่าสุขเวทนาหรือมันจะปรุงเป็นทุกข์เราก็รู้ว่าขณะนี้เป็นทุกขเวทนา แหม เสียงด่านี้ไม่ชอบเลยเป็นทุกขเวทนาไม่ชอบเลย หรือเสียงนี้เป็นเพลง พี่ไปหลายวัน กำลังเข้าหูเลย ไพเราะ หรือไม่เสียงคุณฉวีวรรณคุณจะต้อง

บอกแหมตอนนี้กำลังเสียงของบานเย็น รากแก้ว กำลังแหมยิ้มขึ้นมาเลย คุณฉวีวรรณ แหมยิ้มเลย ไม่ทำอะไรแล้วตอนนี้เสียงบานเย็น รากแก่น เขาไปแล้วเหรอ เเหม รู้เขาไปเขามาเสียด้วยแหมถึงขนาดนั้นนะ แฟนๆ กันนี่

ถ้าเสียง บานเย็น รากแก้ว มาเลย โห มาแล้วก็เอาละ อย่างนี้ก็เรียกว่าเรารัก ถ้าเราชอบมันก็สุข ต้องใจต้องอารมณ์ ต้องอารมณ์ก็สุข ถ้าเราไม่ชอบ แหม ขัดเคืองใจพูดไม่เข้าหูเลย หยาบคายบ้าง ไม่ชอบ ด่าเราบ้างอะไร เราก็ไม่ชอบ เกิดทุกขเวทนาสุขเวทนาเหล่านี้เราเรียกว่า วิญญาณ 

ในขณะใดถ้ามันเกิดวิญญาณอยู่ เรารู้ไม่เท่าเรารู้ไม่ทัน เราจะไม่เกิดผลเกิดธรรมะเลย เราก็จะถูกวิญญาณนั้นครอบงำ สุข อร่อยก็สุข ทุกข์ แหม ทรมานอยู่กับทุกข์เรียกว่า ผู้นี้ถูกวิญญาณครอบงำอยู่ตลอดเวลา ไม่เห็นธรรม เเต่ถูก

วิญญาณเล่นงาน

วิญญาณแบบนี้เข้าสิงตัวคนทุกคน วิญญาณอย่างนี้เข้าทรงคนทุกคน ทุกคนกำลังเป็นคนทรงอย่างเก่ง แล้วก็ทรงวิญญาณอย่างนี้กันทั้งนั้น อย่าไปพูดถึงวิญญาณที่ไปเชิญทรงวิญญาณหลวงพ่อโตมา วิญญาณผีเทวดาองค์นั้นเจ้านี้มา ขอร้องกันที ศิษย์ตถาคตเอ๋ย อย่าไปเอามายุ่ง อย่าไปวุ่นวาย อย่าไปฟุ่มเฟือย เสียเวลากับมัน โยนทิ้งเข้าป่าเลยสิ่งเหล่านั้น ดีหรือไม่ดีก็ช่าง อาจจะมีส่วนดีก็ได้ อาจจะมีส่วนเสียก็เยอะ เราไม่เอา เพราะสิ่งนั้นไม่ใช่ทาง อาตมาใช้คำว่าไม่ใช่ทาง ไม่ใช่มรรค ไม่ใช่สัมมาอาริยมรรค ไม่เป็นสัมมาทิฏฐิ ไม่ใช่ความเห็นที่ถูกต้อง 

สัมมาอาริยมรรคของพระพุทธองค์นั้น ให้เรียนตรงไหน ตอนนี้ข้ออ้างเข้าไปหาสูตรประกอบจะไต่เข้ามาหาคำว่า วิญญาณ 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสท่านเอาไว้ใน มิจฉาทิฏฐิสูตร ท่านจะกล่าวไว้ว่าอย่างนี้ 

 254] ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุ

บุคคลรู้เห็นจักษุแล โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นรูป

โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักขุวิญญาณโดยความเป็น

ของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักษุสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง

จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นแม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่

เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิ

ได้ บุคคลรู้เห็นหู... รู้เห็นจมูก... รู้เห็นลิ้น... รู้เห็นกาย... รู้เห็นใจโดยความ

เป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นธรรมารมณ์โดยความเป็นของไม่เที่ยงจึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนวิญญาณโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัยโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ดูกรภิกษุ เมื่อบุคคลรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ฯ

พ่อครูว่า... คำว่าจักขุหมายความว่าเราเป็นตัวชื่อหลักเป็นตัวต้นทาง เป็นกายอันหยาบ เป็นกายอันใหญ่ที่อาตมาบอกแล้วไม่ใช่ดวงตา โท่โร่ข้างนอกเท่านั้นถึงจะเป็นธรรมนั้นยังหยาบมาก เพราะฉะนั้นใครไปยึดมั่นถือมั่นอยู่กับตาข้างนอกหยาบมาก ยังไม่เข้าหาธรรมเลย ยังเป็นกายนอกกายเป็นคน แต่มันก็สืบต่อกันเข้าไปหาด้วยวิธีนี้แหละ 

จนกระทั่งเกิด ดูจากตามันจะเห็นรูป พอมันไปเห็นรูปแล้ว ไอ้รูปที่เห็นในจิตนี่แหละ ไอ้รูปที่เห็นในจิต ภาพที่เกิดในจิตนี่แหละ มันเป็นกายในกาย 

ตาคุณมองขวดนี่ ขวดนี่ เป็นวัตถุข้างนอก ตาคุณคือจักขุ พอตาคุณมองขวดนี่ ขวดมันอยู่ข้างในนี้หรือเปล่า(ตัวเรา) มันไม่ได้อยู่ในนี้หรอก ขวดมันอยู่ข้างนอก แต่รูปหรือภาพที่เกิดในนี้ (ตัวเรา) อันนั้นแหละ เราเรียกว่า จักขุวิญญาณ อันนี้แหละเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ มันไม่ใช่ขวดที่อยู่ในนี้ แต่ ไอ้จักขุวิญญาณอันนี้ มันก็ไม่มีเหตุมีผลอะไรมาก 

ในรอบแรกหยาบที่สุด ตาเรานี่ เราถือว่า กายนอก รูป เราถือว่าเป็นนาม คือรูปขวดเป็นนาม คู่ที่ 1 หยาบที่สุด 

พอต่อมา ถ้าคุณสักแต่รู้ขวดนี้นะ มันก็เฉยๆ คุณไม่มีรสชาติ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุขกับมัน อาตมายกเรื่องขวด มันก็ยังไม่ค่อยเข้าที ยังไม่ค่อยซาบซึ้งเท่าไหร่ เอาอันนี้ดีกว่า  มีรูป พอตาคุณเห็นรูป รูปเกิดในนี้เป็นจักขุวิญญาณ ถ้าคุณสักแต่ว่าเห็นรูปแล้วเฉยๆ คุณก็ไม่มีรสชาติแล้ว ไม่มีอะไรเลยบางทีจะไม่จำมันด้วย จนกว่าคุณจะเลื่อนชั้น พิจารณารูปให้ดีๆ พอเราพิจารณารูป เอาจิตเข้ามาพิจารณารูปอีกทีนึง คุณพิจารณาต่อๆ กันนี่ คุณอาจจะดูมันก็ได้ ไม่ดูมันก็ได้ คุณก็จำมันได้แล้ว ไอ้รูปดอกบัวก็มีอยู่ในนี้แล้ว อารมณ์ก็เป็นนามเรียกว่าจักขุวิญญาณมันอยู่ในนี้แล้ว (ตัวเรา) แล้วคุณก็พิจารณาอีกทีนึง ไอ้ตัวที่พิจารณาอีกทีเข้าไปอีกทีนี่แหละเรียกว่าตัวรับรู้จิต เราเรียกว่าเวทนา ตัวนี้เป็นกายในแล้ว กลายเป็นรูปไปแล้ว แต่ตัวนี้คุณก็พิจารณาดอกบัวนี้อีกทีตอนนี้ ตอนนี้เป็นเวทนา พอรู้อีกทีหนึ่งตอนนี้คุณก็นึก พอคุณพิจารณาอีกทีแล้วคุณจะพิจารณาไปทำไม คุณก็พิจารณาว่ามันสวยหรือไม่สวยใช่ไหม 

พอคุณพิจารณาว่าสวย เกิดแล้วสุขเวทนาเกิดทันที ควรพิจารณาแล้วว่า แหมแต่ตาว้าดูไม่ได้เลยทุกขเวทนาเกิด ทุกขเวทนาเกิดแล้ว หรือคุณพิจารณาแล้วคุณก็เฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข ไม่สวย ไม่แตะตาไม่เดือดร้อนเฉยๆ เฉยๆโดยคุณไม่รู้เรื่องคุณไม่มีปัญญาเหนือกว่านั้นคุณก็เฉยๆ เกิดเป็นพวก สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนาต่างๆ พวกนี้แหละ เรียกว่าเรามีธรรมะเกิดจากนามและรูป นี่เป็นคู่ที่ 2 ลึกซึ้งขึ้นมาอีกนิด…เดี๋ยวอธิบายลักษณะการของมันเสียก่อน แล้วค่อยย้อนกลับไปถึงพระสูตร มิจฉาทิฏฐิ สักกายทิฏฐิ พ้นมิจฉาทิฏฐิ พ้นสักกายทิฏฐิ พ้นอัตตานุทิฏฐิ เอาจนถึงพ้นอัตตานุทิฏฐิเลย 

…1.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจโต)  จึงละมิจฉาทิฏฐิได้ 

2.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นทุกข์ (ทุกขโต)  จึงละสักกายทิฏฐิได้ 

3.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่ใช่ตัวตน (อนัตตโต) จึงละอัตตานุทิฏฐิได้ 

(พตปฎ. ล.18  ข.254 – 256) 

พ่อครูว่า... เพราะฉะนั้นในขณะนี้ รูปเป็นกายในอันนั้นนะ เป็นรูปแล้วนะ เราตัดจักขุกายนอกทิ้งเลยเราขยับมาหารูปกายใน เป็นรูปที่เกิดในจิตเป็นกายใน แล้วมีวิญญาณหรือจักขุวิญญาณหรือมีเวทนารับรู้สึกเป็นนามต่ออีกทีนึง เลื่อนเข้าไปอีก ตอนนี้คุณไม่ต้องดูรูปแล้ว คุณไม่ต้องดูรูปแล้ว คิดเองเลย ยกทบทวนขึ้นมาเลย จักขุของคุณก็สัมผัสเข้ามาเลยว่า นี่รูปดอกบัว จักขุสัมผัสอันนี้ อาตมาเอาอดีตก่อนแล้วค่อยเอาปัจจุบันมาทำย้อนเข้ามาใหม่ เดี๋ยวสับสนไอ้เรื่องธรรมะ เดี๋ยวก็เอาจักขุสัมผัสแบบย้อนให้เอามาปัจจุบัน ตอนนี้ไม่ขอปัจจุบันตอนนี้ขอเท้าความเป็นรูปจิต อรูปจิตไปก่อน 

คุณยกสัญญาหรือความจำ คุณจำได้แล้วรูปเมื่อกี้นี้คุณจำได้แล้ว ตอนนี้คุณไม่ต้องอาศัยรูปทางตา โท่โร่ นี่ก็ได้ อาตมาอยากจะอธิบายให้มันลึกเข้าไปอีก ให้เลื่อมใสคุณก็จักขุสัมผัสเกิดปั๊ปขึ้นในใจ รูปดอกบัวเกิดแล้ว คุณก็ต้องเห็น คุณจะไปอยู่ตรงไหนก็ได้รูปดอกบัว รูปนี้ คุณจะไปอยู่ที่ไหนก็ได้ โน่นไปอยู่ในวังก็ได้ อยู่ไหนก็ได้ แล้วก็ระลึกถึง รูปดอกบัวขึ้นมา จะเป็นจักขุสัมผัส ที่ไม่ต้องใช้จักขุเลย คุณไม่ต้องใช้จักขุเลยตอนนี้จักขุอยู่ไหน สัมผัสได้ปั๊บคุณก็รับรู้ ตัวที่รับรู้ภาพดอกบัวอันนั้นก็เป็นจักขุวิญญาณอีกชั้นหนึ่ง วนไหมล่ะวนไหมล่ะ ฟังให้ดี วนไหม เกิดจักขุวิญญาณอีกแล้วซ้อนอยู่ในจักขุวิญญาณอันนั้น ไปอยู่ในจักขุสัมผัสอันนั้น แล้วจักขุวิญญาณอันนั้นแหละ คุณต้องปรุงอย่างเร็วด้วย ย้อนกลับไปหา เวทนาอีก จึงเป็นสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาอีก ปึ๊บเข้ามาเลย ก็เป็นสุขธัมมารมณ์ คุณก็สบายเป็นพระพรหมเสพเเว๊บๆ เลยคราวนี้ พระพรหมเสพอารมณ์แล้ว เป็นธรรมะแล้ว แต่ไม่ใช่ธรรมะที่เรียกว่า ดวงตาเห็นธรรม

ขณะนี้อธิบายธรรมะที่เกิดแก่การรับสัมผัสและรับรู้เฉยๆ ยังไม่ได้ถึงขั้นเรียกว่า ดวงตาเห็นธรรมตามสำนวน ถ้าสำนวนดวงตาเห็นธรรมแล้วหมายความว่า ผู้นั้นรู้แจ้งธรรมชัดเจนว่าพ้นสักกายทิฏฐิ…จบเทป…การแสดงธรรมมีไว้เพียงเท่านี้ 

ที่มา ที่ไป

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 


เวลาบันทึก 12 กรกฎาคม 2567 ( 11:29:58 )

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง(ตอนที่ 6)

รายละเอียด

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 

พ่อครูว่า... เราก็มาพูดกัน จะดับอวิชชาด้วยวิธีใด ฟังแล้วก็คือเราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร? ด้วยวิธีใด เราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร ถ้าเราไม่เอาความหมายอย่างนี้ เราก็จะรู้ว่า ที่เราจะพูดกันด้วยธรรมะ ที่อาตมาพูดอย่างนั้นก็หมายความว่า คำว่า “อวิชชา”นั้น โดยความหมายของมันอย่างแท้จริงแล้วล่ะก็ ต้องหมายความว่า เราจะมีนิพพานที่จะได้นิพพาน หรือเป็นพระอรหันต์ จึงเรียกว่า อวิชชา 

แต่ถ้าเราจะเอาคำว่าอวิชชามาพูดธรรมดาๆ แล้วล่ะก็ วิชชาทั่วๆ ไปในโลกนี้ แปลว่า ความรู้ เพราะฉะนั้นความรู้อะไรก็แล้วแต่ที่เราเองไม่รู้ ก็เรียกมันว่า อวิชชา ได้เหมือนกัน ที่พูดกันอย่างโลกๆ ทั่วไป ใครที่ไม่รู้อะไรก็ เรียนเอา เรียนเอา เรียนเอา ไอ้คนนั้นก็ได้หรือพ้นอวิชชาแบบโลกๆ ไปได้ทั้งหมด ทุกอันทุกสิ่ง นับไม่ถ้วน เหมือนใบไม้ เหมือนต้นไม้ เหมือนๆ ใบไม้ทั้งหมดน่ะ ที่หล่นอยู่ใต้ต้นไม้ และหมดต้นไม้ทั้งหมด นั่นเรียกว่าเป็นวิชชาทั้งนั้น พระพุทธเจ้าของเรา รู้หมดแล้ว รู้ทั้งใบไม้บนต้น รู้ทั้งใบไม้ที่หล่นอยู่ นี่พระพุทธเจ้ารู้นะ แต่พระพุทธเจ้าของเรานั้น ท่านเค้นเอามาหรือคั้นเอามา หรือคัดเอามา ว่าสิ่งที่จำเป็นที่สุด ที่จะเป็นวิชชาที่ควรเรียนนั้น คั้นออกมาแล้วเหลือกำมือเดียว ท่านเอาใบไม้กำมือเดียวเท่านั้น 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดทำใบไม้กำมือเดียวนี้ให้ได้รู้แจ้งแทงทะลุแล้ว รู้เท่านี้ พ้นอวิชชาเท่านี้ หรือได้วิชชาเท่านี้ จำกัดความลงไปเหลือแค่ใบไม้กำมือเดียวนี้ ท่านบอกว่าเท่านี้แหละจำเป็นที่สุดในชีวิตของสัตว์โลกที่เรียกว่า มนุษย์ นอกจากนั้น ท่านไม่วุ่น ท่านไม่วุ่นแล้ว

เพราะฉะนั้น เราจะต้องมาทำคำจำกัดความ หรือมารอบรัดกันซะก่อนว่า ไอ้แค่ใบไม้กำมือเดียวกันนี้ล่ะ  ใบไม้กำมือเดียวของที่พระพุทธเจ้าท่านเปรียบเทียบให้ฟังที่ป่าศีรษะเนี่ย ศีรษะป่าเนี่ย ที่ท่านเรียก ท่านถามภิกษุเนี่ย เรามารอบรัดกันซะก่อนว่า มันกินความแค่ไหน มันกินความแค่ไหน

มันก็กินความอยู่แค่ว่า เราจะต้องมีความรู้ ที่เรารู้กันมาทั้งหมดแล้วง่ายๆ พื้นๆ ทุกคนก็ได้ฟังกันมาจนหูจะแฉะแล้ว คือ รู้อริยสัจ 4 

รู้ทุกข์ กำหนดรู้มันให้ได้ ปริญเญยยะ หรือเรียกว่า ปริญญายติ ปริญเญยยะเนี่ย รู้ ทุกข์เนี่ยกำหนดรู้ ไม่ใช่วิชชาที่จะไปตามรู้เรื่องอื่น เป็นความรู้ที่จะต้องรู้ทุกข์ ทำปริญญายติ ปริญเญยยะ ให้รู้ตัวนี้ กำหนดรู้มัน 

เมื่อรู้ทุกข์แล้วทำยังไง เมื่อรู้ทุกข์แล้วท่านก็บอกว่า ให้รู้พ่อแม่ของทุกข์ด้วย รู้ทุกข์แล้วให้รู้พ่อแม่ของมันด้วย คือรู้ตัวที่มันทำให้มันเกิดอยู่ ตัวที่มันทำให้เกิดนั้น เราเรียกว่า สมุทัย หรือต้นเหตุ หรือต้นทาง หรือพ่อแม่ หรืออะไรก็ตามแต่ 

ไอ้ตัวสมุทัยนี่ นอกจากจะรู้ทุกข์แล้ว เราจะต้องทำความรู้ต่อไปอีก จนกระทั่งไปรู้ถึงสมุทัย แล้วไม่รู้เปล่าด้วยนะสมุทัยเนี่ย ต้องทำการละทุกข์ด้วย แม้รู้สมุทัย เข้าใจสมุทัยแล้ว ต้องละด้วย เรียกว่า ปหานกิจ หรือ ปหานปธาน ต้องประหารมัน ต้องฆ่ามัน ต้องละมัน ต้องเลิกมัน สมุทัยนี่ 

ต้องฟังให้ดีนะ รู้ทุกข์ ไอ้ตัวทุกข์นี่ไม่ได้ดับเลย อย่าเข้าใจเพี้ยน เราสิ้นทุกข์โดยที่เราไม่ต้องดับทุกข์ เราไม่ต้องฆ่าทุกข์  แต่เราไปฆ่าสมุทัย ฟังให้ดี  พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ละเอียดลออ ท่านสอนเอาไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 

ทุกข์นั้นต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ ต้องทำการละ 

ทีนี้ทำการละแล้วเป็นยังไง ละแล้ว เราก็จะถึงซึ่งนิโรธ จะถึงซึ่งความดับ จะถึงซึ่งความหมด จะถึงซึ่งความหยุด มันจะเป็นอย่างนี้ พอเราละสมุทัยแล้วมันจะถึงซึ่งความดับ ความหยุด ความหมด ความจบ ท่านเรียกว่ามันจะถึงซึ่ง ปฏิกโรติ ต้องมีปฏิกโรติ คือ ทำตัวนี้ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ให้มันรู้พร้อม ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ปฏิกโรติ ทำให้แจ้ง ทำให้รู้พร้อม ถ้าเข้าใจแล้ว อ๋อ อย่างนี้เองเหรอนิโรธ ต้องให้รู้อย่างนี้ อ๋อ..สภาพนิโรธเป็นอย่างนี้เองหรือ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดรู้ทุกข์แน่นอน อ๋อ.. อย่างนี้เองที่เรียกว่า ทุกข์ แล้วก็รู้ด้วยว่าเหตุที่มันเกิดทุกข์นี้ ก็เพราะอย่างนี้เอง อ๋อ.. อันนี้คือสมุทัยอย่างนี้ เอาละ ไอ้สมุทัยอันนี้ฆ่าให้ได้ ดับให้ได้ เลิกให้ได้ ละให้ได้ ทำลายให้ได้ ประหารมันลงไปให้ได้ พอละเแล้วเสร็จ ผลก็เกิดขึ้นแล้วอ่อ ละสมุทัย หรือฆ่าสมุทัย ดับสมุทัยแล้ว ผลที่มันเกิดมาเป็นอย่างนี้เอง ภาษาโลกเรียกมันว่า นิโรธ หรือ วิมุติ 

ภาษาเค้าเรียกว่า นิโรธ หรือ วิมุติ ทำนิโรธหรือวิมุติ นี้ให้เห็นขึ้นมาที่ในนี้เป็นปัจจัตตัง ขึ้นมาในนี้ ไม่รู้จะที่ไหนก็ตามแต่ อาตมาจิ้มไม่ถูก ให้มันเกิดที่ไหนก็ช่างเถอะ  ให้มันเกิดในขันธ์ 5 นี่แหละ ให้มันเกิดนิโรธขึ้นมา จนกระทั่งรู้ว่า อ๋อ..อย่างนี้นะหรือนิโรธ จึงเรียกว่า ทำให้แจ้ง นิโรธต้องทำให้แจ้ง ปฏิกโรติ ต้องทำให้แจ้ง ทำให้แจ้ง เหตุที่มันแจ้งด้วยนิโรธ เพราะว่าเราดับเหตุตัวสมุทัย ดับเหตุตัวสมุทัยแล้วก็แจ้ง รู้ว่านิโรธเป็นอย่างนี้เอง 

ทุกวันนี้เราเข้าใจนิโรธกันไม่ถูก เราเข้าใจนิโรธกันไปเยอะแยะเป็นนิโรธแบบไหนก็ได้ นิโรธมีต่างๆ นานา อภิสัญญานิโรธก็มี สัญญาเวทยิตนิโรธก็มี ซึ่งล้วนแล้วแต่เรียกว่า นิโรธสมาบัติ ทั้งนั้น อภิสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็เรียกว่านิโรธสมาบัติ สัญญาเวทยิตนิโรธ เขาเรียกว่า นิโรธสมาบัติ แต่มันยังไม่เป็นนิโรธที่แท้จริง ที่เรียกว่านิโรธอริยสัจ ของพระพุทธเจ้า เราเรียกว่า นิโรธอริยสัจ คือเป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด นิโรธอริยะ แปลว่า ฉลาด สัจจะ แปลว่า แท้จริง เป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด 

เพราะฉะนั้น ต้องเอาคำจำกัดความอันนี้ มาเรียกให้ได้ว่า นิโรธของผู้ที่ฉลาดอย่างแท้จริง มันเป็นรูปร่างลักษณะอย่างไร รูปร่างลักษณะของนิโรธอริยสัจนั้นก็คือ มันดับ ดับอย่างสว่างๆ แหม! ฟังแล้วเมา เมาแน่ๆ ดับยังไง ดับอย่างสว่างๆ ฟังให้ดีนะ มันดับอย่างสว่างๆ มันไม่ดับอย่างมืดๆ ตามธรรมดาแล้วเราดับอะไรก็ตาม เราดับแล้วมันจะมืด แต่ของพระพุทธเจ้าของเราดับแล้วสว่างๆ  แหม! มันยาก มันต้องแจ้งตรงนี้แหละ ถึงบอกว่ามันถึงยากตรงนี้ จึงต้องแจ้งตรงนี้ 

เพราะมันดับอย่างสว่างๆ ไม่ใช่ดับอย่างมืดๆ มืดตึบตื๋อ ยังไงก็ไม่รู้ ไม่ใช่ แต่ที่นี้อาตมาจะยกตัวอย่างให้ฟังอีกนิดนึง ก่อนจะยกตัวอย่าง จะขออธิบายอริยสัจ 4 ให้ครบ 4 ตัวก่อนประเดี๋ยวจะขาดไป

ผู้ใดทำความรู้แจ้งให้ได้ว่า รู้ทุกข์แล้ว แล้วก็รู้ตัวสมุทัยต่อลงไป  นอกจากรู้สมุทัยแล้ว ไม่รู้เปล่า ดับลึก ต้องประหารหรือฆ่าด้วย ต้องทำการปหานกิจ ปหานปธานให้ได้ พอปหานกิจนี้หมดแล้ว เป็น ปหานปธาน จบแล้วเราก็จะเกิดนิโรธ เป็น ปฏิกโรติ เป็นการแจ้งสว่างในนิโรธ มาเข้าใจนิโรธ รู้แจ้งถึงนิโรธบรรลุล่วงในนิโรธ นิโรธอันนี้มันบรรลุเป็นนิโรธเกิดอยู่ในนี้ เป็นสันทิฏฐิโกมีแล้วที่ตัวเรา หรือเป็นปัจจัตตัง หรือได้เองคนอื่นไม่เกี่ยว ถ้าคนไหนมีปัจจัตตังด้วยกัน คนนี้ก็มีปัจจัตตังตัวนี้ นิโรธตัวเดียวกันนะที่พูด ยังไม่ต้องคุยกันเลยแม้แต่สายตาก็จะรู้ว่ามีนิโรธเหมือนกัน แต่ถ้าคนมีนิโรธไม่เหมือนกันอย่าว่าแต่สายสายตาเลย พูดกันแล้วบอกกันแล้ว กรอกหูกันแล้ว อธิบายกันแล้ว บีบให้ดูแล้วชักให้ดูแล้ว ทุกวิถีทางก็จะไม่เห็น ไม่เห็นไม่เข้าใจไม่ลงตัวกัน แต่ถ้าคนที่มีสิ่งเดียวกัน ปั๊บ ลงตัวกันเป๊ะเลยไม่ต้องพูดกันหลายคำ 

นิโรธมันมีตัวของมัน มันเหมือนมันมีอะไรก็ไม่รู้มันบอกไม่ถูกมันเป็นวิญญาณอันนึงก็ได้ ใครทำนิโรธนี้ให้แจ้งแล้วเรียบร้อย ผู้นั้นทำได้จนกระทั่งมากพอ จนถ้วนทั่ว รอบถ้วนหมด ในทุกเหลี่ยมทุกมุมแล้ว ทำรอบถ้วนเป็นทุกเหลี่ยมทุกมุมพร้อมแล้ว คนนั้นก็จบอวิชชา ทำแค่นี้ให้จบ ทำทุกข์รู้ทุกข์ให้ได้ รู้สมุทัยของทุกข์ให้ได้ แล้วก็ทำให้มันเกิดนิโรธให้ได้ ทำให้ดับไม่เกิดนิโรธให้ได้ทำอย่างนี้แหละ ให้จบ พอจบปั๊บคนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว คนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว 

ทำไมถึงว่ารู้มรรค ก็เพราะเหตุว่าคนนั้นมีมรรคถ้วนทั่ว ทำไมถึงเรียกว่ามีมรรค ก็เพราะเหตุว่า คนใดก็ตามแต่ ถ้ารู้ทุกข์ และรู้สมุทัยของทุกข์ และฆ่าสมุทัยนี้ ดับสมุทัยนี้ได้จนเกิดการดับการหยุดการจบการตาย การดับสิ้นหมดรอบหมดแล้ว เป็นนิโรธได้ คนนั้นก็จะรู้วิธีทำและรู้นิโรธที่แท้จริง 

วิธีนั้นทำยังไงจึงจะดับสมุทัยได้ รู้วิธีที่อย่างแท้เที่ยง รู้หนทางที่จะดับนั่นเอง ถ้าดับได้อันนึง รู้วิธีหนึ่ง ดับได้สอง อันก็รู้สองอัน ดับได้สามอัน ก็รู้สามอัน ดับได้สี่ ดับได้สิบ ดับได้ร้อย ดับได้พันอัน ก็รู้ ดับได้ร้อย ได้หมื่น ได้แสน ดับได้ทุกอันทุกอัน ก็เรียกว่าได้มรรคทุกอัน ทุกอัน ทุกอัน จนกระทั่งรู้หมดแล้ว ดับได้รอบแล้วกิเลสหมดนี้ก็รู้ กามตัณหา ภวตัณหาก็รู้ รู้ไปจนกระทั่งถึงชั้นลึกสุด เป็น

อาสวะ อ๋อ..หมดเป็นกามาสวะ ภวาสวะเกลี้ยงเลย อวิชชา ก็ถึงซึ่งอวิชชาสวะได้จริงๆ ด้วย อวิชาก็ถึง อวิชชาสวะ ด้วย 

จึงเรียกว่าเป็นผู้ค้นอวิชชา จนถึงขั้นลึกสุดในอาสวะได้แล้ว คนนั้นก็มีมรรคเต็ม เพราะฉะนั้นมรรคนี้จึงเรียกว่าต้องมี มรรคต้องมี ต้องเป็นภาวนาจิต คือสำเร็จกำหนดบรรลุประสบผล ภาวนาหมายความว่าเกิดประสบผล เกิดการประสบผลเรียบร้อยแล้ว เรียกว่าภาวนา หรือ ภเวติ มรรคต้องเป็นภเวติหรือมรรคต้องเป็นภาวนาจิต มรรคต้องมีนั่นเอง ผู้ใดบรรลุล่วงเสร็จเรียบร้อยจบแล้ว ก็ต้องอยู่กับมรรคเท่านั้นเอง พระอรหันต์ทุกองค์มีมรรค บริสุทธิ์ผุดผ่องเป็นองค์ 8 อยู่พร้อมตั้งแต่ 

สัมมาทิฏฐิถึงสัมมาสมาธิ ต้องเต็มพร้อมอยู่แล้วในองค์มรรค ทุกอย่างเป็นไปในอัตโนมัติ แล้วมีมรรคเป็นองค์ 8 พร้อมแล้วกันอยู่สบายเลย พระอรหันต์เป็นอย่างนั้นเพราะฉะนั้นต้องมีมรรค เป็นมรรคที่มีในตนพร้อมเลย อาตมาจะขอเขียนย่อๆ สำหรับอริยสัจ 4 นะ 

มันสั้นๆ ต้องตั้งที่ว่า 

“ทุกข์ควรรู้ สมุทัยควรละ นิโรธควรแจ้ง มรรคควรมี”

จำง่ายๆ ไม่ต้องไปจำเอาบาลีมันเลอะ บาลีเอาไว้พูดขู่คนเท่านั้นแหละ อาตมาก็รู้เป็นอย่างนั้นเหมือนกัน รู้ไว้ขู่คน รู้ไว้ขู่คนเก่ง เอาจริงๆ เนื้อๆ แท้ๆ  ไม่ต้องไปท่องบาลีอะไรหรอก จะท่องก็เอาถ้าใครอยากจะท่องไว้ขู่คนบ้างก็เอา แต่รู้ไว้บ้างก็ดี ไม่ได้ประหลาดอะไรหรอก รู้มันก็กำไรถ้าไม่รู้ก็ไม่เป็นไร ขอให้ได้มีเนื้อๆ ก็แล้วกันเข้าใจให้ได้ ถ้าเข้าใจไม่ได้แล้วมันปนกันนะ มันเฝือเหมือนกันนะ ควรรู้ควรละ ควรแจ้ง ควรมี 

ที่อาตมาพูด อธิบายมาเมื่อกี้นี้แล้ว ค่อยๆ ไล่ระดับๆ มาให้ฟัง อย่าไปจำผิดว่า ทุกข์นั้นเราจะไปดับมัน เราพูดกันเรียกว่า พูดเร็วๆ พูดหวัดๆ พูดกันรวบเลยว่าดับทุกข์ดับทุกข์ แต่คุณเอ๋ย คุณยังไม่ตายดับดิ้น  คุณจะดับทุกข์ไม่ได้ ไม่ได้เพราะ สัพเพ สังขารา ทุกขา แม้แต่ใจมันปรุงขึ้นมานิดนึงเป็นอุทธัจจะ ก็ทุกข์แล้วคุณทุกข์แล้ว ใครจะรู้ได้ละเอียดล่ะ 

คนผู้รู้เท่านั้นถึงรู้ว่าแม้แต่ใจมันคิดขึ้นมานิดนึงมันก็ทุกข์ คนไม่รู้มันก็ไม่รู้ มันก็บอกว่าสบายสิ ทนได้นี่นา เหงื่อตกซอกๆ ก็บอกว่าสบาย มันส์ อร่อย มันไม่ได้ทุกข์เลย ขนาดเหงื่อตกซอกๆ มันก็ยังบอก  มันอร่อย เพราะอะไร เพราะเขาไม่รู้ว่าทุกข์เป็นยังไง ทุกข์มีลักษณะยังไง เขาไม่รู้เขาถึงบอกว่ามันอร่อย ไม่มีอะไรในโลกเลย สัพเพสังขาราทุกขา ไม่มีอะไรเลยที่ไม่เป็นสังขารที่มันจะไม่ทุกข์เลยไม่มี ทุกสิ่งทุกอย่างยังเกิดอยู่ ย่อมเป็นการปรุงแต่ง ย่อมเป็นสังขารทั้งนั้นเลย แม้แต่จิตเริ่มเกิดเป็นตัวตนขึ้นมานิดนึง มันก็เป็นสังขารแล้ว 

พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ตรัสเอาไว้ว่า ผู้ที่จะรู้ทุกข์ได้นั้น เป็นการยากยิ่ง จะมีบุรุษหนึ่ง ยิงลูกศรจากที่ไกล ให้ไปเสียบที่รูกุญแจ ให้ไปเสียบอยู่ที่รูกุญแจซ้อน ๆ กันเข้าไปร้อยดอก ที่รูกุญแจรูเดียวนั้น ยากยิ่งเหลือเกินแล้ว แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่ยากเท่า ผู้ที่จักเส้นผมเส้นหนึ่ง ให้ออกเป็นร้อยแฉก แล้วเส้นผมแต่ละแฉกที่จักนั้นต้องเท่ากันด้วยนะ อันนี้ยิ่งยากกว่าผู้ที่ยิงลูกศรไปให้เสียบที่รูกุญแจรูเดียว ณ ที่ไกล จักเส้นผมให้เป็นร้อยแฉกนี้ยากกว่า 

ถึงกระนั้นก็ตาม ยังไม่ยากเท่า ที่จะรู้จักทุกข์ได้หมดสิ้น คุณคิดเอา ถึงขนาดนั้นยังไม่ยากเท่าที่จะรู้จักทุกข์ให้ได้หมดสิ้น พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้อย่างนี้ คิดดูซิ มันยากแค่ไหนที่จะรู้ทุกข์ถ้วนทั่ว ใครไม่เข้าใจนี่อาตมาลงไว้ในหนังสืออโศกนานแล้วประโยคนี้ เอาลงไว้ในหนังสือเล่ม 1 เลยทีเดียว จริงๆ อย่างพระพุทธเจ้าท่านว่ามัน โอ้โห! ถ้าใครไม่รู้ทุกข์แบบนี้นะ คุณเอ๋ย เหลือเศษไว้เกิดทั้งนั้นแหละ เหลือกิเลสไปเกิดทั้งนั้นแหละ มันจะรู้สึกว่าสบายดีนี่หว่า นี่มันก็ยังสบายนี่เลยว่ะ นี่มันไม่ทุกข์อะไรเลย คุณยังเหลือเศษไว้ทั้งนั้นแหละ กว่าคุณจะรู้จริงๆ ด้วย ว่าอะไรที่มีแม้ตั้งแต่ขั้นอุทธัจจะ ก็ทุกข์ขึ้นมาเท่านั้นเองก็ทุกข์แล้ว ทุกข์แล้ว 

ฉะนั้นเราจะต้องมาไล่กันดูซิว่าทำยังไงเราจะดับอวิชชาได้สิ้น จะต้องรู้จนกระทั่งทะลุถึง อุทธัจจะ แล้วเราก็จะดับอวิชชาได้ อาตมาจะเขียนสูตรไว้ที่บนกระดานซะก่อนและอาตมาจะค่อยๆ ไล่มาจนกระทั่งอวิชชา นั่นคือสูตร 

ตั้งแต่ข้อ 1 มายันข้อ 10 นั่นคือสูตรที่เราจะต้องกระทำ เราจะต้องรู้ รู้เป็นลำดับๆ มา สิ่งเหล่านี้ทั้งหมดนี้แหละ มันผูกเราไว้ มันดึงเราไว้ มันล่ามเราไว้ ให้เราติดอยู่ในโลก พ้นจากโลกไปไม่ได้ มีอยู่ 10 ข้อนี่แหละ และข้อที่ 10 นั้นคือ อวิชชา 

เราไม่ไปเรียนวิชชาอื่น วิชชาที่เราจะเรียนนั้นคือ 

1. เรียนรู้ สักกายะ 

2. เรียนรู้ กามราคะ 

3. เรียนรู้ รูปราคะ

4. เรียนรู้ มานะ 

1. เรียนรู้สักกายะ 2. เรียนรู้กามราคะ 3. เรียนรู้รูปราคะ ถ้าละเอียดขึ้นก็เรียกว่า อรูปราคะต่อ ที่จริงเราไม่ไปอ่านซ้อนเราไม่ไปเอาซ้อนถ้ารู้ละเอียดแล้ว แล้วอีกลักษณะหนึ่งก็คือมานะ 4 จะเอาให้ชัดอีกอันนึงก็ได้ อุทธัจจะ คือสภาวะแห่งการเกิดที่ละเอียดที่สุดคืออุทธัจจะ ถ้าใครรู้อุทธัจจะ อันแท้จริงของคนได้แล้ว ใครรู้จักอุทธัจจะเจตสิก หวานเลย รู้จักอุทธัจจะเจตสิกที่มันคลิกขึ้นมา แฮ่ จับได้แล้ว เริ่มแล้วไหมล่ะ ก่อตัวขึ้นไหมล่ะ จับได้ไล่ทันอย่างนี้แล้วนะ พอรู้ว่ามันพลิกขึ้นมาปั๊บ เอาสติคุมเลย เอ๊ยเกิดมาแล้วสติคุมเลย พอเอาสติคุมไปได้ตลอดเวลาแล้วที่นี้คุณจะทำอะไรล่ะ ถ้าคุณเห็นว่าในโลกนี้ควรทำให้ดี สิ่งที่ทำนี้เป็นกุศล เชิญเลยทีเดียว เพื่อการเกื้อกูลโลก  โปรดโลกก็ทำ 

แต่ถ้าสิ่งใดเป็นอกุศล สติเรารู้ดีอยู่แล้ว แยกแยะออกแล้ว ว่าเป็นอกุศล หยุด เพราะเรารู้เสร็จแล้วนี่ อะไรเป็นสมุทัยแห่งตัวนี้ พอรู้อุทธัจจะแล้ว ดับอุทธัจจะปั๊บเลย อาตมาพูดย้อนตั้งแต่ปลายมาหาต้น ดับพรึ่บเลย อย่าปรุงอย่าฟุ้ง ถ้าฟุ้งมาเพื่อตัวตนนี้อย่าฟุ้ง ดับเลย พอดับพรึ่บลงแล้ว มันก็ไม่มีอะไร มันก็อยู่สบาย 

เพราะฉะนั้น อวิชชาตัวนั้นไม่เรียกว่า อวิชชา อวิชชาตัวนั้นเรียกมันว่า วิชชา ว่ารู้เท่า รู้ทัน รู้แจ้ง รู้สว่าง เข้าใจชัดแจ๋เลย นี่แหละเรียกว่า สว่างไสวอยู่ในการดับ หรือดับอย่างสว่างโล่ง นี่แหละ คือมีวิชชา เป็นวิชชาสว่างไสวรู้แจ้งแทงทะลุอยู่ชัดเจนเลย 

ไม่ใช่ดับอย่างอภิสัญญานิโรธ เพราะว่าถ้าไปดับอย่างอภิสัญญานิโรธแล้ว มันไม่สว่างไสว มันมืดตึ๊ดตื๋อเลย ไม่รู้เรื่องเลย ดับอย่างนั้น พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าไม่เอา ไม่เอา ดับอย่างนั้นไม่เอา พระพุทธเจ้าท่านสอนพระอานนท์อยู่ในสูตร  โปฏฐปาทสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ 9 ข้อ 275 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 1 ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค) ท่านสอนพระอานนท์เอาไว้ คือ ปาทะพราหมณ์มาถามพระพุทธเจ้าว่า ท่านผู้เจริญ อภิสัญญานิโรธนี้มันเป็นยังไง มาทูลถามพระพุทธเจ้า 

พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสบอก อภิสัญญานิโรธ มันเป็นอย่างนี้แหละเธอ แล้วท่านก็อธิบายให้ฟังว่า ถ้าผู้ใดทำตนให้รู้ในฌาน เป็นรูปฌานเสร็จแล้ว แล้วเราก็พยายามทำรูปฌานนี้ให้ละเอียดยิ่งขึ้นอีก กระทั่งว่างลง ว่างลงเป็น อากาสานัญจายตนะ แล้วก็รู้ให้ได้นะว่าที่เรามี อากาสานัญจายตนะ เรายังมีตัวมีตนนะ ยังมีรูปมีนาม รูปของอากาสานัญจายตนะ ยังมีนามซ้อนอยู่ตัวหนึ่ง  เรียกว่า วิญญาณ  

เพราะฉะนั้นทำความรู้ในวิญญาณนี้ให้ได้ ถ้าใครระลึกรู้ว่า อ๋อ.. วิญญาณนี้เราเข้าไปเสพ อากาสานัญจายตนะ เธอเข้าไปเสพอากาศมันเป็นอย่างนี้เองนะ ผู้นั้นก็จะเกิดวิญญาณัญจายตนะ ผู้ใดทำวิญญาณัญจายตนะได้แล้ว ก็จะรู้ว่าตัวเองยังมีตัวรู้อยู่ในตัวอีกตัวนึง ให้ดับตัวรู้นี้ลงไป ให้สิ้นซากอย่าให้เหลือหลอ ดับตัวรู้นี้ลงไปให้ไม่มีเหลืออะไรเลย ให้ไม่มีตัวรู้เลยเป็น อากิญจัญญายตนะ ดับลงไปๆ ให้สนิท เป็นอากิญจัญญายตนะ ให้ตัวเองไม่รู้อะไร จะพยายามให้ไม่มีทุกสิ่งในโลก ดับไปอย่างที่คนจะไม่มีชีวิตอยู่ในโลกเลย ก็เป็น อากิญจัญญายตนะ 

ถ้าผู้ใดเกิด อากิญจัญญายตนะ นิดหนึ่ง น้อยหนึ่ง อะไรก็ไม่มีหมดแล้วเรียบร้อยแล้วนะ ท่านให้ดับต่อไปอีกเลย แล้วดับให้มันสนิทที่สุดเท่าที่มันจะสนิทได้ ต่อจาก อากิญจัญญายตนะเลย ดับพรึบให้ยิ่งกว่านั้นเลย อายตนะก็ไม่ให้เหลืออะไรก็ไม่เหลือ ดับสูญที่สุดเท่าที่เราจะสามารถ อันนี้และเรียกว่า  อภิสัญญานิโรธ ไม่ต้องไปต่อ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ต้อง ไม่ต้องไปต่อ ดับให้ยิ่ง 

อภิ แปลว่ายิ่ง นิโรธ แปลว่าดับ อภิสัญญานิโรธ คือดับสัญญานี่แหละ ในตัวคนที่จะเหลืออยู่ก็มีสัญญากับอัตตา อันใดเป็นอัตตา ก็เรียกว่ายังมีรูป อันใดมีสัญญาอยู่ก็เรียกว่า มีรูปมีนาม นามเราเรียกว่า สัญญาตัวสุดท้าย รูปเราก็เรียกว่าอัตตา ใครเหลือนามเหลือรูป ก็เป็นอย่างนี้ถ้าใครไม่เหลือนามเหลือรูปก็ไม่ต้องมีอะไร อย่างนี้เป็นต้น 

พระพุทธเจ้าท่านให้ดับอย่างนี้ นี่ท่านทรงสอนเอาไว้ใน โปฏฐปาทสูตร คือ โปฏฐปาทพราหมณ์ ไปทูลถามท่าน การดับดับอย่างนี้เท่านั้น แต่พระพุทธเจ้าท่านเคยเรียนมานะ เรียนมากับพวกศาสดาจารย์ต่างๆ อาฬารดาบส อุทกดาบสก็ดีสอนท่านสอนถึงขั้น อากิญจัญญายตนะแล้ว ยังมียิ่งกว่านี้อีกนะยังเป็น เนวสัญญานาสัญญายตนะ พระพุทธเจ้าเคยเรียน ก็มันมีดับแล้วมันก็มีรู้  รู้แล้วมันก็ดับ  ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ พระพุทธเจ้าท่านเข้าใจท่านก็เลยบอกว่า ปัดโธ่ ไม่รู้จักจบ อยู่แค่นี้เอง ที่มันไม่จบเพราะอะไร เพราะคนมันยังมีรูปมีนาม มันยังมีกายยังมีใจ เมื่อมันยังมีกาย ยังมีใจ มันยังไม่ตายแท้นั้นมันยังไม่ตายจริงหรอก 

แต่คนจะพ้นทุกข์ไปได้จริงแทนนั้นจะต้องรู้กิเลสตัณหาให้ชัด เมื่อรู้กิเลสตัณหาให้ชัดแล้วดับกิเลสตัณหา ให้เปลื้องจากตัวตนไม่ให้เหลืออยู่ จิตก็ให้เหลืออยู่ กายก็ให้เหลืออยู่ ก็จบ แล้วคนนี้ก็เหลือแต่กายกับจิตที่ไม่มีของใคร เป็นของโลกเป็นของว่างๆ เป็นของสาธารณะ มีจิตกับกายอย่างสาธารณะ แต่ไม่ทำเหมือนคนสาธารณะ แบบผู้หญิงสาธารณะ ผู้ชายสาธารณะ ไม่ใช่นะไม่ทำอย่างนั้นนะ แต่สาธารณะในสิ่งที่ดีที่ควร ใครจะมาเอาสิ่งที่ดีที่ควรจากท่าน ท่านผู้บรรลุนี้ ท่านผู้ที่หมดแล้วจากกิเลสตัณหาทั้งหลายนี้ จะมอบทุกสิ่งทุกอย่างให้ จะให้เป็นสาธารณะในสิ่งที่ดี 

แต่ไม่ใช่เป็นสาธารณะในสิ่งที่ชั่ว ไม่เป็นเลย นี่เรียกว่า เป็นผู้ดับที่รู้ว่าชั่ว ดับอย่างฉลาดดับอย่างรู้เท่าทันคำว่า ชีวิต เพราะชีวิตมันไม่ตายจริง มันไม่ดับจริง ดับให้เหลือน้อยหนึ่ง จนไม่รับรู้อะไรเลยก็เหลือแต่รูปเปล่าๆ เหลือแต่ร่างกายแข็งทื่อเฉยๆ ไม่รับรู้โลกเลย เป็นอาสัญญีอย่างนี้ท่านไม่เอา หรือเป็นอภิสัญญานิโรธท่านไม่เอา ไม่เอา อภิสัญญานิโรธ หรืออสัญญีสัตว์ ไม่เอา ท่านไม่เอา อย่างนี้ไม่ได้ประโยชน์อะไรท่านไม่เอา 

จงเข้าใจให้ได้ แบบนี้ใบไม้กำมือเดียวของพระพุทธเจ้า คือ นิโรธอริยสัจ นี่แหละ เพราะฉะนั้นก็หันกลับเข้าไปหาสิ่งที่ถูก ก็นิโรธต้องรู้ว่าอย่างนี้หนอ ต้องเรียกว่า สักกายะ อย่างนี้เรียกว่า กามราคะ เศษของกามราคะ เรียกว่า ปฏิฆะ ก็รู้ให้ได้ อย่างนี้เรียกว่า รูปราคะ รู้ให้ชัด ลึกละเอียดลงไปเข้าไปกว่ารูปราคะเรียกว่า   อรูปราคะ ซ้อนไปอีกก็รู้ให้ชัด และรู้ว่าอย่างนี้เรียกว่า มานะ พอรู้มานะ มานะนี่คือใจ คำว่ามานะเนี่ยแปลว่าจิต คือรู้ให้ชัดว่านี่แหละคือมานะ ถ้ามันถือดีในจิต ใหญ่เป็นปรมาตมันอยู่ก็รู้มันให้ชัด พอรู้มานะชัดแล้ว หมดมานะ ละ ไอ้ที่มันยึดมั่นถือมั่นในตัวตนว่าฉันใหญ่ ฉันเล็ก ความใหญ่ความเล็กไม่มีแล้ว 

รู้ละเอียดจนกระทั่งว่า ถ้ามันเริ่มเกิดขึ้นมานิดนึงเป็นปฏิกิริยาในจิตวิญญาณเล็ก เป็นปฏิสนธิวิญญาณขึ้นมาน้อยหนึ่งได้แล้วนี่ เริ่มเป็นโอปปาติกะสัตว์ขึ้นมาในโลก พอเริ่มนิดขึ้นมาเป็นอุทธัจจะก็รู้ได้ คราวนี้แหละ หวานเลย คุมได้เลย ตอนนี้คุมติดตลอดเลย รู้ละเอียดได้ถึงขนาดอุทธัจจะผุดขึ้นมานิดนึงคุมได้ตลอดเลย ตอนนี้ล่ะ โอปปาติกะก็โอปปาติกะเถอะ จิตของเราเองเราคุมได้เลยอย่างนี้ มันไม่เป็นผีแน่ โอปปาติกะตัวนี้ไม่เป็นผีแน่ และไม่ใช่เทวดาหลงกามแน่ 

เพราะรู้เสียแล้วนี่ว่ากามเป็นยังไง ฆ่ากามแล้ว ไม่เป็นเทวดาชั้นพรหมแน่ด้วย  ที่มันใหญ่ มันยิ่ง มันโต ไม่เป็นด้วย เพราะฉลาดรู้เท่าทันหมดแล้ว มีวิชชาซะแล้ว พ้นอวิชชาซะแล้ว เข้าใจได้ซะแล้ว ก็คุมได้สบายเลย แต่การคุมนี้ไม่ได้คุมเปล่า การที่จะรู้นี้ วิชชาที่รู้นี้ ของผู้ที่เป็นพระอาริยเจ้าของท่านหมดจริง ท่านมีแต่กุศลจริง แต่ของคนอื่นไม่เท่าของท่าน ฟังให้ดีนะจุดนี้สำคัญ ของท่านหมดจริง ท่านไม่ยึดแม้แต่เศษเสี้ยวของโอปปาติกะ แม้แต่เศษเสี้ยวของวิญญาณ

แม้แต่เศษเสี้ยวของปฏิสนธิวิญญาณที่เกิดมาเป็นตัวตนแรกเริ่ม ท่านก็ไม่หลงยึดอะไรเลย แต่ว่าของคนอื่นนั้นยังทำไม่ได้เท่านี้ ของคนอื่นคนนี้ๆ บางคนยังมีเศษของกามอยู่ก็มี เศษของปฏิฆะอยู่ก็มี ยังมีเศษของรูปราคะ อรูปราคะ มีเศษของมานะก็มีอยู่ทั้งนั้น 

พวกนี้ยังตามรู้ถึงขั้นที่เป็นอุทธัจจะเจตสิกยังไม่ได้ พระอรหันต์ก็จะเข้าใจจิตของผู้นี้ว่า อ๋อ..คนนี้ยังมีกาม เศษกามยังมี ผู้นี้เศษของรูปราคะยังมี ผู้นี้เศษของมานะยังมี พระอรหันต์จะรู้เท่าทัน พอรู้แล้วก็เขียนไว้ คนนี้ กามราคะยังไม่หมดเลย จะให้ไปละมานะไม่ได้ ไม่ได้ ก็สูตรมันบอกอยู่แล้วนั่นน่ะ อาตมาขีดเส้นใต้ไว้ระดับที่ 5 นะ ระดับจาก 5 ไปหา 1 เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ หมายความว่าสังโยชน์เบื้องต้น ที่ขีดเส้นใต้เอาไว้สังโยชน์เบื้องต้น 

เพราะฉะนั้นเมื่อเบื้องต้นเรื่องหยาบเรื่องตื้นยังไม่หมดได้ สังโยชน์เบื้องสูงจากข้อ 6 ไปจนกระทั่งทะลุรวดถึงอวิชชาเลยนี่  ที่เรียกว่า อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ย่อมยังไม่ได้ อ๋อนี่เห็น กามก็ยังไม่หมดเลย ย่อมไม่ใช่พระอนาคามี 

พระอนาคามีหมดแล้ว 5ข้อทั้งหมด พระอนาคามียังเหลือแต่เศษ รูปราคะ อรูปราคะ ไปถึงอวิชชา เหลือแต่ อุทธัมภาคิยสังโยน์ แต่นี่กามก็ยังไม่รู้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พักไว้ก่อน ไปเล่นภพชาติอยู่ข้างใน ในจิตเลย ไปเล่นมานะ อาตมาบอกแล้ว มานะ แปลว่า จิต จิตอะไร รูปจิต ที่เป็นรูปราคะ อรูปจิตที่เป็นอรูปราคะ แล้วก็ไปมานะ ไปดับไปฆ่าในโน้น แต่กามราคะไม่รู้เรื่องเลยไม่ได้ทำมาเลย คนนี้จึงเรียกว่า จะเป็นผู้ที่ดับได้สิ้นรอบไม่ได้  เพราะฉะนั้นเราจะต้องเรียนรู้เป็นเบื้องต้น ท่ามกลาง บั้นปลาย ให้ถูกคำสอนพระพุทธเจ้ามันลงรอยลงร่องกันหมด ผู้ใดจะเริ่มต้นทำก็จะต้องหัดตั้งแต่ นิวรณ์ 5 

นิวรณ์ 5 ท่านสอนว่ายังไง หัดเรียนรู้กาม อ้าว กามเบื้องต้นอีกแล้ว ให้เรียนรู้พยาปาทะ ให้เรียนรู้พยาบาทให้รู้ ถีนมิทธะ ให้เรียนรู้อุทธัจจะ ซึ่งอุทธัจจะมันเข้าไปหาข้างล่างแล้ว ก็คือ  รูปราคะ อรูปราคะ มานะ ถีนมิทธะ ฟังให้ดี นิวรณ์ 5 นี่นะ แบ่งครึ่งกามกับพยาบาทเป็นตัวหยาบเป็นตัวต้น ถีนมิทธะ อุทธัจจะเป็นตัวปลาย วิจิกิจฉานั้นอย่าไปพูดถึงมัน เพราะวิจิกิจฉามันไม่มีอะไรมันเป็นตัวไม่รู้แจ้งยังลังเลสงสัย มันยังไม่ทะลุทะลวง ยังคล่องๆ คาๆ อยู่ ยังไม่เข้าใจชัดอย่างแท้จริงแค่นั้นเอง วิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้นถ้าเราเข้าใจอย่างแท้จริงพ้นวิจิกิจฉาแล้วนะ วิจิกิจฉามันก็หลุดไปเอง ไม่ต้องไปทำอะไรในตัววิจิกิจฉาคือ มันเป็นตัวที่ยังไม่รู้แจ้งแทงทะลุรอบถ้วนนั่นคือวิจิกิจฉา ซึ่งอาตมาอธิบายสังโยชน์ 10 อยู่ อาตมาถึงยังไม่ได้พูดถึงวิจิกิจฉาเลย เพราะไม่ต้องไปทำอะไรมันนี่ วิจิกิจฉา คือตัวจิตของเราที่บรรลุเป็นปัญญาอย่างแท้จริงเท่านั้นเอง พอบรรลุซึ่งปัญญารอบถ้วนอย่างแท้จริง วิจิกิจฉามันก็ผล็อยลงไปเองไม่มีอะไรเหลือวิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้น ตัววิจิกิจฉาไม่ต้องไปทำอะไรมัน ไม่ต้องไปทำอะไรมันเลย เป็นแต่เพียงว่าพยายามทำให้รอบสิ้นเป็นรอบๆๆ ไปเท่านั้นเอง วิจิกิจฉา          นี่เรียกว่า เราเข้าใจ แม้แต่นิวรณ์ 5 ก็เหมือนกันเห็นไหม อาตมาแบ่งหยาบๆ ให้ฟังเหมือนกัน ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 นิวรณ์ 5 ก็ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 ไม่ขัด

เพราะฉะนั้น ก็ขอมาเริ่มต้นที่ เบื้องต้นซะก่อน มาเริ่มต้นที่ สักกายะ

เราจะรู้ว่าสักกายะเป็นอะไร เราก็ต้องมาเรียนรู้ภาษาซะก่อนว่า สักกายะท่านหมายความว่าอย่างไร 

สักกายะ ท่านก็หมายความว่า ไอ้ที่มันหลงเป็นตัวเป็นตนอันใหญ่ สักกะ แปลว่า ใหญ่ ๆและตัวตนอันใหญ่นี่ มันไม่ได้กินความแค่นี้ มันไม่ได้กินความแค่ร่างกายเท่านี้หรอก มันกินความถึง 6 ทวาร ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจด้วย ใจด้วย อาตมาจะพูดใจก่อน สักกายะตัวนี้ อาตมาจะพูดใจซะก่อนเพราะหยาบกว่าคือ 

ใจของเรานี่มันโง่ โง่ที่มันไปหลงภพ หลงชาติ เรียกว่า ภวตัณหา นี่พูดภวตัณหาก่อนกามตัณหาเสียด้วย เพราะมันเป็นภพหยาบๆ เป็นโลกียธรรมหรือเป็นโลกธรรมธรรมดาธรรมดา เป็นอะไรบ้าง มีหลงภพแห่งความร่ำรวย ภพ

แห่งการเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งการที่จะได้รับคำสรรเสริญเยินยอ ชูช่อชูเชิด ภพแห่งสิ่งที่หลงว่า สุขสำราญเหลือเกิน สุขสำราญเหลือเกิน มีแค่นี้แหละ รวมความแล้วก็คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ไม่มีอะไร 

ภพแห่งความร่ำรวยก็คืออยากจะได้ลาภเยอะแยะ ภพแห่งการที่จะได้ความใหญ่ความโต​​ ความมหึมาของยศฐานะ  ภพที่จะได้รับคำเยินยอสรรเสริญ ภพแห่งความที่จะหลงว่ามันเป็นสุขทั้งนั้นในโลกนี้ ไม่ว่าอะไรก็หลงว่าเป็นสุขหมด มีอยู่เท่านี้ อาตมาเคยอธิบายละเอียดละออมาแล้ว วันนี้ไม่พูดซ้ำแต่เน้นให้ฟังให้เข้าใจ 

ถ้าผู้ใดไม่หลงภพที่หยาบๆ แบบนี้แล้วแล้วก็ ผู้นั้นจะเข้าใจสักกายะอย่างหยาบที่สุดได้แล้ว แล้วก็หัดตัด หัดตัด หัดละ ถ้าคุณเองยังไปหลงภพแห่งความรวย ทำไมคุณยังไปหลงภพแห่งความรวย ก็คุณเข้าใจว่าความรวยนั้นมันดี มันเป็นของดี ของควรได้  ควรเป็นควรมี มันก็เป็นเพราะว่าตัณหาเท่านั้น แล้วคุณก็อยากได้ว่าเป็นของควรได้ควรมีควรเป็น คุณก็อยากได้สิ่งนั้น อยากเป็นสิ่งนั้น อยากมีสิ่งนั้น คุณก็ละอยากไปสิ ไม่ต้องไปอยากมัน ไปอยากมันทำไม ละมันเสีย แล้วมันจะเป็นคนรวยเอง ฟังให้ดีนะตลก 

ถ้าคุณละอยากซะแล้ว อย่าอยากรวยและคุณจะรวยเอง ใครยิ่งอยากรวยยิ่งไม่เคยรวย ถ้าใครยิ่งไม่อยากรวย นั่นแล้วยิ่งจะรวยเข้าไปทุกทีทุกที นี่อาตมาไม่ได้พูดเล่นลิ้นไม่ได้เล่นภาษา อาตมา มหาศาลรวยจริงๆ รวย อาตมารวยมหาศาลเลยไม่ขาดตกบกพร่องเลย ทุกวันนี้สบายมาก สู้เขาได้สบายมาก จริงๆ อาตมารวยมหาศาลเลยทุกวันนี้ เพราะอะไร เพราะอาตมาไม่อยากได้ เต็มเสียแล้วนี่ แต่คนที่อยากรวยนั้น มี 5 พันล้านแล้วยังไม่เต็มเลย คุณคิดดูให้ดี มี 5,000 ล้านแล้วยังไม่เต็มเลย ยังอยากอีก ทำเหน็ดเหนื่อยเข้าไปสู้เอา 5,000 ล้าน ไปหาเอาใหม่ต่ออีกทำอะไรต่ออะไรอีกแล้วเมื่อไหร่มันจะรวย 

คุณคิดดูซิ ไม่รวย ต่อให้มีหมื่นล้านนี่ยังไม่รวยเลยเพราะเขายังไม่เต็มสักที แต่อาตมาเต็มซะแล้ว เต็มแล้วยัดไม่ลงเดี๋ยวนี้บาทหนึ่งยังยัดไม่ลงเลยเต็มปรี่เลย แล้วคุณคิดดูซิคนที่เต็มปรี่แล้ว บาทนึงยังยัดไม่เข้า นี่กับคนที่มีหมื่นล้านแล้ว มีเท่าไหร่ก็ทิ้งหายทิ้งหายเหมือนหาย เอาไปทิ้งอีก 20,000 ล้าน ก็หายอันไหน เรามันจะเต็มอันไหนมันจะที่มันจะรวยกว่ากันก็คนที่ยัดไม่เข้าสิรวย มันรวยเด็ดขาดเลย โอ้โหเต็มปรี่เลยไม่รู้จะทำยังไงบาทนึงก็ยัดไม่เข้าจริงๆ

แล้วแสนสุขสบายเลยไม่เหน็ดเหนื่อย ส่วนคนที่มี 5,000 ล้านแล้วยังเหน็ดเหนื่อยยังอยากได้ยังคิดหาวิธีปวดขมับปวดขมอง คิดแต่จะเอายังไงดีโว้ย  ยังไงดีโว้ย เสร็จแล้วพอจะตายตายก็ต้องมานั่งทำพินัยกรรมอาตมาตายแล้วไม่ต้องนั่งทำพินัยกรรมเลยสบายมาก ตายที่ไหนก็ได้ ตายไม่บอกใครก็ได้อาตมาจะตายที่ป่าที่ภูเขาที่ไหนก็สบาย  แต่ถ้าคุณมี 5,000 ล้าน จ้างคุณก็ไม่กล้าไปตายในป่าในเขา จะตายก็ต้องเรียกให้พี่น้องมาทำพินัยกรรมกันนะ อย่าเถียงกันนะอย่าตีกันนะ ขนาดบอกไปแล้วเดี๋ยวมันก็ตีกัน บางทีตีต่อหน้ายังไม่ทันตายเลย บางคนก็อดทนเอาไว้ พอตายแล้วไปตีกัน เพราะแบ่งให้อั๊วะน้อยแบ่งให้ลื้อมาก ให้เป็นพี่น้องกันก็ยังตีกันยุ่ง ยุ่งทุกอย่าง  เพราะฉะนั้นอาตมานี้ไม่ยุ่งเลย ตายแล้วไม่ต้องทำพินัยกรรมทุกอย่างสบายมาก 

เพราะฉะนั้นอาตมาถึงบอกว่าใครที่หมดอยากแล้ว รวยไม่เป็นคนนั้นรวยคนนั้นรวยที่สุด ไม่เอาอะไรเลยรวยที่สุด แต่ใครเองยังเอาอยู่ไม่รวยเลยไม่มีวันเต็มไม่มีวันรวย นี่แหละถึงบอกว่า อย่าไปหลงในลาภ ยศก็เหมือนกัน 

เวลามาเป็นพระพุทธเจ้านี่ท่านไม่มียศเลยนะ ท่านถอดยศจากราชกุมารมานะ แล้วรัชทายาทนะ พระพุทธเจ้าท่านถอดยศรัชทายาทลงมาเป็นคนถือบาตร บิณฑบาตขอข้าวกิน เสื้อผ้าก็มีน้อยนอนโคนป่าโคนเขานะ ซึ่งแต่เดิมยศฐาบรรดาศักดิ์ท่านขึ้นเรื่อยๆ สุดท้าย พระเจ้าปเสนที่เป็นเจ้าแห่งแคว้นโกศลยังมากราบไหว้

แต่ถ้าพระพุทธเจ้ายังเป็นราชกุมารย่อมเป็นผู้ที่จะครองราชย์อยู่ที่กรุงกบิลพัสดุ์นะ เจอพระเจ้าปเสนทิต้องกราบพระเจ้าปเสนทิก่อน ต้องกราบก่อนนะ พระพุทธเจ้านี่โดยศักดิ์ ก็กรุงกบิลพัสดุ์น่ะกรุงเล็ก แคว้นเล็กไม่ใช่แคว้นใหญ่หรอก แคว้นโกศลเป็นแดนใหญ่แคว้นกว้างขวางใหญ่โต พระเจ้าปเสนทิโกศลนี้ใหญ่ มีศักดิ์เป็นผู้ใหญ่

เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่าพระพุทธเจ้าเราครองราชย์ ครองกรุงกบิลพัสดุ์นะ ต้องมากราบ มีฐานะต้องมากราบมาเคารพพระเจ้าปเสนทิโกศล แต่พอพระพุทธเจ้าไม่เอาแล้ว ยศฐาบรรดาศักดิ์แบบนี้ไม่เอาแล้ว โยนทิ้งเลย ไปเป็นคนนอนกะดินกินกะทราย มีกินน้อยมีใช้น้อย โอ้โห ยศฐาบรรดาศักดิ์พระเจ้าปเสนทิว่าใหญ่ เจ้าแคว้นโกศลต้องมากราบเลย ต้องมาเคารพเลย  คิดดูซิว่า ฐานะที่พระพุทธเจ้าได้นั้น ยศที่พระพุทธเจ้าได้นั้นสูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าแล้ว 

อาตมาเห็นจริง เห็นชัดเหลือเกิน แหม แจ่มจริงหนอ  ชัดจริงหนอ พระพุทธเจ้าทำทานมาสูงจริงหนอ บริบูรณ์จริงหนอ ถึงสิ่งที่เรียกว่าคุณธรรมในตนอย่างนี้แล้ว ยศฐานะบรรดาศักดิ์ขึ้นเอง และไม่ได้อยากได้ด้วยแต่มีเอง มีเอง มีเองจริงๆ เพราะฉะนั้นผู้ใดยิ่งไม่เอาลาภ ไม่เอายศ ไม่เอาสรรเสริญ ยิ่งดังด้วย พระพุทธเจ้าดังมาตั้ง 2,500 กว่าปีแล้ว เดี๋ยวนี้เราก็ยังรู้จักท่านดีเหมือนกับท่านนั่งอยู่ตรงนี้พระพุทธเจ้า ดังไหม ใครที่ทำให้ดัง ยิ่งเดี๋ยวนี้ มาร์ลอน แบรนโด ที่ว่าดังๆ เนี่ย ปัดโธ่เอ๋ย  ฮิสตัน มันกำลังดัง ๆ อยู่นี้ นับไปกี่ปี ใครจะอยู่รอดูก็ได้ 100ปี 200ปี 300 ปี ดูซิจะดังไปได้แค่ไหน ไม่สู้ คนที่เป็นจอมจักรพรรดิยิ่งกว่าพระพุทธเจ้ารุ่นหลังกว่าพระพุทธเจ้าอีก ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย  

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่อยากได้ลาภ ไม่อยากได้ยศ ไม่อยากได้สรรเสริญ  ยิ่งได้ 

ทีนี้สุขล่ะ ไม่อยากได้สุข จะได้สุขไหม ได้แฮะ ได้อย่างบริบูรณ์ถ้วนรอบ บอกใครไม่ถูก ภาษาพระท่านขอยืมภาษาโลกท่านมาเรียกว่า มาเรียกว่า บรมสุข แต่ไม่ใช่สุข ฟังดีๆ นะ ขอเอายืมภาษาโลกมาเรียกว่า บรมสุข หรือแปลว่า นิพพาน

 นิพพานังปรมังสุขัง นิพพานนั่นแล เรียกว่าบรมสุข ขอยืมภาษาโลกเรียกว่า บรมสุข  ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรมาเรียกแล้ว เรียกว่านิพพาน คุณก็ไม่รู้ว่านิพพานคือตัวยังไง อารมณ์ยังไง ตัวมันเป็นยังไง คุณไม่รู้ ก็เลยขอเทียบเคียงไอ้สุขโลกๆ เนี่ย คุณรู้สุข  สุขแบบโลกคุณรู้ ว่ามันไม่ใช่สุขธรรมดานะ มันบรมนะ มันยิ่งนะ บรมนี่แปลว่า ยิ่งนะ ปรมัง บรม มันยิ่งกว่าสุขขึ้นไปอีกแหนะ ไม่มีชื่อเรียก แต่เรียกว่ายิ่งกว่าสุข เรียกว่ายิ่งกว่าสุข ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรเรียก 

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ไม่มีสุข แต่มีอันนึง เรียกว่านิพพาน เรียกว่าสุญญตา เรียกว่า นิโรธอริยสัจยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ตัวนี้แหละ ไม่อยากได้สุขเลย แต่มีอีกสิ่งหนึ่งมาแทนยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ใครมี คนนั้นจะเบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ แจ่ม ใสอยู่ เบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ หมดความเสพ สิ้นความอยาก หมดความเสพ สิ้นความอยาก อยู่อย่างนั้นบริบูรณ์อยู่ นี่เรียกว่า ผู้ใดหลงภวตัณหาอย่างหยาบแบบนี้แหละ ถ้าเราเอาแค่ภวตัณหานี้เดินเข้าไปอย่างนี้ถึงลึกละเอียดก็ได้ด้วย

 แต่มันก็เข้าใจไม่ได้สำหรับคน ต้องยักย้ายภาษาหน่อย และให้ตามสภาวะมาไม่งั้นมันดื้อ ไม่งั้นมันดื้อ มันลึกนึกว่าตัวเองมันจบอยู่ที่สุด นึกว่าน้ำเต็มตุ่มแล้ว ทุกที ที่จริงควรเปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ตุ่มนี้ไม่ขยันเอาตุ่มใหม่หน่อยก็ได้สิ่งใหม่ๆ มา อืมแหม ตุ่มใหม่นี้น่าตักใส่ ตักใส่ใหม่หน่อยค่อยยังชั่ว ต้องอาศัยหลอกบ้างเหมือนกัน คนถ้าไม่หลอกไม่เอา ตักน้ำใส่ตุ่มเก่าไม่อยากตักเอาตุ่มใหม่มาให้ค่อยยังชั่ว ตักก็ยอมตักหน่อย อย่างนี้ยักย้ายหน่อย 

ยักย้ายจาก ภวตัณหาเข้ามาหากามตัณหา กามตัณหาอย่างหยาบ ไม่ต้องพูดมากวันนี้ไม่ตั้งใจพูดถึงเรื่องพวกนี้มาก เอาแต่เพียงคร่าวๆ  พอเราทำกามตัณหาให้รู้ กำลังขึ้น สูตรอันที่เรียกว่าข้อที่ 4 ก็มีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ที่ติดตัวแล้วตอนนี้ เมื่อกี้นี้มีแต่ใจนะทวารใจ ที่บอกแล้วใจมันไม่อยู่ในภพร่ำรวยอยู่ในภพแห่งความเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งความเป็นความดังสรรเสริญเยินยอ ภพแห่งสุข ตอนนี้ไม่ใช่ภพข้างนอกแล้วนะ ไม่ใช่เอาใจไปผูก เอาตา เอาหู เอาจมูก เอาลิ้น เอากาย ว่ากันชัดๆ เลย 

พอตาสัมผัสเข้าปั๊บ แหม เป็นตัณหาเลย แหม สวยจริงโว้ย อยากได้จริงแฮะ เอาเลย หูได้ยินไอ้นี่ แหมดีจริงถูกหูจริง ไพเราะเสนาะพริ้ง หรือว่า มันส์ บางทีก็ไม่ไพเราะหรอก  เป็นรสชาติอย่างไรก็ตาม บางคนก็ชอบการด่าเหมือนกันนะ ด่าแบบนี้ดีเหมือนกันนะ  มันส์ๆ ดีเหมือนกัน มันคันๆ หัวใจดีเหมือนกัน บางคนคิดชอบด่า ถ้าไม่ด่าไม่ขยัน บางทีลูกเต้าบอกพูดหวานๆ ลูกเอ๋ย ทำอย่างนี้หน่อย ไม่ทำ พอด่าเข้าสักเปิง 2 เปิงประเดี๋ยวแหนะ ซัดซะนี่ ทำเลย นี่ บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน  บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน ชอบด่า เพราะฉะนั้นเราก็ไม่ต้องพูด บางคนถ้าได้มาในเสียงที่ยึดมั่นถือมั่นก็ชอบ ถือว่าต้องทำ ถือว่าต้องเอา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ทุกประตูในทวาร 5 ทีนี้ไม่ใช่ทวารใจ 

ถ้ายังไปหลงอย่างนี้อยู่ อยากอยู่ เพราะทวารทั้ง 5 นี้ เรียกว่า กามราคะ เรียกว่ากามราคะ เพราะฉะนั้นภพภวตัณหาหยาบแล้ว กามตัณหาอย่างหยาบแล้วนี้ เราต้องเรียนรู้ให้ได้ เรียนรู้ มันเป็นสมุทัย ภวตัณหา กามตัณหา มันเป็นสมุทัย ตัณหานี้เป็นสมุทัย รู้ให้ชัด เข้าใจมันให้ได้ แล้วหาทางไปฆ่ามัน ทางที่จะเอาไปฆ่ามันทำอย่างไรล่ะ

พระพุทธเจ้า ท่านว่าไว้ละเอียดหมดเลย ท่านให้เอาศีลไปฆ่า เอาศีลไปประพฤติ เอาศีลไปบำเพ็ญ มาถึงข้อที่ 3 แล้ว ศีล พรต เอาศีลไปประพฤติ พรต ตัวนี้ แปลว่าบำเพ็ญ เอาศีลตัวนี้ไปประพฤติเข้า ไปบำเพ็ญเข้า แล้วมันจะฆ่ากาย หรือฆ่ากาม ถึงจะละสักกายะหรือฆ่ากามราคะ มันจะฆ่าจริงๆ

เมื่อเรารู้มันซะก่อนแล้วว่า สักกายะ คืออย่างนี้ด้วย กามราคะคืออย่างนี้ด้วย ถ้าไม่รู้ก็ทำดื้อๆ ไม่รู้ก็บอกว่าพระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ปานาติปาตาเวรมณี อทินนาทานาเวรมณี อะไรก็ตามแต่ คุณก็เอาศีลนั้นมาอย่างดื้อๆ สมาทานตามที่พระพุทธเจ้าท่านว่าแปลอย่างดื้อๆ เอาง่ายๆ คุณก็ได้ง่ายๆ แต่คุณก็ไม่รู้ตัวรู้ตนมัน มันก็ยังไม่บริบูรณ์ ได้เหมือนกัน ได้ชั้นนึง ถ้าใครเข้าใจละเอียดลึกซึ้งเข้าไปอีก ศีลอันนี้เอามาบำเพ็ญก็รู้เนื้อรู้ตัวรู้สภาวะ รู้ทุกอย่างเรียบร้อยไปเป็นชั้นๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าทำๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าเอาศีลมาแล้วก็มาประพฤติอยู่เฉยๆ เหมือนกับ อ้าวศีล 5 บริบูรณ์แล้ว 

อาตมากล้าพูดด้วยในนี้ศีล 5 ไม่ใช่ตื้นๆ นะ 1.ยังไม่ฆ่าสัตว์ 2. ไม่ลักทรัพย์ 3. ไม่ผิดผัวเขาเมียใคร 4. ไม่โกหกใคร 5. ไม่กินเหล้า เนี่ยเอาตื้นที่สุด อาตมาเชื่อว่าในนี้นี่ เต็มตุ่มไปนานแล้วเยอะ ในนี้ ศีล 5 แค่นี้ ในนี้เต็มตุ่มไปนานแล้ว เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ เปลี่ยนตุ่มใหม่ซะบ้างสินะ ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มใหม่ คุณก็เทแล้วก็เทอีกอยู่ในตุ่มนั่นแหละ เทแล้วก็หก เทแล้วก็เลอะออกมา ก็มันเต็มแล้วนี่ ก็ไม่ได้ฆ่าสัตว์แล้วนี่ ก็ไม่ได้ขโมยของใคร ไม่ได้ผิดผัวเขาเมียใครแล้วนี่ ไม่ได้โกหกใคร ไม่ได้กินเหล้า ก็เต็มแล้วตุ่มนี่ เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ หรือไม่ก็ขยายตุ่มออกบ้าง 

ขยายตุ่มออกคือยังไงคือ ทำศีลให้ลึกลงไปอีก ถ้าไม่ขยายให้ทะลุเนื้อหาสาระของศีล 5 เอง ทำความเข้าใจไม่ได้ ก็เพิ่มศีล 6 ศีล 7 ศีล 8 ศีล 9 ศีล 10 เข้าไป เพิ่มเข้าไป ศีลเหล่านั้นเป็นศีลขยายความละเอียดความลึกซึ้งออกไป โดยภาษาโดยนิรุตติ ทำความเข้าใจในภาษาเหล่านั้น ไม่ใช่ตื้นๆ 

จะเอาแค่วิกาลโภชนา ประมาณกำหนดอาหารก็ได้ นัจจะ คีตะ วาทิตะ ไม่ดูการละเล่น ไม่ฟังเสียงร้องเสียงรำอะไรต่ออะไรต่างๆ ก็ได้ มาลาคันธะ วิเลปะนะ จะไม่หลงในดอกไม้ในของหอม ในเครื่องพอกทา ในเครื่องที่มาทรงแต่งไว้ ในเครื่องที่จะมารัดเอาไว้ต่างๆ นานา ที่จะเป็นฐานะแห่งการประดับตกแต่ง คุณเองคุณไม่ทำก็ได้ 

อุจจาสยนะ มหาสยนา จะไม่เอาแล้วที่นั่งที่นอนที่สูงที่ใหญ่อะไรแล้ว คุณก็ไม่เอาแล้วก็ได้ เอาหยาบๆ แค่นี้ก็ได้ ปฏิบัติศีล 8 เต็มแล้ว เต็มตุ่มอีก หยาบๆ แค่นี้นะ เต็มตุ่มแล้ว เปลี่ยนตุ่มอีกบ้าง ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มอีกนะ คุณก็ ตักเท ตักเท ตักไหลทิ้ง ตักไหลทิ้ง อย่างเก่าอีก

 อาตมาเชื่อว่าคุณหลายคนเต็มตุ่มแล้ว ตุ่มแตกนี้เต็มแล้ว เปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ขยายตุ่มเสียบ้างหรือเปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างตักใส่ใหม่เสียบ้าง ถ้าคุณไม่ขยายในสภาพที่ไม่ขยายตุ่ม หรือ  ไม่เปลี่ยนตุ่มนั่นแหละ  เรียกว่าสีลัพพตปรามาส ฉ่ำแฉะ หยำแหยะ สักแต่ว่าทำตามอย่างนั้นแหละ แล้วก็ไม่รู้ว่าได้แล้วหรือยัง เต็มตุ่มหรือยัง หลับหูหลับตาทำ เข้าใจไม่ได้ เต็มหรือไม่เต็มก็ยังไม่รู้ บางทีพอรู้ๆ เหมือนกันว่าตัวเองเต็ม แต่ว่าไม่รู้ว่าตัวเองเต็ม แต่ไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อ ไปมืดไปมัวอยู่ เรียกว่า สีลัพพตปรามาส สักแต่ว่าลูบๆ คลำๆ ทำ ๆ กันอยู่ ไม่เข้าใจ ไม่รู้ว่าควรจะเขยิบฐานะขึ้นอย่างไรๆ ไม่รู้เลย มันก็ไม่เดินทางน่ะสิ คุณก็ไม่ได้อะไรอีก คุณก็ได้แค่นั้นจนกระทั่งตาย บางคนถือศีล 5 จนตายเต็มตุ่ม ศีล 5 เต็มตั้งแต่ถือปีแรก ปีที่ 2 จนกระทั่งไปอีก 20 ปีก็ตาย เลยตักน้ำอีก 20 ปี เทตุ่มเต็มอันเก่านี้จนกระทั่งตาย มันน่าเสียดายไหมล่ะ น่าเสียดายไหมล่ะ

นี่แหละ สีลัพพตปรามาส คือสักแต่ว่าทำ ลูบๆ คลำๆ เล่นเฉยๆ ไม่ขยับฐานะไม่เลื่อนชั้น จารีตต่างๆ ท่านสอนไว้เนี่ยดี ประเพณีต่างๆ มีไว้ให้ทำและทำให้ถูกเรื่อง ถูกราวดี ทำให้บริสุทธิ์ได้ดี แต่ต้องรู้ว่ามันเต็มหรือยัง มันพอหรือยัง ควรจะขยายเพิ่มขึ้นหรือยัง ควรจะรู้ ถ้าเราได้มีปัญญาอ่านว่า  เราเต็มจริงแล้วควรขยายเพิ่มขึ้นไป เอาเลยแล้วมันจะสูงขึ้น 

ใครเต็มศีล 8 แล้วก็ขยายศีล 10 ใครขยายศีล 10 ได้แล้วก็เป็นจุลศีล มาให้หมด จุลศีลถ้าคุณไม่รู้มาหาอาตมา อาตมาจะให้ไป 26 ข้อ จุลศีลเต็มแล้วเอามัชฌิมศีลอีก มาหาอาตมา จะเอาให้ จะลอกพระไตรปิฎกให้อย่างไม่ผิดหรือเพี้ยนเลยล่ะ ลอกพระไตรปิฎกกันให้เลยล่ะ เพราะว่าอาตมาจะพูดเอง เอาพระไตรปิฎกให้ไปลอกเองก็ได้ อาตมาเอาพระไตรปิฎกไปให้ลอกเองก็ได้ มัชฌิมศีลได้ เอามหาศีลไป มหาศีลบริบูรณ์อีก เอาโอวาทปาฏิโมกข์ศีลต่างๆ นานา ที่อาตมาจะคัดให้คุณอีก อาตมาจะไม่ขี้เกียจ ขอให้มาขอเอาก็แล้วกัน จริงๆ ด้วย 

อย่างนี้ถึงเรียกว่าควรจะเลื่อนชั้น ควรจะประพฤติ อย่าให้มีวิจิกิจฉา ให้พ้นวิจิกิจฉา คือให้รู้แจ้งรอบได้ว่าเราเต็มตุ่มหรือยัง ไอ้ตุ่มเล็กๆ ใบที่เราทำขณะนี้เต็มหรือยังเต็มแล้วขยายตุ่ม หรือเปลี่ยนตุ่มใหม่ ตุ่มใบนี้เต็มหรือยัง ขยายไปเรื่อยๆๆๆ ตามความเป็นจริง คุณก็ใช้ศีล ใช้พรต ได้อย่างดี เรียกว่า เป็นผู้ที่รู้จักใช้ สีลัพพตุปาทาน คือมีศีลมาประพฤติ ยึดเอาศีลมาประพฤติ สีลัพพตุปาทาน หมายความว่า ยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติ พอยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติได้แล้วจนกระทั่งเราเต็มแล้ว ให้วาง อย่ายึดเอาไว้เป็นอุปาทานอีก 

ศีลที่เราประพฤตินี้ เมื่อได้แล้วเต็มแล้วบริบูรณ์แล้วถึงจิตบริสุทธิ์เป็นอธิจิตแล้ววาง เลิก หาศีลใหม่ มาพรตใหม่ หาศีลใหม่มาบำเพ็ญใหม่ พอบำเพ็ญใหม่ก็ไปเรื่อย ๆ สูงขึ้นอีก พอสูงขึ้นอีก เต็มอีกหยุด หยุดอุปาทาน หยุดยึดศีลนี้ แล้วก็หาศีลใหม่มายึดใหม่ เป็น พรต ใหม่อีก มันก็จะเขยิบฐานะอย่างนี้เรื่อยไปๆๆๆๆ  สูงขึ้นตามลำดับโดยแท้จริง 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำตามลำดับศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 เนี่ยนะ มันเป็นการฆ่ากามจริง เป็นการฆ่ากามตัณหา ศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 นี่ อย่างหยาบๆ นะ แต่โดยแท้จริงแล้วศีลข้อ 1 ถึงข้อ 5 อย่างละเอียดแล้ว คือลุไปถึง ทุกข์ ภวตัณหา กามตัณหา อย่างละเอียดสุดแล้ว ใครอ่านก็อ่านอะ อาตมาเขียนแล้ว ศีลคั้นออกมาจากศีล อย่างหยาบๆ ในเล่ม 1 ก็เขียนไว้แล้ว อย่างละเอียดในเล่ม 2 เขียนไว้อีก ในเล่ม 3 อีกที่จะละเอียดต่อไป ที่จะมีข้อ กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท และสุราเมรยะมัชฌะ ยังไม่ได้เขียน ยังไม่ได้ทำ  ที่จะทำต่อไปอีก ถ้าสรุปความแล้วจะไปยึดรวมเอา คือเอาจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล รวมเข้าไว้ ในการอันควรที่จะทำจะมีประโยชน์ 

หลักการพระพุทธเจ้าวางไว้ตามสูตรทำอย่างนี้ไม่ทำอื่น ไม่ได้ทำอื่น เอาศีลมาบำเพ็ญสิ ฆ่าสักกกายะ ฆ่ากามราคะ เศษเสี้ยวของสักกายะ กับ กามราคะที่เป็นปฏิฆะะอยู่ก็ค่อยๆ เลาะออกๆ ปฏิฆะ หมายความว่า ทวนไปทวนมา ให้มันเห็นรู้แจ้งในเศษเสี้ยวที่มันยังเป็นอาพาธอยู่ในจิต ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาม ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาย ที่เป็นกายใหญ่นะ สักกายะใหญ่ อาตมายังไม่ได้พูดถึงสักกายะเล็กนะ ยังไม่ได้พูดถึงกายเล็กนะ พูดถึงสักกะคือกายใหญ่ ถ้าชวนไปทวนมา ปฏิ คำนี้ แปลว่าทวนไปทวนมา ปฏิฆะ ถ้าหมายความว่า กลุ่ม หรือ หมู่ที่มันเกิด คณะนี้พอเป็น เปสิ กัลละ คณะ  ฆนะ เปสิ 

ก็เป็นก้อนเล็กนิดนึง ฆนะ ฆ แปลว่ากลุ่ม แปลว่าก้อน ถ้าใครทวนไปทวนมาเจอก้อนตรงไหนยังเป็นเศษเสี้ยนอยู่ยังเป็นเสี้ยนหนาม รู้ให้ได้ ทวนไปทวนมาให้หมด ลูบคลำ ให้เกลี้ยงให้ละเอียดถ้วนทั่วหมดเศษของกาย หมดเศษของกายเศษของกายอย่างหยาบแล้ว ก็เลื่อนชั้น ขึ้นหา อุทธัมภาคิยสังโยชน์

คือตอนนี้เป็นภวตัณหา อย่างละเอียด เข้าไปหาภพข้างในเลย ภพข้างในคืออะไร ภพข้างในก็คือความสงบระงับ ผู้ใด ฆ่าโลกธรรม 8 ได้แล้ว ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ คุณเองไม่ค่อยย่อหย่อนแล้วอย่างหยาบ คุณเลิกวางได้แล้ว และฆ่ากามได้แล้ว ทวนไปทวนมาเป็น ปฏิฆะ 

นี้จิตของคุณมันจะสงบระงับลงอย่างแท้จริงเพราะอะไร เพราะคุณขาดกิเลสตัณหาลงไปตั้งเยอะแล้ว กิเลสที่เป็นกาย กิเลสที่เป็นกามอย่างที่ว่าขาดโลกธรรมไปแล้ว ขาดกามคุณไปแล้ว คิดดูสิ จิตจะไม่สงบลงได้อย่างไร จิตที่มันเต้นอยู่มากๆ เพราะมันสร้างกายใหญ่ สร้างกามใหญ่มันก็เต้น พอกายกับกามลดลงไปได้มากแล้วคุณสงบลงเยอะ เต้นอยู่เบาๆ แล สงบลงไปตั้งเยอะ เพราะกามกิเลสกายกิเลสที่เป็นโลกธรรมมันขาดออกไปจริงๆ ไม่ได้ขาดเพราะคุณไปทำอื่นเลย 

เห็นไหมเอาสูตรพระพุทธเจ้ามาพูดแล้วมันจะชัด ไม่ใช่ว่ามันสงบลงเพราะกดหัวมันไว้ หยุดๆ อย่าดิ้นนะ ดิ้นเดี๋ยวตบๆๆๆ อย่าดิ้นนะ กดไว้ๆ อะระหังสัมมา อะระหังสัมมา กดไว้ หนอพองหนอยุบหนอพองหนอกดไว้ ปวดตรงไหนก็ปวดหนอ ตรงปวดหนอเจ็บหนอเจ็บหนอ กดไว้มันไม่ได้ฆ่ากามที่มันกดหัวมันเอาไว้ ไม่ได้รู้ว่าสักกายะคืออะไร ไม่รู้ว่ากามคืออะไร แต่อะไรมันดิ้นขึ้นมาก็ให้หยุดอธิบายเลยใช้มนต์คาถานั้นกดเอาไว้เป่าหัวสมองมันไว้ เอาคาถานั้นต่อไว้กดไว้ ซึ่งมันไม่ได้ทำอย่างนี้นะ ลักษณะอย่างนี้ แต่ต้องเป็นลักษณะรู้แจ้งรู้จริงว่าอะไรเป็นสมุทัยอะไรเป็นเหตุ เป็นเหตุที่มันก่อให้เกิดการดิ้นเป็นกายใหญ่ เป็นกามราคะใหญ่ อะไรเป็นเหตุ รู้เหตุแล้วก็ดับเหตุให้ได้ ยังเกิดอีกอยู่ในนี้ก็ เราเลิกรูป เลิกรสเลิกกลิ่น เลิกเสียอย่างนี้ มันสงบระงับอย่างนี้จริงๆ นะ มันก็เป็นนิโรธในตัวมันไป 

นิโรธก็ดับไปทุกทีดับไปทุกที อย่างนี้ต่างหากล่ะที่เราทำตามสายของพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นเมื่อมันหลุดออกมาจริง เรื่อยๆ มันก็สงบระงับเหลือลงแต่แค่จิตตรงนี้ จิตที่มันไม่ดิ้นเพื่อกาม มันไม่ดิ้นเพื่อกาย หรือไม่ดิ้นเพื่อโลกธรรมมากนักแล้ว และมันก็ไปติดอะไร มันก็ไปติดภพของจิตเข้าให้ แหม สบายดีจริงหนอ ช้าๆ อย่างนี้สบายไม่ร้อนแฉะเย็นดี สงบดี แต่ยังมีดิ้น ถ้าคุณยังไม่รู้ว่ามันยังดิ้นอยู่อย่างนี้นะ คุณก็ไม่รู้ว่าคุณยังเกิดอยู่ มันดิ้นอยู่มันก็ยังเกิดอยู่ ไม่ดับแน่ เพราะฉะนั้นสภาวะที่ยังดิ้นอยู่ แค่นี้ดีกว่ามันดิ้นเยอะ ดิ้นอย่างโอรัมภาคิยะ เพียงข้อ 1 ถึงข้อ 5 มันก็มากกว่า แต่ยังไม่หมดรอบ ยังมีรูปราคะ อรูปราคะอยู่ 

รูปราคะ อรูปราคะก็คือ ปีติ ปัสสัทธิ เป็นอุปกิเลสแล้ว ตั้งแต่ โอภาโสมาเลย โอภาส โอภาสคืออะไร คือปัญญารู้แล้วว่าเราหมดกิเลสกาม หมดกิเลสกายมาแล้ว มันยังดิ้นอยู่แค่นี้เรารู้แล้วรู้แล้วก็เกิดปีติใจ ก็เป็นอุปกิเลส เพราะฉะนั้นอย่าติด ความรู้แค่นี้ยังไม่สิ้นถ้วน ยังไม่หมดถ้วน ยังไม่ถ้วนทั่ว ยังมีเศษอยู่นะ ยังไม่ดับสนิทนะ ถ้าให้รู้ให้ได้ เพราะฉะนั้นการไปหลงโอภาสคือ ความรู้สว่างขนาดนี้อยู่ ทำไมท่านเรียก โอภาส   อาตมาบอกแล้วว่า ความรู้ของพระพุทธเจ้านั้นสว่างโล่ ประดุจดังแสง ปัญญาเหมือนอาภา หรือโอภาสเหมือนดังแสง นิโรธของพระพุทธเจ้าไม่ใช่ดับอย่างไม่รู้นะ แต่ดับอย่างรู้นะ กายดับกามอย่างรู้ด้วยนะถึงขณะนี้ก็ยังไม่จบถึงบอกว่าอย่าหลงโอภาส สว่างอยู่แค่นี้ก็อย่าเพิ่งหลง อย่าหลงปีติใจ แหมดีใจฉันได้แล้วนะแค่นี้ก็อย่าปีติ เลิก พยายามต่อ 

ดับให้มันด้วยวิธีใดก็แล้วแต่ ก็คือเรียนรู้จิตที่มันเป็นรูปกิเลส รูปราคะ อ๋อจิตอย่างนี้นี่นะ มันยังดิ้นอยู่ทำยังไงจะให้มันหยุด ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว ถ้าคุณตัดกามก็ได้ ตัดโลกธรรม 8 ก็ได้แล้ว ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว คุณจะต้องเรียนรู้ต่อไป 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่หลงโอภาส ไม่หลงปีติ เข้าใจให้ได้ว่าความรู้ของเราเป็นอย่างนี้ โอภาสเป็นอย่างนี้ อย่าหลงความรู้ของเรา ถ้าไม่หลงความรู้ของเรานั้น พร้อมกันนี้ คือการไม่ยึดมานะทิฏฐิ ไม่ยึดความใหญ่ของเรา ไม่หลงปีติไม่หลงตัวตน ภาคภูมิอยู่แต่ตัวแต่ตน ปีติ คืออัตตา ไม่หลงทางอัตตา ไม่หลงทางความใหญ่ของตัวเองเป็นมานะทั้งคู่เราไม่ลง หยุดให้ได้มันก็จะลดลง เป็นปัสสัทธิเรียกว่าสงบระงับลงแล้ว คือขันน็อตอย่างที่อาตมาว่าเมื่อกี้ ต้องรู้ให้ได้นะว่าจิตของเรา แหม มันหลงในภูมิรู้นี่ มันไม่ใช่เล่นนะคุณเอ๋ย นี่มันมโหฬาร ฉันมีความรู้นี่มัน .. แค่โอภาสแค่นั้นนะ แค่เป็นความรู้ชั้นต้น เป็นวิโมกข์ หรือเป็นวิโมกข์อย่างชั้นต้นก็ได้หรือเป็นวิมุติก็ได้ เป็นโมกขะ โมกขธรรมชั้นต้นก็ได้ 

พอเราดับแล้วไม่หลง ที่จริงเรามีความรู้อันนี้มีโอภาสอันนี้หรือมีวิโมกขะน้อยๆ อันนี้ มีโมกขะน้อยๆนี้ พอดับกามราคะ ดับสักกายะได้แล้ว เรามีจริงๆ แต่เราไม่หลงมัน ไม่หลงปีติยินดี ไม่หลงคือถือเนื้อถือตัวว่าฉันมีนะ เธอไม่มีเธอเล็กกว่าฉัน ฉันเหนือกว่าเธอไม่เอา ไม่มีอันนี้ ผู้ใดดับอันนี้ได้จริงๆ รู้จิตตัวที่เราไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้แล้ว เลิกแล้วอย่าไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้ อย่าไปอวดตัวอวดตนอย่าไปหลงยินดีปรีดาในสิ่งที่ตัวเองมี มีน่ะมันดีแล้วล่ะ แต่อย่าไปถือตัวเธอตนอย่าไปยินดีตรงภาคภูมิ อะไรก็ตามแต่ยึดเป็นอย่างนู้นอย่างนี้อยู่ มันก็จะสงบลงเป็นปัสสัทธิจริงๆ  

สงบลงแล้วทีนี้ก็ แหม นัตถิสันติปรังสุขัง คุณเอ๋ย ไม่มีสุขอะไรที่มันจะสงบ หรือ มันจะสุขเท่าไม่มีสุขอื่นที่จะเท่ากับไอ้ที่มันสันติลงเรื่อยๆ มันสงบระงับลงเรื่อยๆ ไม่มี ไม่มีความสุขไหนจะเท่า สนุกกับการสนุกสักกายะนั่นน่ะหรือ ปัดโธ่เอ๋ย อาตมาอยากจะใช้คำโลกๆ ฟังให้คุณรู้สึก ว่า สนุกอย่างบ้าเลือด สนุกด้วยการสนุกด้วยสักกายะะนั้นเหนื่อยแสนเหนื่อยเหน็ดเหนื่อยทรมาน สู้กับเขาลูกเอ๋ย เกิดมาลูกเอาเรียนเข้าไป แต่เรียนเดรัจฉานวิชาเท่านั้นนะไม่ใช่วิชาอย่างที่อาตมาว่า เรียนใบไม้ทั้งโลกเรียนใบไม้ทั้งป่าเลย เอาเรียนเข้าไปลูก อันนี้เขาตั้งวิชาใหม่อันนี้วิชาเก่าเรียนเข้าไปโลก ถูไถเข้าไปเพื่อที่จะอะไร เพื่อจะเอาวิชานั่นแหละไปข่มขู่เขา จะไปสร้างลาภ สร้างยศ สร้างสรรเสริญ สร้างได้ก็เอามาเสพกาม ลูกของกามขยายแถบออกมาเป็นพรวนเลย อยู่อย่างนั้นตลอดโลกนั่นมันเป็นการไม่จบ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดเข้าใจได้เห็นได้ว่าไอ้ความสงบที่หมดกาม หมดกาย หมดสักกายะนี่นะ แหม ยอดเยี่ยม

ไปหลงโอภาสหลงปีติก็ไม่มีไปหลงเป็นปัสสัทธิ เข้าใจได้ ดูได้เป็นรสได้ว่าปัสสัทธิ มันเป็นนิ่งสงบนะ ยิ่งอร่อยกว่า ยิ่ง ปรมังสุขัง ยิ่งกว่าเลย มันยิ่งบรมสุขยิ่งกว่า แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังเป็นกิเลส ยังไม่หมดตัวตนแฮะ ยังเป็นปัสสัทธิอยู่ที่อยู่ ไปกดกิเลสตัวที่ทำความรู้ขึ้นให้แจ้งว่าอันนี้ก็ไม่เอา อันนี้ก็ยังเป็นจิตที่ยังหยาบอยู่ ยังเป็นจิตที่จะต้องดับให้ได้อีก ผู้ใดรู้จิตที่เป็นปัสสัทธิตัวเองได้อีกนะ ความรู้สูงขึ้นไปดับปัสสัทธิ ดับที่ไปยึดอัตตาตัวนี้ได้อีกนะ มันจะหลงอยู่แค่ไหนก็ตาม แต่มันจะมีความหลงในความใหญ่หลงในอัตตาซ้อนเข้าไปอีก 

ถ้าเรามีปัญญารู้มันอีก ดับมันได้อีก เรียกว่า อธิโมกข์ ก็เป็นความรู้ที่รู้ ยิ่งกว่าเมื่อกี้อีกโอภาสก็เป็นความรู้อีก อธิโมกข์ เป็นความรู้ที่เหนือกว่าโอภาสอีก ยิ่งสว่างไสวรู้ใน โมกขะ รู้ในการตรัสรู้ รู้ในการดับกิเลสตัณหาลึกเข้าไปอีก เรียกว่า อธิโมกข์ 

เพราะฉะนั้น ไอ้นี่มันยิ่งใหญ่ขึ้น ความรู้ชั้นสูงขึ้นไปนี้ยิ่งผยองตัวอย่างขนาดหนักเลย ถ้าเผื่อว่าคุณรู้ไม่ทันนะ มันยิ่งโอ้โห ตอนนี้จบปริญญาโทและ มโหฬารเลย ถ้าคุณยังหลง อธิโมกข์นี้อีก บอกว่ามันดีจริงอธิโมกข์นี่มันดีจริง คุณก็ ปัคคาหะ ขยันหมั่นเพียร วิริยะอุตสาหะ ทำใหญ่เลย สร้างอธิโมกข์ ให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ที่จริงน่ะดี ก็ยิ่งสร้างคุณก็ยิ่งสูงขึ้น คุณก็ยิ่งสงบลง สงบลง คุณดูนะ สภาพอันนี้เดินทางเข้าไปหาสุญญตานะ ยิ่งสงบลงเรื่อยๆ นะ เมื่อกี้นี้เป็นไปเพื่อกามเพื่อกาย ดิ้นไปหาโลกอันนี้สงบลงมาแล้วนะ ยิ่งขยันหมั่นเพียร ปัคคาหะ หมายความที่ขยันหมั่นเพียรยิ่งสงบลงไปมาก ยิ่งสุขมากที่สุด เพราะฉะนั้น อุปกิเลสอีกหมู่หนึ่ง     อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง นี่อีกหมู่ เมื่อกี้นี้ โอภาส ญาณ ปีติ

สงบลงมาถึงขนาดนี้ อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง  มันยังไม่จบแฮะ จบปริญญาโท ยังไม่จบปริญญาเอก ต้องทำปัญญาให้ยิ่งๆ กว่านี้อีกกว่าโอภาส กว่าอธิโมกข์ ให้เป็น ญานังหรือญาณ ให้มีญาณสูง ๆ ละเอียดลึกกว่านี้อีก ทำเข้าไป สูงเยี่ยมจนกระทั่งในจิตของเราตั้งมั่นเป็นสติ อันครองพร้อมตั้ง ฐานะ อันที่เรียกว่า หมิ่นเหม่ต่ออรหันต์  แหม่ใช้ศัพท์อันนี้น่าดู จนกระทั่งเราจะหมิ่นเหม่ต่อความเป็นพระอรหันต์  อุปัฏฐาน อุปะ แปลว่า ใกล้ อุปัฏฐานตั้งมั่น เริ่มตั้งมั่นเข้าใกล้ ใกล้อะไร ก็ใกล้ที่จะพ้นอวิชชาสิ  ใกล้ที่จะพ้นกิเลสตัวละเอียดที่สุดแล้ว เรียกว่า อุปัฏฐาน ให้มีสติมั่นคงให้มีความรู้รอบเป็น ญาณ กิเลสปุริสสาก็มี ญาน อุปัฏฐาน

จนกระทั่งเราทำได้อย่างสนิทสนมพร้อมรู้ชัดในจิต ที่ดิ้นนิดนึงก็รู้แล้ว เข้าหาอุทธัจจะ จะมีมานะน้อยหนึ่งก็ไม่มี จะมีรูปแห่งราคะนิดนึงก็ไม่มีจะมี อรูปก็นิดนึงไม่มี ไม่มีรูปไม่มีอรูป เป็นมานะความถือตนถือตัว ความยินดีหลงในจิตตัวเองก็ไม่มี รู้ชัดแจ้งไปจนกระทั่งถึงเศษจิตที่เกิดขึ้นเป็นอุทธัจจะขึ้นมาก็รู้ ดับอุทธัจจะให้วางเฉยอยู่ได้เป็นอุเบกขา อุปกิเลสหมู่ที่ 3 ก็มี ญาน อุปัฏฐาน และ อุเบกขา หมู่นี้ละเอียดยิ่งกว่า เป็นความรู้ชั้นสูงยิ่งกว่า

ถ้าหลงอยู่แม้กระทั่งแม้ความรู้ชั้นละเอียดขนาดนี้ ก็ยังเป็นอุปกิเลสชั้นระดับสูงสุดเลย เห็นมั๊ยว่าทุกอย่างมันเป็น สมังคีธรรม ร้อยกันมาสูงสุด ถึงขนาดนั้นท่านพระพุทธเจ้าท่านบอก อย่าเพิ่ง ปัจจเวก ปัจจเวก ทวน ทวนต้นทวนปลายอีกนะ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกมั๊ยใน 9 อันนี้ ตั้งแต่ โอภาส มายัน อุเบกขานี้ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกไหม ถ้ามีเศษอยู่อันหนึ่งอันใดก็เรียกว่า นิกันติ   ทั้งนั้นเลย เรียกว่า นิกันติ  คือเศษของอุปกิเลสที่เหลือทั้งนั้นเลย ไม่ว่าอยู่ที่จิตไหนก็ตามแต่ มีเศษยังไม่นิกันติ ยังไม่หมดสิ้นที่แท้จริง ยังไม่ถึงซึ่งอันติม อันติมะหมดสนิท อันติมะเนี่ยหมายความว่าหมดสนิท นิกันติก็หมายความว่าไม่มีเลยที่สุดที่ไหนไม่มี ละเอียดยิบ เพราะฉะนั้นถ้ายังมีเศษของอุปกิเลสอยู่ไม่ได้ ทบทวนเป็นปัจจเวก จะเป็นเศษของมุมไหนก็ให้รู้ให้ละเอียดให้ได้ ถ้ามีเศษอันไหนอยู่ยังเป็นนิกันติหมด ทวนให้ได้ทั้ง 9 อันนี้ หมดอุปกิเลส 10 ผู้ใดทำหมดอุปกิเลส 10 นี้ จนกะทั่งรู้ถึงอุทธัจจะ อย่างที่อาตมาว่านี้ ฐานขึ้นมาปั๊บ อวิชชาก็ไม่มีกระอักแล้ว เหลือแต่วิชชาโผล่พรวดขึ้นมาเลย ใสสว่างโล่เป็นนิโรธมีแสง แหม อาตมาก็คงว่า พวกคุณก็คงไม่เคยได้ยินใครมาอุตริพูด นิโรธ มีแสงมันมีที่ไหนในโลก นิโรธดับอย่างสว่าง นิโรธมีแสงเลยมีวิชชาสว่างโล่ รู้ตัวรู้ตนวางทุกสิ่งอย่างเป็นอนัตตาธรรม เกิดดับเกิดดับไป โลกเอ๊ย กายนี้ จิตนี้ ขันธ์ 5 นี้ เอ็งเกิดเอ็งดับของเอ็งไป ฉันจะรู้ตามรู้เองทั้งหมด อันไหนที่มันจะปรุงขึ้นมาเป็นกุศล ฉันจะช่วยโลกปรุงให้แก่โลก อันไหนที่ปรุงขึ้นมาเป็นอกุศล อย่าทีเดียว อย่างนี้ไม่เอา 

ที่นี้กุศลกับอกุศลนี่ท่านจะปรุง พระอริยะท่านจะปรุงให้แก่คนอื่น ท่านก็จะมีสัจจานุโลมญาณ ลองย้อนเข้าหาโสฬสญาณดูบ้าง ไม่เคยพูดโสฬสญาณซักที วันนี้ลองดูบ้าง ตั้ง 16 ญาณ ที่จริง โสฬสญาน ไม่ใช่เรื่องพูด โสฬสญาณเป็นของละเอียดที่จะเกิดเองเป็นเองในนี้ ถ้าใครไม่มีสภาวะนะ เมายิ่งกว่า เอทานอล ไม่รู้เรื่องเลย ถ้าใครมีสภาวะพอจับบ้างแล้วก็พอรู้ เพราะอะไร เริ่มต้นตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ เอาแล้วเริ่มต้นมาแล้ว นามอะไรเอ่ย รูปอะไรเอ่ย ยังไม่รู้เลย เพราะฉะนั้น ต้องเรียนรู้มาตั้งแต่ รูปหยาบ ๆ นามหยาบ ๆ ไอ้รูปนั่ง รูปนอน รูปเดิน รูปยืน ไอ้รูปที่เป็นแบงค์ รูปที่เป็นลาภ รูปที่เป็นยศ รูปที่เป็นสรรเสริญ อะไรที่หยาบ ๆ ทั้งนั้น รูปที่เป็นกามคุณ  มาในเรื่องสี มาในเรื่องผิวพรรณ รูปที่มาในเรื่องของเสียงเข้ามาเข้าหู รูปที่มาในเรื่องของกลิ่น รูปที่มาในเรื่องของรส รูปที่มาในเรื่องสัมผัสส่วนไหนก็ตามแต่ รู้มันให้ได้หมดในรูปเหล่านั้น 

มันมาสัมผัสเราเมื่อใด  มันมีตัวสำคัญที่สุดคือ จิตตัวสำคัญคือนามนี่เข้าไปรู้ เมื่อรับเข้าก็ไม่รับเปล่านะปรุงเลย ทำงานเลย ทุกทีไป รู้ให้ทันอย่างนี้ แยกให้ออกว่า อ๋อ ไอ้นั่นอันนึงเรียกว่ารูป เป็นสิ่งหนึ่งที่จะมีเป็นตัวปัจจัย อีกอันนึง เป็นตัวเรานี่เองกิเลสใหญ่ เหตุเพราะอะไร เหตุเพราะใจของเรามันโง่มันมีแต่อวิชชามีแต่อวิชชา ไอ้รูปต่างๆ ข้างนอกมาแตะปั๊บ ไอ้อวิชชาตัวนี้ ทำสั่งจิตเข้าไปสั่งนามเข้าไปให้สังขารเลย สังขารเลย ตรงเข้างับเข้าให้ ทุกทีไปเลยไม่รู้เหตุรู้ปัจจัย พอแยกรูปแยกนามออกชัด ไอ้นี่มาหรือ อ๋อ ไอ้นี่สีแดงมาเหรอ ปัดโธ่ ไอ้รูปเป็นแบบนี่อย่านะอย่าไปปรุงกับมัน แยกรูปแยกนามให้ออก รู้ว่าไอ้รูปนั้นกับนามนี้นี่แหละ ถ้าไม่รู้แล้วมันจะเป็นเหตุเป็นปัจจัยซึ่งกันและกันเป็นนามรูปะ นามรูปปริคคหญาณ ปัจจยเป็นปัจจัย ปริคคหะ ยังมีการม้วน เป็นห่วง ปริคคหะ แปลว่าห่วง ยังจะห่วงหวงกันอยู่ ยังจะยึดถือกันอยู่ ปริคคหะ เป็นปัจจัยที่จะทำการห่วงหวงผูกพันเป็นลูกโซ่ พันกันอยู่ มันเป็นอย่างนี้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเราแยกรูปแยกนามออกรู้ โสฬสญาณ อันที่ 1 เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ ปริเฉท แปลว่าอะไร ปริเฉทแปลว่า ว่างลงให้ได้ แยกมันออกจากกันให้ได้ ทำความคั่น นามกับรูปให้ได้ นามรูปปริเฉทญาณ หั่นออก นามก็แยกเป็นอันนึงรูปก็แยกเป็นอันนึงให้ได้ เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ เห็นมันให้ได้ชัดๆ อย่างนั้น  แล้วรู้ให้ได้นะ อ่อไอ้อันนี้รูปมาแล้ว โท่งๆ มาเลยอะ จะทางหูก็ชั่ง จะทางเสียง เห็นขี้ เคยขี้ไปหลายวันลอยฟ่อง ๆ มาแล้ว เนี่ยรู้เลยรูปอย่า นามอย่านะ ใส่โซ่นามไว้เลยจิตของเรา อย่า เอ็งอย่ามาทำอะไรกับฉันไม่ได้ เข้าทางลิ้นเข้าทางจมูกเข้าทางกาย สัมผัสเสียดสีทุกประตูรู้มันได้ แยกรูปแยกนามชัดอย่างนี้แล้วรู้ให้ได้มันเป็นปัจจัย 

เพราะฉะนั้น นามรูปปริเฉทญาณแล้ว ก็ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ไม่ให้เกิด  ไม่ให้มาทำเป็นห่วงพัวพันไม่ให้มีการเกิดเป็นสังขารอยู่ในนี้ รู้จนกะทั่งมันเป็นปัจจัยอย่างนี้ รู้ให้ชัดก็ทะลุเป็นญานที่ 2 นามรูปปัจจยปริคคหญาณได้ พอแยกได้ชัดอย่างนี้แล้วจบ ก็ทำความเข้าใจสิ่งพวกนี้ให้ได้ รู้สิ่งที่มันเกิดอยู่เสมอๆๆ เป็นธรรมดาเรียกว่า สมะ เรียกว่าสมะ ทุกอย่างมันเป็นเสมอๆ มันเป็นเนืองๆ อยู่เสมอเรียกว่า สมะ และมันจะตายอยู่เสมอๆๆ เรียกว่า สนะ ถ้าผู้ใดเข้าใจแล้ว อ๋อ มันจะมีเสมอเกิดอยู่เสมอ และมันก็ตายอยู่เสมอเป็นธรรมดา ธรรมดา ธรรมดาอ่านว่าธรรมดา เเต่ถ้าคนอายุมากๆ หน่อยเคยเรียนหนังสืออ่านแต่ก่อนนี้แบบเรียนเร็ว อ่านธรรมดาอ่านว่าธรรมดา ถ้ารุ่นใหม่ไม่มีอ่านอย่างนี้แล้ว มันจะเกิดอยู่เป็นธรรมดา มี สมะ กับ สนะ

รู้ สัมมสนญาณให้ได้ เกิดญาน เกิดปัญญารู้ให้รู้สัมมสนญาณ  ตัวเกิด และตัวดับ ใครรู้ตัวเกิดและตัวดับแยกออกแค่นี้ก็เก่งแล้ว  รู้ญานที่ 3 จะเกิดอะไรก็เกิด สีแดงเกิดมาเดี๋ยวมันก็ไม่แดง  ไอ้รสหวานหอมเนี่ยเกิดมา เอ้อ เดี๋ยวมันก็ไม่เกิดมันก็ไม่หวานไม่หอม หรือเหม็น จริงๆ อะไรทุกอย่างเลย มันเกิดขึ้นมาประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน ประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน เกิดแล้วมันจะมีดับ “สมะ” เอ็งเกิดของเอ็งอยู่เสมอ เพราะว่าทุกอย่างในโลกมีแต่สังขารธรรม มีแต่การปรุงอยู่เสมอปรุงให้เกิด เกิดแล้วเอ็งก็ต้องดับ ไม่ต้องไปทำอะไรมันก็ดับของมัน ตามกาลตามเวลา ตามเหตุตามผลของมัน ตามเหตุตามปัจจัยของมัน ไม่มีใครไปทำกับมันมันก็ดับ ให้รู้เกิดรู้ดับอย่างนี้จึงเรียกว่ารู้ สัมมสนญาณ มีปัญญารู้รอบในเรื่องนี้ 

ผู้ใดรู้ สัมมสนญาณ แล้วก็พยายามรู้ให้มันละเอียดให้มันช้า ละเอียดยิ่งกว่านี้ รู้เกิดรู้ดับเรียกว่ายังไม่เก่งจริง ต้องรู้เกิดมาแล้วมันก็ยังทรงอยู่นะ แล้วมันก็ดับลง เกิดมาแล้วก็ทรงอยู่นะไอ้ตอนทรงอยู่นี่แหละ คนหลงมันเเยะ นึกว่ามันเป็นนิจจัง ไอ้ตรงทรงอยู่นี่ ถ้าคนเห็นเกิดปั๊บดับปั๊บ คนก็ไม่งงไม่หลง แต่คนมาหลงตรงที่มันเกิดปั๊บแล้วมันก็ตั้งอยู่ มันยังไม่เสื่อมไปทีเดียวมันค่อยๆ โตขึ้นนิดนึงแล้วมันก็ค่อยๆ เสื่อมก็ได้ หรือพอเกิดปั๊บแล้วก็ค่อยๆ เสื่อมลง แต่กว่าจะเสื่อมหมดสิ้นก็ยังมีสภาพอยู่ยังมีสภาวะอยู่ คนก็ไปหลงว่าไอ้นี่เป็นนิจจัง ก็ไปคว้าไว้ อย่าจากไปนะเอ็ง อย่าหลุดไปนะ อย่าให้หายไปนะ มันได้ที่ไหนในโลก ไปห้ามมันได้ที่ไหน ไม่มี มีอะไรบ้างลองหยิบมาให้อาตมาดูมีอะไรบ้าง ว่าพระอาทิตย์มีอายุยืนนานว่าไม่เสื่อมไม่ดับเหรอ ดับ พระอาทิตย์ก็ดับ อย่าว่าแต่อะไรในโลกนี้เลย โลกก็กำลังดับอยู่ อะไรก็ดับอยู่ทั้งนั้น รู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ให้ละเอียดลออยิ่งกว่า สัมมสนญาณ เรียกว่า อุทยัพพยญาณ เรียกว่าอุทยัพพยญาณรู้ให้ชัดอย่างนี้ 

พอรู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นไตรลักษณ์ชัดเจนอย่างนี้แล้วทีนี้ก็มาจับแยกเลย ไอ้นี่เกิดขึ้น ไอ้นี่ตั้งอยู่ ไอ้นี่ดับไป 3 ส่วนแยกออกมาเลย แยกออกมาเป็นส่วนๆ เลย ดูให้เห็นชัดๆ เลยทีเดียวว่า อ๋อ ไอ้โลกนี้มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มันไม่มีของจริงเลยนี่ ไอ้เกิดนี่แล้ว เอ็งก็ยังเดินติดต่อกันอยู่เป็นธรรมดา ประเดี๋ยวเองตั้งไว้เองก็ดับลงไปเป็นธรรมดา มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มีแต่ความไม่ได้เข้าท่าอย่างนี้เองนี่ เห็นมันให้ได้ว่ามันเป็นภัยอย่างนั้น มันไม่มีอะไรเลยถ้าเราไปยึดมั่น ถือมั่น มันไปหลงเข้าใจผิดว่า เอ็งต้องอยู่มั่น ๆ นะ เอ็งต้องนิจจังนะ เอ็งเที่ยงนะ เอ็งอย่าไปหายไม่ได้นะ  ถ้าใครไปหลงอย่างนี้เป็นภัยอย่างยิ่ง เป็นความน่ากลัวอย่างยิ่ง เป็นความน่าเศร้าใจอย่างยิ่ง 

พระอรหันต์ทั้งหลาย ท่านจะเอาคำว่า สงสารมาให้ ท่านจะบอกว่า แหม มันน่าสงสารจริง ไปหลงในภัยอันนี้ มีความรู้ในภัยเหล่านี้เรียกว่า “ภยญาณ” เรียกว่า ภยญาณ เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดรู้ในความน่ากลัว แบบนี้ รู้ในสิ่งที่มันยึดไม่ได้ เอาไม่จริงได้แบบนี้ คนนั้นก็มีจิตมีปัญญาที่สูงละเอียดขึ้นไปอีก ก็จะเกิดการเห็นแต่ว่าโลกนี้นั้น จะมีแต่ความดับสลายเป็นที่สุด ทุกอัน ไม่มีอะไรเลยที่มันจะไปยึดเอาไว้ได้ จะเห็นอย่างชัดอย่างแจ้ง ไม่ได้เห็นอย่างที่ปากอาตมาพูด คุณเห็นในญาณในปัญญาของคุณ คุณเห็นว่าคุณเองนี่ อาตมาจะเล่าประกอบยกตัวอย่าง 

แต่ก่อนนี้อาตมาทำงานเงินเดือนไม่กี่ตังค์รายได้ไม่กี่บาท อาตมาก็พยายามสร้างให้มันเกิดขึ้น จาก1000 เป็น 2,000 จาก 2,000 เป็น 3,000 จาก 3,000 เป็น 4,000 ให้มันได้เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น โดยความหวังตั้งใจอยู่ว่า ขอให้รายได้ของเรานี้จงตั้งอยู่ จงตั้งอยู่มั่นคงอยู่ พอบางเดือนมันไม่ได้ 4,000 มันไม่ได้ 5,000 ชักหน้าหงิก พอมันลดลงมามากอีก ก็พยายามใหม่ให้ได้ 5,000 ยืนทรงอยู่ให้ได้ ยิ่งได้ 6,000 แหม เก่งภาคภูมิ เอาให้มันทรงที่  6,000  พอมันลดจาก 6,000 มา หน้าหงิกอีก ไม่ได้ ต้องสู้อีก ให้ได้ 7,000...8,000…10,000 ถ้าคุณยิ่งขยันหมั่นเพียร ยิ่งทำให้คุณเห่อเหิม พากเพียรและขยัน

ได้แล้วอยากให้มันตั้งอยู่ แต่มันไม่ตั้ง บางทีมันก็ลด แล้วมันก็ลด บางทีมันก็ตั้งอยู่ ตั้งอยู่แล้วมันก็ลด ไม่เที่ยงสักทีแต่เราไม่เข็ดสักที กระหน่ำตัวเองเข้าเหมือนเฆี่ยนด้วยแส้ เอาเข้าไป ลดไม่ได้นะ เสียหายนะเรา เราเสียหายก็เฆี่ยนเข้าไป พากเพียรเข้าไป ทำอย่างนี้ทุกทีโดยไม่เคยเห็นภัย ไม่เคยเห็นว่า ไม่แน่หรอกเอ็งได้เดือนละล้านเอ็งก็ยังจะไม่ได้เลย สักวันหนึ่ง เอ็งก็จะไม่มีรายได้เลยซักวันนึง  อย่าว่าเอ็งแต่รักษามั่นไว้เลย เอ็งจะมีรายได้เดือนละล้าน เอ็งก็ไม่เหลือสักวัน เอ็งจะไม่มีรายได้เลยสักแดงเดียวในเดือนนึงเลย อาจจะเคยตอนนี้เคยได้เดือนละล้านแต่อีกหน่อยแกก็ไม่ได้ 

ไม่มีความเข้าใจเลยในตอนนั้น สมัยนั้น ก่อนนั้น ที่อาตมายังทำงานอยู่ หรือพวกคุณเองก็คิดเอาเอง เหมือนกัน ไม่ได้หวาดระแวงเลย ไม่เคยเห็นภัย แต่แท้จริงแล้ว มันมีแต่จะเดินทางไปหาความสูญ มีแต่ ภังคะ มีแต่หมดสิ้น มีแต่จะเดินไปหาความไม่มีอะไร ต่อให้คุณได้รายได้เดือนละแสน เดือนละหมื่น เดือนละล้านอะไรก็ตามแต่ คุณจะเหลือแต่สุดท้ายคุณจะสูญ ถ้าใครเห็นแจ้งอย่างนี้เป็น ภังคาญาณ นะ อ๋อ สุดท้ายมันจะมีแต่สูญอย่างนี้เหรอ เอ้ย อย่างงั้นเราสูญเองดีกว่า ไม่ต้องให้ใครมาทำลายดีกว่า เอาไปเลยเดือนนึงล้านนึงไม่เอาแล้ว อยู่เฉยๆ ดีกว่าไม่ต้องมีอะไร เดือนนึงอยู่สูญก่อน รู้เท่ารู้ทันมันอย่างนี้ปั๊บ คุณเอ๋ยจะเกิด    อาทีนวญาณ เบื่อหน่ายการมานั่งเฆี่ยนแส้ตัวเอง เฆี่ยนเข้า เฆี่ยนเข้าทำ เบื่อจริง ๆ  อาทีนวาญาณ จะเกิดเลย เห็นโทษของมัน อาทีนวะ เห็นโทษของมัน บอกปัดโธ่ เฆี่ยนเข้าไปฟาดลงเข้าไป หวังจะตั้งใจจะให้มันตั้งอยู่ ไม่มีที่สุดมันมีแต่ ภังคะ มันมีแต่จะชิบหาย มีแต่สูญสูญสูญ เดินไปเข้าหาความแตกดับสูญ ไม่มีอะไรจริงภังคะ และเห็นโทษมันอย่างนี้เเหล่ะ  เรียกว่าเห็นโทษมันจริงใครมี อาทีนวานุปัสสนาญาณ คนนั้นก็มี นิพพิทาญาณ ...​เบื่อ 

เรามาหลงเฆี่ยนตัวเองเพื่อเหตุแห่งดิ้นอยู่กับโลกเท่าแค่นี้เองแหล่ะหรือ แค่นี้หรือ ชีวิตมันดิ้นอยู่กับโลกแค่นี้เหรอ มันเฆี่ยนตัวเองไปแข่งกับโลกเขาแค่นี้เหรอ แล้วเราแข่งไปแล้วเสร็จก็ไปหา ภังคะ เข้าไปหาศูนย์อยู่อย่างเก่าดับสูญสิ้นไม่มีคงทนไม่มีอยู่ได้เหมือนเก่า ใครเห็นแล้วก็เกิดเบื่อจริงๆ พอเห็นโทษก็นิพพิทาญาณ เบื่อ เบื่อจริงๆ เบื่อ  พอเบื่อแล้วก็เป็นไง มุญจิตุกัมยตาญาณ ...เกิดเลย

เอ้าเปลื้องออกไป

ใครจะเอาเชิญ เชิญ ใครจะเอาอะไรเชิญ อาตมาเริ่มเเจกเลยเอ้างานนี้คนนี้จะเอา เอาไปเลย เอ้างานนี้เอาไปเลย รายได้เท่านั้นเท่านี้เอาไปเลยไม่ว่าเอาไปเลย หัดตัวเองน้อยลงกินให้น้อยลงอยู่ให้น้อยลง ดูซิว่าขันธ์ 5 นี้มันเลี้ยงมันไว้ด้วยได้เท่าไหร่ อาหารกี่กรัม อาหารวันหนึ่งกี่บาทลองเลี้ยงมันดูซิ เครื่องนุ่งห่มใช้น้อยๆลง น้อยๆๆน้อยลงคือน้อยที่สุดเท่ารายได้หัดน้อยลงๆ ของเรา งานการเราก็ทำอยู่ตามธรรมดาเท่าที่แรงเรามี ตอน อาตมายังเป็นฆราวาสอยู่ก็ทำ และอาตมาก็หัดน้อยลงๆ มีก็แจกออกไปเปลื้องออก มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้งออก เปลื้องออกไปจริงๆ ไม่ได้พูดเล่นเลย ไม่ใช่บอกตอนนี้ฉันเกิด มุญจิตุกัมยตาญาณแล้วนะ เปลื้องออกแล้วน่ะแต่เอามาสิ เปลื้องออกมาแล้วไปเอามาสิ มันจะเป็นเปลื้องอะไรอย่างนั้น เปลื้องมันต้องเปลื้องจริงๆ เปลื้องทั้งกามราคะ เปลื้องทั้งสักกายะ อันต้น แล้วก็ค่อยมาเปลื้องจิต รูปราคะ ความยึดมั่นถือมั่นความรู้ความใหญ่เป็นอุปกิเลสที่อธิบายไปแล้ว ค่อยมาเปลื้องอันนี้ เปลื้องออกไปสิอันนี้สิ มีของโตๆ ใหญ่ๆ เป็นวัตถุ สมบัติ เป็นญาติติโกโยติกา ลูกเขาเมียเราพ่อแม่เรา ญาติแฟนเราไม่เคย ไม่เคยเปลื้องออกสักอย่างเลย แล้วจะบอกว่าฉันได้ญาณ 9 แล้ว 

มุญจิตุกัมยตาญาณ 

ฟังเอานะนี่พูดตอนนี้ อาตมาไม่อยากจะกล่าวกับใครว่าตอนนี้ใครบอกว่าได้ มุญจิตุกัมยตาญาณ ท่านบอกว่า ได้ญาณนี้แล้ว แต่ไม่เห็นเปลื้องนี่ ฉันจะมีโต๊ะหมู่บูชาไว้มุมโน้น เอาพัดลมมาไว้ตรงนี้ อาสนะใหญ่ก็ไว้มุมนี้ Air condition ติดเลย นี่เหรอ นี่หรือมุญจิตุกัมยตาญาณ ไม่ใช่หยาบด้วยนะ ฉันแค่กายอันใหญ่กับกามอันโตด้วยนะ ไมใช่ขั้นรูปจิต อรูปจิตนะ ขั้นหยาบนะไม่ใช่ขั้นกายกับจิตนะ อธิบายให้ชัด 

เพราะฉะนั้นใครจะมีญานอันนี้จริง มันเป็นจริงสลัดออกจริงเปลื้อง        มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้องออกไม่เอา ค่อยๆ ผ่อนคลาย ลดๆๆ ลงจริงๆ ผู้ใดผ่อนลงได้ขนาดใด ขนาดใด ผู้นั้นทำได้ของตนเองอย่างแท้จริง พิจารณา มีการ ปฏิสังขาญาณ พิจารณา เราจะเหลือไว้แค่ใดเราจะออกไว้แค่ใดเปลื้องออกไปแค่ใด เอ้าเปลื้องได้แค่นี้เอาเปลื้อง พิจารณาทีเดียว ปฏิสังขาร หมายความว่าพิจารณา พิจารณาเหลือแค่นี้ก่อน ตอนนี้ยังมีฐานะยังไม่สูญแท้ เปลื้องออกได้แล้ว แล้วก็มักน้อยลง แล้วก็หัดเปลื้องออกอีก เปลื้องไป ปฏิสังขาญาณ เกิดรู้จักพิจารณาในการเปลื้องออกเริ่มออกทำออกไปเรื่อยๆ 

ผู้ใดทำได้เป็นจิตบริสุทธิ์ เมื่อพิจารณาเสร็จแล้วจัดการอันนี้ออกไป เป็นอิสระได้แล้วออกไป เป็นวัตถุ เป็นยศ เป็นเกียรติ เป็นกามคุณเอาออกไป ยกให้ ทำจนกระทั่งทางกายทำซะก่อน เปลื้องไปทางกายก่อน พิจารณาแล้วอันนี้ควรเปลื้องก็เปลื้อง ตั้งสมาทานศีลขึ้นมา ฉันจะเลิกสิ่งนี้แล้วฉันจะไม่เอาสิ่งนี้แล้วเราก็เปลื้องออกไป แม้ใจมันจะรอนๆ อยู่ ก็เปลื้องมันซะก่อน เพราะเราพิจารณาแล้วอันนี้    ปฏิสังขาร มีการพิจารณาถูกต้องแล้วพอเปลื้องแล้วเสร็จ 

กระทั่งจิตใจของคุณเข้าใจจิตของคุณเป็นอุเบกขา ไม่มีการสังขารไม่มีการปรุงสะเทือนไหว หวาบหวิว ให้เขาไปก็ยังเสียดายอยู่นะให้เขาไปก็ยังโหยหาอยู่นะไม่มี จนกระทั่งเกิด สังขารุเปกขาญาณ เห็นชัดแจ้งจริงว่าไม่มี อุเบกขาเฉยอยู่ในสังขารเหล่าานั้น ให้เขาไปก็ให้เฉยๆ เป็นสังขารธรรมดา เราเองไม่มีจิตสังขาร ไม่มีปรุง จิตเป็นอุเบกขา นี่ก็เป็น สังขารุเปกขาญาณ มีปัญญารู้เท่าทันในสังขารโลกและจิตสังขาร การกระทำของเราให้เขาไปนี้เป็นสังขารโลก เป็นการกระทำอย่างโลกๆ แต่จิตของเรา เฉย อุเบกขา ว่าง ไม่วาบไหว ไม่กระเทือน ไม่รู้สึกเดือดร้อนจึงเรียกว่า สังขารุเปกขาญาณ สังขาร+อุเบกขา เกิด สังขารุเปกขาญาณ อย่างแท้จริง 

ผู้ใดเกิด สังขารุเปกขาญาณ จะมีปัญญาญาณมาก จะทำอะไรต่ออะไรก็ทำได้ตามสบายเลย ทำอย่างอนุโลม ปฏิโลม ทวนไปทวนมาทำตั้งแต่โน่นแหละ นามรูปปริเฉทญาณ ทวนไปทวนมา มีอนุโลมปฏิโลมมากมาย และรู้สัจจะ รู้อริยสัจ รู้สัจจะทุกตัว อันนี้เป็นของที่เป็นทุกข์อยู่หนอ เป็นสมุทัยอยู่หนอ เอ้าดับมันเสีย หาทางดับมันเสีย รู้อย่างแท้จริงแล้วก็ทำไปตามควรเสมอ ถูกต้องโดยแท้จริงคนนี้ ก็มี สัจจานุโลมญาณ มีการอนุโลม ปฏิโลมอย่างเป็นสัจจะถูกต้องอย่างแท้จริง 

คนนี้เท่านี้คนนี้จะมาปรุงแต่งเรื่องอะไรกับเราเราก็อนุโลมได้ ของๆ เราที่จะเอาออกเราก็อนุโลมปฏิโลมได้ เรียกว่า สัจจานุโลมมิกญาณ

ผู้ใดทำแบบนี้ได้ก็ตัดโคตรของความเป็นคนออกไปได้ ทำได้นิดนึงก็ตัดโคตรรออกไปได้เรื่อยๆ ทำได้จริงจากเด็ดขาดตัดโคตร เรียกว่า โคตรภูญาณ สบายมากแล้วเราไม่ต้องเกี่ยวข้องกับอันนี้ ไม่ต้องเกี่ยวข้องเลยเงินเดือนเดือนละหมื่นเฉย ตัด ส บ ม สบายมาก กินข้าววันละ 3 ครั้ง กินข้าววันละจาน ไม่ได้กินเนื้อสัตว์อะไร เอาไปยศศักดิ์ฐานะ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข กามคุณ เอาไป แต่ละระดับแต่ละระดับ คุณตัดโคตรอย่างนี้ออกไปได้เรื่อยๆ บริสุทธิ์ขึ้นๆ ถ้าตัดโคตรชั้นหยาบได้ เขาเรียกว่าตัด โคตรภู ถ้าตัดโคตรชั้นสูงท่านเรียกว่าตัดโวทาน โวทานแปลว่าขาว คือบริสุทธิ์ขึ้นๆ โคตรภู ถ้าเรียกว่าชั้นต้น ถ้าตัดโคตรชั้นสูงเรียกว่าเดินทางตัดโคตรเข้าไปหาความบริสุทธิ์ เรียกว่าเข้าหาความบริสุทธิ์ผ่องใส

ใครตัด โคตรภู ได้จริงๆ คนนั้นก็บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ ไม่เห็นมีอะไร บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ อย่างแท้จริงเลย เผลอๆ พูดถึงมรรคผลแล้ว เสร็จแล้วก็ทวน ทวนดู ทวนดูอันนี้มันหลงหรือเปล่า จริงหรือเปล่า ที่เราทำนี้มันจริงหรือเปล่า จิตเราก็หมดสิ้นหรือเปล่า เป็นมรรคเป็นผลอันแท้จริงหรือเปล่า สว่างไสวชัดหรือเปล่า ไม่ใช่ดำๆ มืดๆ อะไรเป็นอะไรก็ไม่รู้ อาการอย่างนั้นเป็นอย่างนี้แล้ว ประมาณเอาก็ไม่ใช่ เปล่าอันนี้เห็นเลยว่าอันนี้คือกามเป็นสักกายะ อันนี้เป็นรูปราคะ อรูปราคะอันนี้เป็นมานะ รู้เป็นก้อนๆ แท่งๆ รู้เป็นความชัดๆ เลย ตอนนี้ก็ ปัจจเวกขณ์ เลย ทวนมาตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ สัมมสนญาณ  อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ภังคานุปัสสนาญาณ ภยตูปัฏฐานญาณ อาทีนวานุปัสสนาญาณ นิพพิทานุปัสสนาญสณ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ สังขารุเปกขาญาณ สัจจานุโลมิกญาณ โคตรภูญาณ 

มัคคญาณ ผลญาณ …ปัจจเวกขณญาณแล้ว ถึง 16 รอบ..เราตัดจริง บริสุทธิ์จริง มันไม่เห็นมีอะไร อวิชชาอยู่ที่ไหน…อวิชชาอยู่ที่ไหน? 

โยมว่า...แล้วนิพพานอยู่ที่ไหน

พ่อครูว่า... ที่คุณถามมานั้นคือ เพราะมันไม่รู้แจ้งตั้งแต่นามรูปมาตั้งแต่ต้นพอมันไม่รู้ว่าอันนี้คือ นามรูป กิเลสตัณหา กิเลสตัณหาก็เป็นตัวตนที่ประกอบด้วยนามรูป ไอ้ดอกไม้สวยๆ ที่เขากำลังถือมานี่ คุณแยกรูปแยกนามมันออกไหม แยกออกไหม ดอกไม้ที่เขาถือสวยๆ มานี้แยกออกไหม ถ้าแยกออก แล้วเรารู้ทันว่าไอ้นี่เเหล่ะตัวสำคัญ มาเป็นปัจจัยที่ทำให้เราไปยุ่งกับมันนะ รู้ทัน ก็รู้ถึง นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ล่ะ พอรู้ทันก็ใส่โซ่ตรวนใจเรารู้ทันนะเอ็งอย่าไปเกี่ยวกับมันนะเองเฉยๆ นะ มันดิ้นเท่าไหร่ก็เฆี่ยนมันไว้อย่านะ ได้ทำอย่างนี้หรือเปล่า  ไม่เลย หลับตา หลับตาก็ไม่เห็นดอกไม้สิ ถ้าลืมตาเห็นดอกไม้งามจริงหรอคว้าไป มันจะเป็น นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ได้อย่างไร มันก็ปรุงเข้าให้เท่านั้นเอง ก็ไม่เห็น สัมมสนญาณก็ไม่เกิด อุทยัพพยานุปัสสนาญาณก็ไม่เกิด ญานอันไหนก็ไม่เกิดเพราะชั้นต้นแค่นามรูปก็ไม่เห็นแล้วมันก็มีปัจจัยอะไร นามรูป ปัจจยปริคคหญาณ ก็ไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ทำไม่ได้ 

โยมว่า... เอาตำรามาพูดเฉยๆ 

พ่อครูว่า... จะมาพูดนี้เอาภาษาที่เขาว่าตามตำรา แล้วอาตมาพยายามอธิบายด้วยสำนวนของอาตมาที่จะให้คุณเข้าใจถึงเนื้อแท้ๆ ของมันเลย พอเข้าใจไหมเมื่อกี้นี้อาตมาพูดซะเหนื่อยเลยเมื่อกี้นี้ ถึงญาณ 16 ตั้งแต่ต้นเลยถึง 16 เลย 

โยม… ยังไม่รู้ในนี้ 

พ่อครูว่า... ก็แสดงว่าเรารู้แต่นอกเรารู้แต่บัญญัติของญาณ 16 ถ้าเรารู้เนื้อหาสาระของมัน มันเกิด อาตมาถึงบอกตั้งแต่ต้นแล้วว่าที่จริงโสฬสญาณมาพูดไม่ใช่เรื่องธรรมดา ถ้าใครมีสภาวะจริงๆ แล้วนะไม่ต้องเอาชื่อไปตั้งให้มันหรอก   ให้มันเกิดเองเป็นมรรคเป็นผลเอง ไม่ต้องไปตั้งชื่อให้มัน แต่ในไหนๆ ท่านก็ตั้งชื่อให้มันแล้ว อาตมาก็อธิบายบ้างเท่านั้นแหละ อาตมาไม่ได้ขยันอธิบายหรอกไม่ได้อยากอธิบายท่านเลยหรอก เพราะมันเป็นเรื่องลึกซึ้ง อาตมาบอกแต่ต้นแล้วไง ใครที่มีแล้ว ฟังไปอย่างเมาเอทานอลอย่างที่ว่า 

อาตมาบอกแต่ต้นมันไม่รู้เรื่องหรอกมันมีแต่ภาษานั่นแหละ ถ้าใครมีสภาวะรับแล้วนะบอกว่าจะ มันจะมีอย่างนี้เองมันจะเกิดเองอย่างนี้เอง เราก็โยนทิ้งอย่างนี้จริงๆ อย่างที่อาตมายกตัวอย่างอาตมาเปรียบเทียบให้ฟังนี่ มันเป็นไปตามจังหวะเป็นไปตามระยะจริงๆ แล้วทำอย่างไม่ได้เสแสร้ง ไม่ได้แกล้ง โลภะ มันไม่เอามันไม่มีโลภะ มันไม่ได้อยากได้เอาไว้ไม่ได้อยากยึดเอาไว้ ใครจะเอาไปก็ไม่โกรธ แล้วโทสะมันจะมีจากไหน เอาไปเลย ขนาดเขามาปล้นเรายังให้เลย 

อย่าว่าแต่ให้เขาเฉยๆ เฉยๆ ไม่มี ไม่มีการหวงไม่มีการยึด มันจึงจะมีการคลายการหน่ายการวาง การละ อันแท้จริงแล้วมันก็จบลง สู่ มรรคผลอันแท้จริง นอกจากจบมรรคผลอย่างที่ว่าแล้วเข้าใจด้วยปัญญาอย่างที่เราคิดว่าทำอันนี้ถูกทางไหม ท่านยังให้ปัจจเวกขณ์ อีกเที่ยวเลย เป็น ปัจจเวกขณญาณ ให้มีปัญญารู้ทบทวนว่ามันจริงไหมถ้าจริงปั๊บมันก็อ๋อ อวิชชาที่เราทำในเรื่องนี้ทุกเหลี่ยม ทุกมุมมันก็ลดลงไปตามส่วน ใครวางกี่อันใครหน่ายกี่อันใครรับไปกี่อัน ใครคลายกี่อันแล้วล่ะ มันก็อันนั้นแหละอะไรติดอยู่บ้างล่ะ 

ถ้าอะไรที่ติดอยู่ มันก็อันนั้นมันก็ไม่พ้นอวิชชา ถ้าอันไหนที่ไม่ติดแล้วเลิกแล้วโดยจริง มันก็พ้นอวิชชานั้นจริงๆ ไม่ใช่ภาษาพูดหรอก มันเป็นสูตร สูตรหนึ่ง ที่พูดอธิบายเอาไว้เฉยๆ เท่านั้นเอง ให้รู้ แต่โดยแท้จริงแล้วถ้าทำได้ถึงจิตแล้วไม่ต้องอธิบายไม่ต้องอธิบาย ไม่ต้องเอาภาษามาพูดเลย สภาวะมันจะต่อกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเราจบถึงอุทธัจจะ ปรุงขึ้นมานิดนึงก็รู้จิต

 พระอรหันต์เจ้าจะมีชีวิตอยู่ด้วย อุทธัจจะกับวิชชา เขียนให้ชัดๆ เมื่อเวลาจบแล้วท่านมีรูปนามอยู่คู่หนึ่งที่ยังอยู่ เป็นขันธ์ 5 คือ จิตของท่านที่ฟุ้งขึ้นมาเป็นอุทธัจจะ นั้นเป็นรูป และมีวิชชา คือ ความรู้อันเยี่ยมยอดที่จะคุมอุทธัจจะ อันนี้เอาไว้ให้มันไปตามทิศทาง ทำรูปอันนี้ให้มันเป็นกุศลทั้งหมดเลย ให้เป็นสิ่งที่เกื้อกูล 

ท่านมีรูปกับนาม 2 อย่างนี้แค่นั้นที่อาศัยอยู่ จนกว่าขันธ์ 5 นี้จะดับสูญสลายเป็น อนุปาทิเสสนิพพาน ท่านเหลือแค่นี้ นอกนั้นบ้อ แล้ว หมด ไม่มีมานะ ก็ไม่มี อรูปราคะ รูปราคะ ไม่มีทั้งนั้น ปฏิฆะ กามราคะ สักกายทิฏฐิ ไม่มี ถ้าเหลือแต่จิตที่มันปรุงขึ้นมาทำงาน แล้วทำงานอะไร วิชชาสั่งทั้งนั้น วิชชาสั่งทั้งนั้น ไม่มีทำงานโดยไม่สั่ง 

พุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย จึงทำงานด้วยวิชชาสั่งทุกตัว ในฐานะที่ยังเป็นผู้ที่ได้ สอุปาทิเสสนิพพาน หมายความว่า นิพพานอย่างที่เรียกว่าอย่างไม่ตาย ยังมีขันธ์ 5 อยู่ยังไม่ตายไป ท่านจะมีอย่างนี้อยู่มีนามรูปอันนี้อยู่ นี่อาตมาเรียกว่านามรูปนะ ไม่ใช่นามรูปอย่างโลกๆ นะ นามรูปของพระอรหันต์ นี่เป็นภาษานะ ที่จริงพระอรหันต์แล้วไม่มีนามรูปอะไรอีก แต่นำรูปที่ตั้งนั้นเป็นนามรูปแบบโลกๆ แต่ก็มีนามรูปเป็นโลกุตระอย่างนี้ ใช้ภาษาไปเรียกอย่างนี้ ท่านมีเท่านี้ มีเท่านี้ 

เพราะฉะนั้นถึงมีธาตุรู้อย่างสว่างไสว รวมแล้วก็เป็นวิญญาณ อุทธัจจะกับวิชชาเป็นวิญญาณ มีนามรูปที่อยู่อย่างสว่างไสว อุทธัจจะเจตสิกมันจะทำงานของมันตามบทบาทของมัน เจตสิกที่ฟุ้งขึ้นมานิดนึงท่านก็สั่งแล้ว เฮ้ย ไปทำงานดีๆ ทำงานอย่างโน้นนะ พิจารณาเสร็จมันไม่ดีก็อยู่เฉยๆ ถ้าดีก็ทำ ถ้าจะทำทำดีทุกอย่างท่านถึงเรียกว่า ท่านมีสัจจานุโลมิกญาณ อนุโลมให้ทำทุกอย่างทำดีทั้งนั้น และโอกาสกาลอันควร ทำกับหมู่นี้ขนาดนี้ถือว่าดี ทำกับหมู่ที่สูงกว่านี้ไอ้จิตที่ต่ำกว่านี้ก็เรียกว่า ไม่ดีแล้วทุกสิ่งทุกอย่างดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติทั้งนั้นดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติตามโลกจึงเรียกว่า สมมุติสัจจะ สมมุติเป็นความจริงเหมือนกันเป็นความจริงที่สมมุติ สมมุติตามโลกตามระดับตามกาลเทศะและมันเกิดอย่างนี้ในโลกมันมีอะไรดับหรอก จนกว่าเราเองเราจะดับไป ก็เลิกกัน คนอื่นจะยังไงก็เชิญ พระอรหันต์องค์อื่นจะเกิดต่อก็ทำต่อ 

เราจะดับอวิชชาด้วยวิธีก็อธิบายมาแล้วทั้งหมด อาตมาไม่รู้จะทำยังไง ทำยังไง ก็ที่อธิบายมาทั้งหมดคือ วิธีดับอวิชชาจะเหลือเป็นวิชชา ดับอวิชชาแล้วกลายเป็นวิชชาแล้วก็มีชีวิตอยู่แค่นี้ 

ชัดเลยว่า กายกับจิตมันก็ คือไอ้แค่นั้นแหละไอ้สมบัติสิ่งหนึ่งที่มันเกิดมาในโลก ถ้าหลงก็ไปทรมานชีวิตอยู่กับโลก ไปเฆี่ยนตัวเองต้องให้สู้กับโลก ไปเกาะไอ้นั่นไม่รู้ไอ้นี่เป็นกาม ไอ้นี่เป็นกายไอ้นี่เป็นรูป ไอ้นี่เป็นอรูป อะไรไม่รู้ทั้งนั้น มันก็ไปเพ้อพบอยู่ไหนก็ไม่รู้ พอรู้ชัดในที่นี้หมดแล้วมันก็หยุดหมด จึงไม่สร้างสิ่งเหล่านี้ให้แก่ตน 

อรรถะ ที่จะเป็นการพูดเป็นภาษา หรือ บรรยายกันเป็นเพียงแต่ปริยัติ เป็นสิ่งที่จะพึงรับเอาไปได้ไปฟัง ในขณะฟังนั้นเราก็มีความตั้งใจให้ดี ตามฟังธรรม พระพุทธเจ้าท่านก็สอนเสมอต้องพยายามฟังธรรมด้วยดี ตามฟังธรรมด้วยดีต้องฟังอย่างไร การฟังธรรมด้วยดีก็คือ เราต้องมีโยนิโสมนสิการหนึ่ง  สองนอกจากมีโยนิโสมนสิการ คือตั้งอกตั้งใจฟังให้ดีแล้ว เราจะต้องทำจิตให้เป็นกลาง ทำจิตให้เป็นกลาง อย่าเพิ่งไปคิดค้านอย่าเพิ่งไปคิดเห็นดี ทั้งไม่ค้านทั้งไม่เห็นดี แต่ให้เราใช้ปัญญาที่จะมีธรรมวิจัย หรือวิจัย วิจารไปพลางในขณะที่ฟังไปนั้น นอกนั้นมันจะดีหรือมันจะไม่ดีมันจะปรากฏผลบอกเรา ในสิ่งที่เราเดินเครื่องเพื่อที่จะทำธรรมวิจัยหรือแยกแยะทำมันนั้นอยู่ในจิตของเราเสมอ 

ถ้าเราไปคิดเสียว่า เราจะน้อมตามเสียทีเดียว หรือว่าเห็นขัดเสียทีเดียว มันก็จะกลายเป็นว่าเราไปตั้งจิตเพื่อ  1.เอนพร้อมจะตามไปง่ายทีเดียวก็ไม่ดี 2. จะไปขัดทีเดียวมันก็ดี เพราะฉะนั้นเราทำจะให้เป็นกลางจึงจะดี แล้วก็ฟังไปด้วยปัญญาใช้ปัญญาตรองไป คล้ายๆ ค่อยๆ พิจารณา พร้อมๆ กันไปเรื่อยๆ ตั้งจิตให้ถูก 

ชื่อเรื่องในวันนี้ตั้งเอาไว้ก็ดีมาก เพราะเป็นชื่อเรื่องที่ จะอธิบายกันได้ ละเอียดลึกซึ้ง ทั้งเป็นประโยชน์พร้อมที่เราจะเอาไปประพฤติปฏิบัติด้วย เห็นอย่างไร ที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรม น่าฟัง น่าฟังทีเดียว เห็นอย่างไร คือสิ่งที่จะต้องอธิบายคำว่าเห็นอย่างไร เนื้อความจริงๆ อยู่ที่ว่า ที่ว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

เพราะฉะนั้นก็เราก็มาจำเพาะเจาะจงลงไปถึงสิ่งที่ได้จำกัดลงไปแล้วว่าเราจะอธิบายกันสิว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

คำว่า มีดวงตาเห็นธรรมก็เป็นภาษา หรือเป็นสำนวนที่เราใช้เรียกกัน ใช้พูดกัน สำหรับ จะบอกแก่ผู้ที่เกิดธรรมะนั้นในจิตเรา ใช้สำนวนในภาษาไทยว่า มี

ดวงตาเห็นธรรม หมายความว่า เกิดธรรมะนั้นในดวงจิต ไม่ใช่ดวงตาโทโร่ ที่มองอยู่ 2 ข้างนี้ ที่เราลืมโพรงโพรงอยู่นี้ไม่ใช่ อันนี้ต้องมา เรียกว่าต้องมาทำความเข้าใจกันให้มากเสียก่อนว่า คำว่าดวงตาเห็นธรรมนี้ และคำว่าเห็นธรรมนี้ ไม่ได้หมายความว่า กายรูปนอก แต่หมายความว่าข้างในดวงตา และเห็นเป็นรูปเป็นนาม คำว่าดวงตาหมายความว่า “รูป” คำว่าเห็นหมายความว่า “นาม” 

รูปนามอันนี้เป็นสภาพของจิต ดวงตาเป็นรูป เห็นเป็นนาม เมื่อผู้ใด         เกิดมีดวงตา เรียกว่า ผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ เมื่อใดผู้นั้นมีดวงตา เรียกว่าผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณนี้ก็ไม่ได้หมายความว่า ตาเท่านั้นด้วย คำว่าจักขุ แปลว่า ตา แต่ไม่ได้หมายความว่าตา แต่หมายความ  เป็นวิญญาณเลยทีเดียวนะ ฟังให้ดี 

คำว่า จักขุวิญญาณนี้ อาตมากำลังแปลว่าดวงตา กำลังหมายความว่าดวงตา เพราะงั้นคำว่าดวงตานี้ อาตมาก็อธิบายลึกไปแล้ว ถ้าไอ้ลูกกลมๆ โท่โร่นี้เราเรียกว่าดวงตา หรือภาษาเราเรียกง่ายๆ เข้าใจอย่างภาษาโลก ต่อจากภาษาโลกที่ลึกเข้าไปอีกนั้น ดวงตาไม่ใช่ดวงตากลมๆ โทโร่นี้ แต่มันลึกเข้าไปถึงข้างในเรียกว่าจักขุวิญญาณ คือเป็นสภาพการรับรู้ การรับซับซาบเห็นได้ในจิต เรียกว่าจักขุวิญญาณ 

ที่นี้ จักขุวิญญาณไปเห็นสภาพ คำว่า เห็น คำนั้น สภาพคำว่าเห็นคำนััน เราเรียกว่า รูปารมณ์ เอากันง่ายๆ ก่อน รูปารมณ์ แต่คำว่าเห็น คำนี้เราจะจำกัดแค่ว่า รูปารมณ์เท่านั้น มันก็เข้าใจได้จุดหนึ่ง จุดเดียว จุดหนึ่งจุดเดียว ถ้าเราจะต่อไปอีกจากคำว่ามีดวงตาเห็นธรรม คำว่า ธรรม นั้นแน่นอนที่สุดไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องเห็นแต่เฉพาะดวงตา เราไม่จำเป็นจะเห็นแต่เฉพาะรูปารมณ์ แต่เราจะรับความเห็นได้หมดทุกวิญญาณ วิญญาณมีถึง 6 วิญญาณ 

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธรรมารมณ์ มีถึง 6 อารมณ์ หรือมีถึง 6 สิ่งที่จะให้เห็น ถ้าเราจะเอาเฉพาะแต่ว่าดวงตาซึ่งหมายถึงกายนอกนอกเท่านั้นเอง ธรรมะน้อยเดียวนิดเดียว มีวิญญาณจักขุวิญญาณอย่างเดียว อาตมากำลังไต่เข้าไปให้ลึกเป็นระดับนะ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้เป็นศัพท์โลกๆ ง่ายๆ ตื้นๆ แต่ความลึกมันจะเขยิบเข้าไปเรื่อยๆ มันจะไม่เกิดแต่เฉพาะดวงตา และอาตมากำลังตีความคำว่าดวงตาอย่างโลกทิ้งไป แต่จะไปเอาคำว่า ดวงตาอย่างธรรมะ และคำว่าดวงตาของธรรมะนี้มันลึกซึ้งเข้าไปจนกระทั่งถึง เป็นจักขุวิญญาณนั่นแหละ อาตมาให้ก้าวเข้าไปชั้นหนึ่ง

ตอนนี้ไม่ใช่จากจักขุวิญญาณแล้ว ลึกเข้าไปกว่าจักขุวิญญาณต่อเข้าไปอีกเป็น โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และก็ กายวิญญาณ จนกระทั่ง ถึงมโนวิญญาณ ลึกเข้าไปหมดเลย 6 วิญญาณ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้ จึงกลายเป็นวิญญาณ ทุกวิญญาณแล้ว ตอนนี้ลึกเข้าไปแล้วนะ ตั้งต้นตามให้ดีนะ ถ้าตาไม่ดีก็เมาเลยนะ ถ้าเรา ฟังตามภาษาโลกๆ มันไม่รู้เรื่องดวงตาเห็นธรรมอะไร ดวงตาลืมโท่โร่ และเห็นธรรมมันไม่ใช่ภาษาธรรมะ อันนี้มันโลกๆ ธรรมดาๆ

เอาย้อนใหม่อีก มีผู้มาใหม่บ้าง ก็เป็นการซ้ำ ซ้ำทบทวนอีก คำว่าดวงตา ไม่ได้หมายความว่า ลูกตากลมๆ ในภาษาธรรมะไม่ใช่ลูกตากลมๆ แต่ดวงตานี้หมายความว่า จักขุวิญญาณ อันแรกที่สุด ก็หมายความว่าจักขุวิญญาณก่อน คือสิ่งที่เข้าไปทำงานอยู่ข้างใน อะไรล่ะคือจิตหรือวิญญาณนี่ เราเรียกจำเพาะมุมหนึ่ง แง่หนึ่งเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ 

ทีนี้คำว่าเห็น เราไม่เอาภาษาโลกๆ เห็นเพียงดวงตาเห็นแล้วก็มองเห็นรูปอยู่นี่เป็นโลกๆ แต่จะไปใช้กับธรรมนั้น มันยังไม่พอ กับธรรมนั้นสิ่งที่ไปเห็นนั้นเราไม่ใช้แต่แค่ดวงตาที่เห็น หลับตาก็สามารถที่จะเห็นธรรมได้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เห็นนั้นจึงไม่ใช่หมายความว่าเอาลูกตานี้มอง หลับตานี้ก็เห็นได้ธรรม เห็นด้วยอะไร เห็นด้วยจักขุวิญญาณ แล้วจักขุวิญญาณไปเห็นอะไร คำว่าเห็นคำนั้นก็คือ รูปารมณ์  เห็นสิ่งที่เป็นอารมณ์ที่รับอยู่ในจิตอีกทีนึง จักขุวิญญาณก็เป็นรูป อย่างที่อาตมาได้แยกแยะตั้งแต่ต้นแล้ว รูปารมณ์ก็เป็นนาม ฟังเท่านี้แล้วพวกที่เรียนรูปนาม มาบอกว่าเข้าไปเห็นรูปนั้นเมาแล้ว ถ้าใครแยกแยะรูปนามไม่ออกเมาแล้ว เมาเเล้ว เมาจริงๆ เพราะอาตมาไปบอกวิญญาณเป็นรูปเสร็จแล้วนี่ จักขุวิญญาณ อาตมาบอกว่าเป็นรูป ถ้าใครเรียนมา รูปกับนามหยาบๆ นั้นชักจะเมาแล้วตั้งหลักให้ดี 

จักขุวิญญาณ อาตมากำลังยืนยันเด็ดขาดว่า มันกำลังคือรูป และนามธรรมของจักขุวิญญาณคือรูปารมณ์ คือสิ่งที่เกิดผลต่อมาจากจักขุ ฟังให้ดีนะเคยถอดเคยถอดให้ฟังแต่ก่อนนี้เคยถอดจิตซ้อนจิตเข้าไปอีกทีนึง รูปกับนามนี้มันจะต้อง 

สิ่งนี้เป็นตัวถูกรู้ สิ่งที่ถูกรู้นั้นเป็นรูป สิ่งที่รู้ เป็นตัวรู้จริงๆ เลย สิ่งที่ถูกรู้เป็นรูป สิ่งที่ถูกรู้จริงๆ เลยเป็นนาม  เพราะฉะนั้นขณะนี้ จักขุวิญญาณนี้เป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม รับรู้ รับรู้จากรูป จักขุวิญญาณเป็นตัวที่ทำรูปทำอะไรๆ ขึ้นมา เป็นตัวทำรูปทำร่างขึ้นมาจากจักขุวิญญาณ แต่ไอ้ตัวที่จะรู้นั้นมันเป็น รูปารมณ์ เป็นตัวรู้ จักขุวิญญาณตอนนี้มันก็รู้ ขึ้นมาแล้ว

จักขุ เฉยๆ ย้อนใหม่ จักขุ เฉยๆ เป็นรูป จักขุวิญญาณเป็นนามชั้นที่ 1 จากโลกมาหาธรรม ชัดๆ เลย จักขุ เรียกว่ารูป จักขุวิญญาณเรียกว่านาม

ต่อจากนี้อีก รูปตัวนี้ดับไปก็ทิ้งไอ้รูปหยาบทิ้ง ตาธรรมดาที่อาตมาว่าไม่ได้หมายถึงเพียงตานี้ จะยกจักขุวิญญาณที่เป็นรูป รูปารมณ์ ขึ้นมาเป็นนาม เกี่ยวข้องกันแล้ว ตอนนี้เราทิ้งแล้วจักขุธรรมดาทิ้งไปแล้ว จักขุวิญญาณเป็นรูป 

รูปารมณ์เป็นนาม

เพราะฉะนั้นตัวดวงตานี้จึงกลายเป็นจักขุวิญญาณ เมื่อกี้จักขุอยู่ข้างนอก จักขุคือดวงตา แล้วก็จักขุวิญญาณเป็นนามอยู่ข้างใน ทีนี้พักดวงตาข้างนอกหลับตาเสียไม่ใช้แล้วตอนนี้ เเต่จะเห็นเหมือนกันเห็นด้วยจิตวิญญาณ จักขุวิญญาณก็เป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม ลึกเข้าไปอีก จะเป็นอย่างนี้ 

สภาพที่จะซ้อนๆๆ ซ้อนลึกเข้าไป ถ้าเรารู้รูป รู้นามไม่ชัด หมด เมา  เพราะฉะนั้นรูปนามก็ไม่ใช่อัตตา จะไปยืนยันว่าจิตที่เป็นนามตลอดกาลนั้น ไม่ได้ อาตมาเคยพูดมาเเล้วสองสามคราวที่แล้วก็อธิบายว่า จนกระทั้งแม้ไปรู้ปรมัตถ์แล้วอาตมาแยกจิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม  อย่าเมานะอย่างงนะถ้างงก็หมายความว่าเรารู้ไม่ได้ เพราะฉะนั้นฟังปริยัติไปหรือฟังภาษาที่อาตมาอธิบายไปแล้ว เอาไปลอง พยายามอ่านดูให้ชัด สัมผัสดูให้จริงสิ อ๋อ ลักษณะรูปมันเป็นอย่างนี้จริงๆ ด้วยอย่างที่อาตมาว่ารับรู้ได้ เพราะนามมันเป็นตัวรู้ซ้อนเข้าไปได้จริงๆ มันก็จะลึกขึ้นลึกขึ้นจริงๆ 

จิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม รูปเป็นรูป นิพพานเป็นนาม อาตมาเอาปรมัตถ์มาพูด ปรมัตถ์มันมีจิต เจตสิก รูป นิพพาน โอเคอาตมาไม่เกี่ยง เพราะฉะนั้นถ้าอาตมาบอกว่าจิตกับเจตสิกนี่เป็นหมู่นึงคู่นึง รูปกับนิพพานเป็นรูปอีกคู่หนึ่งก็รู้ให้ได้นะ ตราบใดเราทำจิตของเราให้เป็นรูปแล้วเรามีเจตสิกเป็นนิพพาน จบ ทำจิตให้เป็นรูป ทำเจตสิกให้เป็นนิพพาน จบเลย 

แล้วเจตสิกตัวนี้ทำให้เป็นนิพพานแล้วมันจะเหลือตัวที่เก่งที่สุดอยู่อันเดียว คือปัญญาเจตสิก หรือ ปัญญินทรีย์ตัวเดียว ตัวอื่นๆ ไม่ยืนอยู่หรอกตัวอื่นๆ เป็นเพียงตัวผ่านเฉยๆ แต่ตัวที่ยืนตัวที่สุดจะมีปัญญาหรือ ปัญญินทรีย์ เท่านั้นที่ยืนอยู่ เราเรียกว่า เกิดญาณทัสสนะนั่นเอง 

แล้วปัญญาหรือปัญญินทรีย์ ถ้าใครเรียนพระอภิธรรมมาจะรู้เลยว่าตัวนี้เป็นตัวที่ 52 นะ เจตสิกตัวนี้ เจตสิกทั้งหมด 52 ตัวเท่านั้นแหละ แล้วตัวเจตสิกตัวปัญญานี่เป็นตัวที่ 52 เป็นตัวเล็กละเอียดที่สุดเลย นอกนั้นตั้งแต่ตื้นๆ ขี้กะโล้โท้ขึ้นมา ตั้งแต่ต้นๆ สิ่งที่เป็นหยาบๆ หนาๆ ตั้งแต่เป็นอกุศลไปจนกระทั่งอะไรต่ออะไรนั้นไม่ต้องล่ะ 

ถ้าเราไปนั่งท่องภาษามาก่อนก็ได้ ถ้าเราจับถูกฝาถูกตัว ถ้าเราไปนั่งท่องมาแล้วไม่ถูกฝาถูกตัว เราก็จะไปยึดติด ไปหลงในวิชชาอยู่เปล่าๆ แต่ถ้าเราปฏิบัติแล้วเราจับตัวให้มันถูก โดยไม่ต้องใช้ภาษาให้รู้ว่า อ๋อตัวนี้เองคือรูป ตัวนี้เองคือนาม อาจจะภาษาแค่คำว่ารูปว่านามก็พอ อ๋อตัวนี้ก็ถอดแบบนี้ไอ้นี่เป็นรูป อันนี้แสดงอาการเป็นรูปอันนี้แสดงอาการเป็นนาม รู้ชัดก็จะจับถูกเรื่อยไป 

ทีนี้มาหาเข้า คำว่าดวงตาเห็นธรรมอีกทีนึง ถ้าเอาตาจริงๆ มันก็มีเป็นเพียงแต่คำว่าดวงตากับเห็น ทีนี้เราจะเห็นธรรมะนะ อาตมาบอกแล้วว่าธรรมะไม่ได้มีอยู่แค่จักขุวิญญาณอย่างเดียว ธรรมะมันมีวิญญาณอื่นๆ เยอะแยะ จักขุวิญญาณก็มี โสตวิญญาณก็มี ฆานวิญญาณก็มี ชิวหาวิญญาณก็มี กายวิญญาณก็มี มโนวิญญาณก็มี มีถึง 6 วิญญาณ

จักขุก็แปลว่าวิญญาณทางตา โสตะ ก็หมายความว่าวิญญาณทางหู ฆานะ ก็หมายความว่าวิญญาณทางจมูก ชิวหาก็คือ วิญญาณทางลิ้น กายะ คือวิญญาณทางกาย มโน คือวิญญาณทางจิต มีวิญญาณถึง 6 วิญญาณ 

แล้วก็จำพวกวิญญาณต่างๆ เมื่ออาตมายกมันขึ้นมาเป็นรูปได้ โสตวิญญาณก็ต้องเป็นรูป ฆานวิญญาณมันก็ต้องเป็นรูป ชิวหาวิญญาณก็ต้องเป็นรูป กายวิญญาณต้องเป็นรูป มโนวิญญาณก็ต้องเป็นรูปหมด ไม่ใช่เป็นรูปแต่เฉพาะจักขุวิญญาณ เมื่อพวกนี้เป็นวิญญาณเป็นรูปหมดแล้ว มีนามของมันที่ควบคู่ซึ่งกันและกันทำงานร่วมกันอยู่ ก็จากโสตะ ก็เป็นพวก สัททารมณ์ ก็เป็นามของโสตะ เป็นนามของหู หู หรือว่า วิญญาณที่เกิดถ่ายทอดกันมาทางเสียง เสียงเป็นรูป จิตรับรู้เสียงนั้นเป็นนาม นี่พูดภาษาไทยๆ ถ้าพูดภาษาบาลีบาลีก็บอกว่า โสตวิญญาณเป็นรูป คือเสียง มันมาสัมผัสสัมผัสจิตแล้วก็รับรู้ตัวนั้นเข้า จิตที่ไปปรุงแต่งสังขารธรรมเข้ารับรู้เป็น สัททารมณ์ สัททารมณ์ก็เป็นนาม รู้คือรับรู้ว่าอาการของเสียงนั้น รสชาติของเสียงนั้นเป็นอารมณ์จิตที่รับรู้เลย เรียกว่าอันนั้นเป็นนาม 

ถ้าเราไปรับรู้มัน โดยที่เรียกว่าเราเกิดอารมณ์กับมันแล้วก็เพลิดเพลินสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา หรือไม่สุขเวทนาไม่ทุกขเวทนา แต่เป็น อทุกขมสุขเวทนา กลางๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข นั่นแหละ อาการอย่างนั้นแหละ อาการอย่างนั้นแหละที่เรียกว่า วิญญาณ ที่เรียกว่าวิญญาณ

อาการที่เรียกว่า มันเกิดสุขหรือทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์เฉยๆ นั่นแหละเรียกว่าวิญญาณ วิญญาณอย่างนั้นเป็นรูป เป็นรูป ฟังให้ดีนะตอนนี้กำลังจะไต่เข้าหาคำว่าธรรมะแล้วนะ ขณะใดเรารู้มันว่าเป็นสุขเวทนา ได้ยินเสียงอย่างที่ว่านี่ มันปรุงเป็นสุขเวทนา ไปรู้ตัวว่าสุขเวทนาหรือมันจะปรุงเป็นทุกข์เราก็รู้ว่าขณะนี้เป็นทุกขเวทนา แหม เสียงด่านี้ไม่ชอบเลยเป็นทุกขเวทนาไม่ชอบเลย หรือเสียงนี้เป็นเพลง พี่ไปหลายวัน กำลังเข้าหูเลย ไพเราะ หรือไม่เสียงคุณฉวีวรรณคุณจะต้อง

บอกแหมตอนนี้กำลังเสียงของบานเย็น รากแก้ว กำลังแหมยิ้มขึ้นมาเลย คุณฉวีวรรณ แหมยิ้มเลย ไม่ทำอะไรแล้วตอนนี้เสียงบานเย็น รากแก่น เขาไปแล้วเหรอ เเหม รู้เขาไปเขามาเสียด้วยแหมถึงขนาดนั้นนะ แฟนๆ กันนี่

ถ้าเสียง บานเย็น รากแก้ว มาเลย โห มาแล้วก็เอาละ อย่างนี้ก็เรียกว่าเรารัก ถ้าเราชอบมันก็สุข ต้องใจต้องอารมณ์ ต้องอารมณ์ก็สุข ถ้าเราไม่ชอบ แหม ขัดเคืองใจพูดไม่เข้าหูเลย หยาบคายบ้าง ไม่ชอบ ด่าเราบ้างอะไร เราก็ไม่ชอบ เกิดทุกขเวทนาสุขเวทนาเหล่านี้เราเรียกว่า วิญญาณ 

ในขณะใดถ้ามันเกิดวิญญาณอยู่ เรารู้ไม่เท่าเรารู้ไม่ทัน เราจะไม่เกิดผลเกิดธรรมะเลย เราก็จะถูกวิญญาณนั้นครอบงำ สุข อร่อยก็สุข ทุกข์ แหม ทรมานอยู่กับทุกข์เรียกว่า ผู้นี้ถูกวิญญาณครอบงำอยู่ตลอดเวลา ไม่เห็นธรรม เเต่ถูก

วิญญาณเล่นงาน

วิญญาณแบบนี้เข้าสิงตัวคนทุกคน วิญญาณอย่างนี้เข้าทรงคนทุกคน ทุกคนกำลังเป็นคนทรงอย่างเก่ง แล้วก็ทรงวิญญาณอย่างนี้กันทั้งนั้น อย่าไปพูดถึงวิญญาณที่ไปเชิญทรงวิญญาณหลวงพ่อโตมา วิญญาณผีเทวดาองค์นั้นเจ้านี้มา ขอร้องกันที ศิษย์ตถาคตเอ๋ย อย่าไปเอามายุ่ง อย่าไปวุ่นวาย อย่าไปฟุ่มเฟือย เสียเวลากับมัน โยนทิ้งเข้าป่าเลยสิ่งเหล่านั้น ดีหรือไม่ดีก็ช่าง อาจจะมีส่วนดีก็ได้ อาจจะมีส่วนเสียก็เยอะ เราไม่เอา เพราะสิ่งนั้นไม่ใช่ทาง อาตมาใช้คำว่าไม่ใช่ทาง ไม่ใช่มรรค ไม่ใช่สัมมาอาริยมรรค ไม่เป็นสัมมาทิฏฐิ ไม่ใช่ความเห็นที่ถูกต้อง 

สัมมาอาริยมรรคของพระพุทธองค์นั้น ให้เรียนตรงไหน ตอนนี้ข้ออ้างเข้าไปหาสูตรประกอบจะไต่เข้ามาหาคำว่า วิญญาณ 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสท่านเอาไว้ใน มิจฉาทิฏฐิสูตร ท่านจะกล่าวไว้ว่าอย่างนี้ 

 254] ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุ

บุคคลรู้เห็นจักษุแล โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นรูป

โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักขุวิญญาณโดยความเป็น

ของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักษุสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง

จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นแม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่

เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิ

ได้ บุคคลรู้เห็นหู... รู้เห็นจมูก... รู้เห็นลิ้น... รู้เห็นกาย... รู้เห็นใจโดยความ

เป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นธรรมารมณ์โดยความเป็นของไม่เที่ยงจึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนวิญญาณโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัยโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ดูกรภิกษุ เมื่อบุคคลรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ฯ

พ่อครูว่า... คำว่าจักขุหมายความว่าเราเป็นตัวชื่อหลักเป็นตัวต้นทาง เป็นกายอันหยาบ เป็นกายอันใหญ่ที่อาตมาบอกแล้วไม่ใช่ดวงตา โท่โร่ข้างนอกเท่านั้นถึงจะเป็นธรรมนั้นยังหยาบมาก เพราะฉะนั้นใครไปยึดมั่นถือมั่นอยู่กับตาข้างนอกหยาบมาก ยังไม่เข้าหาธรรมเลย ยังเป็นกายนอกกายเป็นคน แต่มันก็สืบต่อกันเข้าไปหาด้วยวิธีนี้แหละ 

จนกระทั่งเกิด ดูจากตามันจะเห็นรูป พอมันไปเห็นรูปแล้ว ไอ้รูปที่เห็นในจิตนี่แหละ ไอ้รูปที่เห็นในจิต ภาพที่เกิดในจิตนี่แหละ มันเป็นกายในกาย 

ตาคุณมองขวดนี่ ขวดนี่ เป็นวัตถุข้างนอก ตาคุณคือจักขุ พอตาคุณมองขวดนี่ ขวดมันอยู่ข้างในนี้หรือเปล่า(ตัวเรา) มันไม่ได้อยู่ในนี้หรอก ขวดมันอยู่ข้างนอก แต่รูปหรือภาพที่เกิดในนี้ (ตัวเรา) อันนั้นแหละ เราเรียกว่า จักขุวิญญาณ อันนี้แหละเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ มันไม่ใช่ขวดที่อยู่ในนี้ แต่ ไอ้จักขุวิญญาณอันนี้ มันก็ไม่มีเหตุมีผลอะไรมาก 

ในรอบแรกหยาบที่สุด ตาเรานี่ เราถือว่า กายนอก รูป เราถือว่าเป็นนาม คือรูปขวดเป็นนาม คู่ที่ 1 หยาบที่สุด 

พอต่อมา ถ้าคุณสักแต่รู้ขวดนี้นะ มันก็เฉยๆ คุณไม่มีรสชาติ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุขกับมัน อาตมายกเรื่องขวด มันก็ยังไม่ค่อยเข้าที ยังไม่ค่อยซาบซึ้งเท่าไหร่ เอาอันนี้ดีกว่า  มีรูป พอตาคุณเห็นรูป รูปเกิดในนี้เป็นจักขุวิญญาณ ถ้าคุณสักแต่ว่าเห็นรูปแล้วเฉยๆ คุณก็ไม่มีรสชาติแล้ว ไม่มีอะไรเลยบางทีจะไม่จำมันด้วย จนกว่าคุณจะเลื่อนชั้น พิจารณารูปให้ดีๆ พอเราพิจารณารูป เอาจิตเข้ามาพิจารณารูปอีกทีนึง คุณพิจารณาต่อๆ กันนี่ คุณอาจจะดูมันก็ได้ ไม่ดูมันก็ได้ คุณก็จำมันได้แล้ว ไอ้รูปดอกบัวก็มีอยู่ในนี้แล้ว อารมณ์ก็เป็นนามเรียกว่าจักขุวิญญาณมันอยู่ในนี้แล้ว (ตัวเรา) แล้วคุณก็พิจารณาอีกทีนึง ไอ้ตัวที่พิจารณาอีกทีเข้าไปอีกทีนี่แหละเรียกว่าตัวรับรู้จิต เราเรียกว่าเวทนา ตัวนี้เป็นกายในแล้ว กลายเป็นรูปไปแล้ว แต่ตัวนี้คุณก็พิจารณาดอกบัวนี้อีกทีตอนนี้ ตอนนี้เป็นเวทนา พอรู้อีกทีหนึ่งตอนนี้คุณก็นึก พอคุณพิจารณาอีกทีแล้วคุณจะพิจารณาไปทำไม คุณก็พิจารณาว่ามันสวยหรือไม่สวยใช่ไหม 

พอคุณพิจารณาว่าสวย เกิดแล้วสุขเวทนาเกิดทันที ควรพิจารณาแล้วว่า แหมแต่ตาว้าดูไม่ได้เลยทุกขเวทนาเกิด ทุกขเวทนาเกิดแล้ว หรือคุณพิจารณาแล้วคุณก็เฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข ไม่สวย ไม่แตะตาไม่เดือดร้อนเฉยๆ เฉยๆโดยคุณไม่รู้เรื่องคุณไม่มีปัญญาเหนือกว่านั้นคุณก็เฉยๆ เกิดเป็นพวก สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนาต่างๆ พวกนี้แหละ เรียกว่าเรามีธรรมะเกิดจากนามและรูป นี่เป็นคู่ที่ 2 ลึกซึ้งขึ้นมาอีกนิด…เดี๋ยวอธิบายลักษณะการของมันเสียก่อน แล้วค่อยย้อนกลับไปถึงพระสูตร มิจฉาทิฏฐิ สักกายทิฏฐิ พ้นมิจฉาทิฏฐิ พ้นสักกายทิฏฐิ พ้นอัตตานุทิฏฐิ เอาจนถึงพ้นอัตตานุทิฏฐิเลย 

…1.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจโต)  จึงละมิจฉาทิฏฐิได้ 

2.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นทุกข์ (ทุกขโต)  จึงละสักกายทิฏฐิได้ 

3.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่ใช่ตัวตน (อนัตตโต) จึงละอัตตานุทิฏฐิได้ 

(พตปฎ. ล.18  ข.254 – 256) 

พ่อครูว่า... เพราะฉะนั้นในขณะนี้ รูปเป็นกายในอันนั้นนะ เป็นรูปแล้วนะ เราตัดจักขุกายนอกทิ้งเลยเราขยับมาหารูปกายใน เป็นรูปที่เกิดในจิตเป็นกายใน แล้วมีวิญญาณหรือจักขุวิญญาณหรือมีเวทนารับรู้สึกเป็นนามต่ออีกทีนึง เลื่อนเข้าไปอีก ตอนนี้คุณไม่ต้องดูรูปแล้ว คุณไม่ต้องดูรูปแล้ว คิดเองเลย ยกทบทวนขึ้นมาเลย จักขุของคุณก็สัมผัสเข้ามาเลยว่า นี่รูปดอกบัว จักขุสัมผัสอันนี้ อาตมาเอาอดีตก่อนแล้วค่อยเอาปัจจุบันมาทำย้อนเข้ามาใหม่ เดี๋ยวสับสนไอ้เรื่องธรรมะ เดี๋ยวก็เอาจักขุสัมผัสแบบย้อนให้เอามาปัจจุบัน ตอนนี้ไม่ขอปัจจุบันตอนนี้ขอเท้าความเป็นรูปจิต อรูปจิตไปก่อน 

คุณยกสัญญาหรือความจำ คุณจำได้แล้วรูปเมื่อกี้นี้คุณจำได้แล้ว ตอนนี้คุณไม่ต้องอาศัยรูปทางตา โท่โร่ นี่ก็ได้ อาตมาอยากจะอธิบายให้มันลึกเข้าไปอีก ให้เลื่อมใสคุณก็จักขุสัมผัสเกิดปั๊ปขึ้นในใจ รูปดอกบัวเกิดแล้ว คุณก็ต้องเห็น คุณจะไปอยู่ตรงไหนก็ได้รูปดอกบัว รูปนี้ คุณจะไปอยู่ที่ไหนก็ได้ โน่นไปอยู่ในวังก็ได้ อยู่ไหนก็ได้ แล้วก็ระลึกถึง รูปดอกบัวขึ้นมา จะเป็นจักขุสัมผัส ที่ไม่ต้องใช้จักขุเลย คุณไม่ต้องใช้จักขุเลยตอนนี้จักขุอยู่ไหน สัมผัสได้ปั๊บคุณก็รับรู้ ตัวที่รับรู้ภาพดอกบัวอันนั้นก็เป็นจักขุวิญญาณอีกชั้นหนึ่ง วนไหมล่ะวนไหมล่ะ ฟังให้ดี วนไหม เกิดจักขุวิญญาณอีกแล้วซ้อนอยู่ในจักขุวิญญาณอันนั้น ไปอยู่ในจักขุสัมผัสอันนั้น แล้วจักขุวิญญาณอันนั้นแหละ คุณต้องปรุงอย่างเร็วด้วย ย้อนกลับไปหา เวทนาอีก จึงเป็นสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาอีก ปึ๊บเข้ามาเลย ก็เป็นสุขธัมมารมณ์ คุณก็สบายเป็นพระพรหมเสพเเว๊บๆ เลยคราวนี้ พระพรหมเสพอารมณ์แล้ว เป็นธรรมะแล้ว แต่ไม่ใช่ธรรมะที่เรียกว่า ดวงตาเห็นธรรม

ขณะนี้อธิบายธรรมะที่เกิดแก่การรับสัมผัสและรับรู้เฉยๆ ยังไม่ได้ถึงขั้นเรียกว่า ดวงตาเห็นธรรมตามสำนวน ถ้าสำนวนดวงตาเห็นธรรมแล้วหมายความว่า ผู้นั้นรู้แจ้งธรรมชัดเจนว่าพ้นสักกายทิฏฐิ…จบเทป…การแสดงธรรมมีไว้เพียงเท่านี้ 

ที่มา ที่ไป

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 


เวลาบันทึก 21 พฤษภาคม 2567 ( 09:09:16 )

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง(ตอนที่ 9)

รายละเอียด

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 

พ่อครูว่า... เราก็มาพูดกัน จะดับอวิชชาด้วยวิธีใด ฟังแล้วก็คือเราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร? ด้วยวิธีใด เราจะเป็นพระอรหันต์กันได้อย่างไร ถ้าเราไม่เอาความหมายอย่างนี้ เราก็จะรู้ว่า ที่เราจะพูดกันด้วยธรรมะ ที่อาตมาพูดอย่างนั้นก็หมายความว่า คำว่า “อวิชชา”นั้น โดยความหมายของมันอย่างแท้จริงแล้วล่ะก็ ต้องหมายความว่า เราจะมีนิพพานที่จะได้นิพพาน หรือเป็นพระอรหันต์ จึงเรียกว่า อวิชชา 

แต่ถ้าเราจะเอาคำว่าอวิชชามาพูดธรรมดาๆ แล้วล่ะก็ วิชชาทั่วๆ ไปในโลกนี้ แปลว่า ความรู้ เพราะฉะนั้นความรู้อะไรก็แล้วแต่ที่เราเองไม่รู้ ก็เรียกมันว่า อวิชชา ได้เหมือนกัน ที่พูดกันอย่างโลกๆ ทั่วไป ใครที่ไม่รู้อะไรก็ เรียนเอา เรียนเอา เรียนเอา ไอ้คนนั้นก็ได้หรือพ้นอวิชชาแบบโลกๆ ไปได้ทั้งหมด ทุกอันทุกสิ่ง นับไม่ถ้วน เหมือนใบไม้ เหมือนต้นไม้ เหมือนๆ ใบไม้ทั้งหมดน่ะ ที่หล่นอยู่ใต้ต้นไม้ และหมดต้นไม้ทั้งหมด นั่นเรียกว่าเป็นวิชชาทั้งนั้น พระพุทธเจ้าของเรา รู้หมดแล้ว รู้ทั้งใบไม้บนต้น รู้ทั้งใบไม้ที่หล่นอยู่ นี่พระพุทธเจ้ารู้นะ แต่พระพุทธเจ้าของเรานั้น ท่านเค้นเอามาหรือคั้นเอามา หรือคัดเอามา ว่าสิ่งที่จำเป็นที่สุด ที่จะเป็นวิชชาที่ควรเรียนนั้น คั้นออกมาแล้วเหลือกำมือเดียว ท่านเอาใบไม้กำมือเดียวเท่านั้น 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดทำใบไม้กำมือเดียวนี้ให้ได้รู้แจ้งแทงทะลุแล้ว รู้เท่านี้ พ้นอวิชชาเท่านี้ หรือได้วิชชาเท่านี้ จำกัดความลงไปเหลือแค่ใบไม้กำมือเดียวนี้ ท่านบอกว่าเท่านี้แหละจำเป็นที่สุดในชีวิตของสัตว์โลกที่เรียกว่า มนุษย์ นอกจากนั้น ท่านไม่วุ่น ท่านไม่วุ่นแล้ว

เพราะฉะนั้น เราจะต้องมาทำคำจำกัดความ หรือมารอบรัดกันซะก่อนว่า ไอ้แค่ใบไม้กำมือเดียวกันนี้ล่ะ  ใบไม้กำมือเดียวของที่พระพุทธเจ้าท่านเปรียบเทียบให้ฟังที่ป่าศีรษะเนี่ย ศีรษะป่าเนี่ย ที่ท่านเรียก ท่านถามภิกษุเนี่ย เรามารอบรัดกันซะก่อนว่า มันกินความแค่ไหน มันกินความแค่ไหน

มันก็กินความอยู่แค่ว่า เราจะต้องมีความรู้ ที่เรารู้กันมาทั้งหมดแล้วง่ายๆ พื้นๆ ทุกคนก็ได้ฟังกันมาจนหูจะแฉะแล้ว คือ รู้อริยสัจ 4 

รู้ทุกข์ กำหนดรู้มันให้ได้ ปริญเญยยะ หรือเรียกว่า ปริญญายติ ปริญเญยยะเนี่ย รู้ ทุกข์เนี่ยกำหนดรู้ ไม่ใช่วิชชาที่จะไปตามรู้เรื่องอื่น เป็นความรู้ที่จะต้องรู้ทุกข์ ทำปริญญายติ ปริญเญยยะ ให้รู้ตัวนี้ กำหนดรู้มัน 

เมื่อรู้ทุกข์แล้วทำยังไง เมื่อรู้ทุกข์แล้วท่านก็บอกว่า ให้รู้พ่อแม่ของทุกข์ด้วย รู้ทุกข์แล้วให้รู้พ่อแม่ของมันด้วย คือรู้ตัวที่มันทำให้มันเกิดอยู่ ตัวที่มันทำให้เกิดนั้น เราเรียกว่า สมุทัย หรือต้นเหตุ หรือต้นทาง หรือพ่อแม่ หรืออะไรก็ตามแต่ 

ไอ้ตัวสมุทัยนี่ นอกจากจะรู้ทุกข์แล้ว เราจะต้องทำความรู้ต่อไปอีก จนกระทั่งไปรู้ถึงสมุทัย แล้วไม่รู้เปล่าด้วยนะสมุทัยเนี่ย ต้องทำการละทุกข์ด้วย แม้รู้สมุทัย เข้าใจสมุทัยแล้ว ต้องละด้วย เรียกว่า ปหานกิจ หรือ ปหานปธาน ต้องประหารมัน ต้องฆ่ามัน ต้องละมัน ต้องเลิกมัน สมุทัยนี่ 

ต้องฟังให้ดีนะ รู้ทุกข์ ไอ้ตัวทุกข์นี่ไม่ได้ดับเลย อย่าเข้าใจเพี้ยน เราสิ้นทุกข์โดยที่เราไม่ต้องดับทุกข์ เราไม่ต้องฆ่าทุกข์  แต่เราไปฆ่าสมุทัย ฟังให้ดี  พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ละเอียดลออ ท่านสอนเอาไว้ใน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 

ทุกข์นั้นต้องกำหนดรู้ สมุทัยต้องละ ต้องทำการละ 

ทีนี้ทำการละแล้วเป็นยังไง ละแล้ว เราก็จะถึงซึ่งนิโรธ จะถึงซึ่งความดับ จะถึงซึ่งความหมด จะถึงซึ่งความหยุด มันจะเป็นอย่างนี้ พอเราละสมุทัยแล้วมันจะถึงซึ่งความดับ ความหยุด ความหมด ความจบ ท่านเรียกว่ามันจะถึงซึ่ง ปฏิกโรติ ต้องมีปฏิกโรติ คือ ทำตัวนี้ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ให้มันรู้พร้อม ให้มันแจ้งให้มันเข้าใจ ปฏิกโรติ ทำให้แจ้ง ทำให้รู้พร้อม ถ้าเข้าใจแล้ว อ๋อ อย่างนี้เองเหรอนิโรธ ต้องให้รู้อย่างนี้ อ๋อ..สภาพนิโรธเป็นอย่างนี้เองหรือ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดรู้ทุกข์แน่นอน อ๋อ.. อย่างนี้เองที่เรียกว่า ทุกข์ แล้วก็รู้ด้วยว่าเหตุที่มันเกิดทุกข์นี้ ก็เพราะอย่างนี้เอง อ๋อ.. อันนี้คือสมุทัยอย่างนี้ เอาละ ไอ้สมุทัยอันนี้ฆ่าให้ได้ ดับให้ได้ เลิกให้ได้ ละให้ได้ ทำลายให้ได้ ประหารมันลงไปให้ได้ พอละเแล้วเสร็จ ผลก็เกิดขึ้นแล้วอ่อ ละสมุทัย หรือฆ่าสมุทัย ดับสมุทัยแล้ว ผลที่มันเกิดมาเป็นอย่างนี้เอง ภาษาโลกเรียกมันว่า นิโรธ หรือ วิมุติ 

ภาษาเค้าเรียกว่า นิโรธ หรือ วิมุติ ทำนิโรธหรือวิมุติ นี้ให้เห็นขึ้นมาที่ในนี้เป็นปัจจัตตัง ขึ้นมาในนี้ ไม่รู้จะที่ไหนก็ตามแต่ อาตมาจิ้มไม่ถูก ให้มันเกิดที่ไหนก็ช่างเถอะ  ให้มันเกิดในขันธ์ 5 นี่แหละ ให้มันเกิดนิโรธขึ้นมา จนกระทั่งรู้ว่า อ๋อ..อย่างนี้นะหรือนิโรธ จึงเรียกว่า ทำให้แจ้ง นิโรธต้องทำให้แจ้ง ปฏิกโรติ ต้องทำให้แจ้ง ทำให้แจ้ง เหตุที่มันแจ้งด้วยนิโรธ เพราะว่าเราดับเหตุตัวสมุทัย ดับเหตุตัวสมุทัยแล้วก็แจ้ง รู้ว่านิโรธเป็นอย่างนี้เอง 

ทุกวันนี้เราเข้าใจนิโรธกันไม่ถูก เราเข้าใจนิโรธกันไปเยอะแยะเป็นนิโรธแบบไหนก็ได้ นิโรธมีต่างๆ นานา อภิสัญญานิโรธก็มี สัญญาเวทยิตนิโรธก็มี ซึ่งล้วนแล้วแต่เรียกว่า นิโรธสมาบัติ ทั้งนั้น อภิสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็เรียกว่านิโรธสมาบัติ สัญญาเวทยิตนิโรธ เขาเรียกว่า นิโรธสมาบัติ แต่มันยังไม่เป็นนิโรธที่แท้จริง ที่เรียกว่านิโรธอริยสัจ ของพระพุทธเจ้า เราเรียกว่า นิโรธอริยสัจ คือเป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด นิโรธอริยะ แปลว่า ฉลาด สัจจะ แปลว่า แท้จริง เป็นนิโรธที่แท้จริงของผู้ฉลาด 

เพราะฉะนั้น ต้องเอาคำจำกัดความอันนี้ มาเรียกให้ได้ว่า นิโรธของผู้ที่ฉลาดอย่างแท้จริง มันเป็นรูปร่างลักษณะอย่างไร รูปร่างลักษณะของนิโรธอริยสัจนั้นก็คือ มันดับ ดับอย่างสว่างๆ แหม! ฟังแล้วเมา เมาแน่ๆ ดับยังไง ดับอย่างสว่างๆ ฟังให้ดีนะ มันดับอย่างสว่างๆ มันไม่ดับอย่างมืดๆ ตามธรรมดาแล้วเราดับอะไรก็ตาม เราดับแล้วมันจะมืด แต่ของพระพุทธเจ้าของเราดับแล้วสว่างๆ  แหม! มันยาก มันต้องแจ้งตรงนี้แหละ ถึงบอกว่ามันถึงยากตรงนี้ จึงต้องแจ้งตรงนี้ 

เพราะมันดับอย่างสว่างๆ ไม่ใช่ดับอย่างมืดๆ มืดตึบตื๋อ ยังไงก็ไม่รู้ ไม่ใช่ แต่ที่นี้อาตมาจะยกตัวอย่างให้ฟังอีกนิดนึง ก่อนจะยกตัวอย่าง จะขออธิบายอริยสัจ 4 ให้ครบ 4 ตัวก่อนประเดี๋ยวจะขาดไป

ผู้ใดทำความรู้แจ้งให้ได้ว่า รู้ทุกข์แล้ว แล้วก็รู้ตัวสมุทัยต่อลงไป  นอกจากรู้สมุทัยแล้ว ไม่รู้เปล่า ดับลึก ต้องประหารหรือฆ่าด้วย ต้องทำการปหานกิจ ปหานปธานให้ได้ พอปหานกิจนี้หมดแล้ว เป็น ปหานปธาน จบแล้วเราก็จะเกิดนิโรธ เป็น ปฏิกโรติ เป็นการแจ้งสว่างในนิโรธ มาเข้าใจนิโรธ รู้แจ้งถึงนิโรธบรรลุล่วงในนิโรธ นิโรธอันนี้มันบรรลุเป็นนิโรธเกิดอยู่ในนี้ เป็นสันทิฏฐิโกมีแล้วที่ตัวเรา หรือเป็นปัจจัตตัง หรือได้เองคนอื่นไม่เกี่ยว ถ้าคนไหนมีปัจจัตตังด้วยกัน คนนี้ก็มีปัจจัตตังตัวนี้ นิโรธตัวเดียวกันนะที่พูด ยังไม่ต้องคุยกันเลยแม้แต่สายตาก็จะรู้ว่ามีนิโรธเหมือนกัน แต่ถ้าคนมีนิโรธไม่เหมือนกันอย่าว่าแต่สายสายตาเลย พูดกันแล้วบอกกันแล้ว กรอกหูกันแล้ว อธิบายกันแล้ว บีบให้ดูแล้วชักให้ดูแล้ว ทุกวิถีทางก็จะไม่เห็น ไม่เห็นไม่เข้าใจไม่ลงตัวกัน แต่ถ้าคนที่มีสิ่งเดียวกัน ปั๊บ ลงตัวกันเป๊ะเลยไม่ต้องพูดกันหลายคำ 

นิโรธมันมีตัวของมัน มันเหมือนมันมีอะไรก็ไม่รู้มันบอกไม่ถูกมันเป็นวิญญาณอันนึงก็ได้ ใครทำนิโรธนี้ให้แจ้งแล้วเรียบร้อย ผู้นั้นทำได้จนกระทั่งมากพอ จนถ้วนทั่ว รอบถ้วนหมด ในทุกเหลี่ยมทุกมุมแล้ว ทำรอบถ้วนเป็นทุกเหลี่ยมทุกมุมพร้อมแล้ว คนนั้นก็จบอวิชชา ทำแค่นี้ให้จบ ทำทุกข์รู้ทุกข์ให้ได้ รู้สมุทัยของทุกข์ให้ได้ แล้วก็ทำให้มันเกิดนิโรธให้ได้ ทำให้ดับไม่เกิดนิโรธให้ได้ทำอย่างนี้แหละ ให้จบ พอจบปั๊บคนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว คนนั้นก็รู้มรรคถ้วนทั่ว 

ทำไมถึงว่ารู้มรรค ก็เพราะเหตุว่าคนนั้นมีมรรคถ้วนทั่ว ทำไมถึงเรียกว่ามีมรรค ก็เพราะเหตุว่า คนใดก็ตามแต่ ถ้ารู้ทุกข์ และรู้สมุทัยของทุกข์ และฆ่าสมุทัยนี้ ดับสมุทัยนี้ได้จนเกิดการดับการหยุดการจบการตาย การดับสิ้นหมดรอบหมดแล้ว เป็นนิโรธได้ คนนั้นก็จะรู้วิธีทำและรู้นิโรธที่แท้จริง 

วิธีนั้นทำยังไงจึงจะดับสมุทัยได้ รู้วิธีที่อย่างแท้เที่ยง รู้หนทางที่จะดับนั่นเอง ถ้าดับได้อันนึง รู้วิธีหนึ่ง ดับได้สอง อันก็รู้สองอัน ดับได้สามอัน ก็รู้สามอัน ดับได้สี่ ดับได้สิบ ดับได้ร้อย ดับได้พันอัน ก็รู้ ดับได้ร้อย ได้หมื่น ได้แสน ดับได้ทุกอันทุกอัน ก็เรียกว่าได้มรรคทุกอัน ทุกอัน ทุกอัน จนกระทั่งรู้หมดแล้ว ดับได้รอบแล้วกิเลสหมดนี้ก็รู้ กามตัณหา ภวตัณหาก็รู้ รู้ไปจนกระทั่งถึงชั้นลึกสุด เป็น

อาสวะ อ๋อ..หมดเป็นกามาสวะ ภวาสวะเกลี้ยงเลย อวิชชา ก็ถึงซึ่งอวิชชาสวะได้จริงๆ ด้วย อวิชาก็ถึง อวิชชาสวะ ด้วย 

จึงเรียกว่าเป็นผู้ค้นอวิชชา จนถึงขั้นลึกสุดในอาสวะได้แล้ว คนนั้นก็มีมรรคเต็ม เพราะฉะนั้นมรรคนี้จึงเรียกว่าต้องมี มรรคต้องมี ต้องเป็นภาวนาจิต คือสำเร็จกำหนดบรรลุประสบผล ภาวนาหมายความว่าเกิดประสบผล เกิดการประสบผลเรียบร้อยแล้ว เรียกว่าภาวนา หรือ ภเวติ มรรคต้องเป็นภเวติหรือมรรคต้องเป็นภาวนาจิต มรรคต้องมีนั่นเอง ผู้ใดบรรลุล่วงเสร็จเรียบร้อยจบแล้ว ก็ต้องอยู่กับมรรคเท่านั้นเอง พระอรหันต์ทุกองค์มีมรรค บริสุทธิ์ผุดผ่องเป็นองค์ 8 อยู่พร้อมตั้งแต่ 

สัมมาทิฏฐิถึงสัมมาสมาธิ ต้องเต็มพร้อมอยู่แล้วในองค์มรรค ทุกอย่างเป็นไปในอัตโนมัติ แล้วมีมรรคเป็นองค์ 8 พร้อมแล้วกันอยู่สบายเลย พระอรหันต์เป็นอย่างนั้นเพราะฉะนั้นต้องมีมรรค เป็นมรรคที่มีในตนพร้อมเลย อาตมาจะขอเขียนย่อๆ สำหรับอริยสัจ 4 นะ 

มันสั้นๆ ต้องตั้งที่ว่า 

“ทุกข์ควรรู้ สมุทัยควรละ นิโรธควรแจ้ง มรรคควรมี”

จำง่ายๆ ไม่ต้องไปจำเอาบาลีมันเลอะ บาลีเอาไว้พูดขู่คนเท่านั้นแหละ อาตมาก็รู้เป็นอย่างนั้นเหมือนกัน รู้ไว้ขู่คน รู้ไว้ขู่คนเก่ง เอาจริงๆ เนื้อๆ แท้ๆ  ไม่ต้องไปท่องบาลีอะไรหรอก จะท่องก็เอาถ้าใครอยากจะท่องไว้ขู่คนบ้างก็เอา แต่รู้ไว้บ้างก็ดี ไม่ได้ประหลาดอะไรหรอก รู้มันก็กำไรถ้าไม่รู้ก็ไม่เป็นไร ขอให้ได้มีเนื้อๆ ก็แล้วกันเข้าใจให้ได้ ถ้าเข้าใจไม่ได้แล้วมันปนกันนะ มันเฝือเหมือนกันนะ ควรรู้ควรละ ควรแจ้ง ควรมี 

ที่อาตมาพูด อธิบายมาเมื่อกี้นี้แล้ว ค่อยๆ ไล่ระดับๆ มาให้ฟัง อย่าไปจำผิดว่า ทุกข์นั้นเราจะไปดับมัน เราพูดกันเรียกว่า พูดเร็วๆ พูดหวัดๆ พูดกันรวบเลยว่าดับทุกข์ดับทุกข์ แต่คุณเอ๋ย คุณยังไม่ตายดับดิ้น  คุณจะดับทุกข์ไม่ได้ ไม่ได้เพราะ สัพเพ สังขารา ทุกขา แม้แต่ใจมันปรุงขึ้นมานิดนึงเป็นอุทธัจจะ ก็ทุกข์แล้วคุณทุกข์แล้ว ใครจะรู้ได้ละเอียดล่ะ 

คนผู้รู้เท่านั้นถึงรู้ว่าแม้แต่ใจมันคิดขึ้นมานิดนึงมันก็ทุกข์ คนไม่รู้มันก็ไม่รู้ มันก็บอกว่าสบายสิ ทนได้นี่นา เหงื่อตกซอกๆ ก็บอกว่าสบาย มันส์ อร่อย มันไม่ได้ทุกข์เลย ขนาดเหงื่อตกซอกๆ มันก็ยังบอก  มันอร่อย เพราะอะไร เพราะเขาไม่รู้ว่าทุกข์เป็นยังไง ทุกข์มีลักษณะยังไง เขาไม่รู้เขาถึงบอกว่ามันอร่อย ไม่มีอะไรในโลกเลย สัพเพสังขาราทุกขา ไม่มีอะไรเลยที่ไม่เป็นสังขารที่มันจะไม่ทุกข์เลยไม่มี ทุกสิ่งทุกอย่างยังเกิดอยู่ ย่อมเป็นการปรุงแต่ง ย่อมเป็นสังขารทั้งนั้นเลย แม้แต่จิตเริ่มเกิดเป็นตัวตนขึ้นมานิดนึง มันก็เป็นสังขารแล้ว 

พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ตรัสเอาไว้ว่า ผู้ที่จะรู้ทุกข์ได้นั้น เป็นการยากยิ่ง จะมีบุรุษหนึ่ง ยิงลูกศรจากที่ไกล ให้ไปเสียบที่รูกุญแจ ให้ไปเสียบอยู่ที่รูกุญแจซ้อน ๆ กันเข้าไปร้อยดอก ที่รูกุญแจรูเดียวนั้น ยากยิ่งเหลือเกินแล้ว แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่ยากเท่า ผู้ที่จักเส้นผมเส้นหนึ่ง ให้ออกเป็นร้อยแฉก แล้วเส้นผมแต่ละแฉกที่จักนั้นต้องเท่ากันด้วยนะ อันนี้ยิ่งยากกว่าผู้ที่ยิงลูกศรไปให้เสียบที่รูกุญแจรูเดียว ณ ที่ไกล จักเส้นผมให้เป็นร้อยแฉกนี้ยากกว่า 

ถึงกระนั้นก็ตาม ยังไม่ยากเท่า ที่จะรู้จักทุกข์ได้หมดสิ้น คุณคิดเอา ถึงขนาดนั้นยังไม่ยากเท่าที่จะรู้จักทุกข์ให้ได้หมดสิ้น พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้อย่างนี้ คิดดูซิ มันยากแค่ไหนที่จะรู้ทุกข์ถ้วนทั่ว ใครไม่เข้าใจนี่อาตมาลงไว้ในหนังสืออโศกนานแล้วประโยคนี้ เอาลงไว้ในหนังสือเล่ม 1 เลยทีเดียว จริงๆ อย่างพระพุทธเจ้าท่านว่ามัน โอ้โห! ถ้าใครไม่รู้ทุกข์แบบนี้นะ คุณเอ๋ย เหลือเศษไว้เกิดทั้งนั้นแหละ เหลือกิเลสไปเกิดทั้งนั้นแหละ มันจะรู้สึกว่าสบายดีนี่หว่า นี่มันก็ยังสบายนี่เลยว่ะ นี่มันไม่ทุกข์อะไรเลย คุณยังเหลือเศษไว้ทั้งนั้นแหละ กว่าคุณจะรู้จริงๆ ด้วย ว่าอะไรที่มีแม้ตั้งแต่ขั้นอุทธัจจะ ก็ทุกข์ขึ้นมาเท่านั้นเองก็ทุกข์แล้ว ทุกข์แล้ว 

ฉะนั้นเราจะต้องมาไล่กันดูซิว่าทำยังไงเราจะดับอวิชชาได้สิ้น จะต้องรู้จนกระทั่งทะลุถึง อุทธัจจะ แล้วเราก็จะดับอวิชชาได้ อาตมาจะเขียนสูตรไว้ที่บนกระดานซะก่อนและอาตมาจะค่อยๆ ไล่มาจนกระทั่งอวิชชา นั่นคือสูตร 

ตั้งแต่ข้อ 1 มายันข้อ 10 นั่นคือสูตรที่เราจะต้องกระทำ เราจะต้องรู้ รู้เป็นลำดับๆ มา สิ่งเหล่านี้ทั้งหมดนี้แหละ มันผูกเราไว้ มันดึงเราไว้ มันล่ามเราไว้ ให้เราติดอยู่ในโลก พ้นจากโลกไปไม่ได้ มีอยู่ 10 ข้อนี่แหละ และข้อที่ 10 นั้นคือ อวิชชา 

เราไม่ไปเรียนวิชชาอื่น วิชชาที่เราจะเรียนนั้นคือ 

1. เรียนรู้ สักกายะ 

2. เรียนรู้ กามราคะ 

3. เรียนรู้ รูปราคะ

4. เรียนรู้ มานะ 

1. เรียนรู้สักกายะ 2. เรียนรู้กามราคะ 3. เรียนรู้รูปราคะ ถ้าละเอียดขึ้นก็เรียกว่า อรูปราคะต่อ ที่จริงเราไม่ไปอ่านซ้อนเราไม่ไปเอาซ้อนถ้ารู้ละเอียดแล้ว แล้วอีกลักษณะหนึ่งก็คือมานะ 4 จะเอาให้ชัดอีกอันนึงก็ได้ อุทธัจจะ คือสภาวะแห่งการเกิดที่ละเอียดที่สุดคืออุทธัจจะ ถ้าใครรู้อุทธัจจะ อันแท้จริงของคนได้แล้ว ใครรู้จักอุทธัจจะเจตสิก หวานเลย รู้จักอุทธัจจะเจตสิกที่มันคลิกขึ้นมา แฮ่ จับได้แล้ว เริ่มแล้วไหมล่ะ ก่อตัวขึ้นไหมล่ะ จับได้ไล่ทันอย่างนี้แล้วนะ พอรู้ว่ามันพลิกขึ้นมาปั๊บ เอาสติคุมเลย เอ๊ยเกิดมาแล้วสติคุมเลย พอเอาสติคุมไปได้ตลอดเวลาแล้วที่นี้คุณจะทำอะไรล่ะ ถ้าคุณเห็นว่าในโลกนี้ควรทำให้ดี สิ่งที่ทำนี้เป็นกุศล เชิญเลยทีเดียว เพื่อการเกื้อกูลโลก  โปรดโลกก็ทำ 

แต่ถ้าสิ่งใดเป็นอกุศล สติเรารู้ดีอยู่แล้ว แยกแยะออกแล้ว ว่าเป็นอกุศล หยุด เพราะเรารู้เสร็จแล้วนี่ อะไรเป็นสมุทัยแห่งตัวนี้ พอรู้อุทธัจจะแล้ว ดับอุทธัจจะปั๊บเลย อาตมาพูดย้อนตั้งแต่ปลายมาหาต้น ดับพรึ่บเลย อย่าปรุงอย่าฟุ้ง ถ้าฟุ้งมาเพื่อตัวตนนี้อย่าฟุ้ง ดับเลย พอดับพรึ่บลงแล้ว มันก็ไม่มีอะไร มันก็อยู่สบาย 

เพราะฉะนั้น อวิชชาตัวนั้นไม่เรียกว่า อวิชชา อวิชชาตัวนั้นเรียกมันว่า วิชชา ว่ารู้เท่า รู้ทัน รู้แจ้ง รู้สว่าง เข้าใจชัดแจ๋เลย นี่แหละเรียกว่า สว่างไสวอยู่ในการดับ หรือดับอย่างสว่างโล่ง นี่แหละ คือมีวิชชา เป็นวิชชาสว่างไสวรู้แจ้งแทงทะลุอยู่ชัดเจนเลย 

ไม่ใช่ดับอย่างอภิสัญญานิโรธ เพราะว่าถ้าไปดับอย่างอภิสัญญานิโรธแล้ว มันไม่สว่างไสว มันมืดตึ๊ดตื๋อเลย ไม่รู้เรื่องเลย ดับอย่างนั้น พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าไม่เอา ไม่เอา ดับอย่างนั้นไม่เอา พระพุทธเจ้าท่านสอนพระอานนท์อยู่ในสูตร  โปฏฐปาทสูตร (พระไตรปิฎก เล่มที่ 9 ข้อ 275 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 1 ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค) ท่านสอนพระอานนท์เอาไว้ คือ ปาทะพราหมณ์มาถามพระพุทธเจ้าว่า ท่านผู้เจริญ อภิสัญญานิโรธนี้มันเป็นยังไง มาทูลถามพระพุทธเจ้า 

พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสบอก อภิสัญญานิโรธ มันเป็นอย่างนี้แหละเธอ แล้วท่านก็อธิบายให้ฟังว่า ถ้าผู้ใดทำตนให้รู้ในฌาน เป็นรูปฌานเสร็จแล้ว แล้วเราก็พยายามทำรูปฌานนี้ให้ละเอียดยิ่งขึ้นอีก กระทั่งว่างลง ว่างลงเป็น อากาสานัญจายตนะ แล้วก็รู้ให้ได้นะว่าที่เรามี อากาสานัญจายตนะ เรายังมีตัวมีตนนะ ยังมีรูปมีนาม รูปของอากาสานัญจายตนะ ยังมีนามซ้อนอยู่ตัวหนึ่ง  เรียกว่า วิญญาณ  

เพราะฉะนั้นทำความรู้ในวิญญาณนี้ให้ได้ ถ้าใครระลึกรู้ว่า อ๋อ.. วิญญาณนี้เราเข้าไปเสพ อากาสานัญจายตนะ เธอเข้าไปเสพอากาศมันเป็นอย่างนี้เองนะ ผู้นั้นก็จะเกิดวิญญาณัญจายตนะ ผู้ใดทำวิญญาณัญจายตนะได้แล้ว ก็จะรู้ว่าตัวเองยังมีตัวรู้อยู่ในตัวอีกตัวนึง ให้ดับตัวรู้นี้ลงไป ให้สิ้นซากอย่าให้เหลือหลอ ดับตัวรู้นี้ลงไปให้ไม่มีเหลืออะไรเลย ให้ไม่มีตัวรู้เลยเป็น อากิญจัญญายตนะ ดับลงไปๆ ให้สนิท เป็นอากิญจัญญายตนะ ให้ตัวเองไม่รู้อะไร จะพยายามให้ไม่มีทุกสิ่งในโลก ดับไปอย่างที่คนจะไม่มีชีวิตอยู่ในโลกเลย ก็เป็น อากิญจัญญายตนะ 

ถ้าผู้ใดเกิด อากิญจัญญายตนะ นิดหนึ่ง น้อยหนึ่ง อะไรก็ไม่มีหมดแล้วเรียบร้อยแล้วนะ ท่านให้ดับต่อไปอีกเลย แล้วดับให้มันสนิทที่สุดเท่าที่มันจะสนิทได้ ต่อจาก อากิญจัญญายตนะเลย ดับพรึบให้ยิ่งกว่านั้นเลย อายตนะก็ไม่ให้เหลืออะไรก็ไม่เหลือ ดับสูญที่สุดเท่าที่เราจะสามารถ อันนี้และเรียกว่า  อภิสัญญานิโรธ ไม่ต้องไปต่อ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไม่ต้อง ไม่ต้องไปต่อ ดับให้ยิ่ง 

อภิ แปลว่ายิ่ง นิโรธ แปลว่าดับ อภิสัญญานิโรธ คือดับสัญญานี่แหละ ในตัวคนที่จะเหลืออยู่ก็มีสัญญากับอัตตา อันใดเป็นอัตตา ก็เรียกว่ายังมีรูป อันใดมีสัญญาอยู่ก็เรียกว่า มีรูปมีนาม นามเราเรียกว่า สัญญาตัวสุดท้าย รูปเราก็เรียกว่าอัตตา ใครเหลือนามเหลือรูป ก็เป็นอย่างนี้ถ้าใครไม่เหลือนามเหลือรูปก็ไม่ต้องมีอะไร อย่างนี้เป็นต้น 

พระพุทธเจ้าท่านให้ดับอย่างนี้ นี่ท่านทรงสอนเอาไว้ใน โปฏฐปาทสูตร คือ โปฏฐปาทพราหมณ์ ไปทูลถามท่าน การดับดับอย่างนี้เท่านั้น แต่พระพุทธเจ้าท่านเคยเรียนมานะ เรียนมากับพวกศาสดาจารย์ต่างๆ อาฬารดาบส อุทกดาบสก็ดีสอนท่านสอนถึงขั้น อากิญจัญญายตนะแล้ว ยังมียิ่งกว่านี้อีกนะยังเป็น เนวสัญญานาสัญญายตนะ พระพุทธเจ้าเคยเรียน ก็มันมีดับแล้วมันก็มีรู้  รู้แล้วมันก็ดับ  ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ ดับแล้วก็รู้ รู้แล้วก็ดับ พระพุทธเจ้าท่านเข้าใจท่านก็เลยบอกว่า ปัดโธ่ ไม่รู้จักจบ อยู่แค่นี้เอง ที่มันไม่จบเพราะอะไร เพราะคนมันยังมีรูปมีนาม มันยังมีกายยังมีใจ เมื่อมันยังมีกาย ยังมีใจ มันยังไม่ตายแท้นั้นมันยังไม่ตายจริงหรอก 

แต่คนจะพ้นทุกข์ไปได้จริงแทนนั้นจะต้องรู้กิเลสตัณหาให้ชัด เมื่อรู้กิเลสตัณหาให้ชัดแล้วดับกิเลสตัณหา ให้เปลื้องจากตัวตนไม่ให้เหลืออยู่ จิตก็ให้เหลืออยู่ กายก็ให้เหลืออยู่ ก็จบ แล้วคนนี้ก็เหลือแต่กายกับจิตที่ไม่มีของใคร เป็นของโลกเป็นของว่างๆ เป็นของสาธารณะ มีจิตกับกายอย่างสาธารณะ แต่ไม่ทำเหมือนคนสาธารณะ แบบผู้หญิงสาธารณะ ผู้ชายสาธารณะ ไม่ใช่นะไม่ทำอย่างนั้นนะ แต่สาธารณะในสิ่งที่ดีที่ควร ใครจะมาเอาสิ่งที่ดีที่ควรจากท่าน ท่านผู้บรรลุนี้ ท่านผู้ที่หมดแล้วจากกิเลสตัณหาทั้งหลายนี้ จะมอบทุกสิ่งทุกอย่างให้ จะให้เป็นสาธารณะในสิ่งที่ดี 

แต่ไม่ใช่เป็นสาธารณะในสิ่งที่ชั่ว ไม่เป็นเลย นี่เรียกว่า เป็นผู้ดับที่รู้ว่าชั่ว ดับอย่างฉลาดดับอย่างรู้เท่าทันคำว่า ชีวิต เพราะชีวิตมันไม่ตายจริง มันไม่ดับจริง ดับให้เหลือน้อยหนึ่ง จนไม่รับรู้อะไรเลยก็เหลือแต่รูปเปล่าๆ เหลือแต่ร่างกายแข็งทื่อเฉยๆ ไม่รับรู้โลกเลย เป็นอาสัญญีอย่างนี้ท่านไม่เอา หรือเป็นอภิสัญญานิโรธท่านไม่เอา ไม่เอา อภิสัญญานิโรธ หรืออสัญญีสัตว์ ไม่เอา ท่านไม่เอา อย่างนี้ไม่ได้ประโยชน์อะไรท่านไม่เอา 

จงเข้าใจให้ได้ แบบนี้ใบไม้กำมือเดียวของพระพุทธเจ้า คือ นิโรธอริยสัจ นี่แหละ เพราะฉะนั้นก็หันกลับเข้าไปหาสิ่งที่ถูก ก็นิโรธต้องรู้ว่าอย่างนี้หนอ ต้องเรียกว่า สักกายะ อย่างนี้เรียกว่า กามราคะ เศษของกามราคะ เรียกว่า ปฏิฆะ ก็รู้ให้ได้ อย่างนี้เรียกว่า รูปราคะ รู้ให้ชัด ลึกละเอียดลงไปเข้าไปกว่ารูปราคะเรียกว่า   อรูปราคะ ซ้อนไปอีกก็รู้ให้ชัด และรู้ว่าอย่างนี้เรียกว่า มานะ พอรู้มานะ มานะนี่คือใจ คำว่ามานะเนี่ยแปลว่าจิต คือรู้ให้ชัดว่านี่แหละคือมานะ ถ้ามันถือดีในจิต ใหญ่เป็นปรมาตมันอยู่ก็รู้มันให้ชัด พอรู้มานะชัดแล้ว หมดมานะ ละ ไอ้ที่มันยึดมั่นถือมั่นในตัวตนว่าฉันใหญ่ ฉันเล็ก ความใหญ่ความเล็กไม่มีแล้ว 

รู้ละเอียดจนกระทั่งว่า ถ้ามันเริ่มเกิดขึ้นมานิดนึงเป็นปฏิกิริยาในจิตวิญญาณเล็ก เป็นปฏิสนธิวิญญาณขึ้นมาน้อยหนึ่งได้แล้วนี่ เริ่มเป็นโอปปาติกะสัตว์ขึ้นมาในโลก พอเริ่มนิดขึ้นมาเป็นอุทธัจจะก็รู้ได้ คราวนี้แหละ หวานเลย คุมได้เลย ตอนนี้คุมติดตลอดเลย รู้ละเอียดได้ถึงขนาดอุทธัจจะผุดขึ้นมานิดนึงคุมได้ตลอดเลย ตอนนี้ล่ะ โอปปาติกะก็โอปปาติกะเถอะ จิตของเราเองเราคุมได้เลยอย่างนี้ มันไม่เป็นผีแน่ โอปปาติกะตัวนี้ไม่เป็นผีแน่ และไม่ใช่เทวดาหลงกามแน่ 

เพราะรู้เสียแล้วนี่ว่ากามเป็นยังไง ฆ่ากามแล้ว ไม่เป็นเทวดาชั้นพรหมแน่ด้วย  ที่มันใหญ่ มันยิ่ง มันโต ไม่เป็นด้วย เพราะฉลาดรู้เท่าทันหมดแล้ว มีวิชชาซะแล้ว พ้นอวิชชาซะแล้ว เข้าใจได้ซะแล้ว ก็คุมได้สบายเลย แต่การคุมนี้ไม่ได้คุมเปล่า การที่จะรู้นี้ วิชชาที่รู้นี้ ของผู้ที่เป็นพระอาริยเจ้าของท่านหมดจริง ท่านมีแต่กุศลจริง แต่ของคนอื่นไม่เท่าของท่าน ฟังให้ดีนะจุดนี้สำคัญ ของท่านหมดจริง ท่านไม่ยึดแม้แต่เศษเสี้ยวของโอปปาติกะ แม้แต่เศษเสี้ยวของวิญญาณ

แม้แต่เศษเสี้ยวของปฏิสนธิวิญญาณที่เกิดมาเป็นตัวตนแรกเริ่ม ท่านก็ไม่หลงยึดอะไรเลย แต่ว่าของคนอื่นนั้นยังทำไม่ได้เท่านี้ ของคนอื่นคนนี้ๆ บางคนยังมีเศษของกามอยู่ก็มี เศษของปฏิฆะอยู่ก็มี ยังมีเศษของรูปราคะ อรูปราคะ มีเศษของมานะก็มีอยู่ทั้งนั้น 

พวกนี้ยังตามรู้ถึงขั้นที่เป็นอุทธัจจะเจตสิกยังไม่ได้ พระอรหันต์ก็จะเข้าใจจิตของผู้นี้ว่า อ๋อ..คนนี้ยังมีกาม เศษกามยังมี ผู้นี้เศษของรูปราคะยังมี ผู้นี้เศษของมานะยังมี พระอรหันต์จะรู้เท่าทัน พอรู้แล้วก็เขียนไว้ คนนี้ กามราคะยังไม่หมดเลย จะให้ไปละมานะไม่ได้ ไม่ได้ ก็สูตรมันบอกอยู่แล้วนั่นน่ะ อาตมาขีดเส้นใต้ไว้ระดับที่ 5 นะ ระดับจาก 5 ไปหา 1 เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ หมายความว่าสังโยชน์เบื้องต้น ที่ขีดเส้นใต้เอาไว้สังโยชน์เบื้องต้น 

เพราะฉะนั้นเมื่อเบื้องต้นเรื่องหยาบเรื่องตื้นยังไม่หมดได้ สังโยชน์เบื้องสูงจากข้อ 6 ไปจนกระทั่งทะลุรวดถึงอวิชชาเลยนี่  ที่เรียกว่า อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ย่อมยังไม่ได้ อ๋อนี่เห็น กามก็ยังไม่หมดเลย ย่อมไม่ใช่พระอนาคามี 

พระอนาคามีหมดแล้ว 5ข้อทั้งหมด พระอนาคามียังเหลือแต่เศษ รูปราคะ อรูปราคะ ไปถึงอวิชชา เหลือแต่ อุทธัมภาคิยสังโยน์ แต่นี่กามก็ยังไม่รู้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พักไว้ก่อน ไปเล่นภพชาติอยู่ข้างใน ในจิตเลย ไปเล่นมานะ อาตมาบอกแล้ว มานะ แปลว่า จิต จิตอะไร รูปจิต ที่เป็นรูปราคะ อรูปจิตที่เป็นอรูปราคะ แล้วก็ไปมานะ ไปดับไปฆ่าในโน้น แต่กามราคะไม่รู้เรื่องเลยไม่ได้ทำมาเลย คนนี้จึงเรียกว่า จะเป็นผู้ที่ดับได้สิ้นรอบไม่ได้  เพราะฉะนั้นเราจะต้องเรียนรู้เป็นเบื้องต้น ท่ามกลาง บั้นปลาย ให้ถูกคำสอนพระพุทธเจ้ามันลงรอยลงร่องกันหมด ผู้ใดจะเริ่มต้นทำก็จะต้องหัดตั้งแต่ นิวรณ์ 5 

นิวรณ์ 5 ท่านสอนว่ายังไง หัดเรียนรู้กาม อ้าว กามเบื้องต้นอีกแล้ว ให้เรียนรู้พยาปาทะ ให้เรียนรู้พยาบาทให้รู้ ถีนมิทธะ ให้เรียนรู้อุทธัจจะ ซึ่งอุทธัจจะมันเข้าไปหาข้างล่างแล้ว ก็คือ  รูปราคะ อรูปราคะ มานะ ถีนมิทธะ ฟังให้ดี นิวรณ์ 5 นี่นะ แบ่งครึ่งกามกับพยาบาทเป็นตัวหยาบเป็นตัวต้น ถีนมิทธะ อุทธัจจะเป็นตัวปลาย วิจิกิจฉานั้นอย่าไปพูดถึงมัน เพราะวิจิกิจฉามันไม่มีอะไรมันเป็นตัวไม่รู้แจ้งยังลังเลสงสัย มันยังไม่ทะลุทะลวง ยังคล่องๆ คาๆ อยู่ ยังไม่เข้าใจชัดอย่างแท้จริงแค่นั้นเอง วิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้นถ้าเราเข้าใจอย่างแท้จริงพ้นวิจิกิจฉาแล้วนะ วิจิกิจฉามันก็หลุดไปเอง ไม่ต้องไปทำอะไรในตัววิจิกิจฉาคือ มันเป็นตัวที่ยังไม่รู้แจ้งแทงทะลุรอบถ้วนนั่นคือวิจิกิจฉา ซึ่งอาตมาอธิบายสังโยชน์ 10 อยู่ อาตมาถึงยังไม่ได้พูดถึงวิจิกิจฉาเลย เพราะไม่ต้องไปทำอะไรมันนี่ วิจิกิจฉา คือตัวจิตของเราที่บรรลุเป็นปัญญาอย่างแท้จริงเท่านั้นเอง พอบรรลุซึ่งปัญญารอบถ้วนอย่างแท้จริง วิจิกิจฉามันก็ผล็อยลงไปเองไม่มีอะไรเหลือวิจิกิจฉา 

เพราะฉะนั้น ตัววิจิกิจฉาไม่ต้องไปทำอะไรมัน ไม่ต้องไปทำอะไรมันเลย เป็นแต่เพียงว่าพยายามทำให้รอบสิ้นเป็นรอบๆๆ ไปเท่านั้นเอง วิจิกิจฉา          นี่เรียกว่า เราเข้าใจ แม้แต่นิวรณ์ 5 ก็เหมือนกันเห็นไหม อาตมาแบ่งหยาบๆ ให้ฟังเหมือนกัน ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 นิวรณ์ 5 ก็ไม่ขัดกับสังโยชน์ 10 ไม่ขัด

เพราะฉะนั้น ก็ขอมาเริ่มต้นที่ เบื้องต้นซะก่อน มาเริ่มต้นที่ สักกายะ

เราจะรู้ว่าสักกายะเป็นอะไร เราก็ต้องมาเรียนรู้ภาษาซะก่อนว่า สักกายะท่านหมายความว่าอย่างไร 

สักกายะ ท่านก็หมายความว่า ไอ้ที่มันหลงเป็นตัวเป็นตนอันใหญ่ สักกะ แปลว่า ใหญ่ ๆและตัวตนอันใหญ่นี่ มันไม่ได้กินความแค่นี้ มันไม่ได้กินความแค่ร่างกายเท่านี้หรอก มันกินความถึง 6 ทวาร ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจด้วย ใจด้วย อาตมาจะพูดใจก่อน สักกายะตัวนี้ อาตมาจะพูดใจซะก่อนเพราะหยาบกว่าคือ 

ใจของเรานี่มันโง่ โง่ที่มันไปหลงภพ หลงชาติ เรียกว่า ภวตัณหา นี่พูดภวตัณหาก่อนกามตัณหาเสียด้วย เพราะมันเป็นภพหยาบๆ เป็นโลกียธรรมหรือเป็นโลกธรรมธรรมดาธรรมดา เป็นอะไรบ้าง มีหลงภพแห่งความร่ำรวย ภพ

แห่งการเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งการที่จะได้รับคำสรรเสริญเยินยอ ชูช่อชูเชิด ภพแห่งสิ่งที่หลงว่า สุขสำราญเหลือเกิน สุขสำราญเหลือเกิน มีแค่นี้แหละ รวมความแล้วก็คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ไม่มีอะไร 

ภพแห่งความร่ำรวยก็คืออยากจะได้ลาภเยอะแยะ ภพแห่งการที่จะได้ความใหญ่ความโต​​ ความมหึมาของยศฐานะ  ภพที่จะได้รับคำเยินยอสรรเสริญ ภพแห่งความที่จะหลงว่ามันเป็นสุขทั้งนั้นในโลกนี้ ไม่ว่าอะไรก็หลงว่าเป็นสุขหมด มีอยู่เท่านี้ อาตมาเคยอธิบายละเอียดละออมาแล้ว วันนี้ไม่พูดซ้ำแต่เน้นให้ฟังให้เข้าใจ 

ถ้าผู้ใดไม่หลงภพที่หยาบๆ แบบนี้แล้วแล้วก็ ผู้นั้นจะเข้าใจสักกายะอย่างหยาบที่สุดได้แล้ว แล้วก็หัดตัด หัดตัด หัดละ ถ้าคุณเองยังไปหลงภพแห่งความรวย ทำไมคุณยังไปหลงภพแห่งความรวย ก็คุณเข้าใจว่าความรวยนั้นมันดี มันเป็นของดี ของควรได้  ควรเป็นควรมี มันก็เป็นเพราะว่าตัณหาเท่านั้น แล้วคุณก็อยากได้ว่าเป็นของควรได้ควรมีควรเป็น คุณก็อยากได้สิ่งนั้น อยากเป็นสิ่งนั้น อยากมีสิ่งนั้น คุณก็ละอยากไปสิ ไม่ต้องไปอยากมัน ไปอยากมันทำไม ละมันเสีย แล้วมันจะเป็นคนรวยเอง ฟังให้ดีนะตลก 

ถ้าคุณละอยากซะแล้ว อย่าอยากรวยและคุณจะรวยเอง ใครยิ่งอยากรวยยิ่งไม่เคยรวย ถ้าใครยิ่งไม่อยากรวย นั่นแล้วยิ่งจะรวยเข้าไปทุกทีทุกที นี่อาตมาไม่ได้พูดเล่นลิ้นไม่ได้เล่นภาษา อาตมา มหาศาลรวยจริงๆ รวย อาตมารวยมหาศาลเลยไม่ขาดตกบกพร่องเลย ทุกวันนี้สบายมาก สู้เขาได้สบายมาก จริงๆ อาตมารวยมหาศาลเลยทุกวันนี้ เพราะอะไร เพราะอาตมาไม่อยากได้ เต็มเสียแล้วนี่ แต่คนที่อยากรวยนั้น มี 5 พันล้านแล้วยังไม่เต็มเลย คุณคิดดูให้ดี มี 5,000 ล้านแล้วยังไม่เต็มเลย ยังอยากอีก ทำเหน็ดเหนื่อยเข้าไปสู้เอา 5,000 ล้าน ไปหาเอาใหม่ต่ออีกทำอะไรต่ออะไรอีกแล้วเมื่อไหร่มันจะรวย 

คุณคิดดูซิ ไม่รวย ต่อให้มีหมื่นล้านนี่ยังไม่รวยเลยเพราะเขายังไม่เต็มสักที แต่อาตมาเต็มซะแล้ว เต็มแล้วยัดไม่ลงเดี๋ยวนี้บาทหนึ่งยังยัดไม่ลงเลยเต็มปรี่เลย แล้วคุณคิดดูซิคนที่เต็มปรี่แล้ว บาทนึงยังยัดไม่เข้า นี่กับคนที่มีหมื่นล้านแล้ว มีเท่าไหร่ก็ทิ้งหายทิ้งหายเหมือนหาย เอาไปทิ้งอีก 20,000 ล้าน ก็หายอันไหน เรามันจะเต็มอันไหนมันจะที่มันจะรวยกว่ากันก็คนที่ยัดไม่เข้าสิรวย มันรวยเด็ดขาดเลย โอ้โหเต็มปรี่เลยไม่รู้จะทำยังไงบาทนึงก็ยัดไม่เข้าจริงๆ

แล้วแสนสุขสบายเลยไม่เหน็ดเหนื่อย ส่วนคนที่มี 5,000 ล้านแล้วยังเหน็ดเหนื่อยยังอยากได้ยังคิดหาวิธีปวดขมับปวดขมอง คิดแต่จะเอายังไงดีโว้ย  ยังไงดีโว้ย เสร็จแล้วพอจะตายตายก็ต้องมานั่งทำพินัยกรรมอาตมาตายแล้วไม่ต้องนั่งทำพินัยกรรมเลยสบายมาก ตายที่ไหนก็ได้ ตายไม่บอกใครก็ได้อาตมาจะตายที่ป่าที่ภูเขาที่ไหนก็สบาย  แต่ถ้าคุณมี 5,000 ล้าน จ้างคุณก็ไม่กล้าไปตายในป่าในเขา จะตายก็ต้องเรียกให้พี่น้องมาทำพินัยกรรมกันนะ อย่าเถียงกันนะอย่าตีกันนะ ขนาดบอกไปแล้วเดี๋ยวมันก็ตีกัน บางทีตีต่อหน้ายังไม่ทันตายเลย บางคนก็อดทนเอาไว้ พอตายแล้วไปตีกัน เพราะแบ่งให้อั๊วะน้อยแบ่งให้ลื้อมาก ให้เป็นพี่น้องกันก็ยังตีกันยุ่ง ยุ่งทุกอย่าง  เพราะฉะนั้นอาตมานี้ไม่ยุ่งเลย ตายแล้วไม่ต้องทำพินัยกรรมทุกอย่างสบายมาก 

เพราะฉะนั้นอาตมาถึงบอกว่าใครที่หมดอยากแล้ว รวยไม่เป็นคนนั้นรวยคนนั้นรวยที่สุด ไม่เอาอะไรเลยรวยที่สุด แต่ใครเองยังเอาอยู่ไม่รวยเลยไม่มีวันเต็มไม่มีวันรวย นี่แหละถึงบอกว่า อย่าไปหลงในลาภ ยศก็เหมือนกัน 

เวลามาเป็นพระพุทธเจ้านี่ท่านไม่มียศเลยนะ ท่านถอดยศจากราชกุมารมานะ แล้วรัชทายาทนะ พระพุทธเจ้าท่านถอดยศรัชทายาทลงมาเป็นคนถือบาตร บิณฑบาตขอข้าวกิน เสื้อผ้าก็มีน้อยนอนโคนป่าโคนเขานะ ซึ่งแต่เดิมยศฐาบรรดาศักดิ์ท่านขึ้นเรื่อยๆ สุดท้าย พระเจ้าปเสนที่เป็นเจ้าแห่งแคว้นโกศลยังมากราบไหว้

แต่ถ้าพระพุทธเจ้ายังเป็นราชกุมารย่อมเป็นผู้ที่จะครองราชย์อยู่ที่กรุงกบิลพัสดุ์นะ เจอพระเจ้าปเสนทิต้องกราบพระเจ้าปเสนทิก่อน ต้องกราบก่อนนะ พระพุทธเจ้านี่โดยศักดิ์ ก็กรุงกบิลพัสดุ์น่ะกรุงเล็ก แคว้นเล็กไม่ใช่แคว้นใหญ่หรอก แคว้นโกศลเป็นแดนใหญ่แคว้นกว้างขวางใหญ่โต พระเจ้าปเสนทิโกศลนี้ใหญ่ มีศักดิ์เป็นผู้ใหญ่

เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่าพระพุทธเจ้าเราครองราชย์ ครองกรุงกบิลพัสดุ์นะ ต้องมากราบ มีฐานะต้องมากราบมาเคารพพระเจ้าปเสนทิโกศล แต่พอพระพุทธเจ้าไม่เอาแล้ว ยศฐาบรรดาศักดิ์แบบนี้ไม่เอาแล้ว โยนทิ้งเลย ไปเป็นคนนอนกะดินกินกะทราย มีกินน้อยมีใช้น้อย โอ้โห ยศฐาบรรดาศักดิ์พระเจ้าปเสนทิว่าใหญ่ เจ้าแคว้นโกศลต้องมากราบเลย ต้องมาเคารพเลย  คิดดูซิว่า ฐานะที่พระพุทธเจ้าได้นั้น ยศที่พระพุทธเจ้าได้นั้นสูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าหรือเปล่า สูงกว่าแล้ว 

อาตมาเห็นจริง เห็นชัดเหลือเกิน แหม แจ่มจริงหนอ  ชัดจริงหนอ พระพุทธเจ้าทำทานมาสูงจริงหนอ บริบูรณ์จริงหนอ ถึงสิ่งที่เรียกว่าคุณธรรมในตนอย่างนี้แล้ว ยศฐานะบรรดาศักดิ์ขึ้นเอง และไม่ได้อยากได้ด้วยแต่มีเอง มีเอง มีเองจริงๆ เพราะฉะนั้นผู้ใดยิ่งไม่เอาลาภ ไม่เอายศ ไม่เอาสรรเสริญ ยิ่งดังด้วย พระพุทธเจ้าดังมาตั้ง 2,500 กว่าปีแล้ว เดี๋ยวนี้เราก็ยังรู้จักท่านดีเหมือนกับท่านนั่งอยู่ตรงนี้พระพุทธเจ้า ดังไหม ใครที่ทำให้ดัง ยิ่งเดี๋ยวนี้ มาร์ลอน แบรนโด ที่ว่าดังๆ เนี่ย ปัดโธ่เอ๋ย  ฮิสตัน มันกำลังดัง ๆ อยู่นี้ นับไปกี่ปี ใครจะอยู่รอดูก็ได้ 100ปี 200ปี 300 ปี ดูซิจะดังไปได้แค่ไหน ไม่สู้ คนที่เป็นจอมจักรพรรดิยิ่งกว่าพระพุทธเจ้ารุ่นหลังกว่าพระพุทธเจ้าอีก ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย ยังดังสู้พระพุทธเจ้าไม่ได้เลย  

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่อยากได้ลาภ ไม่อยากได้ยศ ไม่อยากได้สรรเสริญ  ยิ่งได้ 

ทีนี้สุขล่ะ ไม่อยากได้สุข จะได้สุขไหม ได้แฮะ ได้อย่างบริบูรณ์ถ้วนรอบ บอกใครไม่ถูก ภาษาพระท่านขอยืมภาษาโลกท่านมาเรียกว่า มาเรียกว่า บรมสุข แต่ไม่ใช่สุข ฟังดีๆ นะ ขอเอายืมภาษาโลกมาเรียกว่า บรมสุข หรือแปลว่า นิพพาน

 นิพพานังปรมังสุขัง นิพพานนั่นแล เรียกว่าบรมสุข ขอยืมภาษาโลกเรียกว่า บรมสุข  ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรมาเรียกแล้ว เรียกว่านิพพาน คุณก็ไม่รู้ว่านิพพานคือตัวยังไง อารมณ์ยังไง ตัวมันเป็นยังไง คุณไม่รู้ ก็เลยขอเทียบเคียงไอ้สุขโลกๆ เนี่ย คุณรู้สุข  สุขแบบโลกคุณรู้ ว่ามันไม่ใช่สุขธรรมดานะ มันบรมนะ มันยิ่งนะ บรมนี่แปลว่า ยิ่งนะ ปรมัง บรม มันยิ่งกว่าสุขขึ้นไปอีกแหนะ ไม่มีชื่อเรียก แต่เรียกว่ายิ่งกว่าสุข เรียกว่ายิ่งกว่าสุข ไม่รู้จะเอาภาษาอะไรเรียก 

เพราะฉะนั้นพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ไม่มีสุข แต่มีอันนึง เรียกว่านิพพาน เรียกว่าสุญญตา เรียกว่า นิโรธอริยสัจยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ตัวนี้แหละ ไม่อยากได้สุขเลย แต่มีอีกสิ่งหนึ่งมาแทนยิ่งกว่าสุข ยิ่งกว่าสุข ใครมี คนนั้นจะเบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ แจ่ม ใสอยู่ เบิกบาน แจ่มใส มัธยัสถ์ สุภาพ สงบ หมดความเสพ สิ้นความอยาก หมดความเสพ สิ้นความอยาก อยู่อย่างนั้นบริบูรณ์อยู่ นี่เรียกว่า ผู้ใดหลงภวตัณหาอย่างหยาบแบบนี้แหละ ถ้าเราเอาแค่ภวตัณหานี้เดินเข้าไปอย่างนี้ถึงลึกละเอียดก็ได้ด้วย

 แต่มันก็เข้าใจไม่ได้สำหรับคน ต้องยักย้ายภาษาหน่อย และให้ตามสภาวะมาไม่งั้นมันดื้อ ไม่งั้นมันดื้อ มันลึกนึกว่าตัวเองมันจบอยู่ที่สุด นึกว่าน้ำเต็มตุ่มแล้ว ทุกที ที่จริงควรเปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ตุ่มนี้ไม่ขยันเอาตุ่มใหม่หน่อยก็ได้สิ่งใหม่ๆ มา อืมแหม ตุ่มใหม่นี้น่าตักใส่ ตักใส่ใหม่หน่อยค่อยยังชั่ว ต้องอาศัยหลอกบ้างเหมือนกัน คนถ้าไม่หลอกไม่เอา ตักน้ำใส่ตุ่มเก่าไม่อยากตักเอาตุ่มใหม่มาให้ค่อยยังชั่ว ตักก็ยอมตักหน่อย อย่างนี้ยักย้ายหน่อย 

ยักย้ายจาก ภวตัณหาเข้ามาหากามตัณหา กามตัณหาอย่างหยาบ ไม่ต้องพูดมากวันนี้ไม่ตั้งใจพูดถึงเรื่องพวกนี้มาก เอาแต่เพียงคร่าวๆ  พอเราทำกามตัณหาให้รู้ กำลังขึ้น สูตรอันที่เรียกว่าข้อที่ 4 ก็มีรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ที่ติดตัวแล้วตอนนี้ เมื่อกี้นี้มีแต่ใจนะทวารใจ ที่บอกแล้วใจมันไม่อยู่ในภพร่ำรวยอยู่ในภพแห่งความเป็นใหญ่เป็นโต ภพแห่งความเป็นความดังสรรเสริญเยินยอ ภพแห่งสุข ตอนนี้ไม่ใช่ภพข้างนอกแล้วนะ ไม่ใช่เอาใจไปผูก เอาตา เอาหู เอาจมูก เอาลิ้น เอากาย ว่ากันชัดๆ เลย 

พอตาสัมผัสเข้าปั๊บ แหม เป็นตัณหาเลย แหม สวยจริงโว้ย อยากได้จริงแฮะ เอาเลย หูได้ยินไอ้นี่ แหมดีจริงถูกหูจริง ไพเราะเสนาะพริ้ง หรือว่า มันส์ บางทีก็ไม่ไพเราะหรอก  เป็นรสชาติอย่างไรก็ตาม บางคนก็ชอบการด่าเหมือนกันนะ ด่าแบบนี้ดีเหมือนกันนะ  มันส์ๆ ดีเหมือนกัน มันคันๆ หัวใจดีเหมือนกัน บางคนคิดชอบด่า ถ้าไม่ด่าไม่ขยัน บางทีลูกเต้าบอกพูดหวานๆ ลูกเอ๋ย ทำอย่างนี้หน่อย ไม่ทำ พอด่าเข้าสักเปิง 2 เปิงประเดี๋ยวแหนะ ซัดซะนี่ ทำเลย นี่ บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน  บางทีมันต้องใช้วิธีนี้เหมือนกัน ชอบด่า เพราะฉะนั้นเราก็ไม่ต้องพูด บางคนถ้าได้มาในเสียงที่ยึดมั่นถือมั่นก็ชอบ ถือว่าต้องทำ ถือว่าต้องเอา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ทุกประตูในทวาร 5 ทีนี้ไม่ใช่ทวารใจ 

ถ้ายังไปหลงอย่างนี้อยู่ อยากอยู่ เพราะทวารทั้ง 5 นี้ เรียกว่า กามราคะ เรียกว่ากามราคะ เพราะฉะนั้นภพภวตัณหาหยาบแล้ว กามตัณหาอย่างหยาบแล้วนี้ เราต้องเรียนรู้ให้ได้ เรียนรู้ มันเป็นสมุทัย ภวตัณหา กามตัณหา มันเป็นสมุทัย ตัณหานี้เป็นสมุทัย รู้ให้ชัด เข้าใจมันให้ได้ แล้วหาทางไปฆ่ามัน ทางที่จะเอาไปฆ่ามันทำอย่างไรล่ะ

พระพุทธเจ้า ท่านว่าไว้ละเอียดหมดเลย ท่านให้เอาศีลไปฆ่า เอาศีลไปประพฤติ เอาศีลไปบำเพ็ญ มาถึงข้อที่ 3 แล้ว ศีล พรต เอาศีลไปประพฤติ พรต ตัวนี้ แปลว่าบำเพ็ญ เอาศีลตัวนี้ไปประพฤติเข้า ไปบำเพ็ญเข้า แล้วมันจะฆ่ากาย หรือฆ่ากาม ถึงจะละสักกายะหรือฆ่ากามราคะ มันจะฆ่าจริงๆ

เมื่อเรารู้มันซะก่อนแล้วว่า สักกายะ คืออย่างนี้ด้วย กามราคะคืออย่างนี้ด้วย ถ้าไม่รู้ก็ทำดื้อๆ ไม่รู้ก็บอกว่าพระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ปานาติปาตาเวรมณี อทินนาทานาเวรมณี อะไรก็ตามแต่ คุณก็เอาศีลนั้นมาอย่างดื้อๆ สมาทานตามที่พระพุทธเจ้าท่านว่าแปลอย่างดื้อๆ เอาง่ายๆ คุณก็ได้ง่ายๆ แต่คุณก็ไม่รู้ตัวรู้ตนมัน มันก็ยังไม่บริบูรณ์ ได้เหมือนกัน ได้ชั้นนึง ถ้าใครเข้าใจละเอียดลึกซึ้งเข้าไปอีก ศีลอันนี้เอามาบำเพ็ญก็รู้เนื้อรู้ตัวรู้สภาวะ รู้ทุกอย่างเรียบร้อยไปเป็นชั้นๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าทำๆๆ ไม่ใช่สักแต่ว่าเอาศีลมาแล้วก็มาประพฤติอยู่เฉยๆ เหมือนกับ อ้าวศีล 5 บริบูรณ์แล้ว 

อาตมากล้าพูดด้วยในนี้ศีล 5 ไม่ใช่ตื้นๆ นะ 1.ยังไม่ฆ่าสัตว์ 2. ไม่ลักทรัพย์ 3. ไม่ผิดผัวเขาเมียใคร 4. ไม่โกหกใคร 5. ไม่กินเหล้า เนี่ยเอาตื้นที่สุด อาตมาเชื่อว่าในนี้นี่ เต็มตุ่มไปนานแล้วเยอะ ในนี้ ศีล 5 แค่นี้ ในนี้เต็มตุ่มไปนานแล้ว เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ เปลี่ยนตุ่มใหม่ซะบ้างสินะ ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มใหม่ คุณก็เทแล้วก็เทอีกอยู่ในตุ่มนั่นแหละ เทแล้วก็หก เทแล้วก็เลอะออกมา ก็มันเต็มแล้วนี่ ก็ไม่ได้ฆ่าสัตว์แล้วนี่ ก็ไม่ได้ขโมยของใคร ไม่ได้ผิดผัวเขาเมียใครแล้วนี่ ไม่ได้โกหกใคร ไม่ได้กินเหล้า ก็เต็มแล้วตุ่มนี่ เปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างสิ หรือไม่ก็ขยายตุ่มออกบ้าง 

ขยายตุ่มออกคือยังไงคือ ทำศีลให้ลึกลงไปอีก ถ้าไม่ขยายให้ทะลุเนื้อหาสาระของศีล 5 เอง ทำความเข้าใจไม่ได้ ก็เพิ่มศีล 6 ศีล 7 ศีล 8 ศีล 9 ศีล 10 เข้าไป เพิ่มเข้าไป ศีลเหล่านั้นเป็นศีลขยายความละเอียดความลึกซึ้งออกไป โดยภาษาโดยนิรุตติ ทำความเข้าใจในภาษาเหล่านั้น ไม่ใช่ตื้นๆ 

จะเอาแค่วิกาลโภชนา ประมาณกำหนดอาหารก็ได้ นัจจะ คีตะ วาทิตะ ไม่ดูการละเล่น ไม่ฟังเสียงร้องเสียงรำอะไรต่ออะไรต่างๆ ก็ได้ มาลาคันธะ วิเลปะนะ จะไม่หลงในดอกไม้ในของหอม ในเครื่องพอกทา ในเครื่องที่มาทรงแต่งไว้ ในเครื่องที่จะมารัดเอาไว้ต่างๆ นานา ที่จะเป็นฐานะแห่งการประดับตกแต่ง คุณเองคุณไม่ทำก็ได้ 

อุจจาสยนะ มหาสยนา จะไม่เอาแล้วที่นั่งที่นอนที่สูงที่ใหญ่อะไรแล้ว คุณก็ไม่เอาแล้วก็ได้ เอาหยาบๆ แค่นี้ก็ได้ ปฏิบัติศีล 8 เต็มแล้ว เต็มตุ่มอีก หยาบๆ แค่นี้นะ เต็มตุ่มแล้ว เปลี่ยนตุ่มอีกบ้าง ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตุ่มอีกนะ คุณก็ ตักเท ตักเท ตักไหลทิ้ง ตักไหลทิ้ง อย่างเก่าอีก

 อาตมาเชื่อว่าคุณหลายคนเต็มตุ่มแล้ว ตุ่มแตกนี้เต็มแล้ว เปลี่ยนตุ่มเสียบ้าง ขยายตุ่มเสียบ้างหรือเปลี่ยนตุ่มใหม่เสียบ้างตักใส่ใหม่เสียบ้าง ถ้าคุณไม่ขยายในสภาพที่ไม่ขยายตุ่ม หรือ  ไม่เปลี่ยนตุ่มนั่นแหละ  เรียกว่าสีลัพพตปรามาส ฉ่ำแฉะ หยำแหยะ สักแต่ว่าทำตามอย่างนั้นแหละ แล้วก็ไม่รู้ว่าได้แล้วหรือยัง เต็มตุ่มหรือยัง หลับหูหลับตาทำ เข้าใจไม่ได้ เต็มหรือไม่เต็มก็ยังไม่รู้ บางทีพอรู้ๆ เหมือนกันว่าตัวเองเต็ม แต่ว่าไม่รู้ว่าตัวเองเต็ม แต่ไม่รู้ว่าจะทำอะไรต่อ ไปมืดไปมัวอยู่ เรียกว่า สีลัพพตปรามาส สักแต่ว่าลูบๆ คลำๆ ทำ ๆ กันอยู่ ไม่เข้าใจ ไม่รู้ว่าควรจะเขยิบฐานะขึ้นอย่างไรๆ ไม่รู้เลย มันก็ไม่เดินทางน่ะสิ คุณก็ไม่ได้อะไรอีก คุณก็ได้แค่นั้นจนกระทั่งตาย บางคนถือศีล 5 จนตายเต็มตุ่ม ศีล 5 เต็มตั้งแต่ถือปีแรก ปีที่ 2 จนกระทั่งไปอีก 20 ปีก็ตาย เลยตักน้ำอีก 20 ปี เทตุ่มเต็มอันเก่านี้จนกระทั่งตาย มันน่าเสียดายไหมล่ะ น่าเสียดายไหมล่ะ

นี่แหละ สีลัพพตปรามาส คือสักแต่ว่าทำ ลูบๆ คลำๆ เล่นเฉยๆ ไม่ขยับฐานะไม่เลื่อนชั้น จารีตต่างๆ ท่านสอนไว้เนี่ยดี ประเพณีต่างๆ มีไว้ให้ทำและทำให้ถูกเรื่อง ถูกราวดี ทำให้บริสุทธิ์ได้ดี แต่ต้องรู้ว่ามันเต็มหรือยัง มันพอหรือยัง ควรจะขยายเพิ่มขึ้นหรือยัง ควรจะรู้ ถ้าเราได้มีปัญญาอ่านว่า  เราเต็มจริงแล้วควรขยายเพิ่มขึ้นไป เอาเลยแล้วมันจะสูงขึ้น 

ใครเต็มศีล 8 แล้วก็ขยายศีล 10 ใครขยายศีล 10 ได้แล้วก็เป็นจุลศีล มาให้หมด จุลศีลถ้าคุณไม่รู้มาหาอาตมา อาตมาจะให้ไป 26 ข้อ จุลศีลเต็มแล้วเอามัชฌิมศีลอีก มาหาอาตมา จะเอาให้ จะลอกพระไตรปิฎกให้อย่างไม่ผิดหรือเพี้ยนเลยล่ะ ลอกพระไตรปิฎกกันให้เลยล่ะ เพราะว่าอาตมาจะพูดเอง เอาพระไตรปิฎกให้ไปลอกเองก็ได้ อาตมาเอาพระไตรปิฎกไปให้ลอกเองก็ได้ มัชฌิมศีลได้ เอามหาศีลไป มหาศีลบริบูรณ์อีก เอาโอวาทปาฏิโมกข์ศีลต่างๆ นานา ที่อาตมาจะคัดให้คุณอีก อาตมาจะไม่ขี้เกียจ ขอให้มาขอเอาก็แล้วกัน จริงๆ ด้วย 

อย่างนี้ถึงเรียกว่าควรจะเลื่อนชั้น ควรจะประพฤติ อย่าให้มีวิจิกิจฉา ให้พ้นวิจิกิจฉา คือให้รู้แจ้งรอบได้ว่าเราเต็มตุ่มหรือยัง ไอ้ตุ่มเล็กๆ ใบที่เราทำขณะนี้เต็มหรือยังเต็มแล้วขยายตุ่ม หรือเปลี่ยนตุ่มใหม่ ตุ่มใบนี้เต็มหรือยัง ขยายไปเรื่อยๆๆๆ ตามความเป็นจริง คุณก็ใช้ศีล ใช้พรต ได้อย่างดี เรียกว่า เป็นผู้ที่รู้จักใช้ สีลัพพตุปาทาน คือมีศีลมาประพฤติ ยึดเอาศีลมาประพฤติ สีลัพพตุปาทาน หมายความว่า ยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติ พอยึดเอาศีลมาบำเพ็ญประพฤติได้แล้วจนกระทั่งเราเต็มแล้ว ให้วาง อย่ายึดเอาไว้เป็นอุปาทานอีก 

ศีลที่เราประพฤตินี้ เมื่อได้แล้วเต็มแล้วบริบูรณ์แล้วถึงจิตบริสุทธิ์เป็นอธิจิตแล้ววาง เลิก หาศีลใหม่ มาพรตใหม่ หาศีลใหม่มาบำเพ็ญใหม่ พอบำเพ็ญใหม่ก็ไปเรื่อย ๆ สูงขึ้นอีก พอสูงขึ้นอีก เต็มอีกหยุด หยุดอุปาทาน หยุดยึดศีลนี้ แล้วก็หาศีลใหม่มายึดใหม่ เป็น พรต ใหม่อีก มันก็จะเขยิบฐานะอย่างนี้เรื่อยไปๆๆๆๆ  สูงขึ้นตามลำดับโดยแท้จริง 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำตามลำดับศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 เนี่ยนะ มันเป็นการฆ่ากามจริง เป็นการฆ่ากามตัณหา ศีลข้อ 1 ถึงข้อ 8 นี่ อย่างหยาบๆ นะ แต่โดยแท้จริงแล้วศีลข้อ 1 ถึงข้อ 5 อย่างละเอียดแล้ว คือลุไปถึง ทุกข์ ภวตัณหา กามตัณหา อย่างละเอียดสุดแล้ว ใครอ่านก็อ่านอะ อาตมาเขียนแล้ว ศีลคั้นออกมาจากศีล อย่างหยาบๆ ในเล่ม 1 ก็เขียนไว้แล้ว อย่างละเอียดในเล่ม 2 เขียนไว้อีก ในเล่ม 3 อีกที่จะละเอียดต่อไป ที่จะมีข้อ กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท และสุราเมรยะมัชฌะ ยังไม่ได้เขียน ยังไม่ได้ทำ  ที่จะทำต่อไปอีก ถ้าสรุปความแล้วจะไปยึดรวมเอา คือเอาจุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล รวมเข้าไว้ ในการอันควรที่จะทำจะมีประโยชน์ 

หลักการพระพุทธเจ้าวางไว้ตามสูตรทำอย่างนี้ไม่ทำอื่น ไม่ได้ทำอื่น เอาศีลมาบำเพ็ญสิ ฆ่าสักกกายะ ฆ่ากามราคะ เศษเสี้ยวของสักกายะ กับ กามราคะที่เป็นปฏิฆะะอยู่ก็ค่อยๆ เลาะออกๆ ปฏิฆะ หมายความว่า ทวนไปทวนมา ให้มันเห็นรู้แจ้งในเศษเสี้ยวที่มันยังเป็นอาพาธอยู่ในจิต ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาม ยังเป็นเศษเสี้ยวของกาย ที่เป็นกายใหญ่นะ สักกายะใหญ่ อาตมายังไม่ได้พูดถึงสักกายะเล็กนะ ยังไม่ได้พูดถึงกายเล็กนะ พูดถึงสักกะคือกายใหญ่ ถ้าชวนไปทวนมา ปฏิ คำนี้ แปลว่าทวนไปทวนมา ปฏิฆะ ถ้าหมายความว่า กลุ่ม หรือ หมู่ที่มันเกิด คณะนี้พอเป็น เปสิ กัลละ คณะ  ฆนะ เปสิ 

ก็เป็นก้อนเล็กนิดนึง ฆนะ ฆ แปลว่ากลุ่ม แปลว่าก้อน ถ้าใครทวนไปทวนมาเจอก้อนตรงไหนยังเป็นเศษเสี้ยนอยู่ยังเป็นเสี้ยนหนาม รู้ให้ได้ ทวนไปทวนมาให้หมด ลูบคลำ ให้เกลี้ยงให้ละเอียดถ้วนทั่วหมดเศษของกาย หมดเศษของกายเศษของกายอย่างหยาบแล้ว ก็เลื่อนชั้น ขึ้นหา อุทธัมภาคิยสังโยชน์

คือตอนนี้เป็นภวตัณหา อย่างละเอียด เข้าไปหาภพข้างในเลย ภพข้างในคืออะไร ภพข้างในก็คือความสงบระงับ ผู้ใด ฆ่าโลกธรรม 8 ได้แล้ว ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ คุณเองไม่ค่อยย่อหย่อนแล้วอย่างหยาบ คุณเลิกวางได้แล้ว และฆ่ากามได้แล้ว ทวนไปทวนมาเป็น ปฏิฆะ 

นี้จิตของคุณมันจะสงบระงับลงอย่างแท้จริงเพราะอะไร เพราะคุณขาดกิเลสตัณหาลงไปตั้งเยอะแล้ว กิเลสที่เป็นกาย กิเลสที่เป็นกามอย่างที่ว่าขาดโลกธรรมไปแล้ว ขาดกามคุณไปแล้ว คิดดูสิ จิตจะไม่สงบลงได้อย่างไร จิตที่มันเต้นอยู่มากๆ เพราะมันสร้างกายใหญ่ สร้างกามใหญ่มันก็เต้น พอกายกับกามลดลงไปได้มากแล้วคุณสงบลงเยอะ เต้นอยู่เบาๆ แล สงบลงไปตั้งเยอะ เพราะกามกิเลสกายกิเลสที่เป็นโลกธรรมมันขาดออกไปจริงๆ ไม่ได้ขาดเพราะคุณไปทำอื่นเลย 

เห็นไหมเอาสูตรพระพุทธเจ้ามาพูดแล้วมันจะชัด ไม่ใช่ว่ามันสงบลงเพราะกดหัวมันไว้ หยุดๆ อย่าดิ้นนะ ดิ้นเดี๋ยวตบๆๆๆ อย่าดิ้นนะ กดไว้ๆ อะระหังสัมมา อะระหังสัมมา กดไว้ หนอพองหนอยุบหนอพองหนอกดไว้ ปวดตรงไหนก็ปวดหนอ ตรงปวดหนอเจ็บหนอเจ็บหนอ กดไว้มันไม่ได้ฆ่ากามที่มันกดหัวมันเอาไว้ ไม่ได้รู้ว่าสักกายะคืออะไร ไม่รู้ว่ากามคืออะไร แต่อะไรมันดิ้นขึ้นมาก็ให้หยุดอธิบายเลยใช้มนต์คาถานั้นกดเอาไว้เป่าหัวสมองมันไว้ เอาคาถานั้นต่อไว้กดไว้ ซึ่งมันไม่ได้ทำอย่างนี้นะ ลักษณะอย่างนี้ แต่ต้องเป็นลักษณะรู้แจ้งรู้จริงว่าอะไรเป็นสมุทัยอะไรเป็นเหตุ เป็นเหตุที่มันก่อให้เกิดการดิ้นเป็นกายใหญ่ เป็นกามราคะใหญ่ อะไรเป็นเหตุ รู้เหตุแล้วก็ดับเหตุให้ได้ ยังเกิดอีกอยู่ในนี้ก็ เราเลิกรูป เลิกรสเลิกกลิ่น เลิกเสียอย่างนี้ มันสงบระงับอย่างนี้จริงๆ นะ มันก็เป็นนิโรธในตัวมันไป 

นิโรธก็ดับไปทุกทีดับไปทุกที อย่างนี้ต่างหากล่ะที่เราทำตามสายของพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นเมื่อมันหลุดออกมาจริง เรื่อยๆ มันก็สงบระงับเหลือลงแต่แค่จิตตรงนี้ จิตที่มันไม่ดิ้นเพื่อกาม มันไม่ดิ้นเพื่อกาย หรือไม่ดิ้นเพื่อโลกธรรมมากนักแล้ว และมันก็ไปติดอะไร มันก็ไปติดภพของจิตเข้าให้ แหม สบายดีจริงหนอ ช้าๆ อย่างนี้สบายไม่ร้อนแฉะเย็นดี สงบดี แต่ยังมีดิ้น ถ้าคุณยังไม่รู้ว่ามันยังดิ้นอยู่อย่างนี้นะ คุณก็ไม่รู้ว่าคุณยังเกิดอยู่ มันดิ้นอยู่มันก็ยังเกิดอยู่ ไม่ดับแน่ เพราะฉะนั้นสภาวะที่ยังดิ้นอยู่ แค่นี้ดีกว่ามันดิ้นเยอะ ดิ้นอย่างโอรัมภาคิยะ เพียงข้อ 1 ถึงข้อ 5 มันก็มากกว่า แต่ยังไม่หมดรอบ ยังมีรูปราคะ อรูปราคะอยู่ 

รูปราคะ อรูปราคะก็คือ ปีติ ปัสสัทธิ เป็นอุปกิเลสแล้ว ตั้งแต่ โอภาโสมาเลย โอภาส โอภาสคืออะไร คือปัญญารู้แล้วว่าเราหมดกิเลสกาม หมดกิเลสกายมาแล้ว มันยังดิ้นอยู่แค่นี้เรารู้แล้วรู้แล้วก็เกิดปีติใจ ก็เป็นอุปกิเลส เพราะฉะนั้นอย่าติด ความรู้แค่นี้ยังไม่สิ้นถ้วน ยังไม่หมดถ้วน ยังไม่ถ้วนทั่ว ยังมีเศษอยู่นะ ยังไม่ดับสนิทนะ ถ้าให้รู้ให้ได้ เพราะฉะนั้นการไปหลงโอภาสคือ ความรู้สว่างขนาดนี้อยู่ ทำไมท่านเรียก โอภาส   อาตมาบอกแล้วว่า ความรู้ของพระพุทธเจ้านั้นสว่างโล่ ประดุจดังแสง ปัญญาเหมือนอาภา หรือโอภาสเหมือนดังแสง นิโรธของพระพุทธเจ้าไม่ใช่ดับอย่างไม่รู้นะ แต่ดับอย่างรู้นะ กายดับกามอย่างรู้ด้วยนะถึงขณะนี้ก็ยังไม่จบถึงบอกว่าอย่าหลงโอภาส สว่างอยู่แค่นี้ก็อย่าเพิ่งหลง อย่าหลงปีติใจ แหมดีใจฉันได้แล้วนะแค่นี้ก็อย่าปีติ เลิก พยายามต่อ 

ดับให้มันด้วยวิธีใดก็แล้วแต่ ก็คือเรียนรู้จิตที่มันเป็นรูปกิเลส รูปราคะ อ๋อจิตอย่างนี้นี่นะ มันยังดิ้นอยู่ทำยังไงจะให้มันหยุด ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว ถ้าคุณตัดกามก็ได้ ตัดโลกธรรม 8 ก็ได้แล้ว ตอนนี้ไม่มีภาษาพูดแล้ว คุณจะต้องเรียนรู้ต่อไป 

เพราะฉะนั้น ผู้ใดไม่หลงโอภาส ไม่หลงปีติ เข้าใจให้ได้ว่าความรู้ของเราเป็นอย่างนี้ โอภาสเป็นอย่างนี้ อย่าหลงความรู้ของเรา ถ้าไม่หลงความรู้ของเรานั้น พร้อมกันนี้ คือการไม่ยึดมานะทิฏฐิ ไม่ยึดความใหญ่ของเรา ไม่หลงปีติไม่หลงตัวตน ภาคภูมิอยู่แต่ตัวแต่ตน ปีติ คืออัตตา ไม่หลงทางอัตตา ไม่หลงทางความใหญ่ของตัวเองเป็นมานะทั้งคู่เราไม่ลง หยุดให้ได้มันก็จะลดลง เป็นปัสสัทธิเรียกว่าสงบระงับลงแล้ว คือขันน็อตอย่างที่อาตมาว่าเมื่อกี้ ต้องรู้ให้ได้นะว่าจิตของเรา แหม มันหลงในภูมิรู้นี่ มันไม่ใช่เล่นนะคุณเอ๋ย นี่มันมโหฬาร ฉันมีความรู้นี่มัน .. แค่โอภาสแค่นั้นนะ แค่เป็นความรู้ชั้นต้น เป็นวิโมกข์ หรือเป็นวิโมกข์อย่างชั้นต้นก็ได้หรือเป็นวิมุติก็ได้ เป็นโมกขะ โมกขธรรมชั้นต้นก็ได้ 

พอเราดับแล้วไม่หลง ที่จริงเรามีความรู้อันนี้มีโอภาสอันนี้หรือมีวิโมกขะน้อยๆ อันนี้ มีโมกขะน้อยๆนี้ พอดับกามราคะ ดับสักกายะได้แล้ว เรามีจริงๆ แต่เราไม่หลงมัน ไม่หลงปีติยินดี ไม่หลงคือถือเนื้อถือตัวว่าฉันมีนะ เธอไม่มีเธอเล็กกว่าฉัน ฉันเหนือกว่าเธอไม่เอา ไม่มีอันนี้ ผู้ใดดับอันนี้ได้จริงๆ รู้จิตตัวที่เราไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้แล้ว เลิกแล้วอย่าไปยึดมั่นถือมั่นอันนี้ อย่าไปอวดตัวอวดตนอย่าไปหลงยินดีปรีดาในสิ่งที่ตัวเองมี มีน่ะมันดีแล้วล่ะ แต่อย่าไปถือตัวเธอตนอย่าไปยินดีตรงภาคภูมิ อะไรก็ตามแต่ยึดเป็นอย่างนู้นอย่างนี้อยู่ มันก็จะสงบลงเป็นปัสสัทธิจริงๆ  

สงบลงแล้วทีนี้ก็ แหม นัตถิสันติปรังสุขัง คุณเอ๋ย ไม่มีสุขอะไรที่มันจะสงบ หรือ มันจะสุขเท่าไม่มีสุขอื่นที่จะเท่ากับไอ้ที่มันสันติลงเรื่อยๆ มันสงบระงับลงเรื่อยๆ ไม่มี ไม่มีความสุขไหนจะเท่า สนุกกับการสนุกสักกายะนั่นน่ะหรือ ปัดโธ่เอ๋ย อาตมาอยากจะใช้คำโลกๆ ฟังให้คุณรู้สึก ว่า สนุกอย่างบ้าเลือด สนุกด้วยการสนุกด้วยสักกายะะนั้นเหนื่อยแสนเหนื่อยเหน็ดเหนื่อยทรมาน สู้กับเขาลูกเอ๋ย เกิดมาลูกเอาเรียนเข้าไป แต่เรียนเดรัจฉานวิชาเท่านั้นนะไม่ใช่วิชาอย่างที่อาตมาว่า เรียนใบไม้ทั้งโลกเรียนใบไม้ทั้งป่าเลย เอาเรียนเข้าไปลูก อันนี้เขาตั้งวิชาใหม่อันนี้วิชาเก่าเรียนเข้าไปโลก ถูไถเข้าไปเพื่อที่จะอะไร เพื่อจะเอาวิชานั่นแหละไปข่มขู่เขา จะไปสร้างลาภ สร้างยศ สร้างสรรเสริญ สร้างได้ก็เอามาเสพกาม ลูกของกามขยายแถบออกมาเป็นพรวนเลย อยู่อย่างนั้นตลอดโลกนั่นมันเป็นการไม่จบ 

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดเข้าใจได้เห็นได้ว่าไอ้ความสงบที่หมดกาม หมดกาย หมดสักกายะนี่นะ แหม ยอดเยี่ยม

ไปหลงโอภาสหลงปีติก็ไม่มีไปหลงเป็นปัสสัทธิ เข้าใจได้ ดูได้เป็นรสได้ว่าปัสสัทธิ มันเป็นนิ่งสงบนะ ยิ่งอร่อยกว่า ยิ่ง ปรมังสุขัง ยิ่งกว่าเลย มันยิ่งบรมสุขยิ่งกว่า แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังเป็นกิเลส ยังไม่หมดตัวตนแฮะ ยังเป็นปัสสัทธิอยู่ที่อยู่ ไปกดกิเลสตัวที่ทำความรู้ขึ้นให้แจ้งว่าอันนี้ก็ไม่เอา อันนี้ก็ยังเป็นจิตที่ยังหยาบอยู่ ยังเป็นจิตที่จะต้องดับให้ได้อีก ผู้ใดรู้จิตที่เป็นปัสสัทธิตัวเองได้อีกนะ ความรู้สูงขึ้นไปดับปัสสัทธิ ดับที่ไปยึดอัตตาตัวนี้ได้อีกนะ มันจะหลงอยู่แค่ไหนก็ตาม แต่มันจะมีความหลงในความใหญ่หลงในอัตตาซ้อนเข้าไปอีก 

ถ้าเรามีปัญญารู้มันอีก ดับมันได้อีก เรียกว่า อธิโมกข์ ก็เป็นความรู้ที่รู้ ยิ่งกว่าเมื่อกี้อีกโอภาสก็เป็นความรู้อีก อธิโมกข์ เป็นความรู้ที่เหนือกว่าโอภาสอีก ยิ่งสว่างไสวรู้ใน โมกขะ รู้ในการตรัสรู้ รู้ในการดับกิเลสตัณหาลึกเข้าไปอีก เรียกว่า อธิโมกข์ 

เพราะฉะนั้น ไอ้นี่มันยิ่งใหญ่ขึ้น ความรู้ชั้นสูงขึ้นไปนี้ยิ่งผยองตัวอย่างขนาดหนักเลย ถ้าเผื่อว่าคุณรู้ไม่ทันนะ มันยิ่งโอ้โห ตอนนี้จบปริญญาโทและ มโหฬารเลย ถ้าคุณยังหลง อธิโมกข์นี้อีก บอกว่ามันดีจริงอธิโมกข์นี่มันดีจริง คุณก็ ปัคคาหะ ขยันหมั่นเพียร วิริยะอุตสาหะ ทำใหญ่เลย สร้างอธิโมกข์ ให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ที่จริงน่ะดี ก็ยิ่งสร้างคุณก็ยิ่งสูงขึ้น คุณก็ยิ่งสงบลง สงบลง คุณดูนะ สภาพอันนี้เดินทางเข้าไปหาสุญญตานะ ยิ่งสงบลงเรื่อยๆ นะ เมื่อกี้นี้เป็นไปเพื่อกามเพื่อกาย ดิ้นไปหาโลกอันนี้สงบลงมาแล้วนะ ยิ่งขยันหมั่นเพียร ปัคคาหะ หมายความที่ขยันหมั่นเพียรยิ่งสงบลงไปมาก ยิ่งสุขมากที่สุด เพราะฉะนั้น อุปกิเลสอีกหมู่หนึ่ง     อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง นี่อีกหมู่ เมื่อกี้นี้ โอภาส ญาณ ปีติ

สงบลงมาถึงขนาดนี้ อธิโมกข์ ปัสสัทธิ สุขัง  มันยังไม่จบแฮะ จบปริญญาโท ยังไม่จบปริญญาเอก ต้องทำปัญญาให้ยิ่งๆ กว่านี้อีกกว่าโอภาส กว่าอธิโมกข์ ให้เป็น ญานังหรือญาณ ให้มีญาณสูง ๆ ละเอียดลึกกว่านี้อีก ทำเข้าไป สูงเยี่ยมจนกระทั่งในจิตของเราตั้งมั่นเป็นสติ อันครองพร้อมตั้ง ฐานะ อันที่เรียกว่า หมิ่นเหม่ต่ออรหันต์  แหม่ใช้ศัพท์อันนี้น่าดู จนกระทั่งเราจะหมิ่นเหม่ต่อความเป็นพระอรหันต์  อุปัฏฐาน อุปะ แปลว่า ใกล้ อุปัฏฐานตั้งมั่น เริ่มตั้งมั่นเข้าใกล้ ใกล้อะไร ก็ใกล้ที่จะพ้นอวิชชาสิ  ใกล้ที่จะพ้นกิเลสตัวละเอียดที่สุดแล้ว เรียกว่า อุปัฏฐาน ให้มีสติมั่นคงให้มีความรู้รอบเป็น ญาณ กิเลสปุริสสาก็มี ญาน อุปัฏฐาน

จนกระทั่งเราทำได้อย่างสนิทสนมพร้อมรู้ชัดในจิต ที่ดิ้นนิดนึงก็รู้แล้ว เข้าหาอุทธัจจะ จะมีมานะน้อยหนึ่งก็ไม่มี จะมีรูปแห่งราคะนิดนึงก็ไม่มีจะมี อรูปก็นิดนึงไม่มี ไม่มีรูปไม่มีอรูป เป็นมานะความถือตนถือตัว ความยินดีหลงในจิตตัวเองก็ไม่มี รู้ชัดแจ้งไปจนกระทั่งถึงเศษจิตที่เกิดขึ้นเป็นอุทธัจจะขึ้นมาก็รู้ ดับอุทธัจจะให้วางเฉยอยู่ได้เป็นอุเบกขา อุปกิเลสหมู่ที่ 3 ก็มี ญาน อุปัฏฐาน และ อุเบกขา หมู่นี้ละเอียดยิ่งกว่า เป็นความรู้ชั้นสูงยิ่งกว่า

ถ้าหลงอยู่แม้กระทั่งแม้ความรู้ชั้นละเอียดขนาดนี้ ก็ยังเป็นอุปกิเลสชั้นระดับสูงสุดเลย เห็นมั๊ยว่าทุกอย่างมันเป็น สมังคีธรรม ร้อยกันมาสูงสุด ถึงขนาดนั้นท่านพระพุทธเจ้าท่านบอก อย่าเพิ่ง ปัจจเวก ปัจจเวก ทวน ทวนต้นทวนปลายอีกนะ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกมั๊ยใน 9 อันนี้ ตั้งแต่ โอภาส มายัน อุเบกขานี้ มีเศษอะไรหลงเหลืออีกไหม ถ้ามีเศษอยู่อันหนึ่งอันใดก็เรียกว่า นิกันติ   ทั้งนั้นเลย เรียกว่า นิกันติ  คือเศษของอุปกิเลสที่เหลือทั้งนั้นเลย ไม่ว่าอยู่ที่จิตไหนก็ตามแต่ มีเศษยังไม่นิกันติ ยังไม่หมดสิ้นที่แท้จริง ยังไม่ถึงซึ่งอันติม อันติมะหมดสนิท อันติมะเนี่ยหมายความว่าหมดสนิท นิกันติก็หมายความว่าไม่มีเลยที่สุดที่ไหนไม่มี ละเอียดยิบ เพราะฉะนั้นถ้ายังมีเศษของอุปกิเลสอยู่ไม่ได้ ทบทวนเป็นปัจจเวก จะเป็นเศษของมุมไหนก็ให้รู้ให้ละเอียดให้ได้ ถ้ามีเศษอันไหนอยู่ยังเป็นนิกันติหมด ทวนให้ได้ทั้ง 9 อันนี้ หมดอุปกิเลส 10 ผู้ใดทำหมดอุปกิเลส 10 นี้ จนกะทั่งรู้ถึงอุทธัจจะ อย่างที่อาตมาว่านี้ ฐานขึ้นมาปั๊บ อวิชชาก็ไม่มีกระอักแล้ว เหลือแต่วิชชาโผล่พรวดขึ้นมาเลย ใสสว่างโล่เป็นนิโรธมีแสง แหม อาตมาก็คงว่า พวกคุณก็คงไม่เคยได้ยินใครมาอุตริพูด นิโรธ มีแสงมันมีที่ไหนในโลก นิโรธดับอย่างสว่าง นิโรธมีแสงเลยมีวิชชาสว่างโล่ รู้ตัวรู้ตนวางทุกสิ่งอย่างเป็นอนัตตาธรรม เกิดดับเกิดดับไป โลกเอ๊ย กายนี้ จิตนี้ ขันธ์ 5 นี้ เอ็งเกิดเอ็งดับของเอ็งไป ฉันจะรู้ตามรู้เองทั้งหมด อันไหนที่มันจะปรุงขึ้นมาเป็นกุศล ฉันจะช่วยโลกปรุงให้แก่โลก อันไหนที่ปรุงขึ้นมาเป็นอกุศล อย่าทีเดียว อย่างนี้ไม่เอา 

ที่นี้กุศลกับอกุศลนี่ท่านจะปรุง พระอริยะท่านจะปรุงให้แก่คนอื่น ท่านก็จะมีสัจจานุโลมญาณ ลองย้อนเข้าหาโสฬสญาณดูบ้าง ไม่เคยพูดโสฬสญาณซักที วันนี้ลองดูบ้าง ตั้ง 16 ญาณ ที่จริง โสฬสญาน ไม่ใช่เรื่องพูด โสฬสญาณเป็นของละเอียดที่จะเกิดเองเป็นเองในนี้ ถ้าใครไม่มีสภาวะนะ เมายิ่งกว่า เอทานอล ไม่รู้เรื่องเลย ถ้าใครมีสภาวะพอจับบ้างแล้วก็พอรู้ เพราะอะไร เริ่มต้นตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ เอาแล้วเริ่มต้นมาแล้ว นามอะไรเอ่ย รูปอะไรเอ่ย ยังไม่รู้เลย เพราะฉะนั้น ต้องเรียนรู้มาตั้งแต่ รูปหยาบ ๆ นามหยาบ ๆ ไอ้รูปนั่ง รูปนอน รูปเดิน รูปยืน ไอ้รูปที่เป็นแบงค์ รูปที่เป็นลาภ รูปที่เป็นยศ รูปที่เป็นสรรเสริญ อะไรที่หยาบ ๆ ทั้งนั้น รูปที่เป็นกามคุณ  มาในเรื่องสี มาในเรื่องผิวพรรณ รูปที่มาในเรื่องของเสียงเข้ามาเข้าหู รูปที่มาในเรื่องของกลิ่น รูปที่มาในเรื่องของรส รูปที่มาในเรื่องสัมผัสส่วนไหนก็ตามแต่ รู้มันให้ได้หมดในรูปเหล่านั้น 

มันมาสัมผัสเราเมื่อใด  มันมีตัวสำคัญที่สุดคือ จิตตัวสำคัญคือนามนี่เข้าไปรู้ เมื่อรับเข้าก็ไม่รับเปล่านะปรุงเลย ทำงานเลย ทุกทีไป รู้ให้ทันอย่างนี้ แยกให้ออกว่า อ๋อ ไอ้นั่นอันนึงเรียกว่ารูป เป็นสิ่งหนึ่งที่จะมีเป็นตัวปัจจัย อีกอันนึง เป็นตัวเรานี่เองกิเลสใหญ่ เหตุเพราะอะไร เหตุเพราะใจของเรามันโง่มันมีแต่อวิชชามีแต่อวิชชา ไอ้รูปต่างๆ ข้างนอกมาแตะปั๊บ ไอ้อวิชชาตัวนี้ ทำสั่งจิตเข้าไปสั่งนามเข้าไปให้สังขารเลย สังขารเลย ตรงเข้างับเข้าให้ ทุกทีไปเลยไม่รู้เหตุรู้ปัจจัย พอแยกรูปแยกนามออกชัด ไอ้นี่มาหรือ อ๋อ ไอ้นี่สีแดงมาเหรอ ปัดโธ่ ไอ้รูปเป็นแบบนี่อย่านะอย่าไปปรุงกับมัน แยกรูปแยกนามให้ออก รู้ว่าไอ้รูปนั้นกับนามนี้นี่แหละ ถ้าไม่รู้แล้วมันจะเป็นเหตุเป็นปัจจัยซึ่งกันและกันเป็นนามรูปะ นามรูปปริคคหญาณ ปัจจยเป็นปัจจัย ปริคคหะ ยังมีการม้วน เป็นห่วง ปริคคหะ แปลว่าห่วง ยังจะห่วงหวงกันอยู่ ยังจะยึดถือกันอยู่ ปริคคหะ เป็นปัจจัยที่จะทำการห่วงหวงผูกพันเป็นลูกโซ่ พันกันอยู่ มันเป็นอย่างนี้ 

เพราะฉะนั้นถ้าเราแยกรูปแยกนามออกรู้ โสฬสญาณ อันที่ 1 เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ ปริเฉท แปลว่าอะไร ปริเฉทแปลว่า ว่างลงให้ได้ แยกมันออกจากกันให้ได้ ทำความคั่น นามกับรูปให้ได้ นามรูปปริเฉทญาณ หั่นออก นามก็แยกเป็นอันนึงรูปก็แยกเป็นอันนึงให้ได้ เรียกว่า นามรูปปริเฉทญาณ เห็นมันให้ได้ชัดๆ อย่างนั้น  แล้วรู้ให้ได้นะ อ่อไอ้อันนี้รูปมาแล้ว โท่งๆ มาเลยอะ จะทางหูก็ชั่ง จะทางเสียง เห็นขี้ เคยขี้ไปหลายวันลอยฟ่อง ๆ มาแล้ว เนี่ยรู้เลยรูปอย่า นามอย่านะ ใส่โซ่นามไว้เลยจิตของเรา อย่า เอ็งอย่ามาทำอะไรกับฉันไม่ได้ เข้าทางลิ้นเข้าทางจมูกเข้าทางกาย สัมผัสเสียดสีทุกประตูรู้มันได้ แยกรูปแยกนามชัดอย่างนี้แล้วรู้ให้ได้มันเป็นปัจจัย 

เพราะฉะนั้น นามรูปปริเฉทญาณแล้ว ก็ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ไม่ให้เกิด  ไม่ให้มาทำเป็นห่วงพัวพันไม่ให้มีการเกิดเป็นสังขารอยู่ในนี้ รู้จนกะทั่งมันเป็นปัจจัยอย่างนี้ รู้ให้ชัดก็ทะลุเป็นญานที่ 2 นามรูปปัจจยปริคคหญาณได้ พอแยกได้ชัดอย่างนี้แล้วจบ ก็ทำความเข้าใจสิ่งพวกนี้ให้ได้ รู้สิ่งที่มันเกิดอยู่เสมอๆๆ เป็นธรรมดาเรียกว่า สมะ เรียกว่าสมะ ทุกอย่างมันเป็นเสมอๆ มันเป็นเนืองๆ อยู่เสมอเรียกว่า สมะ และมันจะตายอยู่เสมอๆๆ เรียกว่า สนะ ถ้าผู้ใดเข้าใจแล้ว อ๋อ มันจะมีเสมอเกิดอยู่เสมอ และมันก็ตายอยู่เสมอเป็นธรรมดา ธรรมดา ธรรมดาอ่านว่าธรรมดา เเต่ถ้าคนอายุมากๆ หน่อยเคยเรียนหนังสืออ่านแต่ก่อนนี้แบบเรียนเร็ว อ่านธรรมดาอ่านว่าธรรมดา ถ้ารุ่นใหม่ไม่มีอ่านอย่างนี้แล้ว มันจะเกิดอยู่เป็นธรรมดา มี สมะ กับ สนะ

รู้ สัมมสนญาณให้ได้ เกิดญาน เกิดปัญญารู้ให้รู้สัมมสนญาณ  ตัวเกิด และตัวดับ ใครรู้ตัวเกิดและตัวดับแยกออกแค่นี้ก็เก่งแล้ว  รู้ญานที่ 3 จะเกิดอะไรก็เกิด สีแดงเกิดมาเดี๋ยวมันก็ไม่แดง  ไอ้รสหวานหอมเนี่ยเกิดมา เอ้อ เดี๋ยวมันก็ไม่เกิดมันก็ไม่หวานไม่หอม หรือเหม็น จริงๆ อะไรทุกอย่างเลย มันเกิดขึ้นมาประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน ประเดี๋ยวมันก็เปลี่ยน เกิดแล้วมันจะมีดับ “สมะ” เอ็งเกิดของเอ็งอยู่เสมอ เพราะว่าทุกอย่างในโลกมีแต่สังขารธรรม มีแต่การปรุงอยู่เสมอปรุงให้เกิด เกิดแล้วเอ็งก็ต้องดับ ไม่ต้องไปทำอะไรมันก็ดับของมัน ตามกาลตามเวลา ตามเหตุตามผลของมัน ตามเหตุตามปัจจัยของมัน ไม่มีใครไปทำกับมันมันก็ดับ ให้รู้เกิดรู้ดับอย่างนี้จึงเรียกว่ารู้ สัมมสนญาณ มีปัญญารู้รอบในเรื่องนี้ 

ผู้ใดรู้ สัมมสนญาณ แล้วก็พยายามรู้ให้มันละเอียดให้มันช้า ละเอียดยิ่งกว่านี้ รู้เกิดรู้ดับเรียกว่ายังไม่เก่งจริง ต้องรู้เกิดมาแล้วมันก็ยังทรงอยู่นะ แล้วมันก็ดับลง เกิดมาแล้วก็ทรงอยู่นะไอ้ตอนทรงอยู่นี่แหละ คนหลงมันเเยะ นึกว่ามันเป็นนิจจัง ไอ้ตรงทรงอยู่นี่ ถ้าคนเห็นเกิดปั๊บดับปั๊บ คนก็ไม่งงไม่หลง แต่คนมาหลงตรงที่มันเกิดปั๊บแล้วมันก็ตั้งอยู่ มันยังไม่เสื่อมไปทีเดียวมันค่อยๆ โตขึ้นนิดนึงแล้วมันก็ค่อยๆ เสื่อมก็ได้ หรือพอเกิดปั๊บแล้วก็ค่อยๆ เสื่อมลง แต่กว่าจะเสื่อมหมดสิ้นก็ยังมีสภาพอยู่ยังมีสภาวะอยู่ คนก็ไปหลงว่าไอ้นี่เป็นนิจจัง ก็ไปคว้าไว้ อย่าจากไปนะเอ็ง อย่าหลุดไปนะ อย่าให้หายไปนะ มันได้ที่ไหนในโลก ไปห้ามมันได้ที่ไหน ไม่มี มีอะไรบ้างลองหยิบมาให้อาตมาดูมีอะไรบ้าง ว่าพระอาทิตย์มีอายุยืนนานว่าไม่เสื่อมไม่ดับเหรอ ดับ พระอาทิตย์ก็ดับ อย่าว่าแต่อะไรในโลกนี้เลย โลกก็กำลังดับอยู่ อะไรก็ดับอยู่ทั้งนั้น รู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ให้ละเอียดลออยิ่งกว่า สัมมสนญาณ เรียกว่า อุทยัพพยญาณ เรียกว่าอุทยัพพยญาณรู้ให้ชัดอย่างนี้ 

พอรู้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นไตรลักษณ์ชัดเจนอย่างนี้แล้วทีนี้ก็มาจับแยกเลย ไอ้นี่เกิดขึ้น ไอ้นี่ตั้งอยู่ ไอ้นี่ดับไป 3 ส่วนแยกออกมาเลย แยกออกมาเป็นส่วนๆ เลย ดูให้เห็นชัดๆ เลยทีเดียวว่า อ๋อ ไอ้โลกนี้มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มันไม่มีของจริงเลยนี่ ไอ้เกิดนี่แล้ว เอ็งก็ยังเดินติดต่อกันอยู่เป็นธรรมดา ประเดี๋ยวเองตั้งไว้เองก็ดับลงไปเป็นธรรมดา มันมีแต่ความฉิบหายอย่างนี้ มีแต่ความไม่ได้เข้าท่าอย่างนี้เองนี่ เห็นมันให้ได้ว่ามันเป็นภัยอย่างนั้น มันไม่มีอะไรเลยถ้าเราไปยึดมั่น ถือมั่น มันไปหลงเข้าใจผิดว่า เอ็งต้องอยู่มั่น ๆ นะ เอ็งต้องนิจจังนะ เอ็งเที่ยงนะ เอ็งอย่าไปหายไม่ได้นะ  ถ้าใครไปหลงอย่างนี้เป็นภัยอย่างยิ่ง เป็นความน่ากลัวอย่างยิ่ง เป็นความน่าเศร้าใจอย่างยิ่ง 

พระอรหันต์ทั้งหลาย ท่านจะเอาคำว่า สงสารมาให้ ท่านจะบอกว่า แหม มันน่าสงสารจริง ไปหลงในภัยอันนี้ มีความรู้ในภัยเหล่านี้เรียกว่า “ภยญาณ” เรียกว่า ภยญาณ เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดรู้ในความน่ากลัว แบบนี้ รู้ในสิ่งที่มันยึดไม่ได้ เอาไม่จริงได้แบบนี้ คนนั้นก็มีจิตมีปัญญาที่สูงละเอียดขึ้นไปอีก ก็จะเกิดการเห็นแต่ว่าโลกนี้นั้น จะมีแต่ความดับสลายเป็นที่สุด ทุกอัน ไม่มีอะไรเลยที่มันจะไปยึดเอาไว้ได้ จะเห็นอย่างชัดอย่างแจ้ง ไม่ได้เห็นอย่างที่ปากอาตมาพูด คุณเห็นในญาณในปัญญาของคุณ คุณเห็นว่าคุณเองนี่ อาตมาจะเล่าประกอบยกตัวอย่าง 

แต่ก่อนนี้อาตมาทำงานเงินเดือนไม่กี่ตังค์รายได้ไม่กี่บาท อาตมาก็พยายามสร้างให้มันเกิดขึ้น จาก1000 เป็น 2,000 จาก 2,000 เป็น 3,000 จาก 3,000 เป็น 4,000 ให้มันได้เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น โดยความหวังตั้งใจอยู่ว่า ขอให้รายได้ของเรานี้จงตั้งอยู่ จงตั้งอยู่มั่นคงอยู่ พอบางเดือนมันไม่ได้ 4,000 มันไม่ได้ 5,000 ชักหน้าหงิก พอมันลดลงมามากอีก ก็พยายามใหม่ให้ได้ 5,000 ยืนทรงอยู่ให้ได้ ยิ่งได้ 6,000 แหม เก่งภาคภูมิ เอาให้มันทรงที่  6,000  พอมันลดจาก 6,000 มา หน้าหงิกอีก ไม่ได้ ต้องสู้อีก ให้ได้ 7,000...8,000…10,000 ถ้าคุณยิ่งขยันหมั่นเพียร ยิ่งทำให้คุณเห่อเหิม พากเพียรและขยัน

ได้แล้วอยากให้มันตั้งอยู่ แต่มันไม่ตั้ง บางทีมันก็ลด แล้วมันก็ลด บางทีมันก็ตั้งอยู่ ตั้งอยู่แล้วมันก็ลด ไม่เที่ยงสักทีแต่เราไม่เข็ดสักที กระหน่ำตัวเองเข้าเหมือนเฆี่ยนด้วยแส้ เอาเข้าไป ลดไม่ได้นะ เสียหายนะเรา เราเสียหายก็เฆี่ยนเข้าไป พากเพียรเข้าไป ทำอย่างนี้ทุกทีโดยไม่เคยเห็นภัย ไม่เคยเห็นว่า ไม่แน่หรอกเอ็งได้เดือนละล้านเอ็งก็ยังจะไม่ได้เลย สักวันหนึ่ง เอ็งก็จะไม่มีรายได้เลยซักวันนึง  อย่าว่าเอ็งแต่รักษามั่นไว้เลย เอ็งจะมีรายได้เดือนละล้าน เอ็งก็ไม่เหลือสักวัน เอ็งจะไม่มีรายได้เลยสักแดงเดียวในเดือนนึงเลย อาจจะเคยตอนนี้เคยได้เดือนละล้านแต่อีกหน่อยแกก็ไม่ได้ 

ไม่มีความเข้าใจเลยในตอนนั้น สมัยนั้น ก่อนนั้น ที่อาตมายังทำงานอยู่ หรือพวกคุณเองก็คิดเอาเอง เหมือนกัน ไม่ได้หวาดระแวงเลย ไม่เคยเห็นภัย แต่แท้จริงแล้ว มันมีแต่จะเดินทางไปหาความสูญ มีแต่ ภังคะ มีแต่หมดสิ้น มีแต่จะเดินไปหาความไม่มีอะไร ต่อให้คุณได้รายได้เดือนละแสน เดือนละหมื่น เดือนละล้านอะไรก็ตามแต่ คุณจะเหลือแต่สุดท้ายคุณจะสูญ ถ้าใครเห็นแจ้งอย่างนี้เป็น ภังคาญาณ นะ อ๋อ สุดท้ายมันจะมีแต่สูญอย่างนี้เหรอ เอ้ย อย่างงั้นเราสูญเองดีกว่า ไม่ต้องให้ใครมาทำลายดีกว่า เอาไปเลยเดือนนึงล้านนึงไม่เอาแล้ว อยู่เฉยๆ ดีกว่าไม่ต้องมีอะไร เดือนนึงอยู่สูญก่อน รู้เท่ารู้ทันมันอย่างนี้ปั๊บ คุณเอ๋ยจะเกิด    อาทีนวญาณ เบื่อหน่ายการมานั่งเฆี่ยนแส้ตัวเอง เฆี่ยนเข้า เฆี่ยนเข้าทำ เบื่อจริง ๆ  อาทีนวาญาณ จะเกิดเลย เห็นโทษของมัน อาทีนวะ เห็นโทษของมัน บอกปัดโธ่ เฆี่ยนเข้าไปฟาดลงเข้าไป หวังจะตั้งใจจะให้มันตั้งอยู่ ไม่มีที่สุดมันมีแต่ ภังคะ มันมีแต่จะชิบหาย มีแต่สูญสูญสูญ เดินไปเข้าหาความแตกดับสูญ ไม่มีอะไรจริงภังคะ และเห็นโทษมันอย่างนี้เเหล่ะ  เรียกว่าเห็นโทษมันจริงใครมี อาทีนวานุปัสสนาญาณ คนนั้นก็มี นิพพิทาญาณ ...​เบื่อ 

เรามาหลงเฆี่ยนตัวเองเพื่อเหตุแห่งดิ้นอยู่กับโลกเท่าแค่นี้เองแหล่ะหรือ แค่นี้หรือ ชีวิตมันดิ้นอยู่กับโลกแค่นี้เหรอ มันเฆี่ยนตัวเองไปแข่งกับโลกเขาแค่นี้เหรอ แล้วเราแข่งไปแล้วเสร็จก็ไปหา ภังคะ เข้าไปหาศูนย์อยู่อย่างเก่าดับสูญสิ้นไม่มีคงทนไม่มีอยู่ได้เหมือนเก่า ใครเห็นแล้วก็เกิดเบื่อจริงๆ พอเห็นโทษก็นิพพิทาญาณ เบื่อ เบื่อจริงๆ เบื่อ  พอเบื่อแล้วก็เป็นไง มุญจิตุกัมยตาญาณ ...เกิดเลย

เอ้าเปลื้องออกไป

ใครจะเอาเชิญ เชิญ ใครจะเอาอะไรเชิญ อาตมาเริ่มเเจกเลยเอ้างานนี้คนนี้จะเอา เอาไปเลย เอ้างานนี้เอาไปเลย รายได้เท่านั้นเท่านี้เอาไปเลยไม่ว่าเอาไปเลย หัดตัวเองน้อยลงกินให้น้อยลงอยู่ให้น้อยลง ดูซิว่าขันธ์ 5 นี้มันเลี้ยงมันไว้ด้วยได้เท่าไหร่ อาหารกี่กรัม อาหารวันหนึ่งกี่บาทลองเลี้ยงมันดูซิ เครื่องนุ่งห่มใช้น้อยๆลง น้อยๆๆน้อยลงคือน้อยที่สุดเท่ารายได้หัดน้อยลงๆ ของเรา งานการเราก็ทำอยู่ตามธรรมดาเท่าที่แรงเรามี ตอน อาตมายังเป็นฆราวาสอยู่ก็ทำ และอาตมาก็หัดน้อยลงๆ มีก็แจกออกไปเปลื้องออก มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้งออก เปลื้องออกไปจริงๆ ไม่ได้พูดเล่นเลย ไม่ใช่บอกตอนนี้ฉันเกิด มุญจิตุกัมยตาญาณแล้วนะ เปลื้องออกแล้วน่ะแต่เอามาสิ เปลื้องออกมาแล้วไปเอามาสิ มันจะเป็นเปลื้องอะไรอย่างนั้น เปลื้องมันต้องเปลื้องจริงๆ เปลื้องทั้งกามราคะ เปลื้องทั้งสักกายะ อันต้น แล้วก็ค่อยมาเปลื้องจิต รูปราคะ ความยึดมั่นถือมั่นความรู้ความใหญ่เป็นอุปกิเลสที่อธิบายไปแล้ว ค่อยมาเปลื้องอันนี้ เปลื้องออกไปสิอันนี้สิ มีของโตๆ ใหญ่ๆ เป็นวัตถุ สมบัติ เป็นญาติติโกโยติกา ลูกเขาเมียเราพ่อแม่เรา ญาติแฟนเราไม่เคย ไม่เคยเปลื้องออกสักอย่างเลย แล้วจะบอกว่าฉันได้ญาณ 9 แล้ว 

มุญจิตุกัมยตาญาณ 

ฟังเอานะนี่พูดตอนนี้ อาตมาไม่อยากจะกล่าวกับใครว่าตอนนี้ใครบอกว่าได้ มุญจิตุกัมยตาญาณ ท่านบอกว่า ได้ญาณนี้แล้ว แต่ไม่เห็นเปลื้องนี่ ฉันจะมีโต๊ะหมู่บูชาไว้มุมโน้น เอาพัดลมมาไว้ตรงนี้ อาสนะใหญ่ก็ไว้มุมนี้ Air condition ติดเลย นี่เหรอ นี่หรือมุญจิตุกัมยตาญาณ ไม่ใช่หยาบด้วยนะ ฉันแค่กายอันใหญ่กับกามอันโตด้วยนะ ไมใช่ขั้นรูปจิต อรูปจิตนะ ขั้นหยาบนะไม่ใช่ขั้นกายกับจิตนะ อธิบายให้ชัด 

เพราะฉะนั้นใครจะมีญานอันนี้จริง มันเป็นจริงสลัดออกจริงเปลื้อง        มุญจิตุกัมยตาญาณ คือเปลื้องออกไม่เอา ค่อยๆ ผ่อนคลาย ลดๆๆ ลงจริงๆ ผู้ใดผ่อนลงได้ขนาดใด ขนาดใด ผู้นั้นทำได้ของตนเองอย่างแท้จริง พิจารณา มีการ ปฏิสังขาญาณ พิจารณา เราจะเหลือไว้แค่ใดเราจะออกไว้แค่ใดเปลื้องออกไปแค่ใด เอ้าเปลื้องได้แค่นี้เอาเปลื้อง พิจารณาทีเดียว ปฏิสังขาร หมายความว่าพิจารณา พิจารณาเหลือแค่นี้ก่อน ตอนนี้ยังมีฐานะยังไม่สูญแท้ เปลื้องออกได้แล้ว แล้วก็มักน้อยลง แล้วก็หัดเปลื้องออกอีก เปลื้องไป ปฏิสังขาญาณ เกิดรู้จักพิจารณาในการเปลื้องออกเริ่มออกทำออกไปเรื่อยๆ 

ผู้ใดทำได้เป็นจิตบริสุทธิ์ เมื่อพิจารณาเสร็จแล้วจัดการอันนี้ออกไป เป็นอิสระได้แล้วออกไป เป็นวัตถุ เป็นยศ เป็นเกียรติ เป็นกามคุณเอาออกไป ยกให้ ทำจนกระทั่งทางกายทำซะก่อน เปลื้องไปทางกายก่อน พิจารณาแล้วอันนี้ควรเปลื้องก็เปลื้อง ตั้งสมาทานศีลขึ้นมา ฉันจะเลิกสิ่งนี้แล้วฉันจะไม่เอาสิ่งนี้แล้วเราก็เปลื้องออกไป แม้ใจมันจะรอนๆ อยู่ ก็เปลื้องมันซะก่อน เพราะเราพิจารณาแล้วอันนี้    ปฏิสังขาร มีการพิจารณาถูกต้องแล้วพอเปลื้องแล้วเสร็จ 

กระทั่งจิตใจของคุณเข้าใจจิตของคุณเป็นอุเบกขา ไม่มีการสังขารไม่มีการปรุงสะเทือนไหว หวาบหวิว ให้เขาไปก็ยังเสียดายอยู่นะให้เขาไปก็ยังโหยหาอยู่นะไม่มี จนกระทั่งเกิด สังขารุเปกขาญาณ เห็นชัดแจ้งจริงว่าไม่มี อุเบกขาเฉยอยู่ในสังขารเหล่าานั้น ให้เขาไปก็ให้เฉยๆ เป็นสังขารธรรมดา เราเองไม่มีจิตสังขาร ไม่มีปรุง จิตเป็นอุเบกขา นี่ก็เป็น สังขารุเปกขาญาณ มีปัญญารู้เท่าทันในสังขารโลกและจิตสังขาร การกระทำของเราให้เขาไปนี้เป็นสังขารโลก เป็นการกระทำอย่างโลกๆ แต่จิตของเรา เฉย อุเบกขา ว่าง ไม่วาบไหว ไม่กระเทือน ไม่รู้สึกเดือดร้อนจึงเรียกว่า สังขารุเปกขาญาณ สังขาร+อุเบกขา เกิด สังขารุเปกขาญาณ อย่างแท้จริง 

ผู้ใดเกิด สังขารุเปกขาญาณ จะมีปัญญาญาณมาก จะทำอะไรต่ออะไรก็ทำได้ตามสบายเลย ทำอย่างอนุโลม ปฏิโลม ทวนไปทวนมาทำตั้งแต่โน่นแหละ นามรูป ปริเฉทญาณ ทวนไปทวนมา มีอนุโลมปฏิโลมมากมาย และรู้สัจจะ รู้อริยสัจ รู้สัจจะทุกตัว อันนี้เป็นของที่เป็นทุกข์อยู่หนอ เป็นสมุทัยอยู่หนอ เอ้าดับมันเสีย หาทางดับมันเสีย รู้อย่างแท้จริงแล้วก็ทำไปตามควรเสมอ ถูกต้องโดยแท้จริงคนนี้ ก็มี สัจจานุโลมญาณ มีการอนุโลม ปฏิโลมอย่างเป็นสัจจะถูกต้องอย่างแท้จริง 

คนนี้เท่านี้คนนี้จะมาปรุงแต่งเรื่องอะไรกับเราเราก็อนุโลมได้ ของๆ เราที่จะเอาออกเราก็อนุโลมปฏิโลมได้ เรียกว่า สัจจานุโลมมิกญาณ

ผู้ใดทำแบบนี้ได้ก็ตัดโคตรของความเป็นคนออกไปได้ ทำได้นิดนึงก็ตัดโคตรรออกไปได้เรื่อยๆ ทำได้จริงจากเด็ดขาดตัดโคตร เรียกว่า โคตรภูญาณ สบายมากแล้วเราไม่ต้องเกี่ยวข้องกับอันนี้ ไม่ต้องเกี่ยวข้องเลยเงินเดือนเดือนละหมื่นเฉย ตัด ส บ ม สบายมาก กินข้าววันละ 3 ครั้ง กินข้าววันละจาน ไม่ได้กินเนื้อสัตว์อะไร เอาไปยศศักดิ์ฐานะ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข กามคุณ เอาไป แต่ละระดับแต่ละระดับ คุณตัดโคตรอย่างนี้ออกไปได้เรื่อยๆ บริสุทธิ์ขึ้นๆ ถ้าตัดโคตรชั้นหยาบได้ เขาเรียกว่าตัด โคตรภู ถ้าตัดโคตรชั้นสูงท่านเรียกว่าตัดโวทาน โวทานแปลว่าขาว คือบริสุทธิ์ขึ้นๆ โคตรภู ถ้าเรียกว่าชั้นต้น ถ้าตัดโคตรชั้นสูงเรียกว่าเดินทางตัดโคตรเข้าไปหาความบริสุทธิ์ เรียกว่าเข้าหาความบริสุทธิ์ผ่องใส

ใครตัด โคตรภู ได้จริงๆ คนนั้นก็บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ ไม่เห็นมีอะไร บรรลุมรรคญาณ ผลญาณ อย่างแท้จริงเลย เผลอๆ พูดถึงมรรคผลแล้ว เสร็จแล้วก็ทวน ทวนดู ทวนดูอันนี้มันหลงหรือเปล่า จริงหรือเปล่า ที่เราทำนี้มันจริงหรือเปล่า จิตเราก็หมดสิ้นหรือเปล่า เป็นมรรคเป็นผลอันแท้จริงหรือเปล่า สว่างไสวชัดหรือเปล่า ไม่ใช่ดำๆ มืดๆ อะไรเป็นอะไรก็ไม่รู้ อาการอย่างนั้นเป็นอย่างนี้แล้ว ประมาณเอาก็ไม่ใช่ เปล่าอันนี้เห็นเลยว่าอันนี้คือกามเป็นสักกายะ อันนี้เป็นรูปราคะ อรูปราคะอันนี้เป็นมานะ รู้เป็นก้อนๆ แท่งๆ รู้เป็นความชัดๆ เลย ตอนนี้ก็ ปัจจเวกขณ์ เลย ทวนมาตั้งแต่ นามรูปปริเฉทญาณ นามรูปปัจจยปริคคหญาณ สัมมสนญาณ  อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ภังคานุปัสสนาญาณ ภยตูปัฏฐานญาณ อาทีนวานุปัสสนาญาณ นิพพิทานุปัสสนาญสณ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ สังขารุเปกขาญาณ สัจจานุโลมิกญาณ โคตรภูญาณ มรรคญาณ ผลญาณ …ปัจจเวกขณญาณแล้ว ถึง 16 รอบ..เราตัดจริง บริสุทธิ์จริง มันไม่เห็นมีอะไร อวิชชาอยู่ที่ไหน…อวิชชาอยู่ที่ไหน? 

โยมว่า...แล้วนิพพานอยู่ที่ไหน

พ่อครูว่า... ที่คุณถามมานั้นคือ เพราะมันไม่รู้แจ้งตั้งแต่นามรูปมาตั้งแต่ต้นพอมันไม่รู้ว่าอันนี้คือ นามรูป กิเลสตัณหา กิเลสตัณหาก็เป็นตัวตนที่ประกอบด้วยนามรูป ไอ้ดอกไม้สวยๆ ที่เขากำลังถือมานี่ คุณแยกรูปแยกนามมันออกไหม แยกออกไหม ดอกไม้ที่เขาถือสวยๆ มานี้แยกออกไหม ถ้าแยกออก แล้วเรารู้ทันว่าไอ้นี่เเหล่ะตัวสำคัญ มาเป็นปัจจัยที่ทำให้เราไปยุ่งกับมันนะ รู้ทัน ก็รู้ถึง นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ล่ะ พอรู้ทันก็ใส่โซ่ตรวนใจเรารู้ทันนะเอ็งอย่าไปเกี่ยวกับมันนะเองเฉยๆ นะ มันดิ้นเท่าไหร่ก็เฆี่ยนมันไว้อย่านะ ได้ทำอย่างนี้หรือเปล่า  ไม่เลย หลับตา หลับตาก็ไม่เห็นดอกไม้สิ ถ้าลืมตาเห็นดอกไม้งามจริงหรอคว้าไป มันจะเป็น นามรูปปัจจยปริคคหญาณ ได้อย่างไร มันก็ปรุงเข้าให้เท่านั้นเอง ก็ไม่เห็น สัมมสนญาณก็ไม่เกิด อุทยัพพยานุปัสสนาญาณก็ไม่เกิด ญานอันไหนก็ไม่เกิดเพราะชั้นต้นแค่นามรูปก็ไม่เห็นแล้วมันก็มีปัจจัยอะไร นามรูป ปัจจยปริคคหญาณ ก็ไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ทำไม่ได้ 

โยมว่า... เอาตำรามาพูดเฉยๆ 

พ่อครูว่า... จะมาพูดนี้เอาภาษาที่เขาว่าตามตำรา แล้วอาตมาพยายามอธิบายด้วยสำนวนของอาตมาที่จะให้คุณเข้าใจถึงเนื้อแท้ๆ ของมันเลย พอเข้าใจไหมเมื่อกี้นี้อาตมาพูดซะเหนื่อยเลยเมื่อกี้นี้ ถึงญาณ 16 ตั้งแต่ต้นเลยถึง 16 เลย 

โยม… ยังไม่รู้ในนี้ 

พ่อครูว่า... ก็แสดงว่าเรารู้แต่นอกเรารู้แต่บัญญัติของญาณ 16 ถ้าเรารู้เนื้อหาสาระของมัน มันเกิด อาตมาถึงบอกตั้งแต่ต้นแล้วว่าที่จริงโสฬสญาณมาพูดไม่ใช่เรื่องธรรมดา ถ้าใครมีสภาวะจริงๆ แล้วนะไม่ต้องเอาชื่อไปตั้งให้มันหรอก   ให้มันเกิดเองเป็นมรรคเป็นผลเอง ไม่ต้องไปตั้งชื่อให้มัน แต่ในไหนๆ ท่านก็ตั้งชื่อให้มันแล้ว อาตมาก็อธิบายบ้างเท่านั้นแหละ อาตมาไม่ได้ขยันอธิบายหรอกไม่ได้อยากอธิบายท่านเลยหรอก เพราะมันเป็นเรื่องลึกซึ้ง อาตมาบอกแต่ต้นแล้วไง ใครที่มีแล้ว ฟังไปอย่างเมาเอทานอลอย่างที่ว่า 

อาตมาบอกแต่ต้นมันไม่รู้เรื่องหรอกมันมีแต่ภาษานั่นแหละ ถ้าใครมีสภาวะรับแล้วนะบอกว่าจะ มันจะมีอย่างนี้เองมันจะเกิดเองอย่างนี้เอง เราก็โยนทิ้งอย่างนี้จริงๆ อย่างที่อาตมายกตัวอย่างอาตมาเปรียบเทียบให้ฟังนี่ มันเป็นไปตามจังหวะเป็นไปตามระยะจริงๆ แล้วทำอย่างไม่ได้เสแสร้ง ไม่ได้แกล้ง โลภะ มันไม่เอามันไม่มีโลภะ มันไม่ได้อยากได้เอาไว้ไม่ได้อยากยึดเอาไว้ ใครจะเอาไปก็ไม่โกรธ แล้วโทสะมันจะมีจากไหน เอาไปเลย ขนาดเขามาปล้นเรายังให้เลย 

อย่าว่าแต่ให้เขาเฉยๆ เฉยๆ ไม่มี ไม่มีการหวงไม่มีการยึด มันจึงจะมีการคลายการหน่ายการวาง การละ อันแท้จริงแล้วมันก็จบลง สู่ มรรคผลอันแท้จริง นอกจากจบมรรคผลอย่างที่ว่าแล้วเข้าใจด้วยปัญญาอย่างที่เราคิดว่าทำอันนี้ถูกทางไหม ท่านยังให้ปัจจเวกขณ์ อีกเที่ยวเลย เป็น ปัจจเวกขณญาณ ให้มีปัญญารู้ทบทวนว่ามันจริงไหมถ้าจริงปั๊บมันก็อ๋อ อวิชชาที่เราทำในเรื่องนี้ทุกเหลี่ยม ทุกมุมมันก็ลดลงไปตามส่วน ใครวางกี่อันใครหน่ายกี่อันใครรับไปกี่อัน ใครคลายกี่อันแล้วล่ะ มันก็อันนั้นแหละอะไรติดอยู่บ้างล่ะ 

ถ้าอะไรที่ติดอยู่ มันก็อันนั้นมันก็ไม่พ้นอวิชชา ถ้าอันไหนที่ไม่ติดแล้วเลิกแล้วโดยจริง มันก็พ้นอวิชชานั้นจริงๆ ไม่ใช่ภาษาพูดหรอก มันเป็นสูตร สูตรหนึ่ง ที่พูดอธิบายเอาไว้เฉยๆ เท่านั้นเอง ให้รู้ แต่โดยแท้จริงแล้วถ้าทำได้ถึงจิตแล้วไม่ต้องอธิบายไม่ต้องอธิบาย ไม่ต้องเอาภาษามาพูดเลย สภาวะมันจะต่อกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเราจบถึงอุทธัจจะ ปรุงขึ้นมานิดนึงก็รู้จิต

 พระอรหันต์เจ้าจะมีชีวิตอยู่ด้วย อุทธัจจะกับวิชชา เขียนให้ชัดๆ เมื่อเวลาจบแล้วท่านมีรูปนามอยู่คู่หนึ่งที่ยังอยู่ เป็นขันธ์ 5 คือ จิตของท่านที่ฟุ้งขึ้นมาเป็นอุทธัจจะ นั้นเป็นรูป และมีวิชชา คือ ความรู้อันเยี่ยมยอดที่จะคุมอุทธัจจะ อันนี้เอาไว้ให้มันไปตามทิศทาง ทำรูปอันนี้ให้มันเป็นกุศลทั้งหมดเลย ให้เป็นสิ่งที่เกื้อกูล 

ท่านมีรูปกับนาม 2 อย่างนี้แค่นั้นที่อาศัยอยู่ จนกว่าขันธ์ 5 นี้จะดับสูญสลายเป็น อนุปาทิเสสนิพพาน ท่านเหลือแค่นี้ นอกนั้นบ้อ แล้ว หมด ไม่มีมานะ ก็ไม่มี อรูปราคะ รูปราคะ ไม่มีทั้งนั้น ปฏิฆะ กามราคะ สักกายทิฏฐิ ไม่มี ถ้าเหลือแต่จิตที่มันปรุงขึ้นมาทำงาน แล้วทำงานอะไร วิชชาสั่งทั้งนั้น วิชชาสั่งทั้งนั้น ไม่มีทำงานโดยไม่สั่ง 

พุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย จึงทำงานด้วยวิชชาสั่งทุกตัว ในฐานะที่ยังเป็นผู้ที่ได้ สอุปาทิเสสนิพพาน หมายความว่า นิพพานอย่างที่เรียกว่าอย่างไม่ตาย ยังมีขันธ์ 5 อยู่ยังไม่ตายไป ท่านจะมีอย่างนี้อยู่มีนามรูปอันนี้อยู่ นี่อาตมาเรียกว่านามรูปนะ ไม่ใช่นามรูปอย่างโลกๆ นะ นามรูปของพระอรหันต์ นี่เป็นภาษานะ ที่จริงพระอรหันต์แล้วไม่มีนามรูปอะไรอีก แต่นำรูปที่ตั้งนั้นเป็นนามรูปแบบโลกๆ แต่ก็มีนามรูปเป็นโลกุตระอย่างนี้ ใช้ภาษาไปเรียกอย่างนี้ ท่านมีเท่านี้ มีเท่านี้ 

เพราะฉะนั้นถึงมีธาตุรู้อย่างสว่างไสว รวมแล้วก็เป็นวิญญาณ อุทธัจจะกับวิชชาเป็นวิญญาณ มีนามรูปที่อยู่อย่างสว่างไสว อุทธัจจะเจตสิกมันจะทำงานของมันตามบทบาทของมัน เจตสิกที่ฟุ้งขึ้นมานิดนึงท่านก็สั่งแล้ว เฮ้ย ไปทำงานดีๆ ทำงานอย่างโน้นนะ พิจารณาเสร็จมันไม่ดีก็อยู่เฉยๆ ถ้าดีก็ทำ ถ้าจะทำทำดีทุกอย่างท่านถึงเรียกว่า ท่านมีสัจจานุโลมิกญาณ อนุโลมให้ทำทุกอย่างทำดีทั้งนั้น และโอกาสกาลอันควร ทำกับหมู่นี้ขนาดนี้ถือว่าดี ทำกับหมู่ที่สูงกว่านี้ไอ้จิตที่ต่ำกว่านี้ก็เรียกว่า ไม่ดีแล้วทุกสิ่งทุกอย่างดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติทั้งนั้นดีก็สมมุติชั่วก็สมมุติ สมมุติตามโลกจึงเรียกว่า สมมุติสัจจะ สมมุติเป็นความจริงเหมือนกันเป็นความจริงที่สมมุติ สมมุติตามโลกตามระดับตามกาลเทศะและมันเกิดอย่างนี้ในโลกมันมีอะไรดับหรอก จนกว่าเราเองเราจะดับไป ก็เลิกกัน คนอื่นจะยังไงก็เชิญ พระอรหันต์องค์อื่นจะเกิดต่อก็ทำต่อ 

เราจะดับอวิชชาด้วยวิธีก็อธิบายมาแล้วทั้งหมด อาตมาไม่รู้จะทำยังไง ทำยังไง ก็ที่อธิบายมาทั้งหมดคือ วิธีดับอวิชชาจะเหลือเป็นวิชชา ดับอวิชชาแล้วกลายเป็นวิชชาแล้วก็มีชีวิตอยู่แค่นี้ 

ชัดเลยว่า กายกับจิตมันก็ คือไอ้แค่นั้นแหละไอ้สมบัติสิ่งหนึ่งที่มันเกิดมาในโลก ถ้าหลงก็ไปทรมานชีวิตอยู่กับโลก ไปเฆี่ยนตัวเองต้องให้สู้กับโลก ไปเกาะไอ้นั่นไม่รู้ไอ้นี่เป็นกาม ไอ้นี่เป็นกายไอ้นี่เป็นรูป ไอ้นี่เป็นอรูป อะไรไม่รู้ทั้งนั้น มันก็ไปเพ้อพบอยู่ไหนก็ไม่รู้ พอรู้ชัดในที่นี้หมดแล้วมันก็หยุดหมด จึงไม่สร้างสิ่งเหล่านี้ให้แก่ตน 

อรรถะ ที่จะเป็นการพูดเป็นภาษา หรือ บรรยายกันเป็นเพียงแต่ปริยัติ เป็นสิ่งที่จะพึงรับเอาไปได้ไปฟัง ในขณะฟังนั้นเราก็มีความตั้งใจให้ดี ตามฟังธรรม พระพุทธเจ้าท่านก็สอนเสมอต้องพยายามฟังธรรมด้วยดี ตามฟังธรรมด้วยดีต้องฟังอย่างไร การฟังธรรมด้วยดีก็คือ เราต้องมีโยนิโสมนสิการหนึ่ง  สองนอกจากมีโยนิโสมนสิการ คือตั้งอกตั้งใจฟังให้ดีแล้ว เราจะต้องทำจิตให้เป็นกลาง ทำจิตให้เป็นกลาง อย่าเพิ่งไปคิดค้านอย่าเพิ่งไปคิดเห็นดี ทั้งไม่ค้านทั้งไม่เห็นดี แต่ให้เราใช้ปัญญาที่จะมีธรรมวิจัย หรือวิจัย วิจารไปพลางในขณะที่ฟังไปนั้น นอกนั้นมันจะดีหรือมันจะไม่ดีมันจะปรากฏผลบอกเรา ในสิ่งที่เราเดินเครื่องเพื่อที่จะทำธรรมวิจัยหรือแยกแยะทำมันนั้นอยู่ในจิตของเราเสมอ 

ถ้าเราไปคิดเสียว่า เราจะน้อมตามเสียทีเดียว หรือว่าเห็นขัดเสียทีเดียว มันก็จะกลายเป็นว่าเราไปตั้งจิตเพื่อ  1.เอนพร้อมจะตามไปง่ายทีเดียวก็ไม่ดี 2. จะไปขัดทีเดียวมันก็ดี เพราะฉะนั้นเราทำจะให้เป็นกลางจึงจะดี แล้วก็ฟังไปด้วยปัญญาใช้ปัญญาตรองไป คล้ายๆ ค่อยๆ พิจารณา พร้อมๆ กันไปเรื่อยๆ ตั้งจิตให้ถูก 

ชื่อเรื่องในวันนี้ตั้งเอาไว้ก็ดีมาก เพราะเป็นชื่อเรื่องที่ จะอธิบายกันได้ ละเอียดลึกซึ้ง ทั้งเป็นประโยชน์พร้อมที่เราจะเอาไปประพฤติปฏิบัติด้วย เห็นอย่างไร ที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรม น่าฟัง น่าฟังทีเดียว เห็นอย่างไร คือสิ่งที่จะต้องอธิบายคำว่าเห็นอย่างไร เนื้อความจริงๆ อยู่ที่ว่า ที่ว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

เพราะฉะนั้นก็เราก็มาจำเพาะเจาะจงลงไปถึงสิ่งที่ได้จำกัดลงไปแล้วว่าเราจะอธิบายกันสิว่า มีดวงตาเห็นธรรม 

คำว่า มีดวงตาเห็นธรรมก็เป็นภาษา หรือเป็นสำนวนที่เราใช้เรียกกัน ใช้พูดกัน สำหรับ จะบอกแก่ผู้ที่เกิดธรรมะนั้นในจิตเรา ใช้สำนวนในภาษาไทยว่า มี

ดวงตาเห็นธรรม หมายความว่า เกิดธรรมะนั้นในดวงจิต ไม่ใช่ดวงตาโทโร่ ที่มองอยู่ 2 ข้างนี้ ที่เราลืมโพรงโพรงอยู่นี้ไม่ใช่ อันนี้ต้องมา เรียกว่าต้องมาทำความเข้าใจกันให้มากเสียก่อนว่า คำว่าดวงตาเห็นธรรมนี้ และคำว่าเห็นธรรมนี้ ไม่ได้หมายความว่า กายรูปนอก แต่หมายความว่าข้างในดวงตา และเห็นเป็นรูปเป็นนาม คำว่าดวงตาหมายความว่า “รูป” คำว่าเห็นหมายความว่า “นาม” 

รูปนามอันนี้เป็นสภาพของจิต ดวงตาเป็นรูป เห็นเป็นนาม เมื่อผู้ใด         เกิดมีดวงตา เรียกว่า ผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ เมื่อใดผู้นั้นมีดวงตา เรียกว่าผู้นั้นเกิดจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณนี้ก็ไม่ได้หมายความว่า ตาเท่านั้นด้วย คำว่าจักขุ แปลว่า ตา แต่ไม่ได้หมายความว่าตา แต่หมายความ  เป็นวิญญาณเลยทีเดียวนะ ฟังให้ดี 

คำว่า จักขุวิญญาณนี้ อาตมากำลังแปลว่าดวงตา กำลังหมายความว่าดวงตา เพราะงั้นคำว่าดวงตานี้ อาตมาก็อธิบายลึกไปแล้ว ถ้าไอ้ลูกกลมๆ โท่โร่นี้เราเรียกว่าดวงตา หรือภาษาเราเรียกง่ายๆ เข้าใจอย่างภาษาโลก ต่อจากภาษาโลกที่ลึกเข้าไปอีกนั้น ดวงตาไม่ใช่ดวงตากลมๆ โทโร่นี้ แต่มันลึกเข้าไปถึงข้างในเรียกว่าจักขุวิญญาณ คือเป็นสภาพการรับรู้ การรับซับซาบเห็นได้ในจิต เรียกว่าจักขุวิญญาณ 

ที่นี้ จักขุวิญญาณไปเห็นสภาพ คำว่า เห็น คำนั้น สภาพคำว่าเห็นคำนััน เราเรียกว่า รูปารมณ์ เอากันง่ายๆ ก่อน รูปารมณ์ แต่คำว่าเห็น คำนี้เราจะจำกัดแค่ว่า รูปารมณ์เท่านั้น มันก็เข้าใจได้จุดหนึ่ง จุดเดียว จุดหนึ่งจุดเดียว ถ้าเราจะต่อไปอีกจากคำว่ามีดวงตาเห็นธรรม คำว่า ธรรม นั้นแน่นอนที่สุดไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องเห็นแต่เฉพาะดวงตา เราไม่จำเป็นจะเห็นแต่เฉพาะรูปารมณ์ แต่เราจะรับความเห็นได้หมดทุกวิญญาณ วิญญาณมีถึง 6 วิญญาณ 

รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธรรมารมณ์ มีถึง 6 อารมณ์ หรือมีถึง 6 สิ่งที่จะให้เห็น ถ้าเราจะเอาเฉพาะแต่ว่าดวงตาซึ่งหมายถึงกายนอกนอกเท่านั้นเอง ธรรมะน้อยเดียวนิดเดียว มีวิญญาณจักขุวิญญาณอย่างเดียว อาตมากำลังไต่เข้าไปให้ลึกเป็นระดับนะ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้เป็นศัพท์โลกๆ ง่ายๆ ตื้นๆ แต่ความลึกมันจะเขยิบเข้าไปเรื่อยๆ มันจะไม่เกิดแต่เฉพาะดวงตา และอาตมากำลังตีความคำว่าดวงตาอย่างโลกทิ้งไป แต่จะไปเอาคำว่า ดวงตาอย่างธรรมะ และคำว่าดวงตาของธรรมะนี้มันลึกซึ้งเข้าไปจนกระทั่งถึง เป็นจักขุวิญญาณนั่นแหละ อาตมาให้ก้าวเข้าไปชั้นหนึ่ง

ตอนนี้ไม่ใช่จากจักขุวิญญาณแล้ว ลึกเข้าไปกว่าจักขุวิญญาณต่อเข้าไปอีกเป็น โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และก็ กายวิญญาณ จนกระทั่ง ถึงมโนวิญญาณ ลึกเข้าไปหมดเลย 6 วิญญาณ 

เพราะฉะนั้นคำว่าดวงตาคำนี้ จึงกลายเป็นวิญญาณ ทุกวิญญาณแล้ว ตอนนี้ลึกเข้าไปแล้วนะ ตั้งต้นตามให้ดีนะ ถ้าตาไม่ดีก็เมาเลยนะ ถ้าเรา ฟังตามภาษาโลกๆ มันไม่รู้เรื่องดวงตาเห็นธรรมอะไร ดวงตาลืมโท่โร่ และเห็นธรรมมันไม่ใช่ภาษาธรรมะ อันนี้มันโลกๆ ธรรมดาๆ

เอาย้อนใหม่อีก มีผู้มาใหม่บ้าง ก็เป็นการซ้ำทบทวนอีก คำว่าดวงตา ไม่ได้หมายความว่า ลูกตากลมๆ ในภาษาธรรมะไม่ใช่ลูกตากลมๆ แต่ดวงตานี้หมายความว่า จักขุวิญญาณ อันแรกที่สุด ก็หมายความว่าจักขุวิญญาณก่อน คือสิ่งที่เข้าไปทำงานอยู่ข้างใน อะไรล่ะคือจิตหรือวิญญาณนี่ เราเรียกจำเพาะมุมหนึ่ง แง่หนึ่งเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ 

ทีนี้คำว่าเห็น เราไม่เอาภาษาโลกๆ เห็นเพียงดวงตาเห็นแล้วก็มองเห็นรูปอยู่นี่เป็นโลกๆ แต่จะไปใช้กับธรรมะนั้น มันยังไม่พอ กับธรรมะนั้นสิ่งที่ไปเห็นนั้นเราไม่ใช้แต่แค่ดวงตาที่เห็น หลับตาก็สามารถที่จะเห็นธรรมได้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่เห็นนั้นจึงไม่ใช่หมายความว่าเอาลูกตานี้มอง หลับตานี้ก็เห็นได้ธรรม เห็นด้วยอะไร เห็นด้วยจักขุวิญญาณ แล้วจักขุวิญญาณไปเห็นอะไร คำว่าเห็นคำนั้นก็คือ รูปารมณ์  เห็นสิ่งที่เป็นอารมณ์ที่รับอยู่ในจิตอีกทีนึง จักขุวิญญาณก็เป็นรูป อย่างที่อาตมาได้แยกแยะตั้งแต่ต้นแล้ว รูปารมณ์ก็เป็นนาม ฟังเท่านี้แล้วพวกที่เรียนรูปนาม บอกว่าเข้าไปเห็นรูปนั้นเมาแล้ว ถ้าใครแยกแยะดวงตาไม่ออกเมาแล้ว เมาเเล้ว เมาจริงๆ เพราะอาตมาไปบอกวิญญาณเป็นรูปเสร็จแล้วนี่ จักขุวิญญาณ อาตมาบอกว่าเป็นรูป ถ้าใครเรียนมา รูปกับนามหยาบๆ แล้วนั้นไม่เข้าใจหรอกตั้งหลักให้ดี 

จักขุวิญญาณ อาตมากำลังยืนยันเด็ดขาดว่า มันกำลังคือรูป และนำนามธรรมของจักขุวิญญาณคือรูปารมณ์ คือสิ่งที่เกิดเป็นผลต่อมาจากจักขุ เคยถอดให้ฟังแต่ก่อนนี้เคยซ้อนจิตเข้าไปอีกทีนึง รูปกับนามนี้ 

สิ่งนี้เป็นตัวถูกรู้ สิ่งที่ถูกรู้นั้นเป็นรูป สิ่งที่รู้ เป็นตัวรู้จริงๆ เลย ถ้าสิ่งนี้เป็นรูป สิ่งที่รู้จริงๆ เลยเป็นนาม  เพราะฉะนั้นขณะนี้ จักขุวิญญาณนี้เป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม รับรู้ รับรู้จากรูป จักขุวิญญาณเป็นตัวทำรูปขึ้นมา เป็นตัวทำรูปทำร่างขึ้นมาจากจักขุวิญญาณ แต่ไอ้ตัวที่จะรู้นั้นมันเป็น รูปารมณ์ เป็นตัวรู้ จักขุวิญญาณตอนนี้มันก็รู้ ขึ้นมาแล้ว

ย้อนใหม่ จักขุ เฉยๆ เป็นรูป จักขุวิญญาณเป็นนาม จากโลกมาหาธรรม ชัดๆ เลย จักขุ เรียกว่ารูป จักขุวิญญาณเรียกว่านาม

ต่อจากนี้อีก รูปตัวนี้ดับไปก็ทิ้งไอ้รูปหยาบทิ้ง ตาธรรมดาที่อาตมาว่าไม่ได้หมายถึงเพียงตานี้ จักขุวิญญาณที่เป็นรูป รูปารมณ์ ขึ้นมาเป็นนาม เกี่ยวข้องกันแล้ว ตอนนี้เราทิ้งแล้วจักขุธรรมดาทิ้งไปแล้ว จักขุวิญญาณเป็นรูป รูปารมณ์เป็นนาม

เพราะฉะนั้นตัวดวงตานี้จึงกลายเป็นจักขุวิญญาณ จักขุคือดวงตา แล้วก็จักขุวิญญาณเป็นนามอยู่ข้างใน ทีนี้พักดวงตาข้างนอกหลับตาเสียไม่ใช้แล้ว เเต่จะเห็นเหมือนกันเห็นด้วยจิตวิญญาณ จักขุวิญญาณก็เป็นรูป รูปารมณ์เป็นาม ลึกเข้าไปอีก 

เป็นสภาพที่จะซ้อนๆๆ ซ้อนลึกเข้าไป ถ้าเรารู้รูป รู้นามไม่ชัดหมดนะ เมา  เพราะฉะนั้นรูปนามไม่ใช่อัตตา จะไปยืนยันว่าสิ่งที่เป็นนามจะอยู่ตลอดกาล ไม่ได้ อาตมาบอกว่าจิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม  อย่านะถ้างงก็หมายความว่าเรารู้ไม่ได้ เพราะฉะนั้นฟังปริยัติไปหรือฟังภาษาที่อาตมาอธิบายไปแล้ว เอาไปลอง พยายามอ่านดูให้ชัด สัมผัสดูให้จริงสิ อ๋อ ลักษณะรูปมันเป็นอย่างนี้จริงๆ ด้วยอย่างที่อาตมาว่ารับรู้ได้ เพราะนามมันเป็นตัวรู้ซ้อนเข้าไปได้จริงๆ มันก็จะลึกขึ้นลึกขึ้นจริงๆ 

จิตเป็นรูป เจตสิกเป็นนาม รูปเป็นรูป นิพพานเป็นนาม อาตมาเอาปรมัตถ์มาพูด ปรมัตถ์มันมีจิต เจตสิก รูป นิพพาน ตอนนั้นอาตมาไม่เกี่ยง จิตกับเจตสิกเป็นรูปกับนามคู่หนึ่ง รูปกับนิพพานเป็นรูปอีกคู่หนึ่ง ตราบใดเราทำจิตให้เป็นรูปและมีเจตสิกเป็นนิพพานก็จบ ทำจิตให้เป็นรูป ทำเจตสิกให้เป็นนิพพาน จบเลย 

แล้วเจตสิกตัวนี้ทำให้เป็นนิพพานแล้วมันจะเหลือตัวที่เก่งที่สุดอยู่อันเดียว คือปัญญาเจตสิก หรือ ปัญญินทรีย์ตัวเดียว ตัวอื่นๆ ไม่ยืนอยู่หรอกตัวอื่นๆ เป็นเพียงตัวผ่านเฉยๆ แต่ตัวที่ยืนอยู่จะมีปัญญาหรือ ปัญญินทรีย์ เท่านั้นที่ยืนอยู่เราเรียกว่า เกิดญาณทัสสนะนั่นเอง 

แล้วปัญญาหรือปัญญินทรีย์ ถ้าใครเรียนอภิธรรมมาจะรู้เลยว่าตัวนี้เป็นตัวที่ 52 นะ เจตสิก มีทั้งหมด 52 ตัวเท่านั้นแหละ แล้วตัวเจตสิกตัวปัญญานี่แหละเป็นตัวที่ 52 เป็นตัวเล็กละเอียดที่สุดเลย นอกนั้นตั้งแต่ตื้นๆ ขี้กะโล้โท้ขึ้นมา ตั้งแต่ต้นๆ สิ่งที่เป็นหยาบๆ หนาๆ ตั้งแต่เป็นอกุศลไปจนกระทั่งอะไรต่ออะไรนั้นไม่ต้องล่ะ 

ถ้าเราไปนั่งท่องภาษามาก่อนก็ได้ ถ้าเราจับถูกฝาถูกตัว ถ้าเราไปนั่งท่องมาแล้วไม่ถูกฝาถูกตัว เราก็จะไปยึดติด ไปหลงในวิชชาอยู่เปล่าๆ แต่ถ้าเราปฏิบัติแล้วจับตัวให้ถูก โดยไม่ต้องใช้ภาษาให้รู้ว่า อ๋อตัวนี้เองคือรูป ตัวนี้เองคือนาม อาจจะภาษาแค่คำว่ารูปแค่นามก็พอ นี้แสดงอาการเป็นรูปอันนี้แสดงอาการเป็นนาม รู้ชัดก็จะจับถูกด้วยกัน 

ที่นี้มาหาเข้า คำว่าดวงตาเห็นธรรมอีกทีนึง ถ้าเอาตาจริงๆ มันก็มีเป็นเพียงแต่คำว่าดวงตากับเห็น ที่นี้เราจะเห็นธรรมะนะ อาตมาบอกแล้วว่าธรรมะไม่ได้มีอยู่แค่จักขุวิญญาณอย่างเดียว ธรรมะมันมีวิญญาณอื่นๆ เยอะแยะ จักขุวิญญาณก็มี โสตวิญญาณก็มี ฆานวิญญาณก็มี ชิวหาวิญญาณก็มี กายวิญญาณก็มี มโนวิญญาณก็มี มีถึง 6 วิญญาณ

ถ้าจักขุก็แปลว่าวิญญาณทางตา โสตะ ก็แปลว่าวิญญาณทางหู ฆานะ แปลว่าวิญญาณทางจมูก ชิวหา วิญญาณทางลิ้น กายะ คือวิญญาณทางกาย มโน คือวิญญาณทางจิต มีวิญญาณถึง 6 วิญญาณ 

แล้วจำพวกวิญญาณต่างๆ เมื่ออาตมายกมันมาเป็นรูปได้ โสตวิญญาณก็ต้องเป็นรูป ฆานวิญญาณมันก็ต้องเป็นรูป ชิวหาวิญญาณก็ต้องเป็นรูป กายวิญญาณต้องเป็นรูป มโนวิญญาณก็ต้องเป็นรูปหมด ไม่ใช่เป็นรูปแต่เฉพาะจักขุวิญญาณ เมื่อพวกนี้มีวิญญาณเป็นรูปหมดแล้ว มีนามของมันที่ควบคู่ซึ่งกันและกันทำงานร่วมกันอยู่ ก็จากโสตะ ก็เป็นพวก สัททารมณ์ ก็เป็นามของโสตะ เป็นนามของหู หู หรือว่า วิญญาณที่เกิดถ่ายทอดกันมาทางเสียง เสียงเป็นรูป จิตรับรู้เสียงนั้นเป็นนาม นี่พูดภาษาไทยๆ ถ้าพูดภาษาบาลีบาลีก็บอกว่า โสตวิญญาณเป็นรูป คือเสียง มันมาสัมผัสจิตแล้วก็รับรู้ จิตที่ไปปรุงแต่งสังขารธรรมเข้ารับรู้เป็น สัททารมณ์ สัททารมณ์ก็เป็นนาม คือรับรู้อาการของเสียงนั้น รสชาติของเสียงนั้น…เป็นอารมณ์จิตที่รับรู้เลย เรียกว่าอันนั้นเป็นนาม 

ถ้าเราไปรับรู้มัน โดยที่เรียกว่าเราเกิดอารมณ์กับมันแล้วก็เพลิดเพลินกับสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา หรือไม่สุขเวทนาไม่ทุกขเวทนา แต่เป็น อทุกขมสุขเวทนา กลางๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข นั่นแหละ อาการอย่างนั้นแหละ อาการอย่างนั้นแหละที่เรียกว่า วิญญาณ ที่เรียกว่าวิญญาณ

อาการที่เรียกว่า มันเกิดสุขหรือทุกข์ หรือไม่สุขไม่ทุกข์เฉยๆ นั่นแหละเรียกว่าวิญญาณ วิญญาณอย่างนั้นเป็นรูป เป็นรูป ฟังให้ดีนะตอนนี้กำลังจะไต่เข้าหาคำว่าธรรมะแล้วนะ ขณะใดเรารู้มันว่าเป็นสุขเวทนา ได้ยินเสียงอย่างที่ว่านี่ มันปรุงเป็นสุขเวทนา ไปรู้ตัวสุขเวทนาหรือมันจะปรุงเป็นทุกข์เราก็รู้ว่าขณะนี้เป็นทุกขเวทนา แหม เสียงด่านี้ไม่ชอบเลยเป็นทุกขเวทนาไม่ชอบเลย หรือเสียงนี้เป็นเพลง พี่ไปหลายวัน กำลังเข้าหูเลย ไพเราะ หรือ ตอนนี้เป็นเสียงของ ฉวีวรรณบานเย็น รากแก้ว ได้มาฟังก็ยิ้มขึ้นมาเลย ฟังแล้วก็ยิ้มเลย ไม่ทำอะไรแล้วตอนนี้เสียงบานเย็นรากแก่น เข้าไปแล้วเขามาแล้ว ก็ดูเขาไปเขามาเสียด้วยถึงขนาดนั้นนะ แฟนๆ 

ถ้าเสียง บานเย็น รากแก้ว มาเลย โห มาแล้วก็เอาละ อย่างนี้ก็เรียกว่าเรารัก ถ้าเราชอบมันก็สุข ต้องใจต้องอารมณ์ ต้องอารมณ์ก็สุข ถ้าเราไม่ชอบ แหม ขัดเคืองใจพูดไม่เข้าหูเลย หยาบคายบ้าง ไม่ชอบ มาด่าเราบ้างอะไร เราก็ไม่ชอบ เกิดทุกขเวทนาสุขเวทนาเหล่านี้เราเรียกว่า วิญญาณ 

ในขณะใดถ้ามันเกิดวิญญาณอยู่ เรารู้ไม่เท่าเรารู้ไม่ทัน เราจะไม่เกิดผลเกิดธรรมะเลย เราก็จะถูกวิญญาณนั้นครอบงำ สุข อร่อยก็สุข ทุกข์ แหม ทรมานอยู่กับทุกข์เรียกว่า ผู้นี้ถูกวิญญาณครอบงำอยู่ตลอดเวลา ไม่เห็นธรรม เรียกว่าถูกวิญญาณเล่นงาน 

วิญญาณแบบนี้เข้าสิงตัวคนทุกคน วิญญาณอย่างนี้เข้าทรงคนทุกคน ทุกคนกำลังเป็นคนทรงอย่างเก่ง แล้วก็ทรงวิญญาณอย่างนี้กันทั้งนั้น อย่าไปพูดถึงวิญญาณที่ร่องรอยเป็นหลวงพ่อโตบ้าง วิญญาณผีวิญญาณเทวดาองค์นั้นเจ้านี้มา ขอร้องกันที ศิษย์ตถาคตเอ๋ย อย่าไปวุ่นวาย อย่าไปฟุ่มเฟือย เสียเวลากับมัน โยนทิ้งเข้าป่าเลยสิ่งเหล่านั้น ดีหรือไม่ดีก็ช่าง อาจจะมีส่วนดีก็ได้ อาจจะมีส่วนเสียก็เยอะเราไม่เอา เพราะสิ่งนั้นไม่ใช่ทาง อาตมาใช้คำว่าไม่ใช่ทาง ไม่ใช่มรรค ไม่ใช่สัมมาอาริยมรรค ไม่ใช่สัมมาทิฏฐิ ไม่ใช่ความเห็นที่ถูกต้อง 

สัมมาอาริยมรรคของพระพุทธองค์นั้น ให้เรียนตรงไหน ตอนนี้ข้ออ้างเข้าไปหาสูตรประกอบจะไต่เข้ามาหาวิญญาณ 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ใน มิจฉาทิฏฐิสูตร ท่านจะกล่าวไว้ว่าอย่างนี้ 

254] ครั้งนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลรู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงจะละมิจฉาทิฐิได้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุ

บุคคลรู้เห็นจักษุแล โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นรูป

โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักขุวิญญาณโดยความเป็น

ของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นจักษุสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง

จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นแม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่

เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย โดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิ

ได้ บุคคลรู้เห็นหู... รู้เห็นจมูก... รู้เห็นลิ้น... รู้เห็นกาย... รู้เห็นใจโดยความ

เป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นธรรมารมณ์โดยความเป็นของไม่เที่ยงจึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนวิญญาณโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นมโนสัมผัสโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ รู้เห็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัยโดยความเป็นของไม่เที่ยง จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ดูกรภิกษุ เมื่อบุคคลรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างนี้แล จึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ฯ

พ่อครูว่า... คำว่าจักขุหมายความว่าเราเป็นตัวชื่อหลักเป็นตัวต้นทาง เป็นกายอันหยาบ เป็นกายอันใหญ่ที่อาตมาบอกแล้วว่าไม่ใช่ดวงตา โท่โร่ข้างนอกเท่านั้นถึงจะเป็นธรรมะนั้นหยาบมาก เพราะฉะนั้นใครไปยึดมั่นถือมั่นอยู่กับตาข้างนอกหยาบมาก ยังไม่เข้าหาธรรมเลย ยังเป็นกายนอกกาย แต่มันก็สืบต่อกันเข้าไปหาด้วยวิธีนี้แหละ 

จนกระทั่งเกิดจาก ดูจากตามันจะเห็นรูป พอมันไปเห็นรูปแล้ว ไอ้รูปที่เห็นในจิตนี่แหละ ภาพที่เห็นในจิตนี่แหละ ถ้ามันเกิดที่จิตนี่เเหละ มันเป็นกายในกาย 

ตาคุณมองขวดนี่ ขวดนี่ เป็นวัตถุข้างนอก ตาคุณคือจักขุ พอตาคุณมองขวดนี่ ขวดมันอยู่ข้างในนี้หรือเปล่า(ตัวเรา) มันไม่ได้อยู่ในนี้หรอก ขวดมันอยู่ข้างนอก แต่รูปหรือภาพที่เกิดในนี้ (ตัวเรา) อันนั้นแหละ เราเรียกว่า จักขุวิญญาณ อันนี้แหละเราเรียกว่า จักขุวิญญาณ มันไม่ใช่ขวดที่อยู่ในนี้ แต่ ไอ้จักขุวิญญาณอันนี้ มันก็ไม่มีเหตุมีผลอะไรมาก 

ในรอบแรกหยาบที่สุด ตาเรานี่ เราถือว่า กายนอก รูป เราถือว่าเป็นนาม คือรูปขวดเป็นนาม คู่ที่ 1 หยาบที่สุด 

พอต่อมา ถ้าคุณสักแต่รู้ขวดนี้ มันก็เฉยๆ คุณไม่มีรสชาติ ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุขกับมัน อาตมายกเรื่องขวด มันก็ยังไม่ค่อยเข้าที ยังไม่ค่อยซาบซึ้งเท่าไหร่ เอาอันนี้ดีกว่า  พอตาคุณเห็นรูป รูปเกิดในนี้เป็นจักขุวิญญาณ ถ้าคุณสักแต่ว่าเห็นรูปแล้วเฉยๆ คุณก็ไม่มีรสชาติ ไม่มีอะไรเลยบางทีจะไม่จำมันด้วย จนกว่าคุณจะเลื่อนชั้น พิจารณารูปให้ดีๆ พอเราพิจารณารูป เอาจิตเข้ามาพิจารณารูปอีกทีนึง คุณพิจารณาต่อๆ กัน คุณอาจจะดูมันก็ได้ ไม่ดูมันก็ได้ คุณก็จำมันได้แล้ว ไอ้รูปก็มีอยู่ในนี้ อารมณ์ก็เป็นนามเรียกว่าจักขุวิญญาณมันอยู่ในนี้แล้ว (ตัวเรา) แล้วคุณก็พิจารณาอีกทีนึง ไอ้ตัวที่พิจารณาเข้าไปอีกทีนี่แหละเรียกว่าตัวรับรู้จิต เราเรียกว่าเวทนา รู้ใหม่ตัวนี้เป็นกายในแล้ว กลายเป็นรูปไปแล้ว แต่คุณก็พิจารณาดอกบัวนี้อีกทีตอนนี้เป็นเวทนา พอรู้อีกทีหนึ่งตอนนี้คุณก็นึก คุณพิจารณาอีกทีแล้วคุณจะพิจารณาไปทำไม คุณก็พิจารณาว่ามันสวยหรือไม่สวยใช่ไหม 

บางคนพิจารณาว่าสวย เกิดแล้วสุขเวทนาเกิดทันทีในจิต ควรพิจารณาแล้วว่า แหม ไม่สวยดูไม่ได้เลย มันก็เป็นทุกขเวทนา หรือคุณก็พิจารณาแล้วเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข ไม่แตะตาไม่เดือดร้อนเฉยๆ หรือคุณก็ไม่รู้เรื่องไม่มีปัญญาคุณก็เฉยๆ เกิดเป็นพวก สุขเวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนาต่างๆ พวกนี้แหละ เรียกว่าเรามีธรรมะเกิดจากนามและรูป นี่เป็นคู่ที่ 2 สุขทุกข์ขึ้นมาอย่างนี้… 

…1.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจโต)  จึงละมิจฉาทิฏฐิได้ 

 2.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นทุกข์ (ทุกขโต)  จึงละสักกายทิฏฐิได้ 

3.  บุคคลรู้เห็นอายตนะ 12  รู้เห็นวิญญาณ 6  รู้เห็นสัมผัส 6  รู้เห็นเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะสัมผัสทั้ง 6 เป็นปัจจัย  รู้โดย ความเป็นของไม่ใช่ตัวตน (อนัตตโต) จึงละอัตตานุทิฏฐิได้ 

(พตปฎ. ล.18  ข.254 – 256) 

พ่อครูว่า... เราตัดจักขุภายนอกทิ้งเลยขยับเข้ามาหาภายใน เป็นรูปที่เกิดในจิตเป็นภายใน แล้วมีวิญญาณหรือจักขุวิญญาณเป็นนามรับรู้ต่ออีกที เลื่อนเข้าไปอีกทีนึง ตอนนี้คุณไม่ต้องดูรูปแล้ว คิดเองเลย ยกขึ้นมาเลยในจิต จักขุ ของคุณก็สัมผัสเลยว่า นี่รูปดอกบัว จักขุสัมผัสอันนี้ อาตมาเอาอดีตก่อนแล้วค่อยเอาปัจจุบันมาทำย้อนเข้ามาใหม่ เดี๋ยวสับสนไอ้เรื่องธรรมะ เดี๋ยวก็เอาจักขุสัมผัสแบบย้อนให้เอามาปัจจุบัน ตอนนี้ไม่ใช้ปัจจุบันขอไปหา รูปจิต อรูปจิตไปก่อน 

คุณมีสัญญาความจำคุณจำรูปนี้ได้แล้ว ตอนนี้คุณไม่ต้องอาศัยรูปทางตา โท่โร่ นี่ก็ได้ อาตมาอยากอธิบายเข้าไปลึกเข้าไปอีก เรียกว่า จักขุสัมผัสเกิดขึ้นปั๊บในใจ เกิดแล้ว คุณก็ต้องเห็น คุณจะไปอยู่ตรงไหนก็ได้รูปดอกบัว รูปนี้ คุณจะไปอยู่ที่ไหนก็ได้ โน่นไปอยู่ในวังก็ได้ อยู่ไหนก็ได้ แล้วก็ระลึกถึง รูปดอกบัวขึ้นมา จะเป็นจักขุสัมผัส ที่ไม่ต้องใช้จักขุเลย ตอนนี้จักขุอยู่ไหน สัมผัสได้ปั๊บคุณก็รับรู้ ตัวที่รับรู้ได้ดอกบัวอันนั้นก็เป็นจักขุวิญญาณอีกชั้นหนึ่ง วนไหมล่ะ เห็นไหมล่ะ ฟังให้ดี วนไหม เกิดจักขุวิญญาณอีกแล้วซ้อนอยู่ในจักขุวิญญาณอันนั้น ไปอยู่ในจักขุสัมผัสอันนั้น แล้วจักขุวิญญาณอันนั้นแหละ คุณต้องรู้อย่างเร็วด้วย ย้อนกลับไปหา เวทนาอีก จึงเป็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุข คุณก็เป็นพระพรหมเสพอารมณ์ได้เลย เป็นธรรมะแล้ว แต่ไม่ใช่ธรรมะที่เรียกว่า ดวงตาเห็นธรรม

ขณะนี้อธิบายธรรมะที่เกิดจากการรับสัมผัสและรับรู้เฉยๆ ยังไม่ได้ถึงขั้นเรียกว่า ดวงตาเห็นธรรมตามสำนวน ถ้าสำนวนดวงตาเห็นธรรมแล้วหมายความว่า ผู้นั้นรู้แจ้งธรรมชัดเจนว่าได้…จบเทป…การแสดงธรรมมีไว้เพียงเท่านี้ 

ที่มา ที่ไป

150000 จะมีดวงตาเห็นธรรมจนดับอวิชชาได้ด้วยวิธีใด-พ่อท่าน-วัดธาตุทอง

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง ปี 2515 ไม่ทราบวันที่และเวลาเทศน์ 


เวลาบันทึก 16 พฤษภาคม 2567 ( 19:20:13 )

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอน 4)

รายละเอียด

เรามาเริ่มต้น อธิบายความกันหน่อย เรื่องที่คุณพหลตั้งเอาไว้วันนี้ จะพึ่งอะไรดี ที่เราจะบรรยายกัน เป็นชื่อที่ดีที่สุด แล้วก็รู้สึกว่าจะบรรยายกัน ต้องตั้งใจฟังให้มากหน่อย เพราะเหตุว่าถ้าอาตมาจะบรรยายโดยที่เรียกว่า พื้นๆ ธรรมดา มันก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรและมันก็ซ้ำซาก แต่ที่อาตมากำลังจะบรรยายนี้ไม่ใช่เล่นลิ้น แต่ว่าด้วยเป็นถึงความเป็นจริง ไม่ใช่เป็นแต่เพียงภาษาพูดเท่านั้นด้วยนะ 

สงสัยว่าจะต้องมีใครมาคอยหมุนซะแล้วมั้ง (เทป) ไอ้นี่มันหนักพอหนักแล้วไม่ค่อยเดิน ไอ้นี่มันไม่ค่อยดีสงสัยจะต้องไปล้างเครื่อง สายพานจะหย่อนหรืออะไรก็แล้วแต่ 

เรื่องจะพึ่งอะไรดีนี้ ถ้าอาตมาพูดไปเดี๋ยวนี้ บอกว่าจะพึ่งอะไรดีนะ คนจะต้องค้านทันทีเลย ด้วยภาษา ถ้าถามบอว่าจะพึ่งอะไรดี ถามกันโป้งๆ ขนาดนี้ และโดยเฉพาะนักธรรมะที่ได้เรียนธรรมะแล้วมาพูดธรรมะกันนี่ ถ้าเราจะถามกันเปรี้ยงเลยว่า จะพึ่งอะไรดีอาตมาตอบเรื่องเหมือนกันเลย พึ่งอัตตา เพราะถ้าบอกพึ่งอัตตาเท่านั้นบอกว่าคนข้างนอกพูดแล้วคนทั้งหลายที่เราเรียนธรรมะกันโดยเฉพาะเรียนพุทธศาสนาจะต้องหาว่าอาตมาที่พูดนอกพุทธศาสนา 

เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไม่ให้หลงอัตตา ไม่ยึดถืออัตตา แต่อาตมาบอกจะพึ่งและพึ่งยึดถือมันก็อันเดียวกันนั่นแหละ ที่พึ่งสรณะที่ยึดถือก็สรณะ อันเดียวกันนั่นแหละ คืออัตตานั่นแหละ และอาตมาก็ยืนยันว่าเราจะพึ่งอัตตา นี่ไม่ใช่อาตมาเป็นคนพูด ถ้าอาตมาพูดอย่างนี้แล้วก็หาว่าอาตมานี่พูดเอาเอง เพราะฉะนั้นอาตมาจะต้องขอยกบาลีที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสเอาไว้แล้ว และบาลีอันนี้เป็นที่กว้างขวางใครๆ ก็รู้ พูดขึ้นมาก็ อ๋อทันที 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา ชัดไหม ให้พึ่งอัตตา อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา 

นาโถ แปลว่า ที่พึ่ง ที่พึ่งใด ก็อัตตาของเรา อันเป็นส่วนของเรานี่แหละ เป็นที่พึ่งที่ยิ่ง ตัวตนนี่แหละอัตตา ตัวตนของตนนี่แหละ โกหินาโถ ปโรสิยา นอกจากตนแล้วจะพึ่งใครได้ ไม่มี ไม่มีที่พึ่งอื่น นอกเหนืออัตตา หรืออัตตาแปลว่า ตัวกูของกูที่ท่านพุทธทาสว่า หรือตัวตนของตนนี้แหละ เรียกว่าอัตตาแท้ๆ ที่เราพึ่ง พระพุทธเจ้าท่านก็สอนอันนี้ เพราะฉะนั้นทุกคนก็คงจะไม่เถียงแล้ว ก็คงจะชักเอ๊ะอะไรยังไงๆ แล้วนี่ ศาสนานี้กลับไปกลับมาพูดกันยังไง  แล้วก็เป็นจริงอย่างนั้นแล้วก็จะเห็นจริงอย่างนั้นมากขึ้น เมื่ออาตมาจะได้อธิบายเรื่อยๆๆๆ แยกแยะออกไปเป็นระดับๆๆ 

อาตมาจะแยกแยะออกไปเป็นระดับ ที่จะยืนยันคำว่า ทำไมอาตมาว่าจะต้องพึ่งอัตตา หรือพึ่งตัวตนหรือพึ่งตัวกูของกูซะก่อน ก็เพราะเหตุว่า บาลีบทนี้ยืนยันอย่างหนึ่งว่านอกจากยืนยันแล้ว อาตมาเห็นด้วยและคิดด้วยและถูกต้องด้วยไม่ใช่พระพุทธเจ้าท่านพูดแล้วถูก อาตมาก็เห็นด้วยด้วย เพราะอาตมาไม่ได้เชื่อพระพุทธเจ้าทีเดียว อาตมาเชื่อปัญญาของอาตมาด้วย พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนให้เชื่ออะไรดายไปทั้งหมดเลย   ท่านสอนให้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ และเป็นผู้ที่จะต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงาย 

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าบอกว่าแม้แต่คนนี้เป็นครูของเรา ท่านก็อย่าเชื่อ เช่นเดียวกันพระพุทธเจ้าเป็นครูของเราใช่ไหม ก็เท่ากับท่านบอกว่าอย่าเชื่ออาตมานะอย่าเชื่อตถาคตนะ เพราะว่าตถาคตเป็นครูของเราก็เท่ากับว่าอย่าเชื่อตถาคตก็เหมือนกัน แต่จะเชื่อก็ต่อเมื่อเราเองมีเหตุผลเข้าใจลึกซึ้งแทงตลอดถึงเหตุและผลเป็นปัญญาแทงทะลุว่า อ๋อ มันน่าเชื่อถือ และมันเชื่อถือได้ เพราะมันมีความจริงอันแท้จริงอย่างนี้เอง แล้วเราก็เชื่อ นี่เรียกว่าอาตมาเชื่อ อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา เชื่ออันนี้ไม่ได้เชื่อด้วยปากเปล่า ไม่ได้เชื่อเพราะเป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าเท่านั้นด้วย 

และมีเหตุผลใดที่อาตมาเชื่อแล้วจะมาชักจูงให้พวกคุณเชื่อและเห็นตามด้วย แต่ฟังแล้วต้องไปพิสูจน์ถึงเห็นตามและจะเชื่อได้ มีเหตุผลอะไรเพิ่มเติม เหตุผลอันนั้นก็คือว่า ในศาสนาพุทธของเรา เราทุกคนเป็นผู้ที่รู้ดีเป็นผู้ที่เข้าใจดีทีเดียวว่า พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า ผลที่สูงสุดที่เราเองยึดถือ กันทุกวี่ทุกวัน ที่เราใฝ่เอาโดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนของเราท่านเรียกผลนั้นว่า อรหัตตผล 

อรหัตตผลมาจากภาษาบาลีคำว่า… อาตมาเริ่มเขียนเท่านี้ก็ชักจะอ๋อกันหน่อยแล้วมีอัตตาเข้ามาตัวหนึ่งแล้ว อรหะ วันนี้มาจากบาลีต้นรากศัพท์ว่า อรหะ หรือ อรหัง นี่แหละที่เราเคยสวดกันนี่แหละ ผสมกัน หรือว่าสนธิกันกับคำว่า อัตตา ก็เป็น อรหัตตะ และเราไม่เรียก อรหัตตะ ก็มีตัวต่อกันไปและเราไม่เรียกคำว่า อรหัตตา พอมีตัวต่อไปมีคำว่าผลต่อด้วยบางทีก็เรียกว่า อรหัตตผล หรือ      อรหัตตมรรค 

ผลสูงสุดที่ทางพุทธศาสนาของเราต้องการและกำลังใฝ่หากันอยู่ พระพุทธศาสนิกชนต้องการก็คือ ผลของอัตตา ที่เราเรียกว่า อัตตาอย่าง อรหะ นี่คือผลที่เราต้องการ แม้แต่อรหัตตมรรคมันก็ยังเป็นทาง สูงสุดไปถึงอรหัตตมรรคเราก็ยังต้องการบอกว่าเป็นของดิบของดีอย่างยิ่ง ทวี อรหัตตผลมันก็ยิ่งสูง ถ้า อรหัตผลสูงขึ้นไปอีกเป็นที่สุด  

ถ้าเผื่อว่าอรหัตตผลมันมากๆ เข้ เราสั่งสมอัตตา ที่เรียกว่า อรหะ ให้มากเป็นที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุด หรือแปลว่า ปลาย เพราะฉะนั้นเมื่อได้ครบอรหัตตผลรวมยอดให้เป็นที่สุดแห่งที่สุดแล้ว ท่านเรียกคนผู้นั้นว่า บรรลุอรหันต์ ได้สั่งสมผลของความเป็นอัตตาที่เป็นอรหันต์ครบหมดแล้ว  ก็เรียกว่า       อรหัตตผล เท่ากับเราสั่งสม อัตตานั่นเองใส่เข้าไปเรื่อยๆ 

แน่ใจขึ้นไปอีกนิดนึงล่ะนะที่อาตมาตอบว่า จะพึ่งอะไรดีเราก็เพิ่งอัตตานั่นเอง พึ่งตัวตนนั้นเอง หรือพึ่งรูปร่างของสิ่งหนึ่งก็ตามแต่ใครจะไปอย่างนั้นก็ตามแต่ อัตตา คือ ร่างของสิ่งสิ่งหนึ่งที่เรากำลังยึดเข้าไว้หรือสั่งสมเข้าไว้หรือสร้างเข้าไว้ 

ทีนี้ อัตตาตัวนี้ อาตมาก็ยืนยันด้วยภาษาบาลีว่า อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหิ

นาโถ ปโรสิยา พระพุทธเจ้าท่านก็ยืนยันด้วยบาลีนี้แหละว่า ตนเองนั่นแหละ ตนเองหรือ อัตตานั่นแหละ เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุด นอกจากตนหรือนอกจากอัตตานั่นแล้ว นอกจากอัตตาตัวตนของตนนั่นแล้วก็ไม่มีสิ่งอื่นที่จะดีเหนือกว่า หรือไม่ใช่ที่พึ่งที่ดี 

ที่นี้เพิ่มขึ้นมาเมื่อเรารู้แล้วว่าอัตตา มันคือ ตัวตน อรหะ คืออะไรล่ะ อัตตา คือตัวตนที่เราสร้างขึ้นมา หรือ เป็นสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเราเองเราเรียกว่าอัตตา แปลเป็นภาษาคนก็คือ  อัตตาธรรมดา หรือพระพุทธทาส ก็แปลว่า ตัวกูของกู หรือว่าตัวตน การเป็นตัวเป็นตนการยึดถือตัวยึดถือตนนี้แหละ 

อรหะนั้น โดยภาษามาแปลเป็นภาษาไทยว่า ความเหมาะสม อรหะ แปลว่า ความเหมาะสม หรือ ความเป็นไปอย่างควร ความเป็นไปอย่างพอเหมาะพอเจาะแล้วแต่ จะขยายความไปอีกได้แยะ อรหะ นี่ 

คือ ความเป็นไปอย่างเหมาะเจาะ หรือ ความเป็นไปอย่างสมอย่างควรทีเดียวเรียกว่า อรหะ

ทีนี้คำว่า อรหะ คำนี้ภาษามันกลายตัวอรหะ หรืออรหัง แปลว่า หมดกิเลสหรือใครก็คงได้ยินว่าแปลว่า  หมดกิเลส ก็จริงอยู่ถ้าผู้รู้กิเลสแล้วท่านก็เป็นไปโดยเหมาะโดยควร โดยไม่จำเป็นต้องให้กิเลสมาเกี่ยวข้อง ก็หมดกิเลสเหมือนกันแล้วท่านก็เป็นอยู่โดยเหมาะโดยควรอย่างนั้น โดยสมควรอย่างนั้น ไม่มีกิเลส สิ่งที่เรียกว่า กิเลสเพราะท่านรู้ซะแล้วว่ากิเลสคืออะไร กิเลสคือตัวทำทุกข์และท่านรู้ซะแล้วว่าทุกข์นั้น  มันเกิดด้วยกิเลสตัวขนาดไหนขนาดไหน จะปล่อยให้มันเกิดขนาดไหนมันทุกข์มากทุกข์น้อยขนาดไหน พระอรหันต์ท่านเป็นผู้รู้ แล้วท่านก็ปล่อยให้มันเกิดอย่างไม่เป็นทุกข์ตามควรตามเหมาะที่สุดในโลก อันสมมุติอยู่ 

หมายความว่า พระอรหันต์ คือผู้ที่ยังไม่ตาย เมื่อยังไม่ตายเราก็จะต้องมีการปรุงแต่ง เราจะต้องมีสังขาร อย่างน้อยที่สุด กายสังขารของเราก็ยังเหลืออยู่ กายสังขารเหลือแล้วเราก็ยังจะต้องมี วจีสังขารที่จะต้องเราจะสร้างขึ้น อริยาบทต่างๆ ก็เป็นสังขาร มโนสังขารก็เป็นสังขาร ที่เราจะปรุงจะแต่งอยู่ในโลกนี้เหมือนกัน 

พระอรหันต์จะเป็นผู้รู้เองว่า จะทำกายสังขารให้อยู่อย่างไร ในขณะใด 

กาละใด เทศะใด มันจึงจะเป็นสุขที่สุด หรือเป็นประโยชน์ถูกต้องที่สุด แล้วก็สังขารที่จะเป็นวจี คือพูดปรุงแต่งออกมาเป็นภาษาคำพูดออกมา แค่ใดๆ มันจึงจะเป็นประโยชน์ตนประโยชน์ท่านสูงที่สุด ดีที่สุด  หรือแม้แต่ที่สุด มโนสังขารขนาดใดที่ท่านจะปรุงแต่งออกมา ได้ประโยชน์สูงที่สุดเกื้อกูลโลก เป็นประโยชน์ท่านประโยชน์ตนดีที่สุด ทุกคนก็คงจะเคยได้ยินมาเรื่องประโยชน์ตนประโยชน์ท่านนี่ พระพุทธเจ้าท่านยืนยันเหลือเกินว่าคนเราเกิดมาแล้วต้องสร้างประโยชน์ตนสร้างประโยชน์ท่านให้บริบูรณ์พร้อม 

เพราะฉะนั้น พระอรหันต์เป็นผู้รู้ และท่านจะทำทุกทีไปอย่างนั้น ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจคำว่า อรหะ หรือ คำว่าอรหันต์ ให้ดีที่สุดเราจะเข้าใจโดยปาก มันก็เท่านั้นเท่านั้นแหละ มันก็จะได้พอประมาณ แต่เราจะเข้าใจคำว่าอรหะได้ดีที่สุดนั้นไม่ใช่ด้วยปากเท่านั้น มันจะต้องปรุงแต่งให้เกิดที่ตนจริงๆ ให้รู้แจ้งแทงทะลุจริงๆ เลยว่า อ๋อ ความพอดีพอเหมาะพอสมที่ถูก รู้เองโดยตนเองเป็นผู้รู้ผู้เห็น คนอื่นเข้าใจด้วยไม่พอ แต่ถ้าขนาด อรหะ หรือ อรหันต์ด้วยกันจะรู้ด้วยกันพอได้เพราะมันตัวเท่ากันแล้วนี่มันก็เทียบเคียงกันได้ แต่ถ้าผู้นั้นไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันนะมันจึงเทียบเคียงกันไม่ได้ไล่กันไม่ถูก ด้วยเหตุนี้เอง 

ท่านถึงตรัสไว้ว่า อรหันต์ย่อมรู้อรหันต์ด้วยกัน ไม่มีผิดตรงไหนเลยเพราะมีของเท่ากันมาเทียบเคียงแล้ว เพราะฉะนั้นสบายมาก แต่ถ้าไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันแล้ว ก็เทียบเคียงไม่ค่อยลงตัวหรอกว่า อรหันต์นั้นที่เรียกว่า เป็นความพอดี พอเหมาะ พอสมพอควร ก็จึงไม่พอดี ไม่พอเหมาะ พอสมพอควร 

ความพอเหมาะพอสมควรนี้ หรือใช้แต่ภาษาเท่านั้น โดยสภาวะอาตมาบอกแล้วว่า เราจะต้องไปสร้างเอาเอง ไปทำเอาเองว่ามันจะพอดีพอเหมาะพอสมควรแต่ละขนาดไหน เราจึงจะเรียกว่า พอเหมาะพอควร จนทิ้งโลกได้ทิ้งสิ่งที่มันปรุงแต่งเป็นโลกียะ ทิ้งเอาไว้ในโลกียะ อะไรเรียกว่าโลกียะ  อะไรที่มันปรุงแต่งรวมตัวลงมา เรียกว่ายังติดข้องอยู่ในโลก ไอ้สิ่งเหล่านั้นเราจะต้องไปเรียนรู้โลก  เมื่อเรียนรู้โลกแล้ว แล้วเราก็ไม่ติดไม่ข้องในโลกเหล่านี้เราไม่สร้าง ไม่สร้างโลก อรหันต์ไม่สร้างโลก สิ่งใดที่มันจะเป็นโลกไม่สร้างด้วย ไม่เอา ไม่ปรุงไม่แต่งไม่หนักไม่หนาด้วย แต่สิ่งใดที่จะสงเคราะห์โลกก็ยังพอทำบ้าง ฟังให้ดีนะคำนี้ อย่าไปเป็นคนพาซื่อกันเกินไป สิ่งใดที่จะสร้างโลกพระอรหันต์ไม่ทำไม่สร้าง แต่สิ่งใดจะสงเคราะห์โลก หรือ เกื้อกูลโลก พระอรหันต์จะทำบ้าง 

แต่ถึงแม้ท่านทำบ้างท่านก็ไม่ยึดไม่ติดด้วย ท่านสักแต่ว่าทำแต่ท่านทำบ้าง ฟังให้ดีนะประโยคนี้มันจะกินตัวเข้าไป ถ้าเข้าใจไม่พอแล้วประเดี๋ยวก็มันจะไปชนกันหมด เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จะทำอะไรทุกอย่างจึงใช้วิจารณญาณ หรือ ใช้ความพิจารณาของตนเองเสมอๆ ด้วยปัญญา พิจารณาตนเองเสมอด้วยปัญญาว่า อันนี้เหมาะควรว่าดีไหมจะสงเคราะห์โลกสงเคราะห์ตนได้พอเหมาะพอเจาะไหม เอาล่ะพอดีพอเหมาะท่านก็ทำ ถ้าเผื่อว่ากว่านี้ไหวไหม แหม..กว่านี้ไม่ไหวแล้วไม่ดีมันจะเอนเอียงไปข้างโลกมากไปจนกระทั่งเดี๋ยวเกิดเป็นตัวตนโลกหนักเกินไป ท่านไม่ทำ หรือบางทีก็เป็นทุกข์ให้ตัวเองนั่นแหละมากเกินไป ท่านก็ไม่ทำเหมือนกัน อย่างนี้ 

ก็มีขนาดอยู่ก็มีขนาดจำนวนมีความหนัก มีความเบาไม่เท่ากันกับพระอรหันต์สมัยพระพุทธเจ้า ไม่เท่ากันหรอก เพราะโลกมันไม่เหมือนกันแล้ว มันหนาแน่นไปด้วยกิเลสก็ไม่เหมือนกัน โลกมันเต็มไปด้วยไอ้โน่นยึดไอ้นี่ดึงก็ไม่เท่ากัน รูปก็ไม่เท่ากันนามก็ไม่เท่ากัน ในสมัยโน้นกับสมัยนี้ รูปที่เป็นสมมุติในโลกก็ไม่เท่ากัน นามที่สมมุติอยู่ในโลกนี้ก็ไม่เท่ากัน 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์นั้นจึงยอมอนุโลมตามสมมุติโลกจำนวนไม่เท่ากัน ขนาดไม่เท่ากัน เบาว่างก็ไม่เท่ากันนัก ถ้าพระพุทธเจ้ามาเกิดสมัยนี้ พระพุทธเจ้าก็คงไม่สอนคนเหมือนกัน อาตมาว่านะไม่สอนหรอก มันหนักหนาเหลือเกินนักหนาจริงๆ พุทธเจ้าจะมานั่งสอนว่าอ้าวนั่งอาสนะเดียวแล้วให้บรรลุเหมือนพระยสเหมือนพระปัญจวัคคีย์ไม่ได้หรอก อาตมาว่าไม่สำเร็จหรอก คนสมัยนี้มานั่งสอนอย่างนั้นไม่ได้หรอกไม่ได้จริงๆ อาตมาเชื่ออย่างนั้นเลย 

ถนนพระพุทธเจ้าถ้าเกิดสมัยนี้พระพุทธเจ้าไม่สอนหรอก จะกลายเป็นภาพปัจเจกพุทธะไปเลยไม่สอน แต่ทีนี้ต้องใช้อาศัยคนที่เรียกว่าทน ทนแดดทนฝนทนอึดทนไม้ทนปืนทนมีดทนผา ทนทุกอย่างอย่างอาตมานี่ทน ทนเขาว่าศาสตร์กราบยังไงก็ทน ที่จริงก็ไม่ได้ทนหรอกแต่อาศัยภาษาพูดไม่ได้ทนหรอก ไม่ได้เจ็บไม่ได้ปวดอะไรหรอกแต่ว่าต้องทน พูดไปแล้วคนจะว่าอย่างโน้นอย่างนี้ก็ต้องทน แต่แท้จริง อาตมาไ่ม่ได้ทนเขาจะทำมายัง ก็ไม่ได้ทนหรอก เหมือนทนแต่ไม่ได้ทนทีเดียวหรอก 

ทุกสิ่งทุกอย่างจะเกิดตาม กาละ เทศะ เกิดไปตามเวลาเท่านั้น 

ที่นี้ถ้าเราเองยังไม่ถึงได้เอาอรหัตตผลเราจะพึ่งอัตตาตัวนั้นอย่างไรมันถึงจะแจ่ม ถ้าบอกว่าให้ไปพึ่งอรหัตตผล หรือ อัตตาตรงที่เป็น อรหะ สงสัยไม่ได้พึ่งแล้วอัตตาหิอัตโนนาโถเปล่าเสียแล้ว มันจะไม่พึ่งอัตตาหิอัตโนนาโถแล้วเพราะอัตตาไปเล่นถึงขั้น อรหัง อรหันต์ ไม่ไหว

คนเราก็เลยต้องพยายามถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้เป็นผู้ที่อยู่ในวงศาสนาพระพุทธเจ้าท่านก็ให้พึ่ง รองลงมาก็คือ เมื่อพึ่งอรหะไม่ได้ แล้วมาพึ่งอัตตะที่อยู่ในอรหะไม่ได้ ก็ให้พึ่งอัตถะสิฟังให้ดีนะ เมื่ออัตตะตัวนั้น ยังพึ่งไม่ได้ก็ให้พึ่งอัตถะสิ อัตถะตัวนี้หมายถึงว่า แก่นเนื้อหาสาระ หรือสาระหรือพยัญชนะคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอัตถะ ถ้าพูดให้เต็มก็เรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ญาณที่พระพุทธเจ้าท่านได้ถ่ายทอดไว้แล้วเรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ อัตถะตัวนี้ก็มาจากคำว่าอัตตะนี่เอง ภาษามันแปลงรูปเอามาเรียกใกล้เคียงกันแล้วมันเป็นตัวโตขึ้นมาหน่อยท่านก็เลยใช้คำว่าอัตถะก็คือ แก่นแท้เนื้อหานั่นเอง หรือไอ้ตัวตนเนื้อหาธรรมะนั่นเองแต่ไม่ใช่ตัวตน ไปยึดอยู่ที่ใครแต่เป็นเนื้อหาตัวตนอันนี้อยู่ในสภาวะของ บัญญัติ อยู่ในสภาวะของบัญญัติของสิ่งหนึ่งที่ได้กำหนดขึ้นมาแล้วเรียกมันว่าคำพูดก็ตาม เรียกมันว่าเนื้อหาก็ตามแม้เรียกว่าคำพูดเราก็เรียกว่าอัตถะ แม้เรียกว่าเนื้อหาเราก็เรียกว่าอรรถแก่นสารก็เรียกว่าอัตถะ เป็นอัตถประโยชน์หมายความว่าเป็นประโยชน์ที่เป็นแก่นสารจริงๆ 

นี่เราก็พึ่งสิ่งนี้ต่อมา เรียกว่าพึ่งอัตถะซิ เมื่อเราจะพึ่งอัตถะเราก็ศาสนาพุทธเราก็มาเรียนอัตถะของพระพุทธเจ้า มาเรียนภาษาที่พระพุทธเจ้าท่านเทศน์เอาไว้ก็ตาม หรือพระสงฆ์ผู้ที่รู้อัตถะ เนื้อหาสาระของพระพุทธเจ้า จนกระทั่งเราเอาไปประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนรู้ถึงอทะแท้ๆ รู้ถึงสภาวะตัวจริงๆ ก็เอามาถ่ายทอดอัตถะนั้นออกมาเป็นภาษาก็ตาม ก็เหมือนกัน แล้วเราก็มาพึ่งอัตถะนี้ เป็นชั้นรองลงมา 

คำสอนต่างๆ นี้ดังเช่นที่อาตมากำลังพูดอยู่นี้ อธิบายอยู่นี้เรียกว่า อัตถะทั้งสิ้น คือเป็นภาษาเป็นคำพูด และภาษาคำพูดอันนี้ ชักออกมาจากเนื้อหาแก่นแท้หรือแก่นสารของมันแท้ๆ เลยชักออกมา แล้วเอามาโยงใยมาพยายามชี้ให้พวกคุณได้ฟังเพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์ในการฟัง เกิดปัญญาในการฟังจึงเรียกว่า            สุตมยปัญญา เข้าใจจริงๆ ในการฟังให้ได้แน่นอนมากมาย จนกระทั่งคุณเอาไปคิดทบทวนที่บ้านที่ไหนก็ตามแต่เรียกว่า จินตามยปัญญาอีกทีหนึ่ง คิดทบทวนจนกระทั่งรู้เข้าใจซาบซึ้งว่าอ๋ออรรถนี้หนอ ที่ภาษาที่ได้ฟังมานี้หนอ เป็นภาษาที่มันมีเหตุมีผลจริงๆ เป็นของที่ควรที่จะได้เอามาใช้ เป็นของที่ควรจะได้เอามาอบรมตอนเอามาประพฤติปฏิบัติตามจริงหนอ แล้วเราเองก็จะได้เอาอัตถะนี้ไปประพฤติ 

การประพฤติการบำเพ็ญนั้นท่านเรียกว่า พตะ ก็คืออัตตะอีกนั่นแหละฟังให้ดีไม่ได้หนีจากอัตตะไปไหนเลย พตะ คือตัว พ กับ อัตตา พ.พาน สนธิกับความว่าอัตตะ หรือ อัตตา แปลว่าการประพฤติหรือการบำเพ็ญหรือการกระทำ 

ที่นี้เราจะไปประพฤติหรือบำเพ็ญสิ่งอันนั้นเราก็เอาสิ่งอัตตะที่เราได้มาแล้วจากการฟัง มาคิดทบทวนแล้วก็เอามาบำเพ็ญ เอาไปอบรมตนเรียกว่า ภาวนาก็ได้ภาวนาก็อบรมตนให้เกิดอย่างนั้นอย่างนั้นเรียกว่า ภาวนา หรือเรียกว่าเอาไป พต ก็ได้ หรือเอาไปประพฤติไปบำเพ็ญไปกระทำ 

พตะ อันนี้ก็คือเอาไปทำจริงๆ ให้มันเกิดในตัวในตนจึงเรียกว่า พ + อัตตะ ให้มันเป็นตัวตนเกิดมาที่ตัวที่ตนเรียกว่า พ หรือ พตะ อัตถะ สิ่งที่ได้มาตอนที่อาตมายกเหล่าเนื้อหาแก่นแท้ที่ได้มาเป็นภาษาที่พูดออกมาก็ตามพระพุทธเจ้าท่านเรียกว่า ข้อควรเอาไปประพฤติ ได้ยินเป็นภาษามาทบทวนเป็นข้อเป็นหลัก เป็นหลักใจหรือเป็นกฏอันหนึ่ง ที่เราจะเอามาประพฤติตาม นอกจากภาษาที่เรียกว่า อัตถะ นั้นเอามาโน้มน้อมประพฤติแล้วท่านยังเรียกว่า ศีล อีกเหมือนกัน 

ฟังให้ดีนะมันคล้องจองกันหมดธรรมะ นี่มันเรื่องเดียวกันหมดท่านเรียกว่าศีลด้วย ศีลนั่นคือ หลักใจศีลนั้นคือข้อควรประพฤติที่เราได้ฟังได้รับมาจากครูหรือได้รับมาจากอาจารย์ ที่ท่านบอกให้ เช่น ท่านว่าปาณาติปาตาเวรมณี อ้าวพยายามประพฤติละเว้นศัตรูอันที่จะทำตนเองไปเบียดเบียนผู้อื่นเสีย เรียกว่าปาณาติปาตาเวรมณี นี่เป็นศีลหรือเป็นอัตถะเป็นภาษาที่ท่านกล่าวออกมาบอกให้เราประพฤติอย่างนี้ 

ผู้ที่ได้อันนี้ฟังอันนี้มา เรียกว่า ศีลแล้วก็เอาศีลข้อนี้เองมา พตะ มาประพฤติ ผู้ใดได้ศีลข้อนี้มาแล้ว หรือได้หลักใจอันนี้มาแล้วมาเห็นดีเห็นชอบมาคิดทบทวนว่าเออควรจะเอาศีลข้อนี้มาภาวนา แล้วก็เอามาลงมือภาวนาจริงๆ หรือทำให้มันเกิดที่ตนจริงๆ หรือทำให้มันเกิดอัตตาทำให้เกิดผลเป็นอัตตาตัวตน ขึ้นมากับตนกับตัวจริงๆ จนเรียกว่า พตะ ผู้นั้นก็จะได้ความจริงจะได้ตัวตนอันแท้จริงขึ้นมาให้ตัวเองเลยทีเดียว มันก็จะเป็นผลเรียกว่า อรหัตตผลแต่ผลขึ้นมาเรื่อยๆ 

ผู้ใดมีศีลแล้วก็มี พตะ มีการบำเพ็ญจริงๆ เกิดผลจริงๆ ผู้นั้นจะได้เอา       อรหัตตะ จะได้ผลจะได้เอาอรหัตตผล 

แต่ที่นี้ผู้ใดเอาไอ้สิ่งที่ได้มาจริงๆ ที่เขาบอกมาอาจารย์บอกมาครูบอกมา แต่ครูบอกมาอาจารย์บอกมา ทว่า ผู้นั้นประพฤติไม่จริงประพฤติเป็นศีลที่เรียกว่าสักแต่ว่าศีลเฉยๆ ศีลลูบๆ คลำๆ ศีลที่ไม่แท้ศีลที่มีแต่ภาษาศีลที่ไม่มีเนื้อมีตัวไม่มีอัตตาศีลที่ไม่เกิดตัวเกิดตนเลยฟังแต่ภาษาแล้วเอาไปออกแขกออกลิเกอยู่ บางทีก็ไปนั่งฟังพระท่านมาถึงก็ไม่ยังภันเตวิสุงวิสุง รักขนถายะ ที่วัดพระท่านก็ออกลิเกพร้อมเลยขึ้นต้น ปาณาติปาตา เวระมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ กว่าลิเกบทนี้กว่าจะมีบทร้องบทขับจนกว่าจะจบนะ ผู้ที่ไปขอมายังภันเตก็ตาม พอพระท่านสวดท่านขับร้องออกมาเสร็จแล้ว อุบาสกอุบาสิกาศึกษาทั้งหลายก็บอกว่าปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามินี่เรียกว่ารับศีลได้ศีลมา 

เสร็จแล้วได้แล้วศีลมาแล้วจะเป็นศีล 5 ศีล 8 ก็ตาม พอได้ไปแล้ว ก็ถือเอาไว้ทีเดียวแบกเอาไว้ทีเดียวแหมปานาเราก็ถือ อะทินนาเราก็ถือกาเมแล้วก็ถือ มุสาวาทาเวระมณีเราก็ถือ สุราเมระยะมัชชะปะมาก็ถือ บางคนถือไว้ร่าเลยเช้าวันนี้เราทำงานทำบุญวันเกิดนิมนต์พระมาขอศีลแล้วแต่เช้า พอตกบ่ายๆ หน่อยเพื่อนก็บอกว่าเฮ้ยเปิดกาขาวให้ทีสิ ไม่เปิดกาขาวเลย เพื่อนจะเลี้ยงวันเกิดนี่เจ้าภาพก็เปิดกาขาวเข้าให้ เพื่อนก็ดื่มกาขาว บอกว่าพระเจ้าภาพไม่กิน หรือ เจ้าภาพบอกว่ารับศีล เพื่อนก็บอกว่าศีลก็ศีลสิเราก็มาดื่มด้วยกัน เสร็จแล้วก็ดื่มเข้าให้

เสร็จแล้วลิเกบทนั้นก็ผ่านไปผ่านไปเหมือนสายน้ำไหลสุราเมระยะมัชชะปะมา ก็เทลงทะเลเลย  ไม่มีเนื้อไม่มีตัวไม่มีตัวมีตนไม่มีการประพฤติไม่มี พต ไม่เกิดตัวเกิดตน พ + อัตตะ ไม่เกิด เรียกว่พระก็ได้ เราจะทำตัวให้เป็นพระก็ได้เราจะทำตนให้เป็นพระไม่เกิด พระอันนี้ไม่เกิดเพราะไม่มีโพไม่มีโพธิ พ. พานนี้สำคัญไม่เป็นพระเพราะไม่มีโพธิ โพธิ คือ ความรู้หรือปัญญา เมื่อไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาเพราะตัวเองไม่ได้ปฏิบัติก็จึงไม่ได้เกิดความรู้ไม่ได้เกิดปัญญา 

โพธิสัตว์ หรือ โพธิสัตโต หลวงพ่อเณรโพธิสัตโต คำว่าโพธิสัตโตก็มาจากคำว่า โพธิ บวก สัตตะ สัตตะ คือ ส + อตต

สัตว์โต สัตว์ รากศัพท์มันมาจากคำว่า สัตตะ ถึงแม้ตอนนี้ภาษาบาลี สัตตะก็แปลว่า สัตว์โลกอยู่เหมือนกัน ใครเรียนภาษาบาลีจะรู้แม้แต่คำว่า สัตว ภาษาบาลีก็ยังเรียกว่า สัตตะ มาจาก ส.เสีย บวกอัตตา แปลว่า สัตว์โลก 

ถ้าสัตว์โลกโดยตรงแล้วจะอธิบายต่อไปไว้ตอนท้ายๆ ก่อน จะเป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังไม่เป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังเป็นขั้นอรหัตตะอยู่ 

โพธิสัตว์คือผู้ที่มีความรู้ผู้ที่จะเป็นโพธิสัตว์ตะได้ต้องเป็นผู้ที่มีอรหัตตะเป็นผู้ที่มีอรหัตผลให้ตัวเองแล้วรู้ แล้วมีความรู้รู้อัตตา  ตัวที่มีความเหมาะสมพอดีแล้วเรียกว่า เป็นผู้ที่มีปัญญาตัวอรหะหรืออรหันต์ หรือ ตัวความพ้นกิเลสรู้จักกิเลส รู้จักความพ้นกิเลสก็นึกว่ารู้จักความเป็นอรหันต์ รู้อรหันต์ ฟังดีๆ นะอาตมาใช้ภาษาที่พวกคุณเคยได้ยินได้ฟังทุกวัน แต่คุณไม่ได้เข้าใจภาษา อาตมากำลังเอาภาษามาคลี่คลายให้ฟัง เพราะฉะนั้นโพธิสัตตะ หรือ โพธิสัตว์นี่เราเรียกศัพท์ทับไปอีกเรียกว่าพระโพธิสัตว์ คือตัวบุคคลผู้หนึ่งที่มีความรู้มีปัญญาเรียกว่า โพธิ แล้วก็เป็นสัตว์โลกเป็นตัวตนจริงๆ เป็นสัตว์โลกจริงๆ 

แล้วก็เอา อัตตะ ที่เป็นอรหัง อรหัง หมายความว่าสิ่งที่พ้นกิเลส หรือรู้กิเลสและก็รู้การทำตนให้พ้นกิเลสอย่างที่อธิบายมาแล้ว เพราะฉะนั้นรู้ อรหัตตะตัวนี้ก็เอาอรหัตตะตัวนี้มาอธิบายสู่กันฟัง 

ทางมหายานเขานี่ เขาบอกว่าพระโพธิสัตว์นี่ เป็นผู้ที่ไม่บรรลุอรหันต์ก็จริงก็ได้เหมือนกัน เขาจะเป็นผู้ที่มีแต่อรหัตตผลเรื่อยไปแล้วก็เป็นโพธิสัตตะเรื่อยไปเขาจะไม่ยอมเกิดยอมสูญ เขาจะไม่ยอมเป็นอรหันต์ คือเขาจะไม่ยอมมีที่ปลายเขาจะไม่ยอมมีที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุดเขาจะไม่ยอมที่สุดเขาจะเกิดๆ ช่วยคนทั้งโลกนี้จนกระทั่งคนสุดท้ายในโลกนี้เหลืออยู่เขาก็จะช่วยคนสุดท้ายนี่ แหม…รู้สึกว่ามีอธิษฐานจิต หรือว่ามีปณิธานสูงเหลือเกินฝ่ายมหายานจะช่วยคนสุดท้ายซะก่อนในโลก ให้พ้นโอคะสงสาร แล้วตนเองถึงจะช่วยตอนนี้เรียกว่าทางมหายานเขาเอาร้ายกาจถึงขนาดนั้นก็ดีอยู่นะเป็นประเด็นทางที่น่าดูเหมือนกันแต่คิดดูซิมันจะเป็นได้ไหมหรือ มันเป็นไปไม่ได้หรอก มันเป็นแต่เพียงคำพูดอันหนึ่งเท่านั้นเอง ซึ่งเป็นคำยั่วยุ เป็นอุบายโกศลอันหนึ่งยั่วยุให้คน มีความตั้งใจสูง 

การช่วยคนให้พ้นอรหันต์ โดยเอาอรหัตตคุณ หรือเอาอรหัตตผลก็เหมือนกัน เอาหัตถกุล หมายถึงคุณความดีที่รู้ว่าเอารหัสหมายถึงอะไร เป็นเนื้อเป็นตัวเป็นอัตตาขึ้นมาแล้วเอาอรหัตตาคุณ มาเผื่อแผ่มาสอน มันก็ดีผู้ใดมีอรหัตตคุณมีอรหัตตผลแล้ว เอามาแจกจ่าย แต่ถ้าใครเอาเงินเอาทองมาแจกจ่ายเฉยๆ ยังไม่ใช่ชั้นดีหรอก ถ้าใครมีเอาอรหัตคุณเอาอรหัตตผลมาแจกจ่าย เอาอรหัตคุณเอา

อรหัตตผลอันนั้นเราเรียกว่าตัวธรรมะแท้ๆ ล่ะ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำทานโดยเอาอรหัตตคุณ หรือ อรหัตตผลมาจากจ่ายคนนั้นเป็นผู้ที่มีการทำทานชั้นสูงสุด ผู้ที่มีอย่างนั้นพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ ว่าผู้ที่มีธรรมทานผู้นั้นแหละเป็นผู้ที่ชนะโลก เป็นผู้ที่ให้ทานสูงสุดในโลก ที่ท่านเรียกว่า สัพเพทานัง ธัมมะทานังชินาติ ไม่มีทานอันใดที่จะแจกจ่ายหรือการทำให้แก่ผู้อื่นจะได้ผลบุญที่ดีที่สุดสูงที่สุด หรือว่าเป็นการให้ทานที่ชนะเลิศทั้งปวง ทานให้ธรรมทานเป็นธรรที่สูงสุด 

ธรรมะอันนั้นคืออะไรที่ดีที่สุดคือ อรหัตตคุณ หรือ อรหัตผล คือความรู้อรหันต์ หรือเอาตัวตนของอรหันต์มาชี้แจงเอาตัวตนของอรหันต์มาแจกจ่าย และอรหังก็คือสภาวะของกิเลส และสภาวะของการฆ่ากิเลสหรือการทำกิเลสให้พ้นไปเรียกว่าอรหัง เราก็ทำอันนี้ให้ได้รู้ให้ได้แล้วจึงเอามาแจกจ่าย 

ผู้ใดไม่มีเลยไม่มีอรหัตตคุณในตนเลย ไม่มีเอาอรหัตตผลในตนเลยผู้นั้นจะเอาอรหัตตผลเอาอรหัตตคุณมาแจกจ่ายได้ไหม ได้ไหม ลองคิดดูซิ ไม่ได้เราจะเอามาจากไหนตัวเองไม่มีเลยไปเชือดเฉือนมาจากไหน แต่เอาเถอะเมื่อไม่ได้เมื่อไม่มี ท่านก็มีอยู่ในภาษาท่านจดไว้บ้างก็มีท่านลอกไว้บ้างก็มีท่านจำกันไว้บ้างก็มีเป็นภาษาบอกกล่าวกันในหูในอะไร เป็นอัตถะชั้นรอง เรียกว่า อรรถฎีกาอาจารย์ก็ตาม เรียกว่า อาจารย์ท่านรองเขียนลงมาอีกอะไรพวกนี้ เราก็เชื่อ               อรรถฎีกาจารย์ต่อลงมา คำข้อเขียนบอกไว้จดไว้ฎีกา จดบอกฎีกาจดบอกแล้วก็อาจารย์เหล่านั้น ก็เอาคำจดบอกเหล่านี้มากล่าวต่อๆ กันไปก็ได้ประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์มันยังไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงยังไม่ใช่ป้อนออกมาจากตัวเองเลย มีอรหัตตะอยู่ในตัวเลย ไม่ใช่ 

ถ้าผู้ใดมีอรหัตตะอยู่ในตัวเลยจริงๆ ชักออกมาทีไร มันแน่นหนามันรู้สึกว่ามันลวดลายเลยมันออกฤทธิ์ออกเดช มันมีตัวตนดีจริงๆ ถ้าใครเห็นตัวตนอัตตานี้จะเห็นชัดๆ เลยโอ้โหตัวตนนี้ปั้นไม่ง่ายนะ คนที่มีอยู่แล้วจริงๆ เมื่อควักออกมามันจะดิ้นพลาดๆ ออกมาเห็นออกปากเลยมันคอมเพล็ดเลยมันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นตัวเป็นตนเห็นชัดเจน แต่ถ้าคนที่ไม่ก็พูดแต่ภาษาที่ท่องมา เรียกว่า อรรถฎีกา

จารย์ ว่ามา หรือ อาจารย์ของเราบอก ให้เราท่องไว้อย่างนี้นะแล้วเราก็เอาท่องๆๆบอกตาม 

ก็จะได้แค่ภาษาแค่นั้นเราก็ฟังตามๆ กันไปแค่ภาษาท่องๆๆ ภาษาพูด     เรียกว่า ญัติ ภาษาบาลีท่านเรียกว่า ญัต ญ กับ อัตตะ ผสมกัน เรียกว่า ญัตตะ พอเวลามาสวดเอามาใส่กิริยาเพิ่มท่านเรียก ญัตติ ตัว ญัตต หรือ ญัตติ คือตัวตนที่เป็นเรื่องราวเป็นที่จะเข้ารูปเป็นขอบข่ายเอามาพูดกัน ภาษาโลกๆ คำว่า ญัตติ หมายถึงหัวข้อ หรือ อัตตาที่มันรองลงมาอีกทีแล้ว อัตตาตัวที่ค่อยๆ เรื้อลงเหลือแค่ภาษาเหลือแค่สิ่งที่ควรจะเอามาตีแผ่กันออกมาอีกที ไม่ใช่อัตตาตัวต้นตอของอรหะแล้วเป็นญัตติเป็นอัตตาตัวที่เรียกว่า  เกิดมาหลายชาติแล้วไม่ใช่เป็นตัวต้นตระกูลแล้วมันบาง ๆลงมาแล้ว เป็นญัตตะ หรือ ญัตติ เพราะฉะนั้นจะเอา ญัต ตัวนี้มาสวดให้กัน มันก็แค่มาญัติให้แก่กันนี่ภาษาไทยพูดนะ ภาษาบาลีเขาก็พูด ญัติเหมือนกัน จะนึกว่าเป็นปริยัติก็ได้ นี่อาตมาพูดถึงวิวัฒนาการของภาษา 

เพราะฉะนั้นปริยัติก็มาจากตัวเดียวกัน คือ ญัต มาเป็น ปริญัติ             ปริยัติ หมายถึง ญัติตัวเดียวยังไม่โก้ต้องปริเลย ปริ หมายถึง เต็มรอบครบเลย     ปริ คือคำสอนแท้ๆ เลย เอาปริยัติเลย 

ภาษาที่มันยืดยาดออกมาเป็นสมมุติที่เราเองเอามาใช้สภาวะที่มันเกิด เพราะฉะนั้นต้องพยายามตามสภาวะแล้วก็ต้องพยายามตามภาษาที่มันโตมันใหญ่ขึ้นมาด้วย ถ้าเราจะเอาภาษาตัวเก่าอย่าง ย ยักษ์ ยอหญิงมันเพี้ยนขึ้นมามันก็จะซ้ำแซะอยู่เพราะฉะนั้น เขาจึงแยกย้ายจากยยักษ์มาหา ญ หญิง ไปเรื่อยๆ เหมือนกัน ปริยัติเราจึงแปลว่าคำสอนโดยตรงและก็จริงคือศีลนั่นเอง ปริยัติคือศีลหรือเนื้อหาคืออัตถะที่เรา ที่พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเรา พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเราอันใดอันใด อันนั้นเป็นปริยัติ อันนั้นเป็นอัตถะที่เราจะมาประพฤติมาปฏิบัติเอามา พต เอามาประพฤติบำเพ็ญทั้งหมดทั้งมวล นี่เรียกว่าความคลี่คลายของอัตตามันตัวใหญ่มาตั้งแต่อัตตาที่มันเป็นไปอย่าง อรหัต หรืออรหันต์ อรหัตตคุณ​ จนกระทั่งตัวใหญ่มาเป็นอัตถะ 

โตใหญ่นี่หมายถึงตัวใหญ่อย่างโลกมาเป็นอัตถะะ จนกระทั่งมาเป็นผู้ที่มีอัตถะนั้นจริงๆ คือโพธิสัตว์เอามาถ่ายทอดกัน เพื่อที่จะให้เรา พต ให้เราประพฤติ จนกระทั่งภาษาที่พูดนี้มันจางลงจางลงหรือมันโลกโตขึ้น เป็นโลกมากขึ้นมันเป็น ญต หรือญัตติ  มากขึ้นจนเป็นปริยัติก็ตามนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังพระพุทธเจ้าทั้งนั้นมันโตขึ้น มันโตมา ๆ 

ที่นี้อาตมาจะต่อให้หมดไอ้อัตตะทั้งหลายที่เราจะพึ่ง เมื่อเราเองเรา พต เราพยายามที่จะ ประพฤติได้เราะจะประพฤติอย่างไรล่ะ 

เช่น ท่านสอนว่าปาณาติปาตาเวรมณีแต่อย่าฆ่าสัตว์นะ เป็นอัตถะที่ท่านให้มาหรือเป็น พต ที่ท่านให้มาหรือเป็นปริยัติที่ท่านให้มาซึ่งเราเองเราจะเอามา พต หรือเอามาประพฤติเราก็ต้องประพฤติเอามาทำลงไปจริงๆ ให้มันเกิดผลแก่ตัวเรา อย่าง มต นี่เป็นอัตตาอีกตัวหนึ่งแล้วมาจากคำว่า มัด บวก อัตตะ

ให้มันเป็น มต  มตตัวนี้หมายถึงตามสมควรหรือตามพอดี  มต ตัวนี้ มม้า บวกอัตตา หมายความว่าพอดีพอควรหรือเหมาะสม ต้องกำหนดรู้กำหนดทำให้มันพอดี มต หรือ มัตตัญญุตา หรือมัตตัญญู แปลว่าทำให้พอดี 

ที่นี่มาขึ้น มัตตะ อีกตัวนึงก็คือ มตาหรือมต มต คือพคือพออดี มีลักษณะคล้ายอรหะ คือ เป็นตัวอ่นอกว่า 

มต ตัวนี้ก็เป็นอัตตาตัวหนึ่งที่เป็นความเหมาะควรที่เป็นชั้นสำหรับแต่ละบุคคล อย่างบางคนขณะนี้นะ จะให้มาประพฤติอย่างอาตมาทันทีขณะนี้ เงินทองไม่เอาจริงๆ เลยไม่ใช้เงินไม่ใช้ทอง รองเท้าก็ไม่ใส่ มีผ้า 3 ผืน สมบัติอะไรไม่สั่งสม เอาแค่รองเท้าไม่ใส่นี้ก่อน ไม่ไหวเหมือนกัน ก็เรียกว่าไม่ใช่ มต มัน มต ไม่ลงแล้วล่ะ หรือให้มาโกนหัวตอนนี้ก็ยังโกนไม่ได้แล้ว ยังไม่ถึงรอบมันยังไม่ถึงขั้นที่จะต้องโกนหัวได้ก็เรียกว่า มต อันนั้นยังไม่เป็นตัวเป็นตนเหมือนกันยังไม่เป็น อรหะ 

ถ้าอาตมาเรียกว่า ถ้าเป็นตัวของอาตมานะ ขณะนี้ถ้าให้อาตมาเป็นอย่างของพวกคุณนี่อาตมาบอกว่า มันแสนจะง่าย มันเป็น มต มันเป็นชั้นอ่อนมันเป็นชั้นเยาว์ ขณะที่สิ่งที่คนเคร่งๆ อย่างยกตัวอย่างเมื่อกี้ ศีลข้อปาณาติบาตอย่าฆ่าสัตว์นะ พวกคุณก็บอกว่ามันยากแฮะ บางบางทียุงกัดก็ไม่ไหว ต้องตบ งูเข้าบ้านมามันต้องฆ่า ไม่ฆ่าไม่ได้ มันเป็นพิษเป็นโทษเป็นภัยความเหมาะสมของคุณก็ยังยากยังต้องตบยุงเดียวต้องฆ่างู แม้แต่ศีลหรืออัตถะะจะได้รับมาจากพระโพธิสัตว์ใดที่ท่านสอนไว้ว่าอย่าไปฆ่าสัตว์นะ คุณก็ยังทำยากอยู่นั่นเอง เป็น  มต เป็นความเป็นกลางความเหมาะสมความพอดีของคุณคุณทำให้เกิดอัตตาให้ได้ความมัชฌิมาของคุณทำให้เกิดให้ได้ 

จนกระทั่งเกิดความไม่ได้เดือดร้อนไม่ได้ลำบากอะไรเลย ตอนแรกคุณอาจจะต้องเข้มงวดกวดขันกับคุณมากทีเดียวคุณเคร่งครัดมากทีเดียวไม่พยายามเผลอ ถ้ายุงกัดก็ไม่พยายามตบทันทีให้มันตาย ต้องพยายาม แหมมันยาก งูมาไม่ฆ่านี้ยากเหมือนกัน คุณต้องอ่านใจคุณด้วยและระมัดระวังสติคุณด้วย 

มีเพื่อนอาตมาคนนึงแต่ก่อนเขาเจองูไม่ได้เป็นอันขาดต้องฆ่ากัน เจองูที่ไหนต้องฆ่าดะ รู้สึกว่าเป็นศัตรูกันหมดกับงูนี่มันมีพิษมีภัยเหลือเกินบอกว่าไม่ได้หรอกมันอยู่ร่วมโลกกันไม่ได้ จนกระทั่งเดี๋ยวนี้เขาได้ฟังธรรมมาเรื่อยๆ เขาก็สนใจธรรมะเรื่อยมา จนพยายามที่จะถือศีลให้มันบริสุทธิ์ ซึ่งมันเป็นไปเองแหละเขาเข้าใจธรรมะ เขาก็ถือศีลเขาเองแล้วเขาก็พยายามไม่ฆ่าสัตว์จริงๆ 

วันหนึ่งเขาก็เจองูที่บ้านเขา เจองูโอ้โหเขาบอกว่า เขาพยายามมีศีลให้บริสุทธิ์นี่เขากำลังจะประพฤติอัดถาดที่ได้รับมาจากพระโพธิสัตว์บอกไว้ว่าอย่าฆ่าสัตว์นะ เพราะฉะนั้นเขาจะต้องใช้ความพยายามของเขาอย่างที่สุดที่จะทำอัตตา ที่มันเป็น มะ คือ มัตตะให้ได้ จะทำความพอดีให้เกิดแก่ตนให้ได้ให้มันเป็นกลางให้มันไม่เดือดร้อน ให้มันไม่ทุกข์ไม่ทรมาน ให้มันทำทุกอย่างให้มันเป็นทุกข์อย่างไม่สุขไม่ทุกข์ด้วย เขาพอเจอแล้วอารมณ์จิตของตัวแรกของเขาบอกเลยว่า อื้อหือมันอยากจะฆ่าเพราะความเคยชินที่อยากจะฆ่าและนึกเกลียดงูมานาน อยากฆ่าแต่มีสติ ก็บอกว่า เอ๊ะฆ่าไม่ได้ฆ่าแล้วผิดศีล ลำบากแน่ ขนาดนั้นเขาบอกว่าเขาต้องสงบอกสงบใจไปนานเลย ใจมันเต้นเร้าๆ มันเต้นอยู่ในใจว่ามันอยากจะฆ่า  ใครเคยมีสภาวะนั้นอยู่ในตนเองจะเห็นตามเลย เขาบอกว่าต้องสงบอกสงบใจตั้งนานกว่าใจมันจะเป็นกลาง กว่าใจมันจะเป็น มต กว่าจะทำให้ใจเฉยๆ กับมันได้แม้นาน จนกระทั่งใจเขาสงบเลย บอกว่าไม่ได้หรอก ช่างมัน มันจะยังไงก็ช่างมันพอควรมันไม่ก้าวก่ายจนกระทั่งเข้ามาที่นอนเราก็ใช้ได้ มันอยู่ข้างนอกก็ช่างมันเถอะ 

เขาพยายามที่สุด จนกระทั่งเขาเอามาเล่าให้อาตมาฟังว่าเออนี่แหละ เป็น พฤติหรือ พต เป็นการประพฤติบำเพ็ญจริงๆแล้วเขาก็เห็นจิตของเราจริงๆ ว่าแหมมันต้องทน กว่าจิตมันจะสงบลงเป็นกลางได้นานเหมือนกัน แล้วเขาก็ได้ทำจริงๆ ได้ พต จริงๆ หรือได้ประพฤติให้มันเกิดอัตตาตัวนั้นในตนจริงๆ เกิด มต เกิดความเป็นกลางเกิดความเหมาะสมพอดีๆ เพราะงูตัวนั้น มันก็อยู่ของมัน เราก็อยู่ของเรา เราก็อยู่ของเรา เขาเล่าว่างูตัวนั้นมันก็เชื่องเสียด้วยนะ มันแสดงลอยหน้าลอยตาลอยนวลไม่รีบหนีเสียด้วย คล้ายๆ กับมันยิ่งยั่วยิ่งยุ เดี๋ยวฉันก็เอากระบองล่อให้เสียนี่คล้ายๆ อย่างนั้นยิ่งยั่วยิ่งยุเสียด้วย เพราะแต่ก่อนจะไล่งูกับเขาเจอกันไม่ได้หรอก อย่าว่างูมันจะวิ่งหนีเลยเขาไล่ตามเลย ทุกทีๆ เจองูแล้วมันไม่อยู่รอหน้าหรอก ธรรมดาของเขานะ เขาบอกไม่มีงูตัวไหนอยู่รอหน้า ไม่มี พอเจอปั๊บ มันก็วิ่งปั๊บ เขาก็ตามไปฆ่าทันทีเหมือนกัน แต่ตัวนี้ มันไม่เป็นเหมือนงูตัวอื่นก่อนๆที่เคยเจอมาเลย แหม เรียกว่ายั่วยวนอยู่ด้วยนะ เขาบอกว่าไม่เคยเจอทำไมมันเกิดเชื่องขึ้นมาได้ด้วย ก็บอกว่าไม่เคยเจองูแบบนี้ เจองูตัวอื่นต้องไล่ฆ่าทันทีแต่ตัวนี้มันเชื่องได้ 

เขาจึงเห็นธรรมะอีกตัว เห็นอะไรรู้ไหม เห็นเมตตาธรรม เพราะใจเขาเกิด มต ขึ้นมา แต่ก่อนแต่ไรเจองู มีแต่วิ่งหนีแต่เมื่อไม่ฆ่า งูไม่วิ่งหนี เพราะถ้าเราไม่มีจิตจะไปฆ่างูมันก็ไม่กลัว มันก็ไม่วิ่งหนี 

เคยเห็นงูตัวหนึ่งมันไล่จิ้งจกมาในศาลา ศาลาที่อาตมากำลังนั่งฉันอาหาร พอไต่ขึ้นมา อาตมาก็เริ่มบอกเลยบอกคนว่างูขึ้นมาแล้วนะ พอได้ยินว่างูชักกระดุกกระดิกแล้ว แต่ไม่เป็นไรเขาอยู่ฝั่งโน้น ส่วนงูมันขึ้นมาศาลาที่อาตมานั่งฉัน เเล้วมีเพื่อนผู้ชายที่เคยบวชมานานเข้าใจธรรมะสูงพอสมควรนั่งอยู่ด้วย อาตมาก็บอกว่านั่งเฉยๆ อยู่เฉยๆ เป็นกลางให้ทำ มต  ให้ทำใจเป็นกลางเฉยๆ บอกว่าอยู่เฉยๆ นะเดี๋ยวงูมันก็เลื้อยขึ้นมาจริงๆ พอเราวางเฉยจริงๆ ใจทำใจ มต คือ บำเพ็ญ พต ไอ้งูมันก็เลื้อยเฉยขึ้นมาจริงๆ ถ้าเราทำเอะอะรับรองมันไม่ขึ้นมาหรอก เพราะเราไม่เอะอะ มันไม่มีเอฟเฟคทางวิญญาณ จิตมันมีผลสะท้อนมาเลย งูนี่มันรู้ เมื่อไม่มีศัตรูขึ้นมามันก็จะตะกละ ความโลภมันเยอะมันก็ไล่จิ้งจกขึ้นมาเลย คุยกันไปแลกกันมา จิ้งจกปีนขึ้นข้างบนมันก็ไล่ขึ้นข้างบน มันเหมือนกับไม่มีคน มันไล่กันอย่างกลับไม่มีคนเลย ศาลามันผ่านหน้าผ่านตาเฉยเลย ไม่อะไรเลย ยังไม่พอ จิ้งจกกระโดดลงมาข้างล่าง งูก็กระโดดลงมาตาม 

ในศาลาสี่เหลี่ยม ถ้ามานั่งอยู่นี่ คนอื่นๆ นั่งอยู่ตรงนี้งูมันก็ลงมาตรงนี้เลย ไต่เข้าไปเลย ตอนแรกไต่เข้ามาหาคุณ ราเชนก่อน คุณราเชนก็นั่งเฉยนิ่ง เราบอกว่านิ่งๆ ตอนนี้จิ้งจกตัวนั้นวิ่งลงไปในจีวร งูตัวนี้ก็เข้าไปจุ๊บๆ อยู่ข้างๆจีวรท่านนั่งอยู่นี่ เขาก็จะไปตามหาจิ้งจกแล้วประเดี๋ยวมันก็ไต่ลงไปข้างศาลาลงไปเลย จิ้งจกตัวนั้นมันวิ่งจากทาง  คุณอำนาจมาหาราเชนอีกที จิ้งจกตัวนั้นก็รอดตัวไป แล้วมันก็ไปลงไปเลย อย่างนี้เป็นต้น 

นี่แหละคืออำนาจของเมตตาธรรม อำนาจของสิ่งที่เราได้ประพฤติแล้วไม่มีการเบียดเบียนกัน วิญญาณต่อวิญญาณมันสงบ มันไม่มีการที่จะะเข่นฆ่าเขา

เข่นฆ่าเรา แต่ถ้าเรามีอิ๊อะอะไรหน่อย มีผลสะท้อนอะไรขึ้นมาในใจมีค่าลบค่าบวกหมายถึงค่าที่จะฆ่ากันในส่วนใดส่วนหนึ่งขึ้นมาหรือแม้แต่การรังเกียจหรือการกลัวก็ตาม ก็เป็นผลที่จะให้เกิดขึ้นได้ ฉะนั้นในระยะนี้เป็นไปได้อย่างจริงๆ เลย อาตมาเล่า และอยากให้เห็นสภาพนั้นจริงๆ พวกผู้หญิงนั่งอยู่ฝั่งโน้น งูมันก็เปิดเหมือนกัน ทีนี้มันแสดงละครให้ผู้หญิงเหล่านั้นได้ดูได้ด้วย เป็นการแสดงบทบาทของงูกับการแสดง 

 พต พัตตะ คือให้อัตตาเกิดในตัวเรา คือให้มีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นอัตตาเป็นรูปร่างของการวางเฉยอย่างพอเหมาะพอเจาะ ไม่เดือดร้อน พอดีพอดีอย่างสมควร ไอ้นั่นหน้าที่ของเขาจะไล่จิ้งจก เขาก็ไล่ไปเขาไม่ได้มากวนอะไรเขาไม่ได้มากินเรา เขาไม่ได้มาทำอะไรกับเราเลย เราก็อยู่เฉยๆ เขาก็อยู่กับหน้าที่ของเขา เขาไม่เฉยหรอกเขาก็ไล่จิ้งจกไปนี่แหละคือสภาวะของ มต สภาวะ พต บำเพ็ญให้มันเกิดประโยชน์ขึ้นมา นี่อาตมายกศีลข้อแรกขึ้นมาคือศีลข้อปาณาติบาต เราไม่ฆ่ากัน เราไม่เบียดเบียนกัน แล้วคุณธรรมที่มันจะทำให้เกิด มัตตะ ทำอย่างนี้เป็น

กลางอย่างนี้แล้วให้เห็น มันจะเห็นผลกับเราอย่างนี้ ยิ่งเห็นผลอย่างนี้แล้วเพื่อนของอาตมาที่เล่ามาก่อนนั้นก็ดี หรือแม้แต่สภาวะที่อย่างนี้ ที่อาตมามาเล่าให้ฟังก็ดี นี่เป็นอำนาจที่มันจะเกิดผลสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง 

เมื่อเราเห็นผลอย่างนี้ต่อไปเราก็จะไม่กลัวอะไรมันมากมาย งูเราก็ไม่กลัวมันมากมายนี่ หรือสัตว์ที่ร้ายกาจกว่านี้เราก็จะไม่กลัวมันมากมาย ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาพอเห็นหน้ามันถือว่าเป็นศรัตรูเลยฆ่ามันก่อนเลย ไม่ได้ไม่มีการฆ่ากันหรอก ในโลกนี้ จะเป็นสิงห์เป็นเสือเป็นช้างเป็นม้าเป็นวัวเป็นควายเป็นอะไรก็ตามแต่ ถ้าเราไม่มีผลที่จะไปเป็นศัตรูซึ่งกันและกันหรือเป็นภัยซึ่งกันและกันแล้วนะ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดถ้าเข้าใจการบำเพ็ญการทำอัตตา หรือ การพึ่งอัตตา สร้างอัตตาขึ้นมาเป็นที่พึ่ง ถ้าใครเข้าใจได้ อัตตาต่างๆ ที่อาตมากำลังพูดถึงนี้ กำลังอยู่ในขั้นสูงนะเพราะกำลังไต่ออกมาถึงขั้นขนาด อรหันต์ อรหะ  มาจนกระทั่งมาเป็นมัตตะ นี่มันยังสูงอยู่นะ อีกหน่อยมันจะไต่ลงไปกว่านี้อีกเรื่อยๆ เดียวค่อยว่ากันต่อไปนะ อาตมาจะค่อยๆไต่ออกมา จากอัตตาที่เรามาพึ่งนี่ล่ะ เพราะว่าเราจะพึ่งอะไรดี เราก็ต้องพึ่งอัตตาที่เราก่อเข้าให้ตัวนี่แหล่ะ เพราะผู้ที่สูงแล้วเขาก็จะพึ่งอย่างนี้ลงมาเรื่อยๆ พอเรามาพึ่งมัตตะได้คือความเหมาะสมพอดีพอควรตามหน้าที่ตามเวลากาละของแต่ละสัตว์ แต่ละบุคคลแต่ละสิ่งทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพึ่งลงมาเป็นระดับระดับอย่างนั้น เราทำ มัตตะ อันนี้ให้มันสูงขึ้นสูงขึ้น สูงขึ้น ให้มันแก่ขึ้นแก่ขึ้น เรียกว่าให้มันแก่ขึ้นนั่นเองสูงขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือกล้ากล้าขึ้นหรือมากขึ้นก็ตาม เราเรียกการกระทำที่สูงนั้นเป็น อัตตา อีกชนิดหนึ่ง ภาษาบาลีท่านเรียกว่า รต 

รต คือ ร + ต บวกอัตตา รตแปลว่ามากขึ้นหรือแก่ขึ้นจนกระทั่งหรือว่าภาษา รต นี่ถ้าเรามาใช้คำว่า รัตติ รัตติกาลอย่างนี้หมายความว่าเวลาแก่ก็คือหมายถึงกลางคืน รัตติกาล ใครคงจะเคยได้ยินนะ รต แปลว่าสีแดง เขาก็แปล สีแดงหมายความว่าจัด รัตตะ นี่แปลว่าจัดก็ได้ แก่ก็ได้ ให้มันเต็มรอบให้มันมากขึ้นอย่างนี้ เราเรียกว่า รต 

ทำ มต  ให้มันแก่ขึ้นให้มันมากขึ้นหรือให้มันยาว ให้มันติดต่อกันเป็นตัวตนที่โตขึ้นนั่นแหล่ะ รัตตะ เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้น รัตตัญญู เคยได้ยินไหม รัตตัญญู ก็คือผู้มีอายุยืนยาวผู้มีเวลายาวนาน แก่ เรียกว่า รัตตัญญู รัตตัญญูคือผู้แก่ ผู้ที่แก่มากเรียกว่า รัตตัญญู ทำทุกอย่างให้มันแก่ขึ้นอย่างนี้คือให้อัตตามันพอกเพิ่มยาวนานยิ่งยวดมากขึ้น เรียกว่า  รัตตะ เราทำ มต ให้เป็นอัตตาที่สูงขึ้นอย่างนี้เรียกว่า รต

 ตัว รต นี้ถ้ามันแก่ขึ้นแก่ขึ้นจากเมื่อกี้นี้เราวางเฉยได้ อย่างอาการของยกตัวอย่างว่าปาณาติบาตเราไม่ฆ่าสัตว์จนกระทั่งเราไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อกันแบบไม่ฆ่างูอย่างเมื่อกี้แล้วนี่ เราแก่ขึ้นแก่ขึ้นจนกระทั่งเรามีเมตตาธรรมก็สูง แล้วมีการไม่ถือสาหาความกันเลยไม่เกิดความกลัวซึ่งกันและกันจนเห็นผลจริงๆว่า เราเจอเสือเราก็ไม่กลัวเสือ เสือก็ไม่กลัวเราจนกระทั่งต่างคนต่างอยู่ตามหน้าที่ก็ได้  อย่างนั้นเรียกว่า เป็นคุณของอรหัต  เป็นคุณของอรหัตหรือผลของอรหัต เป็นความเหมาะสมพอดีที่สูงขึ้นกว่า มต ขึ้นไปอีกแล้ว เป็นอรหัต เพราะฉะนั้นพระอรหันต์กับเสือไม่ค่อยทำอะไรกัน อรหัตตคุณมันจะเป็นจริงอย่างนี้ 

อรหันต์ที่มีอรหัตตคุณเป็น รต แก่ขึ้นไปจนอรหันต์มันสูงเป็นอรหันต์แล้วกับผลเสือก็ไม่ทำอะไรกัน เพราะบารมีในศีลขั้นปาณาติบาตไม่รบกวนกัน ไม่เบียดเบียนกันไม่ทำกันเลยต่างคนต่างอยู่ รู้หน้าที่รู้การเป็นอยู่สัตว์โลก ย่อมอยู่กันไปตามสัตว์โลก ผู้ที่อยู่คนนี้โหดร้ายตามที่เขาเรียกว่าโหดร้ายเขาว่าเสือโหดร้าย ที่จริงเสือมันก็โหดร้ายกับเหยื่อของมัน มันไม่ได้โหดร้ายกับทั่วๆ ไป เช่นเดียวกันกับงูมันก็โหดร้ายกับจิ้งจกอย่างที่เล่าเมื่อกี้ มันไม่ได้มาโหดร้ายกับเรา แต่ถ้าเรารักจิ้งจกมากนะเราจะตีงู บอกว่างูตัวนี้ไปโหดร้ายกับจิ้งจก แต่มันไม่ได้โหดร้ายหรอกทุกอย่างมันเป็นหน้าที่เป็นกรรมของมัน เป็นสิ่งที่มันจะกระทำต่อหน้าที่ของมันแต่ละหน้าที่เป็นไปตามวาระ  เป็นไปตามกาล เป็นไปตามความสมมุติ ที่มันสมมุติเป็นระยะๆ 

เสือมันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เนื้อเก้ง เนื้อกวาง เนื้ออะไรมันก็จับของมันกินของมันไปตามวาระกรรมของมันมันสร้างบาปสร้างบุญของมันด้วยเรื่องของมัน ถ้าเราสร้างวิบากไปร่วมด้วย ไปห้ามเสือไม่ให้กินหมู หมูเขาจะหามเอาคานไปสอดเสือเขาจะต้องกินเนื้อนะ เอาหญ้าให้กินมันก็ไม่กินหรอกเช่น งูมันจะต้องกินเขียดกินกบ เราจะเอาหญ้า ไปให้งูมันกินมันไม่กินหรอก ไม่ใช่เรื่องของมันเป็นกรรมของมันมันจะต้องเกิดมาเป็นงูมันจะต้องมาล่าจิ้งจกมันต้อง ล่ากบล่าเขียดกิน เรื่องของมันเช่นเดียวกันกับคน เราเกิดมาเป็นคนเราก็จะต้องกิน หรือต้องล่า หรือต้องทำสิ่งที่ควรกระทำ 

พอมาเป็นอัตตาชนิดที่เป็น สต คือ ยึดถือเป็นตัวเป็นตน โตรอบมากกว่าพวกพืชแล้วเรียกว่าเป็นสัตว์เป็นอัตตา   เรียกว่า สต เราทำศัพท์ ให้เพี้ยนเป็น สัตว์​ จะได้ไม่งง สต เอาไปใช้เป็น  7 ชาติถ้าครบ 7 ชาติเกิดมา 7 ชาติเรียกว่าเป็นสัตว์ที่ 7 ตระกูลเรียกว่าเป็นตัวเป็นตนแล้ว สิ่งใดก็ตามแต่ ถ้าเราได้พยายามที่จะปลูกฝัง หรือว่าทบชาติ ทบตระกูลของมัน ให้มันยืนยันตระกูลของมันได้ครบถึง 7 รอบ 7 ช่วง 7 Generation ถ้าใครทำได้ถึงขนาดนั้นนะครบ 7 รอบ ท่านถือว่า สิ่งนี้เรียกมันได้ว่าตระกูลแท้ ถ้าใครเรียนถึงเรื่องเกี่ยวกับทาง สัตวศาสตร์ หรือ ทางชีววิทยาก็คงจะเคยได้ยินมาบ้าง แต่อาตมาไม่ได้เรียนทางชีววิทยามันจะตรงหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ พูดตามภาษาทางพุทธศาสนา ถ้าตรงกันก็แสดงว่าพุทธศาสนานี้สอนไว้ละเอียดลออ และเป็นการรู้ด้วยญานตรงกัน 

พอครบ 7 ชาติแล้วครบ 7 ช่วงแล้ว อันนั้นจะเป็นของแท้ เพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืชเพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืช จากอะไรต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นอะไรต่ออะไรมาจนเป็นสัตว์เซลล์เดียว หลายๆ สัตว์ต่อกันมาจนเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า สัตว์นี่คือมันต่อกันมาจากดินน้ำลมไฟ จากดินน้ำไฟลมวิวัฒนาการมาจนกระทั่งเป็นพืช อย่างที่เรียกว่าเป็นพืชชั้นต่ำ มาเป็นพืชชั้นสูง จากพืชชั้นสูงมานับรอบแปรรูปมาเป็นสัตว์ได้ 

อย่างสัตว์ชนิดหนึ่งเขาเอามาให้อาตมากิน เขาบอกว่าจะเอามาให้ไอโอดีน สัตว์ชนิดนั้น เรียกมันว่าสาหร่ายทะเล สาหร่ายทะเลแล้วเขาก็เอามาให้อาตมาฉันวันนึง อาตมาก็ฉันเข้า อาตมาก็บอกว่า เอ้ย สาหร่ายทะเลมันไม่ใช่พืชแท้แล้ว สาหร่ายทะเลมีเจนเนอเรชั่นทบชาติจะเป็นสัตว์ขึ้นมาหลายช่วงแล้ว อาตมากินแค่นั้นกระทบสัมผัสอาตมาบอกว่าไอ้นี่ไม่ใช่พืช เป็นพืชจริงในภาษาคน เรียกว่ามันยังเป็นพืชอยู่ เพราะมันยังไม่ครบ สต ยังไม่ครบ 7 รอบยังเป็นตัวเป็นตนจะเรียกว่า สัตว์แท้ไม่ได้ ถ้าใครเคยกินสาหร่ายทะเลบ้าง มันเหมือนนะ มันมีคาวนะ 

สาหร่ายทะเลมีคาว มีไอโอดีน คือมีโอโซน ธาตุออกซิเจนอยู่ในตัวมันเต็มแล้ว ออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พอพืชใดที่มีออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พืชนั้นจะกลายตัวกลายสภาพมาเป็นสัตว์มากแล้ว แต่มันยังไม่ร่อนออกจากไอ้ที่ยึดเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นพืชสาหร่ายทะเลนี้อาตมาถึงบอกกินเข้าไปปั๊บ อาตมายืนยันว่าไอ้นี่จะมาเป็นสัตว์แล้ว จะเรียกพืชในภาษาคน ได้  แต่อาตมากิน 2 คำแล้วอาตมาก็ไม่ต่อแล้ว จริงมีไอโอดีนแน่ มีโอโซนมากแน่ ออกซิเจน โอโซน คือแตกตัวมาจากออกซิเจนมาก มันเป็นพ่อเป็นแม่กันมาเกี่ยวโยงกันอยู่ มีธาตุพวกนี้อยู่เยอะจริง ไม่เถียง อาตมาไม่เถียง แต่ว่าถ้าอาตมาจะกินอันนี้มันก็จะใกล้จะเป็นสัตว์แล้วอาตมาเข้าใจอาตมาก็ไม่กินต่ออะไรมากมายล่ะ ที่ฉันอันนี้ เพราะเขายืนยันเป็นพืชแต่อาตมาไม่ได้อธิบายให้ฟังอย่างนั้นหรอก ดีนะคุณกฤษเป็นคนถวายสาหร่ายทะเลอาตมา ไม่มาวันนี้ ถ้ามาจะได้เข้าใจอันนี้ด้วยว่า อาตมายืนยันว่าสาหร่ายทะเลเป็นพืชหรือสัตว์อย่างไร แต่มันยังไม่ครบ 7 Generation ยังไม่ครบ 7 ช่วงเท่านั้นเอง 

คนถามว่า...ถัดมาเป็นพวกปลาดาวอะไรพวกนี้ 

พ่อท่านว่า... คนนี้เรียนชีววิทยามาเข้าใจ คนนี้ให้ความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาอีกว่าไอ้พืชตระกูลสาหร่ายทะเล มันวิวัฒนาการต่อจากนั้นมาจะเป็นปลาดาว จริงปลาดาวรูปร่างใกล้เคียงสาหร่ายทะเลจริงๆ แต่อาตมาไม่ได้สัมผัสแบบนั้นแต่สัมผัสกับอายตนะของอาตมา มันบอกเลยว่าไอ้ลื้อ นี่มันเป็นสัตว์แล้วนี่หว่า มันยังไม่ใช่พืชอย่างที่เขาเรียกหรอก แต่มันเป็นสัตว์ที่ปักหลักอยู่กับที่เท่านั้นเอง 

ที่นี้อาตมาอธิบายถึง สต ที่มันเกิด 7 ชาติ 7 ช่วง 7 ระดับ 7 Generation เพราะฉะนั้น ถ้าใครเข้าใจจะเข้าใจต่อได้ สต เป็นสัตว์ที่แยกตระกูลจากพืชแล้วคือพวกที่ได้พบชีวิตขึ้นมา 7 ช่วงขาดลอย ตัดโคตรภูมิมาเป็นสัตว์เลยแล้วเราก็เรียกอันนี้แยกมาเป็น สัตว์หรือสัตตะ นามบาลีก็เรียกยืนยันเป็นสัตว์เหมือนกันมันก็ออกมา 

ทีนี้เมื่อผู้ใด เมื่อผู้ใดได้พยายามที่จะมาหลงมาเห็นว่าตัวเองเป็นสัตว์ มีปัญญาเท่าสัตว์แล้ว สัตว์เหล่านั้นมันก็จะยึดอัตตาตามช่วงของมัน อย่างสัตว์สาหร่ายทะเลมันจะกิน มันก็จะกินอัตตาในช่วงที่เป็นหน้าที่ของมันโดยตรง มันก็จะกินธาตุที่เกี่ยวโยงใกล้เคียงกัน พอมันมาเป็นปลาดาวอย่างที่คุณนี้ว่า เราถือว่าเป็นสัตว์แท้แล้ว ตัดโคตรแล้ว ตัดโคตรภูแล้วออกมาเป็นสัตว์แท้แล้วพอมาเป็นปลาดาวมันก็จะกินอาหารที่ใกล้เคียงกับการเป็นสัตว์มันก็คงจะกินสาหร่ายทะเลนี่แหละ

โยมว่า...มันกินแพลงตอน

พ่อท่านว่า... นั่นก็เป็นสัตว์อีกตระกูลหนึ่งที่มันแยกตัวออกมาอีกอันนึง เอาล่ะเราจะไม่พูดมาก เพราะเราจะไม่ได้มาเรียนวิชาชีววิทยากัน แต่เราจะมาเรียนธรรมะ แต่นั่นแหละ ชีวะ ชีวิตคนเราก็เกิดมาจากชีวิตนี้แหละ เราเรียนชีววิทยาจะเข้าใจอันนี้มาก แต่อาตมาเองไม่ได้ไปรื้อเรื่องพวกนี้มากนักแต่มันรู้ได้ด้วยพุทธศาสตร์จริงๆ ที่อธิบายให้ฟังด้วยเหตุผลเหล่านี้ 

เพราะฉะนั้น ภาษามันบอกเลย ถึงได้ระลึกเรื่องเก่าๆ ได้เพราะฉะนั้น สต 7 ตระกูลนี้มันก็ออกมาอย่างนี้ ปลาดาวมันจะกินแพลงตอนบ้าง สาหร่ายทะเลบ้างก็แล้วแต่มันก็จะกินอยู่ในเจนเนอเรชั่นใกล้ๆ ของมัน มันจะกินอยู่ใน Generation หรือ ว่ากินอยู่ในรอบของตระกูลที่มันใกล้ๆ เคียงๆ กัน มันไม่ไปกินเกินขนาดนั้น เป็นหน้าที่ของมัน

เพราะฉะนั้นสัตว์มันก็กินสัตว์ ต้นไม้มันก็กินสิ่งที่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟที่มันใกล้เคียงกัน ถ้าต้นไม้ที่มันโตขึ้นไปมากมันก็จะกินประเภทที่เป็นน้ำมากกว่า ต้นไม้บางชนิดไม่ค่อยกินน้ำเท่าไหร่ แต่กินดิน กินลมมาก เพราะฉะนั้นต้นไม้บางชนิดโตขึ้นมาแล้วก็มากินน้ำมากขึ้นอย่างนี้เป็นต้น พอกินน้ำมากบางประเภทโตขึ้นมาเป็น พืชที่มันโตใหญ่ขึ้นมาจนกระทั่งมันจะกลายเป็นสัตว์อีกชั้นหนึ่งแล้วอย่างนี้เป็นต้น นี่ความรู้สึกในตัวมันมากแล้ว จนกระทั่งบางทีนะ ลูกของต้นไม้นี้ออกมาเป็นสัตว์ก็ได้เหมือนกัน ใครเคยเห็นแมงหวี่มันเกิดในมะเดื่อบ้าง ไปแกะเอาเถอะในมะเดื่อนี่ แมงหวี่ในลูกมะเดื่อนะ ในเรื่องชีววิทยาจะอธิบายอย่างไรอาตมาก็ยังไม่อยากจะมาพูดนะว่าแมงหวี่มันเกิดในลูกมะเดื่อ อย่างไร จะค่อยๆเป็นสัตว์ที่ต่อเซลล์ต่อทอดกันออกมาอย่างไร อาตมาไม่รู้นะชีววิทยาอธิบายแมงหวี่กับมะเดื่อออกมาอย่างไรอาตมาไม่รู้ 

แต่ว่าถ้าสัตว์พืชกับต้นไม้มันก็มีวิวัฒนาการก้าวหน้าอย่างนี้เรื่อยมาแล้วมันก็จะกิน หรือว่ามันก็จะพยายามที่จะกินสิ่งที่มันอยู่ในช่วงใกล้ๆ กัน 

ที่นี้สัตว์ที่โตขึ้นโตขึ้นโตขึ้นฉลาดขึ้น มันก็จะกินสัตว์ที่ด้อยกว่า สัตว์ที่โตขึ้นมาเรื่อยก็จะกินสัตว์ กินสัตว์ที่ด้อยกว่าเรื่อย เช่นเดียวกันปลาตัวโตก็กินปลาเล็ก ปลาดาวกินแพลงตอน ปลาโตกินปลาเล็ก ปลา  โตขึ้นไปก็กินปลาเล็กต่อลงมาเรื่อยๆ เป็นทอดๆ แบบเดียวกัน 

เจ้าคน ที่นี้มาถึงสัตว์คน ต่อขึ้นมาที่นี้มาถึง สัตว์คนต่อขึ้นมา สัตว์ที่เป็นสัตว์ถึงขั้นเป็นคนแล้ว แต่แรกแต่เริ่มมาจริงๆ ตั้งแต่ชั้นโบราณอาการก็เป็นคนโง่ๆ มีขนยาวรุงรังเหมือนลิงก็กินสัตว์เหมือนกัน คนที่พัฒนามาเป็นคนตอนแรกๆ ก็กินสัตว์ กินสัตว์พอกินสัตว์แล้วเสร็จ ตามเชื้อของตัวเอง ที่จริงไม่ได้กินสัตว์มาทีเดียว สัตว์ในโลกนี้มันกินสัตว์กินพืช กินสัตว์กินพืชสลับมาตามระยะนะ ที่จริงแล้วคนในช่วงแรกจริงๆ เกิดมาเป็นคนนั้นน่ะ ไม่กินสัตว์ฟังให้ดีนะ    เนี่ยอาตมากำลังเล่าถึงเรื่องดึกดำบรรพ์ยิ่งกว่าดวงดาวที่ค้นพบเรื่องยิ่งกว่าใครค้นพบแล้วนะ สัตว์ที่มาเป็นคนตระกูลแรกที่จะตัดช่วงจาก สต 7 ช่วงมาเป็นตระกูลคนจริงๆคนตระกูลแรกที่สุดไม่กินสัตว์ เพราะมาจากลิง ฟังให้ดีนะ คนตระกูลสัตว์พอได้ยินคำว่าลิง คุณจะอ๋อ หรือว่าลิงมันไม่กินสัตว์มันกินพืช พิสูจน์ได้จากอะไร 

พิสูจน์ได้จากฟันของคน ไม่ใช่เป็นฟันที่สำหรับกินสัตว์ เป็นฟันที่ขบเคี้ยวแค่พืช เหมือนควายเหมือนวัว …ลิง คนมาจากลิง คนก็ตระกูลแรกที่ถ่ายทอดมาจากลิงแล้วก็กินพืชจากลิง คนตระกูลแรกที่ถ่ายทอดเรารับหน้ามาเป็นคน เป็นคนดึกดำบรรพ์ชั้นแรกเลยนะไม่กินสัตว์กินแต่ นี่เป็นต้นตระกูลคนอาตมาขอนับต้นตระกูลคนอันนี้ 

อีกต่อมาคนนี่มันก็เห็นว่าพืชมันก็กินได้สัตว์ก็กินได้คือ เป็นกิเลสนั่นเอง ก็คนตระกูลต่อมาเป็นคนป่าตระกูลต่อมาก็มากินสัตว์ ใจโหดเหี้ยมขึ้น มากินสัตว์ คนจึงกินสัตว์ตั้งแต่ที่เขายึดถือมาเลยว่าสัตว์พวกนี้มันโง่กว่าเรา เราฆ่ามันกินได้ เนื้อมันก็กินได้ กินแล้วชีวิตเราก็อยู่ได้ด้วยคนตั้งแต่บัดนั้นที่แปรเปลี่ยนจากต้นตระกูลคนชั้นแรกที่สุดนั้น ก็กลายเป็นยึดถือกินสัตว์เรื่อยมา คนต่อมาจึงสั่งสอนกันว่ากินสัตว์นั้นดีกว่า 

เพราะอะไร เพราะรสชาติของสัตว์มันสูงกว่ากิเลสกามมันมีก็เลยกินสัตว์เรื่อยไป เพราะฉะนั้นสัตว์ใดที่กินสัตว์แล้วนะจะไม่ค่อยกลับไปกินพืช แต่สัตว์ที่กินพืชไม่กินหรอกสัตว์ สัตว์ที่กินพืชเขาไม่กินหรอกสัตว์ แต่สัตว์ใดที่มันหลงเนื้อจะกินพืชยาก เช่นเดียวกันกับหมานี่ หมาตัวไหนที่ติดเนื้อมากแล้วนะ จ้างเลย เอาข้าวเปล่าๆ เอาพืชไปให้มันกิน มันไม่กินหรอก เพราะว่า เพราะกิเลสใน เนื้อมันสูงกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส    ของกามคุณเนื้อมันมีมากกว่าพืช 

เพราะฉะนั้นเรื่องกิเลสที่มันสร้างโลก มันสร้างขึ้นมาแบบนี้ หมู หมาต่างๆ มันติดเนื้อสัตว์แล้วมันจึงไม่ติดพืช ถ้าสัตว์ใดเราพยายามป้อนมันให้ดีนะให้กินแต่ผักพืชมากๆนะ อย่าเอาเนื้อไปล่อมันมากนะ มันจะกินพืชอยู่บ้าง หมานี่ บางตัวเอาพืชไปล่อมันบ้าง มันจะกินมันจะกินพืชบ้าง แล้วมันก็ไม่ตายด้วยนะ ไม่ตายไม่ตายหรอก มันก็จะอิ่มมันก็จะรักษาร่างกายของมันได้เหมือนกัน

 เอาล่ะทีนี้เมื่อโลกนี้ สร้างคนขึ้นมาเป็นสัตว์ สัตว์ตระกูลคน   คนแรกไม่กินสัตว์

แต่กินพืชอย่างอาตมาว่าแล้ว พอตระกูลคนต่อมา หลงใหลในโลกเห็นว่ากินเนื้อสัตว์มี รูป รส กลิ่น เสียง ดีกว่ากินพืชก็หลงติดกินเนื้อสัตว์แล้วก็เลยสั่งสอนกันเป็นแบบถ่ายทอด กลายเป็นคนอำมหิต คนป่าในรุ่นต่อๆ มาก็เลยขว้างเนื้อขว้างสัตว์กินกัน พืชไม่ค่อยกิน แต่ก็กินบ้างพืชเหมือนกันแต่น้อยกว่า คนป่าแต่ก่อนนี้จึงกินสัตว์มากกว่าพืช ล่าสัตว์กินเป็นส่วนใหญ่ เพราะหลง

จนต่อมาคนฉลาดขึ้น ฉลาดขึ้นจนเข้าใจแล้วว่าล่าสัตว์มันยากแท้ ทำไมคน จะต้องกินแต่สัตว์ หรือ ก็เลยกลับมากินพืช ไปกินพืชกินแป้งบ้างสิ ก็เลยเห็นว่าไม่เสียพลังงานไม่เสีย Energy ไปล่าสัตว์มาก แต่ด้วยกิเลสก็ยังติดเนื้อสัตว์อยู่นั่นเองก็เลยกินทั้งพืชกินทั้งสัตว์มันซะเลยคน ฉลาดมากเอาเปรียบ เพราะฉะนั้นคนป่าในช่วงหนึ่งนี่เขาไม่กินพืชเลย กินแต่สัตว์ จนกระทั่งมันมีปัญญามากขึ้นมันรู้จักเอาตัวรอด ก็เลยกลับจากกินแต่สัตว์มาบอกว่ากินพืชซะบ้างได้ไหม แหมมันต่อสู้กับสัตว์หากินยากเหลือเกินก็เลยมากินพืชบ้าง จึงกลายเป็นกินทั้งสัตว์ และพืชเลยเลือกกินเลยทีนี้ เอาล่ะพืชชนิดไหนที่มันมีเนื้อเนียนๆ มีเนื้อน่ากินนะ ฉันอยากกินอันนั้น ใบอันไหนที่มันมีรสชาติดี ฉันจะเลือกกินใบพืชอันนั้น พืชอันใดมีลูกดีกินลูกมันซะเลย พืชอันไหนมันมีหัวมันดี ก็ขุดหัวมันมากินซะเลยนี่คน ยอดไหม คนมันอย่างนี้ 

ทั้งๆ ที่พืชที่กินใบได้กินหัวมันก็ได้ กินต้นมันก็ได้ อย่างผักกาดหัวก็กินหัวมันก็ได้กินใบมันก็ได้แต่ไม่กินไปตัดใบทิ้งหัวมันดีกว่า นี่คนมันเก่งซะอย่างนี้ด้วยกิเลสมันเห็นแก่ตัวมากๆ อัตตามันตัวโตมากขึ้น คนนี้ขี้เอาเปรียบขี่เลือก เลือกจริงๆเลือกมากมายกินตะพึดตะพือ เพราะฉะนั้นแม้แต่พืชก็เลือกไอ้ที่แจ่มๆ ยอดๆ ทั้งนั้นเลย พืชชนิดไหนดอกน่ากินที่สุดฉันจะกินแต่ดอก พืชชนิดไหนลูกน่ากินที่สุดฉันจะกินแต่ลูก พืชชนิดไหนเม็ดน่ากินเอามันแต่เม็ดมากินก็มี นี่บางคน พืชบางชนิดเนื้อมันก็ร่อนทิ้งแล้วเอาไปตากทิ้งเอามันแต่เม็ดมากิน นี่แหละคน ยอดเอาเปรียบโลกทั้งหลายเลย 

บางทีโค่นมันมาทั้งต้นเลยนะ ปลูกกล้วยทั้งต้น ใบกล้วยก็กินได้หยวกกล้วยก็กินได้ ปลูกกล้วย บางที ทิ้งทั้งต้น หยวก ใบ ทิ้งหมดเอาแต่ลูก คิดดูซิ กว่ามันจะโตมา พอได้ลูกแล้ว คนฉลาดตัดต้นทิ้งเลยเอาแต่ลูกกล้วยมากิน นอกนั้นโยนทิ้งไปนี่คนยอดไหม ไม่ได้เห็นแก่อะไรเลยความเห็นแก่ตัวเป็นแบบนี้ แท้จริงเขาก็เป็นชีวิต แต่ว่าชีวิตเขายังไม่ได้ตัดรอบอย่างที่ว่า เขาเองเขาไม่โอดโอยไม่ได้ เพราะฉะนั้นคนเอาเปรียบถึงขนาดนี้แล้วก็กินอย่างนี้ 

คนชั้นต่อมา จึงกินทั้งพืชกินทั้งสัตว์แล้วก็กินสัตว์นี่แหละมาก ฆ่ากันเบียดเบียนกันมาก จนกระทั่งยึดถือจะกินพืชต้องกินยอดของพืชอันไหนดีที่สุดเลือกมากิน จะกินสัตว์กินทั่วไปเลยกินปูกินทั้งหมูกินทั้งหมากินทั้งช้างทั้งม้าเกลี้ยงเนื้อเสือสางมีม้ากินเกลี้ยงเลยเนื้องูก็กิน พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ห้ามขึ้นมาว่าไอ้คนนี่หนาทำไมอำมหิตนักหนา แต่พระพุทธเจ้าจะห้ามทีเดียวสำหรับคนที่อยู่ในรอบที่เขายังติดเนื้อสัตว์ไม่ให้กินทีเดียวไม่ได้ ท่านถึงห้ามบอกว่า 

คนอย่ากินสัตว์เลย 10 ชนิดนี้อย่ากินเลยมันอุบาทก์ เหลือเกินแล้วบอกว่ามันไม่ไหวแล้วนี่มันอำมหิตเหลือเกินเกินขอบเขตเหลือเกินมันเป็นภัยแก่ตัว นี่สำคัญที่สุดเป็นภัยแก่ตัวมาก เพราะฉะนั้นคนอย่าเลยอย่ากินเลยไอ้ที่เป็นภัยทางกายก็คือ 

พระพุทธเจ้าท่านห้าม คนอย่ากินเนื้อสัตว์ 10 ชนิด ฟังให้ดีนะ พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้ห้ามแต่ละไอ้นั่นนะ ท่านห้ามคนทุกคนนะไม่ได้ห้ามแต่พระนะ เดี๋ยวนี้เข้าใจผิดคิดว่า มังสะ  10 นี้ห้ามแต่เฉพาะพระสำหรับคนกินได้ เปล่าไม่ใช่หรอกท่านห้ามคนทุกคนที่เป็นพุทธศาสนิกชนอยากกินเลยมังสะทั้ง 10 เพราะฉะนั้น เพราะเหตุว่ากินแล้วมันเป็นภัย 1. เป็นภัยทางกาย 2. เป็นภัยทางใจ

1. ถ้าใครกินเนื้อคนแล้วจะเป็นภัยทางกายเพราะคนมันยอดถ้าจะไปฆ่าคน ฆ่าคนมากินได้สักคนสองคนคนอื่นก็จะฆ่าตายประเดี๋ยวก็ติดคุกติดตารางได้ไหมติดเนื้อคนเข้าไม่ได้ เพราะฉะนั้นเนื้อคนอย่า 

2. เนื้อหมีอย่านะ สัตว์ร้ายมันจะตะปบเข้าให้ไปกินเนื้อหมีเนื้ออะไรพวกนี้ 

3. เนื้อสิงห์อย่า 

4. เนื้อเสือเสือโคร่งเสือดาวเสือดำต่างๆอย่านะนี่ท่านห้ามไว้หมดนี่เป็นภัยทางกายทั้งสิ้น แม้แต่เนื้องูก็เป็นภัยทางกายเพราะงูมันมีพิษเยอะท่านก็ห้ามไว้อีก 

นอกกว่าเนื้อพวกนี้ แล้วเนื้อคนเนื้อหมีเนื้อสิงห์เนื้อเสือดาวเสือโคร่งเสือดำเสือดาวอะไรเสร็จแล้ว เนื้องูอะไรพวกนี้แล้วเสร็จอีกนะ 

ท่านก็ห้ามต่อไปอีกว่าสิ่งที่ไม่ควรกินเพราะว่าเป็นภัยทางใจก็คือ สัตว์เลี้ยงเช่นสุนัขอย่างนี้ อย่าไปกินมัน เป็นสัตว์เลี้ยง มันเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้กันมันเป็นสัตว์ที่น่าจะเอ็นดูมัน เป็นสัตว์ที่ใช้ประโยชน์ให้แก่ตนก็ได้ เพราะหมาพวกนี้มันอยู่กับคน อย่าไปกินเนื้อมัน ถ้าใจเราไม่กรุณาปราณี แม้กระทั่งสัตว์เลี้ยงที่สัตว์มันอยู่กับคนหมาพวกนี้มันอยู่กับคนแท้ๆ ล่ะก็ คนนั้นก็ไม่มีเมตตาธรรมเลยกินได้แม้กระทั่งเนื้อหมาเลี้ยงหมาขึ้นมาฆ่ากินอีกหมดท่าเลย ท่านถึงบอกว่าอยากกินนะเนื้อหมาอยากกินอย่างนี้เป็นต้น

นี่เรียกว่ามังสะ 10 ท่านห้ามไว้เป็นประตูแรกประตูแรกที่สุด ที่นี้ประตูต่อมาสำหรับคนที่จะทำตนให้สูงยิ่งขึ้นก็คือว่า คนเรามันอยู่ด้วยการเบียดเบียน หรือสัตว์โลกนี้เกิดมาเบียดเบียนทั้งสิ้น อย่างปลาดาวเกิดมาก็มาเบียดเบียนแพลงตอนมาเบียดเบียนสาหร่าย สัตว์โลกอื่นๆ ที่เกิดมาปลาใหญ่ก็เกิดมาเบียดเบียนปลาเล็ก สัตว์ตัวที่มีฤทธิ์มีแรงมากก็เกิดมาเบียดเบียนสัตว์ที่มันมีฤทธิ์มีแรงน้อย เสือก็เกิดมาเบียดเบียนพวกเนื้อเก้งพวกเนื้อกวางต่างๆ อย่างนี้เป็นต้น มัน

เพราะฉะนั้นท่านถึงบอกว่าสัตว์ก็ดีคนที่ดีที่เป็นสัตว์โลกทุกชนิด ถ้าเราจะเบียดเบียนกันแล้วไซร้อย่างนี้ล่ะ มัน มันอยู่ในฐานะที่ใกล้เคียงกันอย่างนี้ 

...เน็ตเสีย

เคยเห็น... ไปติดเนื้อเสือเป็นภัยไปติดเนื้อหมีมันฆ่าเอาได้เป็นภัย เพราะฉะนั้นภัยพวกนี้เราจะไปเบียดเบียนแม้กระทั่งหมานี่ไม่มีใจที่จะกรุณาปราณีมาเลยก็อย่าเบียด ถ้าเราควรจะเบียดเบียน คนเองมีความรู้ถ้าจะเบียดเบียนก็จะเบียดเบียนสิ่งที่ไม่เป็นภัยต่อเราเลย สัตว์ที่เบียดเบียนกันเองเรียกว่าสัตว์ไม่ฉลาด อย่างเสือนี่ไม่ฉลาด อย่างปลาใหญ่กินปลาบางชนิด ปลาบางชนิดกินแพลงตอนนะ แพลงตอนจะฆ่าสัตว์ใหญ่ตัวโตได้ไหมไม่ได้ ไม่ได้ไม่มีโอกาสเลย อย่างปลาวาฬพวกนี้มันเป็นสัตว์ที่ฉลาดที่สุดมันกินแพลงตอนแฮะ ปลาวาฬนี้กินแพลงตอนนะ มันใหญ่ที่สุดเป็นเจ้าปลาแล้วเป็นสัตว์ที่ฉลาดที่สุดแล้วกินแพลงตอนปลอดภัย นี่เป็นต้น 

เพราะฉะนั้นผู้ที่จะเป็นสัตว์ฉลาดที่สุดในโลกต้องเลือกกินอย่างที่ไม่ทำร้าย ช้างมันไม่กินเสือ ไม่กินเก้ง ไม่กินเนื้อไม่กินกวางมันเป็นสัตว์ใหญ่ที่สุดในโลก มันกินหญ้าแฮะ มันกินใบไม้แฮะ พระพุทธเจ้าท่านเห็นชัดหมดเลย ย่าฆ่าช้างไม่ได้ย่าเบียดเบียนสัตว์เช่นช้างไม่ได้ช้างจึงฉลาดที่สุดในจำพวกสัตว์ด้วยกัน 

เพราะฉะนั้นปลาวาฬฉลาดที่สุดในจำพวกปลาไปกินแพลงตอนเพราะมันอยู่ในน้ำ มันกินแพลงตอนกินสาหร่าย แต่ช้างก็กลับไปฉลาดที่สุดคือไปกินหญ้าไปกินพืชผลไม้ต่างๆ อ้อเราเป็นคนเราก็เลิกกินได้นะพืชเราก็กินได้สัตว์เราก็กินได้ พระพุทธเจ้าถึงบอกว่าความฉลาดของคนที่สูงขึ้นกว่านั้น เราอย่าไปพึ่งหรือ เราอย่าไปเบียดเบียนสิ่งที่มันทำร้ายเราเลย ถ้าเราจะกินสัตว์อยู่สัตว์มันมีฤทธิ์มีแรงมันจะกินเราได้มันฆ่าเราได้เหมือนกัน แม้แต่กินเนื้อหมาหมามันกัดเราตายได้เหมือนกันนะ 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าสัตว์เล็กสัตว์ใหญ่เราก็จะไปเบียดเบียนเขาเลยแล้วเราก็ฉลาดยิ่งกว่าช้าง เราฉลาดยิ่งกว่าปลาวาฬ เราก็หารอบหาชีวิตที่ตัดรอบไกลกันที่สุดกินก็แล้วกันก็คือกินพืช คนกินพืชก็แล้วกันจะไม่มีโอกาสเลย พืชจะไม่มีโอกาสมาฆ่าเราหรือจะเป็นภัยแก่เราได้เลย พระพุทธเจ้าจึงเป็นคนอีกตระกูลหนึ่งที่มีความฉลาดสูงที่สุด คนที่ตระกูลกลับที่ไปกินมากินไป เขาเหล่านั้นกินด้วยความหลง และกินด้วยความเลือก เขาเลือกเอาพืชเขาก็จะกินชนิดที่ยอดที่สุด ชนิด ที่กินผลดีกินดอกดีกินหัวดีกินหัว ใบดีกินใบคนกินอย่างโลกกินอย่างกิเลสกินอย่างฟุ่มเฟือยกินอย่างโลกทั้งหลาย สัตว์ดีกินเนื้อสัตว์สัตว์ชนิดไหนไม่ดีไม่กินสัตว์ชนิดไหนกลิ่นเหม็นเขียวไม่กิน สัตว์ชนิดไหนกลิ่น ฉันชอบฉันกินนี่คนทั้งนั้นเพราะฉะนั้นคนพวกนี้หลงในกามหลงใน รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ทั้งนั้นเลย

พระพุทธเจ้าเป็นผู้เห็นแท้ว่า นอกจากเราจะไม่กินสัตว์ที่เป็นพิษภัยกับเราแล้วกินใบไม้ใบหญ้า ก็ไม่เลือกด้วย ผลดี กินแต่ผล ก็ไม่กำหนด ใบดีกินแต่ใบก็ไม่กำหนด หัวมันดีกินแต่หัวก็ไม่กำหนด ถ้าพืชอันใดที่มันกินได้พอเหมาะพอควรเราก็กินพืชนั้น เพราะพืชไม่มีทางมาต่อสู้เราได้แล้วไม่มีทางมาฆ่าเราได้แล้ว ท่านถึงหาความปลอดภัยให้ตัวเองที่สูงที่สุด 

พระพุทธเจ้าจึงพากันกินพืชไม่กินสัตว์ เหตุผลอันนี้รับรองว่าคุณจะไม่ได้ฟังการฟังอธิบายจากที่ไหน เพราะว่าอันนี้เป็นการรู้มาโดยญาณอาตมาเอง เกี่ยวกับญานที่อาตมาเป็นการอธิบายเป็นเหตุเป็นผลให้ฟังมีเหตุมีผลไหมฟังดู มีเหตุมีผลไหม 

มีเหตุมีผลพระพุทธเจ้าท่านเกิดมาเพื่อไม่จองเวรจองกรรมเพื่อไม่สร้างโทษสร้างภัย เพราะฉะนั้นสิ่งใดจะเป็นโทษเป็นภัยท่านหลีกท่านหลบท่านลี้ ท่านหนี เมื่ออยู่รอดได้โดยไม่ฆ่าสัตว์เลย ไม่เป็นภัยต่อกันเลยท่านกินแต่พืช จองเวรจองกรรมกันแต่แค่พืชไม่เป็นไรนี่ มันรอบไกลกันแล้ว สต ที่มันไกลมากแล้วเพราะฉะนั้น  สิ่งที่จะต้องอาศัยกันและกันแม้แต่แร่ธาตุที่จะมากินแร่มาเป็นแร่เองมันก็กินดินน้ำลมไฟที่มันจะแปลงกลายเป็นร่างมันเองได้เหมือนกัน สิ่งต่างๆมันก็กินอาหารมาแปลงร่างเป็นตัวมันเองได้เหมือนกัน 

เพราะฉะนั้นสิ่งใดที่หาความปลอดภัยให้กับตัวเองดีที่สุด สิ่งนั้นแหละฉลาดที่สุด เพราะฉะนั้นปลาวาฬจึงฉลาดมาก ช้างจึงฉลาดมากคนจึงฉลาดมาก คนฉลาดมากที่เอาเปรียบโลกและหาโทษภัยให้แก่ตนเองก็คือ คนที่เลือกกินอย่างมาก ถ้าไปเลือกกินอย่างโง่ที่สุดจนกระทั่งติดเนื้อคนแล้วกินเนื้อคน คนนั้นก็มีภัยเเยะที่สุด หรือคนที่จะต้องไปเลือกของดีๆ มากินหมด เนื้อสัตว์ฉันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เป็ดจะต้องเป็นเป็ดที่เลี้ยงอย่างดีนะ เป็ดจะต้องเป็นเป็ดกะทิ ไก่จะต้องเป็นไก่ตอนอย่างนี้นะพวกนี้เขาเรียกว่าเป็นพวกที่หาเรื่องให้ตัวอย่างมากที่สุด นอกจากเป็นภัยแล้ว สร้างอัตตกิจลมถานุโยค คือสร้างความลำบากเหน็ดเหนื่อยให้แก่ตัว ต้องเลือกกินถ้าไก่ไม่ตอน ไม่กินอ่ะอยากกินเลยเปลืองฟันมันไม่อร่อย เคี้ยวไม่อร่อยฟันมันไม่นุ่ม นี่ติดกามคุณหลงกามคุณ เพราะฉะนั้นพวกนี้หาเรื่องเหน็ดเหนื่อยให้แก่ตัวเอง เพราะฉะนั้นไก่ตอนเขาต้องเลี้ยงมาอย่างดีอ้วนพีนะราคาแพงนะ จะกินไก่ตอนทั้งทีนี่จะกินไก่ธรรมดาตัวนึง 15 บาท กินไก่ตอน 15 บาทตัวหนึ่งไม่ได้ ไก่ตอนตัวหนึ่งราคาเท่าไหร่รู้ไหม 30-50 บาท ใครเคยรู้บ้างไก่ตอนเดี๋ยวนี้บางตัวราคา 60-70 บาท คุณคิดดูซิบางคนไม่เคยได้ยินนะ บางคนไม่เคยรู้เรื่องเลยนะจะตกใจ ไก่ตอนที่เขาแขวนขายไก่มันๆ ตัวละ 60-70 บาทนะไม่ใช่เล่นๆ นะ 

เพราะฉะนั้นคนไหนที่ไปหลงติดใน รูป รส กลิ่น เสียง กามคุณ สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ตาม คนคนนั้นยิ่ง อัตตกิลมถานุโยค คือเป็นผู้ที่หาเรื่องทนทุกข์ทนลำบากให้แก่ตัวเอง กิลมถะ คือความทนทุกข์ความเหน็ดเหนื่อยเพราะฉะนั้นอยากกินไก่นี่จะต้องกินไก่ตอนต้องหาสตางค์สิ แทนที่จะไปซื้อไก่ตัวนึงเหมือนกันนะก็ต้องไปซื้อราคา 60-70 บาทแทนที่จะไปซื้อไก่ที่ตลาดสนามมวยตัวละ 15บาท16 บาท มันสูงกว่ากันมันเหนื่อยกว่ากันเท่าไหร่ 50 60 กับ 15-16 บาท 

เพราะอะไรเพราะไปติดรสในเนื้อมันในรสเหนียวบ้าง เนื้อมันไม่เหนียวบ้าง หรือรสที่มันนิ่มบ้างไม่นิ่ม ในรูปในกลิ่นในเสียงทั้งนั้นไปติดอย่างนี้ นี่เรียกว่าคนฉลาดหรือคนโง่ โง่ที่ไปติดหาเรื่องเหนื่อยให้ตัวเอง

มากมายแท้จริงนะ ถ้าเรารู้ว่าเรามีชีวิตตั้งอยู่เพื่อที่จะเอาธาตุต่างๆ จากสัตว์ก็ตามจากพืชก็ตาม ที่เรียกว่า ธาตุคาร์โบไฮเดรตก็ดี 

โปรตีนก็ดี วิตามิน a b c d ก็ดี หรือแม้แต่ธาตุแห่งความสดชื่น หรือธาตุแห่งชีวิตโปรโตพลาสซัม  อะไรก็แล้วแต่ ธาตุแรกเกลือ อะไรก็ดี เราจะเอามาให้แก่ตน ในพืชก็มี เรื่องอะไรเราจะต้องไปเอาจากสัตว์ แล้วเรื่องอะไรที่จะต้องหนักหนาเหน็ดเหนื่อยจนจะต้องเลือกกินเลือกอยู่จนกระทั่งกินไก่จะต้องกินไก่ตอน กินเป็ดต้องกินเป็ดปักกิ่ง หมูต้องกินหมูขนาดเลือกเอย่างหันนะเลี้ยงมาได้โตขนาดกระดูกกำลังอ่อนๆ นะ โตเกินไปก็ไม่ดีเหนียวเกินเล็กเกินไปก็ไม่ดี ต้องเลือกถึงขนาดนั้นจงใจที่จะต้องฆ่าแกงกันเป็นพิษเป็นภัยถึงขนาดนั้น 

คนหรือนี่เรียกว่าเป็นสัตว์มนุษย์ฉลาดเป็นสัตว์ฉลาด คนฉลาดจริงแล้วจะเอาธาตุคาร์โบไฮเดรตธาตุเกลือธาตุแร่อะไรใส่ให้แก่ร่างกายก็เอาจากสิ่งที่ไม่เป็นภัยให้แก่ตัวเองไม่ดีหรือ เคี้ยวเนื้อสัตว์กับเคี้ยวผัก เคี้ยวอันไหนยากกว่ากัน ลองคำนวณจริงๆ สิ ถ้าเนื้อไม่ต้มเนื้อไม่เปื่อย เคี้ยวเนื้อนี่รับรองอื้อหือ กว่าจะขาด แต่เคี้ยวผักบางอย่างนี่โอ้ยก้อมแก้มนิดหน่อยก็ขาดแล้วเปื่อยแล้วใช่ไหม เพราะฉะนั้นเนื้อบางชนิดต้องเอาไปเคี่ยวนะต้องใช้หม้อสตรีมเลย หม้อความดันให้เนื้อมันเปื่อย บางทีเนื้อวัวอย่างนี้ บางอย่างต้องตุ๋นกันสะน่าดูกว่าจะกินได้ บางอย่างบางอันต้องตุ๋นน่าดูกว่าจะเคี้ยวได้ อย่างนี้เป็นต้น หาเรื่องให้กับตัวเอง ไม่ต้องไปเสียไฟเสียถ่านต้องเสียหม้อตุ๋น ต้องหม้อตุ๋นอย่างชนิดของสวิต ให้มันเสียเปลืองราคาหม้อตุ๋นก็แพงใบหนึ่งเป็นร้อยๆ อะไรอย่างนี้เป็นต้น 

เพราะอะไรต้องเราต้องหาเรื่องถ้าเราไม่ติดในเรื่องพวกนี้เลยเราจะไม่ทุกข์ในการจะต้องไปเสียแรงไปหาเงินซื้อของพวกนี้แล้วก็จะต้องไปติดไปยึดไปหาทุกข์ให้ตัว กินผักกินพืชง่ายๆ ผักสดนี่กินได้ง่ายๆ เยอะไป แล้วก็มีธาตุต่างๆ พวกนี้มีธาตุโปรตีนมีธาตุคาร์โบไฮเดรตมีธาตุวิตามิน a b c ต่างๆ ง่ายที่สุด เราก็กินสิ่งเหล่านั้นให้ง่ายที่สุด (1.35) 

ที่มา ที่ไป

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอน 4) 

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง 15 เมษายน  2515


เวลาบันทึก 22 พฤษภาคม 2567 ( 17:07:37 )

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอน 5)

รายละเอียด

เรามาเริ่มต้น อธิบายความกันหน่อย เรื่องที่คุณพหลตั้งเอาไว้วันนี้ จะพึ่งอะไรดี ที่เราจะบรรยายกัน เป็นชื่อที่ดีที่สุด แล้วก็รู้สึกว่าจะบรรยายกัน ต้องตั้งใจฟังให้มากหน่อย เพราะเหตุว่าถ้าอาตมาจะบรรยายโดยที่เรียกว่า พื้นๆ ธรรมดา มันก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรและมันก็ซ้ำซาก แต่ที่อาตมากำลังจะบรรยายนี้ไม่ใช่เล่นลิ้น แต่ว่าด้วยเป็นถึงความเป็นจริง ไม่ใช่เป็นแต่เพียงภาษาพูดเท่านั้นด้วยนะ 

สงสัยว่าจะต้องมีใครมาคอยหมุนซะแล้วมั้ง (เทป) ไอ้นี่มันหนักพอหนักแล้วไม่ค่อยเดิน ไอ้นี่มันไม่ค่อยดีสงสัยจะต้องไปล้างเครื่อง สายพานจะหย่อนหรืออะไรก็แล้วแต่ 

เรื่องจะพึ่งอะไรดีนี้ ถ้าอาตมาพูดไปเดี๋ยวนี้ บอกว่าจะพึ่งอะไรดีนะ คนจะต้องค้านทันทีเลย ด้วยภาษา ถ้าถามบอว่าจะพึ่งอะไรดี ถามกันโป้งๆ ขนาดนี้ และโดยเฉพาะนักธรรมะที่ได้เรียนธรรมะแล้วมาพูดธรรมะกันนี่ ถ้าเราจะถามกันเปรี้ยงเลยว่า จะพึ่งอะไรดีอาตมาตอบเรื่องเหมือนกันเลย พึ่งอัตตา เพราะถ้าบอกพึ่งอัตตาเท่านั้นบอกว่าคนข้างนอกพูดแล้วคนทั้งหลายที่เราเรียนธรรมะกันโดยเฉพาะเรียนพุทธศาสนาจะต้องหาว่าอาตมาที่พูดนอกพุทธศาสนา 

เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไม่ให้หลงอัตตา ไม่ยึดถืออัตตา แต่อาตมาบอกจะพึ่งและพึ่งยึดถือมันก็อันเดียวกันนั่นแหละ ที่พึ่งสรณะที่ยึดถือก็สรณะ อันเดียวกันนั่นแหละ คืออัตตานั่นแหละ และอาตมาก็ยืนยันว่าเราจะพึ่งอัตตา นี่ไม่ใช่อาตมาเป็นคนพูด ถ้าอาตมาพูดอย่างนี้แล้วก็หาว่าอาตมานี่พูดเอาเอง เพราะฉะนั้นอาตมาจะต้องขอยกบาลีที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสเอาไว้แล้ว และบาลีอันนี้เป็นที่กว้างขวางใครๆ ก็รู้ พูดขึ้นมาก็ อ๋อทันที 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา ชัดไหม ให้พึ่งอัตตา อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา 

นาโถ แปลว่า ที่พึ่ง ที่พึ่งใด ก็อัตตาของเรา อันเป็นส่วนของเรานี่แหละ เป็นที่พึ่งที่ยิ่ง ตัวตนนี่แหละอัตตา ตัวตนของตนนี่แหละ โกหินาโถ ปโรสิยา นอกจากตนแล้วจะพึ่งใครได้ ไม่มี ไม่มีที่พึ่งอื่น นอกเหนืออัตตา หรืออัตตาแปลว่า ตัวกูของกูที่ท่านพุทธทาสว่า หรือตัวตนของตนนี้แหละ เรียกว่าอัตตาแท้ๆ ที่เราพึ่ง พระพุทธเจ้าท่านก็สอนอันนี้ เพราะฉะนั้นทุกคนก็คงจะไม่เถียงแล้ว ก็คงจะชักเอ๊ะอะไรยังไงๆ แล้วนี่ ศาสนานี้กลับไปกลับมาพูดกันยังไง  แล้วก็เป็นจริงอย่างนั้นแล้วก็จะเห็นจริงอย่างนั้นมากขึ้น เมื่ออาตมาจะได้อธิบายเรื่อยๆๆๆ แยกแยะออกไปเป็นระดับๆๆ 

อาตมาจะแยกแยะออกไปเป็นระดับ ที่จะยืนยันคำว่า ทำไมอาตมาว่าจะต้องพึ่งอัตตา หรือพึ่งตัวตนหรือพึ่งตัวกูของกูซะก่อน ก็เพราะเหตุว่า บาลีบทนี้ยืนยันอย่างหนึ่งว่านอกจากยืนยันแล้ว อาตมาเห็นด้วยและคิดด้วยและถูกต้องด้วยไม่ใช่พระพุทธเจ้าท่านพูดแล้วถูก อาตมาก็เห็นด้วยด้วย เพราะอาตมาไม่ได้เชื่อพระพุทธเจ้าทีเดียว อาตมาเชื่อปัญญาของอาตมาด้วย พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนให้เชื่ออะไรดายไปทั้งหมดเลย   ท่านสอนให้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ และเป็นผู้ที่จะต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงาย 

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าบอกว่าแม้แต่คนนี้เป็นครูของเรา ท่านก็อย่าเชื่อ เช่นเดียวกันพระพุทธเจ้าเป็นครูของเราใช่ไหม ก็เท่ากับท่านบอกว่าอย่าเชื่ออาตมานะอย่าเชื่อตถาคตนะ เพราะว่าตถาคตเป็นครูของเราก็เท่ากับว่าอย่าเชื่อตถาคตก็เหมือนกัน แต่จะเชื่อก็ต่อเมื่อเราเองมีเหตุผลเข้าใจลึกซึ้งแทงตลอดถึงเหตุและผลเป็นปัญญาแทงทะลุว่า อ๋อ มันน่าเชื่อถือ และมันเชื่อถือได้ เพราะมันมีความจริงอันแท้จริงอย่างนี้เอง แล้วเราก็เชื่อ นี่เรียกว่าอาตมาเชื่อ อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา เชื่ออันนี้ไม่ได้เชื่อด้วยปากเปล่า ไม่ได้เชื่อเพราะเป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าเท่านั้นด้วย 

และมีเหตุผลใดที่อาตมาเชื่อแล้วจะมาชักจูงให้พวกคุณเชื่อและเห็นตามด้วย แต่ฟังแล้วต้องไปพิสูจน์ถึงเห็นตามและจะเชื่อได้ มีเหตุผลอะไรเพิ่มเติม เหตุผลอันนั้นก็คือว่า ในศาสนาพุทธของเรา เราทุกคนเป็นผู้ที่รู้ดีเป็นผู้ที่เข้าใจดีทีเดียวว่า พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า ผลที่สูงสุดที่เราเองยึดถือ กันทุกวี่ทุกวัน ที่เราใฝ่เอาโดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนของเราท่านเรียกผลนั้นว่า อรหัตตผล 

อรหัตตผลมาจากภาษาบาลีคำว่า… อาตมาเริ่มเขียนเท่านี้ก็ชักจะอ๋อกันหน่อยแล้วมีอัตตาเข้ามาตัวหนึ่งแล้ว อรหะ วันนี้มาจากบาลีต้นรากศัพท์ว่า อรหะ หรือ อรหัง นี่แหละที่เราเคยสวดกันนี่แหละ ผสมกัน หรือว่าสนธิกันกับคำว่า อัตตา ก็เป็น อรหัตตะ และเราไม่เรียก อรหัตตะ ก็มีตัวต่อกันไปและเราไม่เรียกคำว่า อรหัตตา พอมีตัวต่อไปมีคำว่าผลต่อด้วยบางทีก็เรียกว่า อรหัตตผล หรือ      อรหัตตมรรค 

ผลสูงสุดที่ทางพุทธศาสนาของเราต้องการและกำลังใฝ่หากันอยู่ พระพุทธศาสนิกชนต้องการก็คือ ผลของอัตตา ที่เราเรียกว่า อัตตาอย่าง อรหะ นี่คือผลที่เราต้องการ แม้แต่อรหัตตมรรคมันก็ยังเป็นทาง สูงสุดไปถึงอรหัตตมรรคเราก็ยังต้องการบอกว่าเป็นของดิบของดีอย่างยิ่ง ทวี อรหัตตผลมันก็ยิ่งสูง ถ้า อรหัตผลสูงขึ้นไปอีกเป็นที่สุด  

ถ้าเผื่อว่าอรหัตตผลมันมากๆ เข้ เราสั่งสมอัตตา ที่เรียกว่า อรหะ ให้มากเป็นที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุด หรือแปลว่า ปลาย เพราะฉะนั้นเมื่อได้ครบอรหัตตผลรวมยอดให้เป็นที่สุดแห่งที่สุดแล้ว ท่านเรียกคนผู้นั้นว่า บรรลุอรหันต์ ได้สั่งสมผลของความเป็นอัตตาที่เป็นอรหันต์ครบหมดแล้ว  ก็เรียกว่า       อรหัตตผล เท่ากับเราสั่งสม อัตตานั่นเองใส่เข้าไปเรื่อยๆ 

แน่ใจขึ้นไปอีกนิดนึงล่ะนะที่อาตมาตอบว่า จะพึ่งอะไรดีเราก็เพิ่งอัตตานั่นเอง พึ่งตัวตนนั้นเอง หรือพึ่งรูปร่างของสิ่งหนึ่งก็ตามแต่ใครจะไปอย่างนั้นก็ตามแต่ อัตตา คือ ร่างของสิ่งสิ่งหนึ่งที่เรากำลังยึดเข้าไว้หรือสั่งสมเข้าไว้หรือสร้างเข้าไว้ 

ทีนี้ อัตตาตัวนี้ อาตมาก็ยืนยันด้วยภาษาบาลีว่า อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหิ

นาโถ ปโรสิยา พระพุทธเจ้าท่านก็ยืนยันด้วยบาลีนี้แหละว่า ตนเองนั่นแหละ ตนเองหรือ อัตตานั่นแหละ เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุด นอกจากตนหรือนอกจากอัตตานั่นแล้ว นอกจากอัตตาตัวตนของตนนั่นแล้วก็ไม่มีสิ่งอื่นที่จะดีเหนือกว่า หรือไม่ใช่ที่พึ่งที่ดี 

ที่นี้เพิ่มขึ้นมาเมื่อเรารู้แล้วว่าอัตตา มันคือ ตัวตน อรหะ คืออะไรล่ะ อัตตา คือตัวตนที่เราสร้างขึ้นมา หรือ เป็นสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเราเองเราเรียกว่าอัตตา แปลเป็นภาษาคนก็คือ  อัตตาธรรมดา หรือพระพุทธทาส ก็แปลว่า ตัวกูของกู หรือว่าตัวตน การเป็นตัวเป็นตนการยึดถือตัวยึดถือตนนี้แหละ 

อรหะนั้น โดยภาษามาแปลเป็นภาษาไทยว่า ความเหมาะสม อรหะ แปลว่า ความเหมาะสม หรือ ความเป็นไปอย่างควร ความเป็นไปอย่างพอเหมาะพอเจาะแล้วแต่ จะขยายความไปอีกได้แยะ อรหะ นี่ 

คือ ความเป็นไปอย่างเหมาะเจาะ หรือ ความเป็นไปอย่างสมอย่างควรทีเดียวเรียกว่า อรหะ

ทีนี้คำว่า อรหะ คำนี้ภาษามันกลายตัวอรหะ หรืออรหัง แปลว่า หมดกิเลสหรือใครก็คงได้ยินว่าแปลว่า  หมดกิเลส ก็จริงอยู่ถ้าผู้รู้กิเลสแล้วท่านก็เป็นไปโดยเหมาะโดยควร โดยไม่จำเป็นต้องให้กิเลสมาเกี่ยวข้อง ก็หมดกิเลสเหมือนกันแล้วท่านก็เป็นอยู่โดยเหมาะโดยควรอย่างนั้น โดยสมควรอย่างนั้น ไม่มีกิเลส สิ่งที่เรียกว่า กิเลสเพราะท่านรู้ซะแล้วว่ากิเลสคืออะไร กิเลสคือตัวทำทุกข์และท่านรู้ซะแล้วว่าทุกข์นั้น  มันเกิดด้วยกิเลสตัวขนาดไหนขนาดไหน จะปล่อยให้มันเกิดขนาดไหนมันทุกข์มากทุกข์น้อยขนาดไหน พระอรหันต์ท่านเป็นผู้รู้ แล้วท่านก็ปล่อยให้มันเกิดอย่างไม่เป็นทุกข์ตามควรตามเหมาะที่สุดในโลก อันสมมุติอยู่ 

หมายความว่า พระอรหันต์ คือผู้ที่ยังไม่ตาย เมื่อยังไม่ตายเราก็จะต้องมีการปรุงแต่ง เราจะต้องมีสังขาร อย่างน้อยที่สุด กายสังขารของเราก็ยังเหลืออยู่ กายสังขารเหลือแล้วเราก็ยังจะต้องมี วจีสังขารที่จะต้องเราจะสร้างขึ้น อริยาบทต่างๆ ก็เป็นสังขาร มโนสังขารก็เป็นสังขาร ที่เราจะปรุงจะแต่งอยู่ในโลกนี้เหมือนกัน 

พระอรหันต์จะเป็นผู้รู้เองว่า จะทำกายสังขารให้อยู่อย่างไร ในขณะใด 

กาละใด เทศะใด มันจึงจะเป็นสุขที่สุด หรือเป็นประโยชน์ถูกต้องที่สุด แล้วก็สังขารที่จะเป็นวจี คือพูดปรุงแต่งออกมาเป็นภาษาคำพูดออกมา แค่ใดๆ มันจึงจะเป็นประโยชน์ตนประโยชน์ท่านสูงที่สุด ดีที่สุด  หรือแม้แต่ที่สุด มโนสังขารขนาดใดที่ท่านจะปรุงแต่งออกมา ได้ประโยชน์สูงที่สุดเกื้อกูลโลก เป็นประโยชน์ท่านประโยชน์ตนดีที่สุด ทุกคนก็คงจะเคยได้ยินมาเรื่องประโยชน์ตนประโยชน์ท่านนี่ พระพุทธเจ้าท่านยืนยันเหลือเกินว่าคนเราเกิดมาแล้วต้องสร้างประโยชน์ตนสร้างประโยชน์ท่านให้บริบูรณ์พร้อม 

เพราะฉะนั้น พระอรหันต์เป็นผู้รู้ และท่านจะทำทุกทีไปอย่างนั้น ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจคำว่า อรหะ หรือ คำว่าอรหันต์ ให้ดีที่สุดเราจะเข้าใจโดยปาก มันก็เท่านั้นเท่านั้นแหละ มันก็จะได้พอประมาณ แต่เราจะเข้าใจคำว่าอรหะได้ดีที่สุดนั้นไม่ใช่ด้วยปากเท่านั้น มันจะต้องปรุงแต่งให้เกิดที่ตนจริงๆ ให้รู้แจ้งแทงทะลุจริงๆ เลยว่า อ๋อ ความพอดีพอเหมาะพอสมที่ถูก รู้เองโดยตนเองเป็นผู้รู้ผู้เห็น คนอื่นเข้าใจด้วยไม่พอ แต่ถ้าขนาด อรหะ หรือ อรหันต์ด้วยกันจะรู้ด้วยกันพอได้เพราะมันตัวเท่ากันแล้วนี่มันก็เทียบเคียงกันได้ แต่ถ้าผู้นั้นไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันนะมันจึงเทียบเคียงกันไม่ได้ไล่กันไม่ถูก ด้วยเหตุนี้เอง 

ท่านถึงตรัสไว้ว่า อรหันต์ย่อมรู้อรหันต์ด้วยกัน ไม่มีผิดตรงไหนเลยเพราะมีของเท่ากันมาเทียบเคียงแล้ว เพราะฉะนั้นสบายมาก แต่ถ้าไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันแล้ว ก็เทียบเคียงไม่ค่อยลงตัวหรอกว่า อรหันต์นั้นที่เรียกว่า เป็นความพอดี พอเหมาะ พอสมพอควร ก็จึงไม่พอดี ไม่พอเหมาะ พอสมพอควร 

ความพอเหมาะพอสมควรนี้ หรือใช้แต่ภาษาเท่านั้น โดยสภาวะอาตมาบอกแล้วว่า เราจะต้องไปสร้างเอาเอง ไปทำเอาเองว่ามันจะพอดีพอเหมาะพอสมควรแต่ละขนาดไหน เราจึงจะเรียกว่า พอเหมาะพอควร จนทิ้งโลกได้ทิ้งสิ่งที่มันปรุงแต่งเป็นโลกียะ ทิ้งเอาไว้ในโลกียะ อะไรเรียกว่าโลกียะ  อะไรที่มันปรุงแต่งรวมตัวลงมา เรียกว่ายังติดข้องอยู่ในโลก ไอ้สิ่งเหล่านั้นเราจะต้องไปเรียนรู้โลก  เมื่อเรียนรู้โลกแล้ว แล้วเราก็ไม่ติดไม่ข้องในโลกเหล่านี้เราไม่สร้าง ไม่สร้างโลก อรหันต์ไม่สร้างโลก สิ่งใดที่มันจะเป็นโลกไม่สร้างด้วย ไม่เอา ไม่ปรุงไม่แต่งไม่หนักไม่หนาด้วย แต่สิ่งใดที่จะสงเคราะห์โลกก็ยังพอทำบ้าง ฟังให้ดีนะคำนี้ อย่าไปเป็นคนพาซื่อกันเกินไป สิ่งใดที่จะสร้างโลกพระอรหันต์ไม่ทำไม่สร้าง แต่สิ่งใดจะสงเคราะห์โลก หรือ เกื้อกูลโลก พระอรหันต์จะทำบ้าง 

แต่ถึงแม้ท่านทำบ้างท่านก็ไม่ยึดไม่ติดด้วย ท่านสักแต่ว่าทำแต่ท่านทำบ้าง ฟังให้ดีนะประโยคนี้มันจะกินตัวเข้าไป ถ้าเข้าใจไม่พอแล้วประเดี๋ยวก็มันจะไปชนกันหมด เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จะทำอะไรทุกอย่างจึงใช้วิจารณญาณ หรือ ใช้ความพิจารณาของตนเองเสมอๆ ด้วยปัญญา พิจารณาตนเองเสมอด้วยปัญญาว่า อันนี้เหมาะควรว่าดีไหมจะสงเคราะห์โลกสงเคราะห์ตนได้พอเหมาะพอเจาะไหม เอาล่ะพอดีพอเหมาะท่านก็ทำ ถ้าเผื่อว่ากว่านี้ไหวไหม แหม..กว่านี้ไม่ไหวแล้วไม่ดีมันจะเอนเอียงไปข้างโลกมากไปจนกระทั่งเดี๋ยวเกิดเป็นตัวตนโลกหนักเกินไป ท่านไม่ทำ หรือบางทีก็เป็นทุกข์ให้ตัวเองนั่นแหละมากเกินไป ท่านก็ไม่ทำเหมือนกัน อย่างนี้ 

ก็มีขนาดอยู่ก็มีขนาดจำนวนมีความหนัก มีความเบาไม่เท่ากันกับพระอรหันต์สมัยพระพุทธเจ้า ไม่เท่ากันหรอก เพราะโลกมันไม่เหมือนกันแล้ว มันหนาแน่นไปด้วยกิเลสก็ไม่เหมือนกัน โลกมันเต็มไปด้วยไอ้โน่นยึดไอ้นี่ดึงก็ไม่เท่ากัน รูปก็ไม่เท่ากันนามก็ไม่เท่ากัน ในสมัยโน้นกับสมัยนี้ รูปที่เป็นสมมุติในโลกก็ไม่เท่ากัน นามที่สมมุติอยู่ในโลกนี้ก็ไม่เท่ากัน 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์นั้นจึงยอมอนุโลมตามสมมุติโลกจำนวนไม่เท่ากัน ขนาดไม่เท่ากัน เบาว่างก็ไม่เท่ากันนัก ถ้าพระพุทธเจ้ามาเกิดสมัยนี้ พระพุทธเจ้าก็คงไม่สอนคนเหมือนกัน อาตมาว่านะไม่สอนหรอก มันหนักหนาเหลือเกินนักหนาจริงๆ พุทธเจ้าจะมานั่งสอนว่าอ้าวนั่งอาสนะเดียวแล้วให้บรรลุเหมือนพระยสเหมือนพระปัญจวัคคีย์ไม่ได้หรอก อาตมาว่าไม่สำเร็จหรอก คนสมัยนี้มานั่งสอนอย่างนั้นไม่ได้หรอกไม่ได้จริงๆ อาตมาเชื่ออย่างนั้นเลย 

ถนนพระพุทธเจ้าถ้าเกิดสมัยนี้พระพุทธเจ้าไม่สอนหรอก จะกลายเป็นภาพปัจเจกพุทธะไปเลยไม่สอน แต่ทีนี้ต้องใช้อาศัยคนที่เรียกว่าทน ทนแดดทนฝนทนอึดทนไม้ทนปืนทนมีดทนผา ทนทุกอย่างอย่างอาตมานี่ทน ทนเขาว่าศาสตร์กราบยังไงก็ทน ที่จริงก็ไม่ได้ทนหรอกแต่อาศัยภาษาพูดไม่ได้ทนหรอก ไม่ได้เจ็บไม่ได้ปวดอะไรหรอกแต่ว่าต้องทน พูดไปแล้วคนจะว่าอย่างโน้นอย่างนี้ก็ต้องทน แต่แท้จริง อาตมาไ่ม่ได้ทนเขาจะทำมายัง ก็ไม่ได้ทนหรอก เหมือนทนแต่ไม่ได้ทนทีเดียวหรอก 

ทุกสิ่งทุกอย่างจะเกิดตาม กาละ เทศะ เกิดไปตามเวลาเท่านั้น 

ที่นี้ถ้าเราเองยังไม่ถึงได้เอาอรหัตตผลเราจะพึ่งอัตตาตัวนั้นอย่างไรมันถึงจะแจ่ม ถ้าบอกว่าให้ไปพึ่งอรหัตตผล หรือ อัตตาตรงที่เป็น อรหะ สงสัยไม่ได้พึ่งแล้วอัตตาหิอัตโนนาโถเปล่าเสียแล้ว มันจะไม่พึ่งอัตตาหิอัตโนนาโถแล้วเพราะอัตตาไปเล่นถึงขั้น อรหัง อรหันต์ ไม่ไหว

คนเราก็เลยต้องพยายามถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้เป็นผู้ที่อยู่ในวงศาสนาพระพุทธเจ้าท่านก็ให้พึ่ง รองลงมาก็คือ เมื่อพึ่งอรหะไม่ได้ แล้วมาพึ่งอัตตะที่อยู่ในอรหะไม่ได้ ก็ให้พึ่งอัตถะสิฟังให้ดีนะ เมื่ออัตตะตัวนั้น ยังพึ่งไม่ได้ก็ให้พึ่งอัตถะสิ อัตถะตัวนี้หมายถึงว่า แก่นเนื้อหาสาระ หรือสาระหรือพยัญชนะคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอัตถะ ถ้าพูดให้เต็มก็เรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ญาณที่พระพุทธเจ้าท่านได้ถ่ายทอดไว้แล้วเรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ อัตถะตัวนี้ก็มาจากคำว่าอัตตะนี่เอง ภาษามันแปลงรูปเอามาเรียกใกล้เคียงกันแล้วมันเป็นตัวโตขึ้นมาหน่อยท่านก็เลยใช้คำว่าอัตถะก็คือ แก่นแท้เนื้อหานั่นเอง หรือไอ้ตัวตนเนื้อหาธรรมะนั่นเองแต่ไม่ใช่ตัวตน ไปยึดอยู่ที่ใครแต่เป็นเนื้อหาตัวตนอันนี้อยู่ในสภาวะของ บัญญัติ อยู่ในสภาวะของบัญญัติของสิ่งหนึ่งที่ได้กำหนดขึ้นมาแล้วเรียกมันว่าคำพูดก็ตาม เรียกมันว่าเนื้อหาก็ตามแม้เรียกว่าคำพูดเราก็เรียกว่าอัตถะ แม้เรียกว่าเนื้อหาเราก็เรียกว่าอรรถแก่นสารก็เรียกว่าอัตถะ เป็นอัตถประโยชน์หมายความว่าเป็นประโยชน์ที่เป็นแก่นสารจริงๆ 

นี่เราก็พึ่งสิ่งนี้ต่อมา เรียกว่าพึ่งอัตถะซิ เมื่อเราจะพึ่งอัตถะเราก็ศาสนาพุทธเราก็มาเรียนอัตถะของพระพุทธเจ้า มาเรียนภาษาที่พระพุทธเจ้าท่านเทศน์เอาไว้ก็ตาม หรือพระสงฆ์ผู้ที่รู้อัตถะ เนื้อหาสาระของพระพุทธเจ้า จนกระทั่งเราเอาไปประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนรู้ถึงอทะแท้ๆ รู้ถึงสภาวะตัวจริงๆ ก็เอามาถ่ายทอดอัตถะนั้นออกมาเป็นภาษาก็ตาม ก็เหมือนกัน แล้วเราก็มาพึ่งอัตถะนี้ เป็นชั้นรองลงมา 

คำสอนต่างๆ นี้ดังเช่นที่อาตมากำลังพูดอยู่นี้ อธิบายอยู่นี้เรียกว่า อัตถะทั้งสิ้น คือเป็นภาษาเป็นคำพูด และภาษาคำพูดอันนี้ ชักออกมาจากเนื้อหาแก่นแท้หรือแก่นสารของมันแท้ๆ เลยชักออกมา แล้วเอามาโยงใยมาพยายามชี้ให้พวกคุณได้ฟังเพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์ในการฟัง เกิดปัญญาในการฟังจึงเรียกว่า            สุตมยปัญญา เข้าใจจริงๆ ในการฟังให้ได้แน่นอนมากมาย จนกระทั่งคุณเอาไปคิดทบทวนที่บ้านที่ไหนก็ตามแต่เรียกว่า จินตามยปัญญาอีกทีหนึ่ง คิดทบทวนจนกระทั่งรู้เข้าใจซาบซึ้งว่าอ๋ออรรถนี้หนอ ที่ภาษาที่ได้ฟังมานี้หนอ เป็นภาษาที่มันมีเหตุมีผลจริงๆ เป็นของที่ควรที่จะได้เอามาใช้ เป็นของที่ควรจะได้เอามาอบรมตอนเอามาประพฤติปฏิบัติตามจริงหนอ แล้วเราเองก็จะได้เอาอัตถะนี้ไปประพฤติ 

การประพฤติการบำเพ็ญนั้นท่านเรียกว่า พตะ ก็คืออัตตะอีกนั่นแหละฟังให้ดีไม่ได้หนีจากอัตตะไปไหนเลย พตะ คือตัว พ กับ อัตตา พ.พาน สนธิกับความว่าอัตตะ หรือ อัตตา แปลว่าการประพฤติหรือการบำเพ็ญหรือการกระทำ 

ที่นี้เราจะไปประพฤติหรือบำเพ็ญสิ่งอันนั้นเราก็เอาสิ่งอัตตะที่เราได้มาแล้วจากการฟัง มาคิดทบทวนแล้วก็เอามาบำเพ็ญ เอาไปอบรมตนเรียกว่า ภาวนาก็ได้ภาวนาก็อบรมตนให้เกิดอย่างนั้นอย่างนั้นเรียกว่า ภาวนา หรือเรียกว่าเอาไป พต ก็ได้ หรือเอาไปประพฤติไปบำเพ็ญไปกระทำ 

พตะ อันนี้ก็คือเอาไปทำจริงๆ ให้มันเกิดในตัวในตนจึงเรียกว่า พ + อัตตะ ให้มันเป็นตัวตนเกิดมาที่ตัวที่ตนเรียกว่า พ หรือ พตะ อัตถะ สิ่งที่ได้มาตอนที่อาตมายกเหล่าเนื้อหาแก่นแท้ที่ได้มาเป็นภาษาที่พูดออกมาก็ตามพระพุทธเจ้าท่านเรียกว่า ข้อควรเอาไปประพฤติ ได้ยินเป็นภาษามาทบทวนเป็นข้อเป็นหลัก เป็นหลักใจหรือเป็นกฏอันหนึ่ง ที่เราจะเอามาประพฤติตาม นอกจากภาษาที่เรียกว่า อัตถะ นั้นเอามาโน้มน้อมประพฤติแล้วท่านยังเรียกว่า ศีล อีกเหมือนกัน 

ฟังให้ดีนะมันคล้องจองกันหมดธรรมะ นี่มันเรื่องเดียวกันหมดท่านเรียกว่าศีลด้วย ศีลนั่นคือ หลักใจศีลนั้นคือข้อควรประพฤติที่เราได้ฟังได้รับมาจากครูหรือได้รับมาจากอาจารย์ ที่ท่านบอกให้ เช่น ท่านว่าปาณาติปาตาเวรมณี อ้าวพยายามประพฤติละเว้นศัตรูอันที่จะทำตนเองไปเบียดเบียนผู้อื่นเสีย เรียกว่าปาณาติปาตาเวรมณี นี่เป็นศีลหรือเป็นอัตถะเป็นภาษาที่ท่านกล่าวออกมาบอกให้เราประพฤติอย่างนี้ 

ผู้ที่ได้อันนี้ฟังอันนี้มา เรียกว่า ศีลแล้วก็เอาศีลข้อนี้เองมา พตะ มาประพฤติ ผู้ใดได้ศีลข้อนี้มาแล้ว หรือได้หลักใจอันนี้มาแล้วมาเห็นดีเห็นชอบมาคิดทบทวนว่าเออควรจะเอาศีลข้อนี้มาภาวนา แล้วก็เอามาลงมือภาวนาจริงๆ หรือทำให้มันเกิดที่ตนจริงๆ หรือทำให้มันเกิดอัตตาทำให้เกิดผลเป็นอัตตาตัวตน ขึ้นมากับตนกับตัวจริงๆ จนเรียกว่า พตะ ผู้นั้นก็จะได้ความจริงจะได้ตัวตนอันแท้จริงขึ้นมาให้ตัวเองเลยทีเดียว มันก็จะเป็นผลเรียกว่า อรหัตตผลแต่ผลขึ้นมาเรื่อยๆ 

ผู้ใดมีศีลแล้วก็มี พตะ มีการบำเพ็ญจริงๆ เกิดผลจริงๆ ผู้นั้นจะได้เอา       อรหัตตะ จะได้ผลจะได้เอาอรหัตตผล 

แต่ที่นี้ผู้ใดเอาไอ้สิ่งที่ได้มาจริงๆ ที่เขาบอกมาอาจารย์บอกมาครูบอกมา แต่ครูบอกมาอาจารย์บอกมา ทว่า ผู้นั้นประพฤติไม่จริงประพฤติเป็นศีลที่เรียกว่าสักแต่ว่าศีลเฉยๆ ศีลลูบๆ คลำๆ ศีลที่ไม่แท้ศีลที่มีแต่ภาษาศีลที่ไม่มีเนื้อมีตัวไม่มีอัตตาศีลที่ไม่เกิดตัวเกิดตนเลยฟังแต่ภาษาแล้วเอาไปออกแขกออกลิเกอยู่ บางทีก็ไปนั่งฟังพระท่านมาถึงก็ไม่ยังภันเตวิสุงวิสุง รักขนถายะ ที่วัดพระท่านก็ออกลิเกพร้อมเลยขึ้นต้น ปาณาติปาตา เวระมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ กว่าลิเกบทนี้กว่าจะมีบทร้องบทขับจนกว่าจะจบนะ ผู้ที่ไปขอมายังภันเตก็ตาม พอพระท่านสวดท่านขับร้องออกมาเสร็จแล้ว อุบาสกอุบาสิกาศึกษาทั้งหลายก็บอกว่าปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามินี่เรียกว่ารับศีลได้ศีลมา 

เสร็จแล้วได้แล้วศีลมาแล้วจะเป็นศีล 5 ศีล 8 ก็ตาม พอได้ไปแล้ว ก็ถือเอาไว้ทีเดียวแบกเอาไว้ทีเดียวแหมปานาเราก็ถือ อะทินนาเราก็ถือกาเมแล้วก็ถือ     มุสาวาทาเวระมณีเราก็ถือ สุราเมระยะมัชชะปะมาก็ถือ บางคนถือไว้ร่าเลยเช้าวันนี้เราทำงานทำบุญวันเกิดนิมนต์พระมาขอศีลแล้วแต่เช้า พอตกบ่ายๆ หน่อยเพื่อนก็บอกว่าเฮ้ยเปิดกาขาวให้ทีสิ ไม่เปิดกาขาวเลย เพื่อนจะเลี้ยงวันเกิดนี่เจ้าภาพก็เปิดกาขาวเข้าให้ เพื่อนก็ดื่มกาขาว บอกว่าพระเจ้าภาพไม่กิน หรือ เจ้าภาพบอกว่ารับศีล เพื่อนก็บอกว่าศีลก็ศีลสิเราก็มาดื่มด้วยกัน เสร็จแล้วก็ดื่มเข้าให้

เสร็จแล้วลิเกบทนั้นก็ผ่านไปผ่านไปเหมือนสายน้ำไหลสุราเมระยะมัชชะปะมา ก็เทลงทะเลเลย  ไม่มีเนื้อไม่มีตัวไม่มีตัวมีตนไม่มีการประพฤติไม่มี พต ไม่เกิดตัวเกิดตน พ + อัตตะ ไม่เกิด เรียกว่พระก็ได้ เราจะทำตัวให้เป็นพระก็ได้เราจะทำตนให้เป็นพระไม่เกิด พระอันนี้ไม่เกิดเพราะไม่มีโพไม่มีโพธิ พ. พานนี้สำคัญไม่เป็นพระเพราะไม่มีโพธิ โพธิ คือ ความรู้หรือปัญญา เมื่อไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาเพราะตัวเองไม่ได้ปฏิบัติก็จึงไม่ได้เกิดความรู้ไม่ได้เกิดปัญญา 

โพธิสัตว์ หรือ โพธิสัตโต หลวงพ่อเณรโพธิสัตโต คำว่าโพธิสัตโตก็มาจากคำว่า โพธิ บวก สัตตะ สัตตะ คือ ส + อตต

สัตว์โต สัตว์ รากศัพท์มันมาจากคำว่า สัตตะ ถึงแม้ตอนนี้ภาษาบาลี สัตตะก็แปลว่า สัตว์โลกอยู่เหมือนกัน ใครเรียนภาษาบาลีจะรู้แม้แต่คำว่า สัตว ภาษาบาลีก็ยังเรียกว่า สัตตะ มาจาก ส.เสีย บวกอัตตา แปลว่า สัตว์โลก 

ถ้าสัตว์โลกโดยตรงแล้วจะอธิบายต่อไปไว้ตอนท้ายๆ ก่อน จะเป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังไม่เป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังเป็นขั้นอรหัตตะอยู่ 

โพธิสัตว์คือผู้ที่มีความรู้ผู้ที่จะเป็นโพธิสัตว์ตะได้ต้องเป็นผู้ที่มีอรหัตตะเป็นผู้ที่มีอรหัตผลให้ตัวเองแล้วรู้ แล้วมีความรู้รู้อัตตา  ตัวที่มีความเหมาะสมพอดีแล้วเรียกว่า เป็นผู้ที่มีปัญญาตัวอรหะหรืออรหันต์ หรือ ตัวความพ้นกิเลสรู้จักกิเลส รู้จักความพ้นกิเลสก็นึกว่ารู้จักความเป็นอรหันต์ รู้อรหันต์ ฟังดีๆ นะอาตมาใช้ภาษาที่พวกคุณเคยได้ยินได้ฟังทุกวัน แต่คุณไม่ได้เข้าใจภาษา อาตมากำลังเอาภาษามาคลี่คลายให้ฟัง เพราะฉะนั้นโพธิสัตตะ หรือ โพธิสัตว์นี่เราเรียกศัพท์ทับไปอีกเรียกว่าพระโพธิสัตว์ คือตัวบุคคลผู้หนึ่งที่มีความรู้มีปัญญาเรียกว่า โพธิ แล้วก็เป็นสัตว์โลกเป็นตัวตนจริงๆ เป็นสัตว์โลกจริงๆ 

แล้วก็เอา อัตตะ ที่เป็นอรหัง อรหัง หมายความว่าสิ่งที่พ้นกิเลส หรือรู้กิเลสและก็รู้การทำตนให้พ้นกิเลสอย่างที่อธิบายมาแล้ว เพราะฉะนั้นรู้ อรหัตตะตัวนี้ก็เอาอรหัตตะตัวนี้มาอธิบายสู่กันฟัง 

ทางมหายานเขานี่ เขาบอกว่าพระโพธิสัตว์นี่ เป็นผู้ที่ไม่บรรลุอรหันต์ก็จริงก็ได้เหมือนกัน เขาจะเป็นผู้ที่มีแต่อรหัตตผลเรื่อยไปแล้วก็เป็นโพธิสัตตะเรื่อยไปเขาจะไม่ยอมเกิดยอมสูญ เขาจะไม่ยอมเป็นอรหันต์ คือเขาจะไม่ยอมมีที่ปลายเขาจะไม่ยอมมีที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุดเขาจะไม่ยอมที่สุดเขาจะเกิดๆ ช่วยคนทั้งโลกนี้จนกระทั่งคนสุดท้ายในโลกนี้เหลืออยู่เขาก็จะช่วยคนสุดท้ายนี่ แหม…รู้สึกว่ามีอธิษฐานจิต หรือว่ามีปณิธานสูงเหลือเกินฝ่ายมหายานจะช่วยคนสุดท้ายซะก่อนในโลก ให้พ้นโอคะสงสาร แล้วตนเองถึงจะช่วยตอนนี้เรียกว่าทางมหายานเขาเอาร้ายกาจถึงขนาดนั้นก็ดีอยู่นะเป็นประเด็นทางที่น่าดูเหมือนกันแต่คิดดูซิมันจะเป็นได้ไหมหรือ มันเป็นไปไม่ได้หรอก มันเป็นแต่เพียงคำพูดอันหนึ่งเท่านั้นเอง ซึ่งเป็นคำยั่วยุ เป็นอุบายโกศลอันหนึ่งยั่วยุให้คน มีความตั้งใจสูง 

การช่วยคนให้พ้นอรหันต์ โดยเอาอรหัตตคุณ หรือเอาอรหัตตผลก็เหมือนกัน เอาหัตถกุล หมายถึงคุณความดีที่รู้ว่าเอารหัสหมายถึงอะไร เป็นเนื้อเป็นตัวเป็นอัตตาขึ้นมาแล้วเอาอรหัตตาคุณ มาเผื่อแผ่มาสอน มันก็ดีผู้ใดมีอรหัตตคุณมีอรหัตตผลแล้ว เอามาแจกจ่าย แต่ถ้าใครเอาเงินเอาทองมาแจกจ่ายเฉยๆ ยังไม่ใช่ชั้นดีหรอก ถ้าใครมีเอาอรหัตคุณเอาอรหัตตผลมาแจกจ่าย เอาอรหัตคุณเอา

อรหัตตผลอันนั้นเราเรียกว่าตัวธรรมะแท้ๆ ล่ะ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำทานโดยเอาอรหัตตคุณ หรือ อรหัตตผลมาจากจ่ายคนนั้นเป็นผู้ที่มีการทำทานชั้นสูงสุด ผู้ที่มีอย่างนั้นพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ ว่าผู้ที่มีธรรมทานผู้นั้นแหละเป็นผู้ที่ชนะโลก เป็นผู้ที่ให้ทานสูงสุดในโลก ที่ท่านเรียกว่า สัพเพทานัง ธัมมะทานังชินาติ ไม่มีทานอันใดที่จะแจกจ่ายหรือการทำให้แก่ผู้อื่นจะได้ผลบุญที่ดีที่สุดสูงที่สุด หรือว่าเป็นการให้ทานที่ชนะเลิศทั้งปวง ทานให้ธรรมทานเป็นธรรที่สูงสุด 

ธรรมะอันนั้นคืออะไรที่ดีที่สุดคือ อรหัตตคุณ หรือ อรหัตผล คือความรู้อรหันต์ หรือเอาตัวตนของอรหันต์มาชี้แจงเอาตัวตนของอรหันต์มาแจกจ่าย และอรหังก็คือสภาวะของกิเลส และสภาวะของการฆ่ากิเลสหรือการทำกิเลสให้พ้นไปเรียกว่าอรหัง เราก็ทำอันนี้ให้ได้รู้ให้ได้แล้วจึงเอามาแจกจ่าย 

ผู้ใดไม่มีเลยไม่มีอรหัตตคุณในตนเลย ไม่มีเอาอรหัตตผลในตนเลยผู้นั้นจะเอาอรหัตตผลเอาอรหัตตคุณมาแจกจ่ายได้ไหม ได้ไหม ลองคิดดูซิ ไม่ได้เราจะเอามาจากไหนตัวเองไม่มีเลยไปเชือดเฉือนมาจากไหน แต่เอาเถอะเมื่อไม่ได้เมื่อไม่มี ท่านก็มีอยู่ในภาษาท่านจดไว้บ้างก็มีท่านลอกไว้บ้างก็มีท่านจำกันไว้บ้างก็มีเป็นภาษาบอกกล่าวกันในหูในอะไร เป็นอัตถะชั้นรอง เรียกว่า อรรถฎีกาอาจารย์ก็ตาม เรียกว่า อาจารย์ท่านรองเขียนลงมาอีกอะไรพวกนี้ เราก็เชื่อ               อรรถฎีกาจารย์ต่อลงมา คำข้อเขียนบอกไว้จดไว้ฎีกา จดบอกฎีกาจดบอกแล้วก็อาจารย์เหล่านั้น ก็เอาคำจดบอกเหล่านี้มากล่าวต่อๆ กันไปก็ได้ประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์มันยังไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงยังไม่ใช่ป้อนออกมาจากตัวเองเลย มีอรหัตตะอยู่ในตัวเลย ไม่ใช่ 

ถ้าผู้ใดมีอรหัตตะอยู่ในตัวเลยจริงๆ ชักออกมาทีไร มันแน่นหนามันรู้สึกว่ามันลวดลายเลยมันออกฤทธิ์ออกเดช มันมีตัวตนดีจริงๆ ถ้าใครเห็นตัวตนอัตตานี้จะเห็นชัดๆ เลยโอ้โหตัวตนนี้ปั้นไม่ง่ายนะ คนที่มีอยู่แล้วจริงๆ เมื่อควักออกมามันจะดิ้นพลาดๆ ออกมาเห็นออกปากเลยมันคอมเพล็ดเลยมันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นตัวเป็นตนเห็นชัดเจน แต่ถ้าคนที่ไม่ก็พูดแต่ภาษาที่ท่องมา เรียกว่า อรรถฎีกา

จารย์ ว่ามา หรือ อาจารย์ของเราบอก ให้เราท่องไว้อย่างนี้นะแล้วเราก็เอาท่องๆๆบอกตาม 

ก็จะได้แค่ภาษาแค่นั้นเราก็ฟังตามๆ กันไปแค่ภาษาท่องๆๆ ภาษาพูด     เรียกว่า ญัติ ภาษาบาลีท่านเรียกว่า ญัต ญ กับ อัตตะ ผสมกัน เรียกว่า ญัตตะ พอเวลามาสวดเอามาใส่กิริยาเพิ่มท่านเรียก ญัตติ ตัว ญัตต หรือ ญัตติ คือตัวตนที่เป็นเรื่องราวเป็นที่จะเข้ารูปเป็นขอบข่ายเอามาพูดกัน ภาษาโลกๆ คำว่า ญัตติ หมายถึงหัวข้อ หรือ อัตตาที่มันรองลงมาอีกทีแล้ว อัตตาตัวที่ค่อยๆ เรื้อลงเหลือแค่ภาษาเหลือแค่สิ่งที่ควรจะเอามาตีแผ่กันออกมาอีกที ไม่ใช่อัตตาตัวต้นตอของอรหะแล้วเป็นญัตติเป็นอัตตาตัวที่เรียกว่า  เกิดมาหลายชาติแล้วไม่ใช่เป็นตัวต้นตระกูลแล้วมันบาง ๆลงมาแล้ว เป็นญัตตะ หรือ ญัตติ เพราะฉะนั้นจะเอา ญัต ตัวนี้มาสวดให้กัน มันก็แค่มาญัติให้แก่กันนี่ภาษาไทยพูดนะ ภาษาบาลีเขาก็พูด ญัติเหมือนกัน จะนึกว่าเป็นปริยัติก็ได้ นี่อาตมาพูดถึงวิวัฒนาการของภาษา 

เพราะฉะนั้นปริยัติก็มาจากตัวเดียวกัน คือ ญัต มาเป็น ปริญัติ             ปริยัติ หมายถึง ญัติตัวเดียวยังไม่โก้ต้องปริเลย ปริ หมายถึง เต็มรอบครบเลย     ปริ คือคำสอนแท้ๆ เลย เอาปริยัติเลย 

ภาษาที่มันยืดยาดออกมาเป็นสมมุติที่เราเองเอามาใช้สภาวะที่มันเกิด เพราะฉะนั้นต้องพยายามตามสภาวะแล้วก็ต้องพยายามตามภาษาที่มันโตมันใหญ่ขึ้นมาด้วย ถ้าเราจะเอาภาษาตัวเก่าอย่าง ย ยักษ์ ยอหญิงมันเพี้ยนขึ้นมามันก็จะซ้ำแซะอยู่เพราะฉะนั้น เขาจึงแยกย้ายจากยยักษ์มาหา ญ หญิง ไปเรื่อยๆ เหมือนกัน ปริยัติเราจึงแปลว่าคำสอนโดยตรงและก็จริงคือศีลนั่นเอง ปริยัติคือศีลหรือเนื้อหาคืออัตถะที่เรา ที่พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเรา พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเราอันใดอันใด อันนั้นเป็นปริยัติ อันนั้นเป็นอัตถะที่เราจะมาประพฤติมาปฏิบัติเอามา พต เอามาประพฤติบำเพ็ญทั้งหมดทั้งมวล นี่เรียกว่าความคลี่คลายของอัตตามันตัวใหญ่มาตั้งแต่อัตตาที่มันเป็นไปอย่าง อรหัต หรืออรหันต์ อรหัตตคุณ​ จนกระทั่งตัวใหญ่มาเป็นอัตถะ 

โตใหญ่นี่หมายถึงตัวใหญ่อย่างโลกมาเป็นอัตถะะ จนกระทั่งมาเป็นผู้ที่มีอัตถะนั้นจริงๆ คือโพธิสัตว์เอามาถ่ายทอดกัน เพื่อที่จะให้เรา พต ให้เราประพฤติ จนกระทั่งภาษาที่พูดนี้มันจางลงจางลงหรือมันโลกโตขึ้น เป็นโลกมากขึ้นมันเป็น ญต หรือญัตติ  มากขึ้นจนเป็นปริยัติก็ตามนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังพระพุทธเจ้าทั้งนั้นมันโตขึ้น มันโตมา ๆ 

ที่นี้อาตมาจะต่อให้หมดไอ้อัตตะทั้งหลายที่เราจะพึ่ง เมื่อเราเองเรา พต เราพยายามที่จะ ประพฤติได้เราะจะประพฤติอย่างไรล่ะ 

เช่น ท่านสอนว่าปาณาติปาตาเวรมณีแต่อย่าฆ่าสัตว์นะ เป็นอัตถะที่ท่านให้มาหรือเป็น พต ที่ท่านให้มาหรือเป็นปริยัติที่ท่านให้มาซึ่งเราเองเราจะเอามา พต หรือเอามาประพฤติเราก็ต้องประพฤติเอามาทำลงไปจริงๆ ให้มันเกิดผลแก่ตัวเรา อย่าง มต นี่เป็นอัตตาอีกตัวหนึ่งแล้วมาจากคำว่า มัด บวก อัตตะ

ให้มันเป็น มต  มตตัวนี้หมายถึงตามสมควรหรือตามพอดี  มต ตัวนี้ มม้า บวกอัตตา หมายความว่าพอดีพอควรหรือเหมาะสม ต้องกำหนดรู้กำหนดทำให้มันพอดี มต หรือ มัตตัญญุตา หรือมัตตัญญู แปลว่าทำให้พอดี 

ที่นี่มาขึ้น มัตตะ อีกตัวนึงก็คือ มตาหรือมต มต คือพคือพออดี มีลักษณะคล้ายอรหะ คือ เป็นตัวอ่นอกว่า 

มต ตัวนี้ก็เป็นอัตตาตัวหนึ่งที่เป็นความเหมาะควรที่เป็นชั้นสำหรับแต่ละบุคคล อย่างบางคนขณะนี้นะ จะให้มาประพฤติอย่างอาตมาทันทีขณะนี้ เงินทองไม่เอาจริงๆ เลยไม่ใช้เงินไม่ใช้ทอง รองเท้าก็ไม่ใส่ มีผ้า 3 ผืน สมบัติอะไรไม่สั่งสม เอาแค่รองเท้าไม่ใส่นี้ก่อน ไม่ไหวเหมือนกัน ก็เรียกว่าไม่ใช่ มต มัน มต ไม่ลงแล้วล่ะ หรือให้มาโกนหัวตอนนี้ก็ยังโกนไม่ได้แล้ว ยังไม่ถึงรอบมันยังไม่ถึงขั้นที่จะต้องโกนหัวได้ก็เรียกว่า มต อันนั้นยังไม่เป็นตัวเป็นตนเหมือนกันยังไม่เป็น อรหะ 

ถ้าอาตมาเรียกว่า ถ้าเป็นตัวของอาตมานะ ขณะนี้ถ้าให้อาตมาเป็นอย่างของพวกคุณนี่อาตมาบอกว่า มันแสนจะง่าย มันเป็น มต มันเป็นชั้นอ่อนมันเป็นชั้นเยาว์ ขณะที่สิ่งที่คนเคร่งๆ อย่างยกตัวอย่างเมื่อกี้ ศีลข้อปาณาติบาตอย่าฆ่าสัตว์นะ พวกคุณก็บอกว่ามันยากแฮะ บางบางทียุงกัดก็ไม่ไหว ต้องตบ งูเข้าบ้านมามันต้องฆ่า ไม่ฆ่าไม่ได้ มันเป็นพิษเป็นโทษเป็นภัยความเหมาะสมของคุณก็ยังยากยังต้องตบยุงเดียวต้องฆ่างู แม้แต่ศีลหรืออัตถะะจะได้รับมาจากพระโพธิสัตว์ใดที่ท่านสอนไว้ว่าอย่าไปฆ่าสัตว์นะ คุณก็ยังทำยากอยู่นั่นเอง เป็น  มต เป็นความเป็นกลางความเหมาะสมความพอดีของคุณคุณทำให้เกิดอัตตาให้ได้ความมัชฌิมาของคุณทำให้เกิดให้ได้ 

จนกระทั่งเกิดความไม่ได้เดือดร้อนไม่ได้ลำบากอะไรเลย ตอนแรกคุณอาจจะต้องเข้มงวดกวดขันกับคุณมากทีเดียวคุณเคร่งครัดมากทีเดียวไม่พยายามเผลอ ถ้ายุงกัดก็ไม่พยายามตบทันทีให้มันตาย ต้องพยายาม แหมมันยาก งูมาไม่ฆ่านี้ยากเหมือนกัน คุณต้องอ่านใจคุณด้วยและระมัดระวังสติคุณด้วย 

มีเพื่อนอาตมาคนนึงแต่ก่อนเขาเจองูไม่ได้เป็นอันขาดต้องฆ่ากัน เจองูที่ไหนต้องฆ่าดะ รู้สึกว่าเป็นศัตรูกันหมดกับงูนี่มันมีพิษมีภัยเหลือเกินบอกว่าไม่ได้หรอกมันอยู่ร่วมโลกกันไม่ได้ จนกระทั่งเดี๋ยวนี้เขาได้ฟังธรรมมาเรื่อยๆ เขาก็สนใจธรรมะเรื่อยมา จนพยายามที่จะถือศีลให้มันบริสุทธิ์ ซึ่งมันเป็นไปเองแหละเขาเข้าใจธรรมะ เขาก็ถือศีลเขาเองแล้วเขาก็พยายามไม่ฆ่าสัตว์จริงๆ 

วันหนึ่งเขาก็เจองูที่บ้านเขา เจองูโอ้โหเขาบอกว่า เขาพยายามมีศีลให้บริสุทธิ์นี่เขากำลังจะประพฤติอัดถาดที่ได้รับมาจากพระโพธิสัตว์บอกไว้ว่าอย่าฆ่าสัตว์นะ เพราะฉะนั้นเขาจะต้องใช้ความพยายามของเขาอย่างที่สุดที่จะทำอัตตา ที่มันเป็น มะ คือ มัตตะให้ได้ จะทำความพอดีให้เกิดแก่ตนให้ได้ให้มันเป็นกลางให้มันไม่เดือดร้อน ให้มันไม่ทุกข์ไม่ทรมาน ให้มันทำทุกอย่างให้มันเป็นทุกข์อย่างไม่สุขไม่ทุกข์ด้วย เขาพอเจอแล้วอารมณ์จิตของตัวแรกของเขาบอกเลยว่า อื้อหือมันอยากจะฆ่าเพราะความเคยชินที่อยากจะฆ่าและนึกเกลียดงูมานาน อยากฆ่าแต่มีสติ ก็บอกว่า เอ๊ะฆ่าไม่ได้ฆ่าแล้วผิดศีล ลำบากแน่ ขนาดนั้นเขาบอกว่าเขาต้องสงบอกสงบใจไปนานเลย ใจมันเต้นเร้าๆ มันเต้นอยู่ในใจว่ามันอยากจะฆ่า  ใครเคยมีสภาวะนั้นอยู่ในตนเองจะเห็นตามเลย เขาบอกว่าต้องสงบอกสงบใจตั้งนานกว่าใจมันจะเป็นกลาง กว่าใจมันจะเป็น มต กว่าจะทำให้ใจเฉยๆ กับมันได้แม้นาน จนกระทั่งใจเขาสงบเลย บอกว่าไม่ได้หรอก ช่างมัน มันจะยังไงก็ช่างมันพอควรมันไม่ก้าวก่ายจนกระทั่งเข้ามาที่นอนเราก็ใช้ได้ มันอยู่ข้างนอกก็ช่างมันเถอะ 

เขาพยายามที่สุด จนกระทั่งเขาเอามาเล่าให้อาตมาฟังว่าเออนี่แหละ เป็น พฤติหรือ พต เป็นการประพฤติบำเพ็ญจริงๆแล้วเขาก็เห็นจิตของเราจริงๆ ว่าแหมมันต้องทน กว่าจิตมันจะสงบลงเป็นกลางได้นานเหมือนกัน แล้วเขาก็ได้ทำจริงๆ ได้ พต จริงๆ หรือได้ประพฤติให้มันเกิดอัตตาตัวนั้นในตนจริงๆ เกิด มต เกิดความเป็นกลางเกิดความเหมาะสมพอดีๆ เพราะงูตัวนั้น มันก็อยู่ของมัน เราก็อยู่ของเรา เราก็อยู่ของเรา เขาเล่าว่างูตัวนั้นมันก็เชื่องเสียด้วยนะ มันแสดงลอยหน้าลอยตาลอยนวลไม่รีบหนีเสียด้วย คล้ายๆ กับมันยิ่งยั่วยิ่งยุ เดี๋ยวฉันก็เอากระบองล่อให้เสียนี่คล้ายๆ อย่างนั้นยิ่งยั่วยิ่งยุเสียด้วย เพราะแต่ก่อนจะไล่งูกับเขาเจอกันไม่ได้หรอก อย่าว่างูมันจะวิ่งหนีเลยเขาไล่ตามเลย ทุกทีๆ เจองูแล้วมันไม่อยู่รอหน้าหรอก ธรรมดาของเขานะ เขาบอกไม่มีงูตัวไหนอยู่รอหน้า ไม่มี พอเจอปั๊บ มันก็วิ่งปั๊บ เขาก็ตามไปฆ่าทันทีเหมือนกัน แต่ตัวนี้ มันไม่เป็นเหมือนงูตัวอื่นก่อนๆที่เคยเจอมาเลย แหม เรียกว่ายั่วยวนอยู่ด้วยนะ เขาบอกว่าไม่เคยเจอทำไมมันเกิดเชื่องขึ้นมาได้ด้วย ก็บอกว่าไม่เคยเจองูแบบนี้ เจองูตัวอื่นต้องไล่ฆ่าทันทีแต่ตัวนี้มันเชื่องได้ 

เขาจึงเห็นธรรมะอีกตัว เห็นอะไรรู้ไหม เห็นเมตตาธรรม เพราะใจเขาเกิด มต ขึ้นมา แต่ก่อนแต่ไรเจองู มีแต่วิ่งหนีแต่เมื่อไม่ฆ่า งูไม่วิ่งหนี เพราะถ้าเราไม่มีจิตจะไปฆ่างูมันก็ไม่กลัว มันก็ไม่วิ่งหนี 

เคยเห็นงูตัวหนึ่งมันไล่จิ้งจกมาในศาลา ศาลาที่อาตมากำลังนั่งฉันอาหาร พอไต่ขึ้นมา อาตมาก็เริ่มบอกเลยบอกคนว่างูขึ้นมาแล้วนะ พอได้ยินว่างูชักกระดุกกระดิกแล้ว แต่ไม่เป็นไรเขาอยู่ฝั่งโน้น ส่วนงูมันขึ้นมาศาลาที่อาตมานั่งฉัน เเล้วมีเพื่อนผู้ชายที่เคยบวชมานานเข้าใจธรรมะสูงพอสมควรนั่งอยู่ด้วย อาตมาก็บอกว่านั่งเฉยๆ อยู่เฉยๆ เป็นกลางให้ทำ มต  ให้ทำใจเป็นกลางเฉยๆ บอกว่าอยู่เฉยๆ นะเดี๋ยวงูมันก็เลื้อยขึ้นมาจริงๆ พอเราวางเฉยจริงๆ ใจทำใจ มต คือ บำเพ็ญ พต ไอ้งูมันก็เลื้อยเฉยขึ้นมาจริงๆ ถ้าเราทำเอะอะรับรองมันไม่ขึ้นมาหรอก เพราะเราไม่เอะอะ มันไม่มีเอฟเฟคทางวิญญาณ จิตมันมีผลสะท้อนมาเลย งูนี่มันรู้ เมื่อไม่มีศัตรูขึ้นมามันก็จะตะกละ ความโลภมันเยอะมันก็ไล่จิ้งจกขึ้นมาเลย คุยกันไปแลกกันมา จิ้งจกปีนขึ้นข้างบนมันก็ไล่ขึ้นข้างบน มันเหมือนกับไม่มีคน มันไล่กันอย่างกลับไม่มีคนเลย ศาลามันผ่านหน้าผ่านตาเฉยเลย ไม่อะไรเลย ยังไม่พอ จิ้งจกกระโดดลงมาข้างล่าง งูก็กระโดดลงมาตาม 

ในศาลาสี่เหลี่ยม ถ้ามานั่งอยู่นี่ คนอื่นๆ นั่งอยู่ตรงนี้งูมันก็ลงมาตรงนี้เลย ไต่เข้าไปเลย ตอนแรกไต่เข้ามาหาคุณ ราเชนก่อน คุณราเชนก็นั่งเฉยนิ่ง เราบอกว่านิ่งๆ ตอนนี้จิ้งจกตัวนั้นวิ่งลงไปในจีวร งูตัวนี้ก็เข้าไปจุ๊บๆ อยู่ข้างๆจีวรท่านนั่งอยู่นี่ เขาก็จะไปตามหาจิ้งจกแล้วประเดี๋ยวมันก็ไต่ลงไปข้างศาลาลงไปเลย จิ้งจกตัวนั้นมันวิ่งจากทาง  คุณอำนาจมาหาราเชนอีกที จิ้งจกตัวนั้นก็รอดตัวไป แล้วมันก็ไปลงไปเลย อย่างนี้เป็นต้น 

นี่แหละคืออำนาจของเมตตาธรรม อำนาจของสิ่งที่เราได้ประพฤติแล้วไม่มีการเบียดเบียนกัน วิญญาณต่อวิญญาณมันสงบ มันไม่มีการที่จะะเข่นฆ่าเขา

เข่นฆ่าเรา แต่ถ้าเรามีอิ๊อะอะไรหน่อย มีผลสะท้อนอะไรขึ้นมาในใจมีค่าลบค่าบวกหมายถึงค่าที่จะฆ่ากันในส่วนใดส่วนหนึ่งขึ้นมาหรือแม้แต่การรังเกียจหรือการกลัวก็ตาม ก็เป็นผลที่จะให้เกิดขึ้นได้ ฉะนั้นในระยะนี้เป็นไปได้อย่างจริงๆ เลย อาตมาเล่า และอยากให้เห็นสภาพนั้นจริงๆ พวกผู้หญิงนั่งอยู่ฝั่งโน้น งูมันก็เปิดเหมือนกัน ทีนี้มันแสดงละครให้ผู้หญิงเหล่านั้นได้ดูได้ด้วย เป็นการแสดงบทบาทของงูกับการแสดง 

 พต พัตตะ คือให้อัตตาเกิดในตัวเรา คือให้มีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นอัตตาเป็นรูปร่างของการวางเฉยอย่างพอเหมาะพอเจาะ ไม่เดือดร้อน พอดีพอดีอย่างสมควร ไอ้นั่นหน้าที่ของเขาจะไล่จิ้งจก เขาก็ไล่ไปเขาไม่ได้มากวนอะไรเขาไม่ได้มากินเรา เขาไม่ได้มาทำอะไรกับเราเลย เราก็อยู่เฉยๆ เขาก็อยู่กับหน้าที่ของเขา เขาไม่เฉยหรอกเขาก็ไล่จิ้งจกไปนี่แหละคือสภาวะของ มต สภาวะ พต บำเพ็ญให้มันเกิดประโยชน์ขึ้นมา นี่อาตมายกศีลข้อแรกขึ้นมาคือศีลข้อปาณาติบาต เราไม่ฆ่ากัน เราไม่เบียดเบียนกัน แล้วคุณธรรมที่มันจะทำให้เกิด มัตตะ ทำอย่างนี้เป็น

กลางอย่างนี้แล้วให้เห็น มันจะเห็นผลกับเราอย่างนี้ ยิ่งเห็นผลอย่างนี้แล้วเพื่อนของอาตมาที่เล่ามาก่อนนั้นก็ดี หรือแม้แต่สภาวะที่อย่างนี้ ที่อาตมามาเล่าให้ฟังก็ดี นี่เป็นอำนาจที่มันจะเกิดผลสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง 

เมื่อเราเห็นผลอย่างนี้ต่อไปเราก็จะไม่กลัวอะไรมันมากมาย งูเราก็ไม่กลัวมันมากมายนี่ หรือสัตว์ที่ร้ายกาจกว่านี้เราก็จะไม่กลัวมันมากมาย ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาพอเห็นหน้ามันถือว่าเป็นศรัตรูเลยฆ่ามันก่อนเลย ไม่ได้ไม่มีการฆ่ากันหรอก ในโลกนี้ จะเป็นสิงห์เป็นเสือเป็นช้างเป็นม้าเป็นวัวเป็นควายเป็นอะไรก็ตามแต่ ถ้าเราไม่มีผลที่จะไปเป็นศัตรูซึ่งกันและกันหรือเป็นภัยซึ่งกันและกันแล้วนะ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดถ้าเข้าใจการบำเพ็ญการทำอัตตา หรือ การพึ่งอัตตา สร้างอัตตาขึ้นมาเป็นที่พึ่ง ถ้าใครเข้าใจได้ อัตตาต่างๆ ที่อาตมากำลังพูดถึงนี้ กำลังอยู่ในขั้นสูงนะเพราะกำลังไต่ออกมาถึงขั้นขนาด อรหันต์ อรหะ  มาจนกระทั่งมาเป็นมัตตะ นี่มันยังสูงอยู่นะ อีกหน่อยมันจะไต่ลงไปกว่านี้อีกเรื่อยๆ เดียวค่อยว่ากันต่อไปนะ อาตมาจะค่อยๆไต่ออกมา จากอัตตาที่เรามาพึ่งนี่ล่ะ เพราะว่าเราจะพึ่งอะไรดี เราก็ต้องพึ่งอัตตาที่เราก่อเข้าให้ตัวนี่แหล่ะ เพราะผู้ที่สูงแล้วเขาก็จะพึ่งอย่างนี้ลงมาเรื่อยๆ พอเรามาพึ่งมัตตะได้คือความเหมาะสมพอดีพอควรตามหน้าที่ตามเวลากาละของแต่ละสัตว์ แต่ละบุคคลแต่ละสิ่งทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพึ่งลงมาเป็นระดับระดับอย่างนั้น เราทำ มัตตะ อันนี้ให้มันสูงขึ้นสูงขึ้น สูงขึ้น ให้มันแก่ขึ้นแก่ขึ้น เรียกว่าให้มันแก่ขึ้นนั่นเองสูงขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือกล้ากล้าขึ้นหรือมากขึ้นก็ตาม เราเรียกการกระทำที่สูงนั้นเป็น อัตตา อีกชนิดหนึ่ง ภาษาบาลีท่านเรียกว่า รต 

รต คือ ร + ต บวกอัตตา รตแปลว่ามากขึ้นหรือแก่ขึ้นจนกระทั่งหรือว่าภาษา รต นี่ถ้าเรามาใช้คำว่า รัตติ รัตติกาลอย่างนี้หมายความว่าเวลาแก่ก็คือหมายถึงกลางคืน รัตติกาล ใครคงจะเคยได้ยินนะ รต แปลว่าสีแดง เขาก็แปล สีแดงหมายความว่าจัด รัตตะ นี่แปลว่าจัดก็ได้ แก่ก็ได้ ให้มันเต็มรอบให้มันมากขึ้นอย่างนี้ เราเรียกว่า รต 

ทำ มต  ให้มันแก่ขึ้นให้มันมากขึ้นหรือให้มันยาว ให้มันติดต่อกันเป็นตัวตนที่โตขึ้นนั่นแหล่ะ รัตตะ เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้น รัตตัญญู เคยได้ยินไหม รัตตัญญู ก็คือผู้มีอายุยืนยาวผู้มีเวลายาวนาน แก่ เรียกว่า รัตตัญญู รัตตัญญูคือผู้แก่ ผู้ที่แก่มากเรียกว่า รัตตัญญู ทำทุกอย่างให้มันแก่ขึ้นอย่างนี้คือให้อัตตามันพอกเพิ่มยาวนานยิ่งยวดมากขึ้น เรียกว่า  รัตตะ เราทำ มต ให้เป็นอัตตาที่สูงขึ้นอย่างนี้เรียกว่า รต

 ตัว รต นี้ถ้ามันแก่ขึ้นแก่ขึ้นจากเมื่อกี้นี้เราวางเฉยได้ อย่างอาการของยกตัวอย่างว่าปาณาติบาตเราไม่ฆ่าสัตว์จนกระทั่งเราไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อกันแบบไม่ฆ่างูอย่างเมื่อกี้แล้วนี่ เราแก่ขึ้นแก่ขึ้นจนกระทั่งเรามีเมตตาธรรมก็สูง แล้วมีการไม่ถือสาหาความกันเลยไม่เกิดความกลัวซึ่งกันและกันจนเห็นผลจริงๆว่า เราเจอเสือเราก็ไม่กลัวเสือ เสือก็ไม่กลัวเราจนกระทั่งต่างคนต่างอยู่ตามหน้าที่ก็ได้  อย่างนั้นเรียกว่า เป็นคุณของอรหัต  เป็นคุณของอรหัตหรือผลของอรหัต เป็นความเหมาะสมพอดีที่สูงขึ้นกว่า มต ขึ้นไปอีกแล้ว เป็นอรหัต เพราะฉะนั้นพระอรหันต์กับเสือไม่ค่อยทำอะไรกัน อรหัตตคุณมันจะเป็นจริงอย่างนี้ 

อรหันต์ที่มีอรหัตตคุณเป็น รต แก่ขึ้นไปจนอรหันต์มันสูงเป็นอรหันต์แล้วกับผลเสือก็ไม่ทำอะไรกัน เพราะบารมีในศีลขั้นปาณาติบาตไม่รบกวนกัน ไม่เบียดเบียนกันไม่ทำกันเลยต่างคนต่างอยู่ รู้หน้าที่รู้การเป็นอยู่สัตว์โลก ย่อมอยู่กันไปตามสัตว์โลก ผู้ที่อยู่คนนี้โหดร้ายตามที่เขาเรียกว่าโหดร้ายเขาว่าเสือโหดร้าย ที่จริงเสือมันก็โหดร้ายกับเหยื่อของมัน มันไม่ได้โหดร้ายกับทั่วๆ ไป เช่นเดียวกันกับงูมันก็โหดร้ายกับจิ้งจกอย่างที่เล่าเมื่อกี้ มันไม่ได้มาโหดร้ายกับเรา แต่ถ้าเรารักจิ้งจกมากนะเราจะตีงู บอกว่างูตัวนี้ไปโหดร้ายกับจิ้งจก แต่มันไม่ได้โหดร้ายหรอกทุกอย่างมันเป็นหน้าที่เป็นกรรมของมัน เป็นสิ่งที่มันจะกระทำต่อหน้าที่ของมันแต่ละหน้าที่เป็นไปตามวาระ  เป็นไปตามกาล เป็นไปตามความสมมุติ ที่มันสมมุติเป็นระยะๆ 

เสือมันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เนื้อเก้ง เนื้อกวาง เนื้ออะไรมันก็จับของมันกินของมันไปตามวาระกรรมของมันมันสร้างบาปสร้างบุญของมันด้วยเรื่องของมัน ถ้าเราสร้างวิบากไปร่วมด้วย ไปห้ามเสือไม่ให้กินหมู หมูเขาจะหามเอาคานไปสอดเสือเขาจะต้องกินเนื้อนะ เอาหญ้าให้กินมันก็ไม่กินหรอกเช่น งูมันจะต้องกินเขียดกินกบ เราจะเอาหญ้า ไปให้งูมันกินมันไม่กินหรอก ไม่ใช่เรื่องของมันเป็นกรรมของมันมันจะต้องเกิดมาเป็นงูมันจะต้องมาล่าจิ้งจกมันต้อง ล่ากบล่าเขียดกิน เรื่องของมันเช่นเดียวกันกับคน เราเกิดมาเป็นคนเราก็จะต้องกิน หรือต้องล่า หรือต้องทำสิ่งที่ควรกระทำ 

พอมาเป็นอัตตาชนิดที่เป็น สต คือ ยึดถือเป็นตัวเป็นตน โตรอบมากกว่าพวกพืชแล้วเรียกว่าเป็นสัตว์เป็นอัตตา   เรียกว่า สต เราทำศัพท์ ให้เพี้ยนเป็น สัตว์​ จะได้ไม่งง สต เอาไปใช้เป็น  7 ชาติถ้าครบ 7 ชาติเกิดมา 7 ชาติเรียกว่าเป็นสัตว์ที่ 7 ตระกูลเรียกว่าเป็นตัวเป็นตนแล้ว สิ่งใดก็ตามแต่ ถ้าเราได้พยายามที่จะปลูกฝัง หรือว่าทบชาติ ทบตระกูลของมัน ให้มันยืนยันตระกูลของมันได้ครบถึง 7 รอบ 7 ช่วง 7 Generation ถ้าใครทำได้ถึงขนาดนั้นนะครบ 7 รอบ ท่านถือว่า สิ่งนี้เรียกมันได้ว่าตระกูลแท้ ถ้าใครเรียนถึงเรื่องเกี่ยวกับทาง สัตวศาสตร์ หรือ ทางชีววิทยาก็คงจะเคยได้ยินมาบ้าง แต่อาตมาไม่ได้เรียนทางชีววิทยามันจะตรงหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ พูดตามภาษาทางพุทธศาสนา ถ้าตรงกันก็แสดงว่าพุทธศาสนานี้สอนไว้ละเอียดลออ และเป็นการรู้ด้วยญานตรงกัน 

พอครบ 7 ชาติแล้วครบ 7 ช่วงแล้ว อันนั้นจะเป็นของแท้ เพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืชเพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืช จากอะไรต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นอะไรต่ออะไรมาจนเป็นสัตว์เซลล์เดียว หลายๆ สัตว์ต่อกันมาจนเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า สัตว์นี่คือมันต่อกันมาจากดินน้ำลมไฟ จากดินน้ำไฟลมวิวัฒนาการมาจนกระทั่งเป็นพืช อย่างที่เรียกว่าเป็นพืชชั้นต่ำ มาเป็นพืชชั้นสูง จากพืชชั้นสูงมานับรอบแปรรูปมาเป็นสัตว์ได้ 

อย่างสัตว์ชนิดหนึ่งเขาเอามาให้อาตมากิน เขาบอกว่าจะเอามาให้ไอโอดีน สัตว์ชนิดนั้น เรียกมันว่าสาหร่ายทะเล สาหร่ายทะเลแล้วเขาก็เอามาให้อาตมาฉันวันนึง อาตมาก็ฉันเข้า อาตมาก็บอกว่า เอ้ย สาหร่ายทะเลมันไม่ใช่พืชแท้แล้ว สาหร่ายทะเลมีเจนเนอเรชั่นทบชาติจะเป็นสัตว์ขึ้นมาหลายช่วงแล้ว อาตมากินแค่นั้นกระทบสัมผัสอาตมาบอกว่าไอ้นี่ไม่ใช่พืช เป็นพืชจริงในภาษาคน เรียกว่ามันยังเป็นพืชอยู่ เพราะมันยังไม่ครบ สต ยังไม่ครบ 7 รอบยังเป็นตัวเป็นตนจะเรียกว่า สัตว์แท้ไม่ได้ ถ้าใครเคยกินสาหร่ายทะเลบ้าง มันเหมือนนะ มันมีคาวนะ 

สาหร่ายทะเลมีคาว มีไอโอดีน คือมีโอโซน ธาตุออกซิเจนอยู่ในตัวมันเต็มแล้ว ออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พอพืชใดที่มีออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พืชนั้นจะกลายตัวกลายสภาพมาเป็นสัตว์มากแล้ว แต่มันยังไม่ร่อนออกจากไอ้ที่ยึดเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นพืชสาหร่ายทะเลนี้อาตมาถึงบอกกินเข้าไปปั๊บ อาตมายืนยันว่าไอ้นี่จะมาเป็นสัตว์แล้ว จะเรียกพืชในภาษาคน ได้  แต่อาตมากิน 2 คำแล้วอาตมาก็ไม่ต่อแล้ว จริงมีไอโอดีนแน่ มีโอโซนมากแน่ ออกซิเจน โอโซน คือแตกตัวมาจากออกซิเจนมาก มันเป็นพ่อเป็นแม่กันมาเกี่ยวโยงกันอยู่ มีธาตุพวกนี้อยู่เยอะจริง ไม่เถียง อาตมาไม่เถียง แต่ว่าถ้าอาตมาจะกินอันนี้มันก็จะใกล้จะเป็นสัตว์แล้วอาตมาเข้าใจอาตมาก็ไม่กินต่ออะไรมากมายล่ะ ที่ฉันอันนี้ เพราะเขายืนยันเป็นพืชแต่อาตมาไม่ได้อธิบายให้ฟังอย่างนั้นหรอก ดีนะคุณกฤษเป็นคนถวายสาหร่ายทะเลอาตมา ไม่มาวันนี้ ถ้ามาจะได้เข้าใจอันนี้ด้วยว่า อาตมายืนยันว่าสาหร่ายทะเลเป็นพืชหรือสัตว์อย่างไร แต่มันยังไม่ครบ 7 Generation ยังไม่ครบ 7 ช่วงเท่านั้นเอง 

คนถามว่า...ถัดมาเป็นพวกปลาดาวอะไรพวกนี้ 

พ่อท่านว่า... คนนี้เรียนชีววิทยามาเข้าใจ คนนี้ให้ความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาอีกว่าไอ้พืชตระกูลสาหร่ายทะเล มันวิวัฒนาการต่อจากนั้นมาจะเป็นปลาดาว จริงปลาดาวรูปร่างใกล้เคียงสาหร่ายทะเลจริงๆ แต่อาตมาไม่ได้สัมผัสแบบนั้นแต่สัมผัสกับอายตนะของอาตมา มันบอกเลยว่าไอ้ลื้อ นี่มันเป็นสัตว์แล้วนี่หว่า มันยังไม่ใช่พืชอย่างที่เขาเรียกหรอก แต่มันเป็นสัตว์ที่ปักหลักอยู่กับที่เท่านั้นเอง 

ที่นี้อาตมาอธิบายถึง สต ที่มันเกิด 7 ชาติ 7 ช่วง 7 ระดับ 7 Generation เพราะฉะนั้น ถ้าใครเข้าใจจะเข้าใจต่อได้ สต เป็นสัตว์ที่แยกตระกูลจากพืชแล้วคือพวกที่ได้พบชีวิตขึ้นมา 7 ช่วงขาดลอย ตัดโคตรภูมิมาเป็นสัตว์เลยแล้วเราก็เรียกอันนี้แยกมาเป็น สัตว์หรือสัตตะ นามบาลีก็เรียกยืนยันเป็นสัตว์เหมือนกันมันก็ออกมา 

ทีนี้เมื่อผู้ใด เมื่อผู้ใดได้พยายามที่จะมาหลงมาเห็นว่าตัวเองเป็นสัตว์ มีปัญญาเท่าสัตว์แล้ว สัตว์เหล่านั้นมันก็จะยึดอัตตาตามช่วงของมัน อย่างสัตว์สาหร่ายทะเลมันจะกิน มันก็จะกินอัตตาในช่วงที่เป็นหน้าที่ของมันโดยตรง มันก็จะกินธาตุที่เกี่ยวโยงใกล้เคียงกัน พอมันมาเป็นปลาดาวอย่างที่คุณนี้ว่า เราถือว่าเป็นสัตว์แท้แล้ว ตัดโคตรแล้ว ตัดโคตรภูแล้วออกมาเป็นสัตว์แท้แล้วพอมาเป็นปลาดาวมันก็จะกินอาหารที่ใกล้เคียงกับการเป็นสัตว์มันก็คงจะกินสาหร่ายทะเลนี่แหละ

โยมว่า...มันกินแพลงตอน

พ่อท่านว่า... นั่นก็เป็นสัตว์อีกตระกูลหนึ่งที่มันแยกตัวออกมาอีกอันนึง เอาล่ะเราจะไม่พูดมาก เพราะเราจะไม่ได้มาเรียนวิชาชีววิทยากัน แต่เราจะมาเรียนธรรมะ แต่นั่นแหละ ชีวะ ชีวิตคนเราก็เกิดมาจากชีวิตนี้แหละ เราเรียนชีววิทยาจะเข้าใจอันนี้มาก แต่อาตมาเองไม่ได้ไปรื้อเรื่องพวกนี้มากนักแต่มันรู้ได้ด้วยพุทธศาสตร์จริงๆ ที่อธิบายให้ฟังด้วยเหตุผลเหล่านี้ 

เพราะฉะนั้น ภาษามันบอกเลย ถึงได้ระลึกเรื่องเก่าๆ ได้เพราะฉะนั้น สต 7 ตระกูลนี้มันก็ออกมาอย่างนี้ ปลาดาวมันจะกินแพลงตอนบ้าง สาหร่ายทะเลบ้างก็แล้วแต่มันก็จะกินอยู่ในเจนเนอเรชั่นใกล้ๆ ของมัน มันจะกินอยู่ใน Generation หรือ ว่ากินอยู่ในรอบของตระกูลที่มันใกล้ๆ เคียงๆ กัน มันไม่ไปกินเกินขนาดนั้น เป็นหน้าที่ของมัน

เพราะฉะนั้นสัตว์มันก็กินสัตว์ ต้นไม้มันก็กินสิ่งที่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟที่มันใกล้เคียงกัน ถ้าต้นไม้ที่มันโตขึ้นไปมากมันก็จะกินประเภทที่เป็นน้ำมากกว่า ต้นไม้บางชนิดไม่ค่อยกินน้ำเท่าไหร่ แต่กินดิน กินลมมาก เพราะฉะนั้นต้นไม้บางชนิดโตขึ้นมาแล้วก็มากินน้ำมากขึ้นอย่างนี้เป็นต้น พอกินน้ำมากบางประเภทโตขึ้นมาเป็น พืชที่มันโตใหญ่ขึ้นมาจนกระทั่งมันจะกลายเป็นสัตว์อีกชั้นหนึ่งแล้วอย่างนี้เป็นต้น นี่ความรู้สึกในตัวมันมากแล้ว จนกระทั่งบางทีนะ ลูกของต้นไม้นี้ออกมาเป็นสัตว์ก็ได้เหมือนกัน ใครเคยเห็นแมงหวี่มันเกิดในมะเดื่อบ้าง ไปแกะเอาเถอะในมะเดื่อนี่ แมงหวี่ในลูกมะเดื่อนะ ในเรื่องชีววิทยาจะอธิบายอย่างไรอาตมาก็ยังไม่อยากจะมาพูดนะว่าแมงหวี่มันเกิดในลูกมะเดื่อ อย่างไร จะค่อยๆเป็นสัตว์ที่ต่อเซลล์ต่อทอดกันออกมาอย่างไร อาตมาไม่รู้นะชีววิทยาอธิบายแมงหวี่กับมะเดื่อออกมาอย่างไรอาตมาไม่รู้ 

แต่ว่าถ้าสัตว์พืชกับต้นไม้มันก็มีวิวัฒนาการก้าวหน้าอย่างนี้เรื่อยมาแล้วมันก็จะกิน หรือว่ามันก็จะพยายามที่จะกินสิ่งที่มันอยู่ในช่วงใกล้ๆ กัน 

ที่นี้สัตว์ที่โตขึ้นโตขึ้นโตขึ้นฉลาดขึ้น มันก็จะกินสัตว์ที่ด้อยกว่า สัตว์ที่โตขึ้นมาเรื่อยก็จะกินสัตว์ กินสัตว์ที่ด้อยกว่าเรื่อย เช่นเดียวกันปลาตัวโตก็กินปลาเล็ก ปลาดาวกินแพลงตอน ปลาโตกินปลาเล็ก ปลา  โตขึ้นไปก็กินปลาเล็กต่อลงมาเรื่อยๆ เป็นทอดๆ แบบเดียวกัน 

เจ้าคน ที่นี้มาถึงสัตว์คน ต่อขึ้นมาที่นี้มาถึง สัตว์คนต่อขึ้นมา สัตว์ที่เป็นสัตว์ถึงขั้นเป็นคนแล้ว แต่แรกแต่เริ่มมาจริงๆ ตั้งแต่ชั้นโบราณอาการก็เป็นคนโง่ๆ มีขนยาวรุงรังเหมือนลิงก็กินสัตว์เหมือนกัน คนที่พัฒนามาเป็นคนตอนแรกๆ ก็กินสัตว์ กินสัตว์พอกินสัตว์แล้วเสร็จ ตามเชื้อของตัวเอง ที่จริงไม่ได้กินสัตว์มาทีเดียว สัตว์ในโลกนี้มันกินสัตว์กินพืช กินสัตว์กินพืชสลับมาตามระยะนะ ที่จริงแล้วคนในช่วงแรกจริงๆ เกิดมาเป็นคนนั้นน่ะ ไม่กินสัตว์ฟังให้ดีนะ    เนี่ยอาตมากำลังเล่าถึงเรื่องดึกดำบรรพ์ยิ่งกว่าดวงดาวที่ค้นพบเรื่องยิ่งกว่าใครค้นพบแล้วนะ สัตว์ที่มาเป็นคนตระกูลแรกที่จะตัดช่วงจาก สต 7 ช่วงมาเป็นตระกูลคนจริงๆคนตระกูลแรกที่สุดไม่กินสัตว์ เพราะมาจากลิง ฟังให้ดีนะ คนตระกูลสัตว์พอได้ยินคำว่าลิง คุณจะอ๋อ หรือว่าลิงมันไม่กินสัตว์มันกินพืช พิสูจน์ได้จากอะไร 

พิสูจน์ได้จากฟันของคน ไม่ใช่เป็นฟันที่สำหรับกินสัตว์ เป็นฟันที่ขบเคี้ยวแค่พืช เหมือนควายเหมือนวัว …ลิง คนมาจากลิง คนก็ตระกูลแรกที่ถ่ายทอดมาจากลิงแล้วก็กินพืชจากลิง คนตระกูลแรกที่ถ่ายทอดเรารับหน้ามาเป็นคน เป็นคนดึกดำบรรพ์ชั้นแรกเลยนะไม่กินสัตว์กินแต่ นี่เป็นต้นตระกูลคนอาตมาขอนับต้นตระกูลคนอันนี้ 

อีกต่อมาคนนี่มันก็เห็นว่าพืชมันก็กินได้สัตว์ก็กินได้คือ เป็นกิเลสนั่นเอง ก็คนตระกูลต่อมาเป็นคนป่าตระกูลต่อมาก็มากินสัตว์ ใจโหดเหี้ยมขึ้น มากินสัตว์ คนจึงกินสัตว์ตั้งแต่ที่เขายึดถือมาเลยว่าสัตว์พวกนี้มันโง่กว่าเรา เราฆ่ามันกินได้ เนื้อมันก็กินได้ กินแล้วชีวิตเราก็อยู่ได้ด้วยคนตั้งแต่บัดนั้นที่แปรเปลี่ยนจากต้นตระกูลคนชั้นแรกที่สุดนั้น ก็กลายเป็นยึดถือกินสัตว์เรื่อยมา คนต่อมาจึงสั่งสอนกันว่ากินสัตว์นั้นดีกว่า 

เพราะอะไร เพราะรสชาติของสัตว์มันสูงกว่ากิเลสกามมันมีก็เลยกินสัตว์เรื่อยไป เพราะฉะนั้นสัตว์ใดที่กินสัตว์แล้วนะจะไม่ค่อยกลับไปกินพืช แต่สัตว์ที่กินพืชไม่กินหรอกสัตว์ สัตว์ที่กินพืชเขาไม่กินหรอกสัตว์ แต่สัตว์ใดที่มันหลงเนื้อจะกินพืชยาก เช่นเดียวกันกับหมานี่ หมาตัวไหนที่ติดเนื้อมากแล้วนะ จ้างเลย เอาข้าวเปล่าๆ เอาพืชไปให้มันกิน มันไม่กินหรอก เพราะว่า เพราะกิเลสใน เนื้อมันสูงกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส    ของกามคุณเนื้อมันมีมากกว่าพืช 

เพราะฉะนั้นเรื่องกิเลสที่มันสร้างโลก มันสร้างขึ้นมาแบบนี้ หมู หมาต่างๆ มันติดเนื้อสัตว์แล้วมันจึงไม่ติดพืช ถ้าสัตว์ใดเราพยายามป้อนมันให้ดีนะให้กินแต่ผักพืชมากๆนะ อย่าเอาเนื้อไปล่อมันมากนะ มันจะกินพืชอยู่บ้าง หมานี่ บางตัวเอาพืชไปล่อมันบ้าง มันจะกินมันจะกินพืชบ้าง แล้วมันก็ไม่ตายด้วยนะ ไม่ตายไม่ตายหรอก มันก็จะอิ่มมันก็จะรักษาร่างกายของมันได้เหมือนกัน

 เอาล่ะทีนี้เมื่อโลกนี้ สร้างคนขึ้นมาเป็นสัตว์ สัตว์ตระกูลคน   คนแรกไม่กินสัตว์

แต่กินพืชอย่างอาตมาว่าแล้ว พอตระกูลคนต่อมา หลงใหลในโลกเห็นว่ากินเนื้อสัตว์มี รูป รส กลิ่น เสียง ดีกว่ากินพืชก็หลงติดกินเนื้อสัตว์แล้วก็เลยสั่งสอนกันเป็นแบบถ่ายทอด กลายเป็นคนอำมหิต คนป่าในรุ่นต่อๆ มาก็เลยขว้างเนื้อขว้างสัตว์กินกัน พืชไม่ค่อยกิน แต่ก็กินบ้างพืชเหมือนกันแต่น้อยกว่า คนป่าแต่ก่อนนี้จึงกินสัตว์มากกว่าพืช ล่าสัตว์กินเป็นส่วนใหญ่ เพราะหลง

จนต่อมาคนฉลาดขึ้น ฉลาดขึ้นจนเข้าใจแล้วว่าล่าสัตว์มันยากแท้ ทำไมคน จะต้องกินแต่สัตว์ หรือ ก็เลยกลับมากินพืช ไปกินพืชกินแป้งบ้างสิ ก็เลยเห็นว่าไม่เสียพลังงานไม่เสีย Energy ไปล่าสัตว์มาก แต่ด้วยกิเลสก็ยังติดเนื้อสัตว์อยู่นั่นเองก็เลยกินทั้งพืชกินทั้งสัตว์มันซะเลยคน ฉลาดมากเอาเปรียบ เพราะฉะนั้นคนป่าในช่วงหนึ่งนี่เขาไม่กินพืชเลย กินแต่สัตว์ จนกระทั่งมันมีปัญญามากขึ้นมันรู้จักเอาตัวรอด ก็เลยกลับจากกินแต่สัตว์มาบอกว่ากินพืชซะบ้างได้ไหม แหมมันต่อสู้กับสัตว์หากินยากเหลือเกินก็เลยมากินพืชบ้าง จึงกลายเป็นกินทั้งสัตว์ และพืชเลยเลือกกินเลยทีนี้ เอาล่ะพืชชนิดไหนที่มันมีเนื้อเนียนๆ มีเนื้อน่ากินนะ ฉันอยากกินอันนั้น ใบอันไหนที่มันมีรสชาติดี ฉันจะเลือกกินใบพืชอันนั้น พืชอันใดมีลูกดีกินลูกมันซะเลย พืชอันไหนมันมีหัวมันดี ก็ขุดหัวมันมากินซะเลยนี่คน ยอดไหม คนมันอย่างนี้ 

ทั้งๆ ที่พืชที่กินใบได้กินหัวมันก็ได้ กินต้นมันก็ได้ อย่างผักกาดหัวก็กินหัวมันก็ได้กินใบมันก็ได้แต่ไม่กินไปตัดใบทิ้งหัวมันดีกว่า นี่คนมันเก่งซะอย่างนี้ด้วยกิเลสมันเห็นแก่ตัวมากๆ อัตตามันตัวโตมากขึ้น คนนี้ขี้เอาเปรียบขี่เลือก เลือกจริงๆเลือกมากมายกินตะพึดตะพือ เพราะฉะนั้นแม้แต่พืชก็เลือกไอ้ที่แจ่มๆ ยอดๆ ทั้งนั้นเลย พืชชนิดไหนดอกน่ากินที่สุดฉันจะกินแต่ดอก พืชชนิดไหนลูกน่ากินที่สุดฉันจะกินแต่ลูก พืชชนิดไหนเม็ดน่ากินเอามันแต่เม็ดมากินก็มี นี่บางคน พืชบางชนิดเนื้อมันก็ร่อนทิ้งแล้วเอาไปตากทิ้งเอามันแต่เม็ดมากิน นี่แหละคน ยอดเอาเปรียบโลกทั้งหลายเลย 

บางทีโค่นมันมาทั้งต้นเลยนะ ปลูกกล้วยทั้งต้น ใบกล้วยก็กินได้หยวกกล้วยก็กินได้ ปลูกกล้วย บางที ทิ้งทั้งต้น หยวก ใบ ทิ้งหมดเอาแต่ลูก คิดดูซิ กว่ามันจะโตมา พอได้ลูกแล้ว คนฉลาดตัดต้นทิ้งเลยเอาแต่ลูกกล้วยมากิน นอกนั้นโยนทิ้งไปนี่คนยอดไหม ไม่ได้เห็นแก่อะไรเลยความเห็นแก่ตัวเป็นแบบนี้ แท้จริงเขาก็เป็นชีวิต แต่ว่าชีวิตเขายังไม่ได้ตัดรอบอย่างที่ว่า เขาเองเขาไม่โอดโอยไม่ได้ เพราะฉะนั้นคนเอาเปรียบถึงขนาดนี้แล้วก็กินอย่างนี้ 

คนชั้นต่อมา จึงกินทั้งพืชกินทั้งสัตว์แล้วก็กินสัตว์นี่แหละมาก ฆ่ากันเบียดเบียนกันมาก จนกระทั่งยึดถือจะกินพืชต้องกินยอดของพืชอันไหนดีที่สุดเลือกมากิน จะกินสัตว์กินทั่วไปเลยกินปูกินทั้งหมูกินทั้งหมากินทั้งช้างทั้งม้าเกลี้ยงเนื้อเสือสางมีม้ากินเกลี้ยงเลยเนื้องูก็กิน พระพุทธเจ้าท่านถึงได้ห้ามขึ้นมาว่าไอ้คนนี่หนาทำไมอำมหิตนักหนา แต่พระพุทธเจ้าจะห้ามทีเดียวสำหรับคนที่อยู่ในรอบที่เขายังติดเนื้อสัตว์ไม่ให้กินทีเดียวไม่ได้ ท่านถึงห้ามบอกว่า 

คนอย่ากินสัตว์เลย 10 ชนิดนี้อย่ากินเลยมันอุบาทก์ เหลือเกินแล้วบอกว่ามันไม่ไหวแล้วนี่มันอำมหิตเหลือเกินเกินขอบเขตเหลือเกินมันเป็นภัยแก่ตัว นี่สำคัญที่สุดเป็นภัยแก่ตัวมาก เพราะฉะนั้นคนอย่าเลยอย่ากินเลยไอ้ที่เป็นภัยทางกายก็คือ 

พระพุทธเจ้าท่านห้าม คนอย่ากินเนื้อสัตว์ 10 ชนิด ฟังให้ดีนะ พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้ห้ามแต่ละไอ้นั่นนะ ท่านห้ามคนทุกคนนะไม่ได้ห้ามแต่พระนะ เดี๋ยวนี้เข้าใจผิดคิดว่า มังสะ  10 นี้ห้ามแต่เฉพาะพระสำหรับคนกินได้ เปล่าไม่ใช่หรอกท่านห้ามคนทุกคนที่เป็นพุทธศาสนิกชนอยากกินเลยมังสะทั้ง 10 เพราะฉะนั้น เพราะเหตุว่ากินแล้วมันเป็นภัย 1. เป็นภัยทางกาย 2. เป็นภัยทางใจ

1. ถ้าใครกินเนื้อคนแล้วจะเป็นภัยทางกายเพราะคนมันยอดถ้าจะไปฆ่าคน ฆ่าคนมากินได้สักคนสองคนคนอื่นก็จะฆ่าตายประเดี๋ยวก็ติดคุกติดตารางได้ไหมติดเนื้อคนเข้าไม่ได้ เพราะฉะนั้นเนื้อคนอย่า 

2. เนื้อหมีอย่านะ สัตว์ร้ายมันจะตะปบเข้าให้ไปกินเนื้อหมีเนื้ออะไรพวกนี้ 

3. เนื้อสิงห์อย่า 

4. เนื้อเสือเสือโคร่งเสือดาวเสือดำต่างๆอย่านะนี่ท่านห้ามไว้หมดนี่เป็นภัยทางกายทั้งสิ้น แม้แต่เนื้องูก็เป็นภัยทางกายเพราะงูมันมีพิษเยอะท่านก็ห้ามไว้อีก 

นอกกว่าเนื้อพวกนี้ แล้วเนื้อคนเนื้อหมีเนื้อสิงห์เนื้อเสือดาวเสือโคร่งเสือดำเสือดาวอะไรเสร็จแล้ว เนื้องูอะไรพวกนี้แล้วเสร็จอีกนะ 

ท่านก็ห้ามต่อไปอีกว่าสิ่งที่ไม่ควรกินเพราะว่าเป็นภัยทางใจก็คือ สัตว์เลี้ยงเช่นสุนัขอย่างนี้ อย่าไปกินมัน เป็นสัตว์เลี้ยง มันเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้กันมันเป็นสัตว์ที่น่าจะเอ็นดูมัน เป็นสัตว์ที่ใช้ประโยชน์ให้แก่ตนก็ได้ เพราะหมาพวกนี้มันอยู่กับคน อย่าไปกินเนื้อมัน ถ้าใจเราไม่กรุณาปราณี แม้กระทั่งสัตว์เลี้ยงที่สัตว์มันอยู่กับคนหมาพวกนี้มันอยู่กับคนแท้ๆ ล่ะก็ คนนั้นก็ไม่มีเมตตาธรรมเลยกินได้แม้กระทั่งเนื้อหมาเลี้ยงหมาขึ้นมาฆ่ากินอีกหมดท่าเลย ท่านถึงบอกว่าอยากกินนะเนื้อหมาอยากกินอย่างนี้เป็นต้น

นี่เรียกว่ามังสะ 10 ท่านห้ามไว้เป็นประตูแรกประตูแรกที่สุด ที่นี้ประตูต่อมาสำหรับคนที่จะทำตนให้สูงยิ่งขึ้นก็คือว่า คนเรามันอยู่ด้วยการเบียดเบียน หรือสัตว์โลกนี้เกิดมาเบียดเบียนทั้งสิ้น อย่างปลาดาวเกิดมาก็มาเบียดเบียนแพลงตอนมาเบียดเบียนสาหร่าย สัตว์โลกอื่นๆ ที่เกิดมาปลาใหญ่ก็เกิดมาเบียดเบียนปลาเล็ก สัตว์ตัวที่มีฤทธิ์มีแรงมากก็เกิดมาเบียดเบียนสัตว์ที่มันมีฤทธิ์มีแรงน้อย เสือก็เกิดมาเบียดเบียนพวกเนื้อเก้งพวกเนื้อกวางต่างๆ อย่างนี้เป็นต้น มัน

เพราะฉะนั้นท่านถึงบอกว่าสัตว์ก็ดีคนที่ดีที่เป็นสัตว์โลกทุกชนิด ถ้าเราจะเบียดเบียนกันแล้วไซร้อย่างนี้ล่ะ มัน มันอยู่ในฐานะที่ใกล้เคียงกันอย่างนี้ 

...เน็ตเสีย

เคยเห็น... ไปติดเนื้อเสือเป็นภัยไปติดเนื้อหมีมันฆ่าเอาได้เป็นภัย เพราะฉะนั้นภัยพวกนี้เราจะไปเบียดเบียนแม้กระทั่งหมานี่ไม่มีใจที่จะกรุณาปราณีมาเลยก็อย่าเบียด ถ้าเราควรจะเบียดเบียน คนเองมีความรู้ถ้าจะเบียดเบียนก็จะเบียดเบียนสิ่งที่ไม่เป็นภัยต่อเราเลย สัตว์ที่เบียดเบียนกันเองเรียกว่าสัตว์ไม่ฉลาด อย่างเสือนี่ไม่ฉลาด อย่างปลาใหญ่กินปลาบางชนิด ปลาบางชนิดกินแพลงตอนนะ แพลงตอนจะฆ่าสัตว์ใหญ่ตัวโตได้ไหมไม่ได้ ไม่ได้ไม่มีโอกาสเลย อย่างปลาวาฬพวกนี้มันเป็นสัตว์ที่ฉลาดที่สุดมันกินแพลงตอนแฮะ ปลาวาฬนี้กินแพลงตอนนะ มันใหญ่ที่สุดเป็นเจ้าปลาแล้วเป็นสัตว์ที่ฉลาดที่สุดแล้วกินแพลงตอนปลอดภัย นี่เป็นต้น 

เพราะฉะนั้นผู้ที่จะเป็นสัตว์ฉลาดที่สุดในโลกต้องเลือกกินอย่างที่ไม่ทำร้าย ช้างมันไม่กินเสือ ไม่กินเก้ง ไม่กินเนื้อไม่กินกวางมันเป็นสัตว์ใหญ่ที่สุดในโลก มันกินหญ้าแฮะ มันกินใบไม้แฮะ พระพุทธเจ้าท่านเห็นชัดหมดเลย ย่าฆ่าช้างไม่ได้ย่าเบียดเบียนสัตว์เช่นช้างไม่ได้ช้างจึงฉลาดที่สุดในจำพวกสัตว์ด้วยกัน 

เพราะฉะนั้นปลาวาฬฉลาดที่สุดในจำพวกปลาไปกินแพลงตอนเพราะมันอยู่ในน้ำ มันกินแพลงตอนกินสาหร่าย แต่ช้างก็กลับไปฉลาดที่สุดคือไปกินหญ้าไปกินพืชผลไม้ต่างๆ อ้อเราเป็นคนเราก็เลิกกินได้นะพืชเราก็กินได้สัตว์เราก็กินได้ พระพุทธเจ้าถึงบอกว่าความฉลาดของคนที่สูงขึ้นกว่านั้น เราอย่าไปพึ่งหรือ เราอย่าไปเบียดเบียนสิ่งที่มันทำร้ายเราเลย ถ้าเราจะกินสัตว์อยู่สัตว์มันมีฤทธิ์มีแรงมันจะกินเราได้มันฆ่าเราได้เหมือนกัน แม้แต่กินเนื้อหมาหมามันกัดเราตายได้เหมือนกันนะ 

เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าสัตว์เล็กสัตว์ใหญ่เราก็จะไปเบียดเบียนเขาเลยแล้วเราก็ฉลาดยิ่งกว่าช้าง เราฉลาดยิ่งกว่าปลาวาฬ เราก็หารอบหาชีวิตที่ตัดรอบไกลกันที่สุดกินก็แล้วกันก็คือกินพืช คนกินพืชก็แล้วกันจะไม่มีโอกาสเลย พืชจะไม่มีโอกาสมาฆ่าเราหรือจะเป็นภัยแก่เราได้เลย พระพุทธเจ้าจึงเป็นคนอีกตระกูลหนึ่งที่มีความฉลาดสูงที่สุด คนที่ตระกูลกลับที่ไปกินมากินไป เขาเหล่านั้นกินด้วยความหลง และกินด้วยความเลือก เขาเลือกเอาพืชเขาก็จะกินชนิดที่ยอดที่สุด ชนิด ที่กินผลดีกินดอกดีกินหัวดีกินหัว ใบดีกินใบคนกินอย่างโลกกินอย่างกิเลสกินอย่างฟุ่มเฟือยกินอย่างโลกทั้งหลาย สัตว์ดีกินเนื้อสัตว์สัตว์ชนิดไหนไม่ดีไม่กินสัตว์ชนิดไหนกลิ่นเหม็นเขียวไม่กิน สัตว์ชนิดไหนกลิ่น ฉันชอบฉันกินนี่คนทั้งนั้นเพราะฉะนั้นคนพวกนี้หลงในกามหลงใน รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ทั้งนั้นเลย

พระพุทธเจ้าเป็นผู้เห็นแท้ว่า นอกจากเราจะไม่กินสัตว์ที่เป็นพิษภัยกับเราแล้วกินใบไม้ใบหญ้า ก็ไม่เลือกด้วย ผลดี กินแต่ผล ก็ไม่กำหนด ใบดีกินแต่ใบก็ไม่กำหนด หัวมันดีกินแต่หัวก็ไม่กำหนด ถ้าพืชอันใดที่มันกินได้พอเหมาะพอควรเราก็กินพืชนั้น เพราะพืชไม่มีทางมาต่อสู้เราได้แล้วไม่มีทางมาฆ่าเราได้แล้ว ท่านถึงหาความปลอดภัยให้ตัวเองที่สูงที่สุด 

พระพุทธเจ้าจึงพากันกินพืชไม่กินสัตว์ เหตุผลอันนี้รับรองว่าคุณจะไม่ได้ฟังการฟังอธิบายจากที่ไหน เพราะว่าอันนี้เป็นการรู้มาโดยญาณอาตมาเอง เกี่ยวกับญานที่อาตมาเป็นการอธิบายเป็นเหตุเป็นผลให้ฟังมีเหตุมีผลไหมฟังดู มีเหตุมีผลไหม 

มีเหตุมีผลพระพุทธเจ้าท่านเกิดมาเพื่อไม่จองเวรจองกรรมเพื่อไม่สร้างโทษสร้างภัย เพราะฉะนั้นสิ่งใดจะเป็นโทษเป็นภัยท่านหลีกท่านหลบท่านลี้ ท่านหนี เมื่ออยู่รอดได้โดยไม่ฆ่าสัตว์เลย ไม่เป็นภัยต่อกันเลยท่านกินแต่พืช จองเวรจองกรรมกันแต่แค่พืชไม่เป็นไรนี่ มันรอบไกลกันแล้ว สต ที่มันไกลมากแล้วเพราะฉะนั้น  สิ่งที่จะต้องอาศัยกันและกันแม้แต่แร่ธาตุที่จะมากินแร่มาเป็นแร่เองมันก็กินดินน้ำลมไฟที่มันจะแปลงกลายเป็นร่างมันเองได้เหมือนกัน สิ่งต่างๆมันก็กินอาหารมาแปลงร่างเป็นตัวมันเองได้เหมือนกัน 

เพราะฉะนั้นสิ่งใดที่หาความปลอดภัยให้กับตัวเองดีที่สุด สิ่งนั้นแหละฉลาดที่สุด เพราะฉะนั้นปลาวาฬจึงฉลาดมาก ช้างจึงฉลาดมากคนจึงฉลาดมาก คนฉลาดมากที่เอาเปรียบโลกและหาโทษภัยให้แก่ตนเองก็คือ คนที่เลือกกินอย่างมาก ถ้าไปเลือกกินอย่างโง่ที่สุดจนกระทั่งติดเนื้อคนแล้วกินเนื้อคน คนนั้นก็มีภัยเเยะที่สุด หรือคนที่จะต้องไปเลือกของดีๆ มากินหมด เนื้อสัตว์ฉันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เป็ดจะต้องเป็นเป็ดที่เลี้ยงอย่างดีนะ เป็ดจะต้องเป็นเป็ดกะทิ ไก่จะต้องเป็นไก่ตอนอย่างนี้นะพวกนี้เขาเรียกว่าเป็นพวกที่หาเรื่องให้ตัวอย่างมากที่สุด นอกจากเป็นภัยแล้ว สร้างอัตตกิจลมถานุโยค คือสร้างความลำบากเหน็ดเหนื่อยให้แก่ตัว ต้องเลือกกินถ้าไก่ไม่ตอน ไม่กินอ่ะอยากกินเลยเปลืองฟันมันไม่อร่อย เคี้ยวไม่อร่อยฟันมันไม่นุ่ม นี่ติดกามคุณหลงกามคุณ เพราะฉะนั้นพวกนี้หาเรื่องเหน็ดเหนื่อยให้แก่ตัวเอง เพราะฉะนั้นไก่ตอนเขาต้องเลี้ยงมาอย่างดีอ้วนพีนะราคาแพงนะ จะกินไก่ตอนทั้งทีนี่จะกินไก่ธรรมดาตัวนึง 15 บาท กินไก่ตอน 15 บาทตัวหนึ่งไม่ได้ ไก่ตอนตัวหนึ่งราคาเท่าไหร่รู้ไหม 30-50 บาท ใครเคยรู้บ้างไก่ตอนเดี๋ยวนี้บางตัวราคา 60-70 บาท คุณคิดดูซิบางคนไม่เคยได้ยินนะ บางคนไม่เคยรู้เรื่องเลยนะจะตกใจ ไก่ตอนที่เขาแขวนขายไก่มันๆ ตัวละ 60-70 บาทนะไม่ใช่เล่นๆ นะ 

เพราะฉะนั้นคนไหนที่ไปหลงติดใน รูป รส กลิ่น เสียง กามคุณ สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ตาม คนคนนั้นยิ่ง อัตตกิลมถานุโยค คือเป็นผู้ที่หาเรื่องทนทุกข์ทนลำบากให้แก่ตัวเอง กิลมถะ คือความทนทุกข์ความเหน็ดเหนื่อยเพราะฉะนั้นอยากกินไก่นี่จะต้องกินไก่ตอนต้องหาสตางค์สิ แทนที่จะไปซื้อไก่ตัวนึงเหมือนกันนะก็ต้องไปซื้อราคา 60-70 บาทแทนที่จะไปซื้อไก่ที่ตลาดสนามมวยตัวละ 15บาท16 บาท มันสูงกว่ากันมันเหนื่อยกว่ากันเท่าไหร่ 50 60 กับ 15-16 บาท 

เพราะอะไรเพราะไปติดรสในเนื้อมันในรสเหนียวบ้าง เนื้อมันไม่เหนียวบ้าง หรือรสที่มันนิ่มบ้างไม่นิ่ม ในรูปในกลิ่นในเสียงทั้งนั้นไปติดอย่างนี้ นี่เรียกว่าคนฉลาดหรือคนโง่ โง่ที่ไปติดหาเรื่องเหนื่อยให้ตัวเอง

มากมายแท้จริงนะ ถ้าเรารู้ว่าเรามีชีวิตตั้งอยู่เพื่อที่จะเอาธาตุต่างๆ จากสัตว์ก็ตามจากพืชก็ตาม ที่เรียกว่า ธาตุคาร์โบไฮเดรตก็ดี 

โปรตีนก็ดี วิตามิน a b c d ก็ดี หรือแม้แต่ธาตุแห่งความสดชื่น หรือธาตุแห่งชีวิตโปรโตพลาสซัม  อะไรก็แล้วแต่ ธาตุแรกเกลือ อะไรก็ดี เราจะเอามาให้แก่ตน ในพืชก็มี เรื่องอะไรเราจะต้องไปเอาจากสัตว์ แล้วเรื่องอะไรที่จะต้องหนักหนาเหน็ดเหนื่อยจนจะต้องเลือกกินเลือกอยู่จนกระทั่งกินไก่จะต้องกินไก่ตอน กินเป็ดต้องกินเป็ดปักกิ่ง หมูต้องกินหมูขนาดเลือกเอย่างหันนะเลี้ยงมาได้โตขนาดกระดูกกำลังอ่อนๆ นะ โตเกินไปก็ไม่ดีเหนียวเกินเล็กเกินไปก็ไม่ดี ต้องเลือกถึงขนาดนั้นจงใจที่จะต้องฆ่าแกงกันเป็นพิษเป็นภัยถึงขนาดนั้น 

คนหรือนี่เรียกว่าเป็นสัตว์มนุษย์ฉลาดเป็นสัตว์ฉลาด คนฉลาดจริงแล้วจะเอาธาตุคาร์โบไฮเดรตธาตุเกลือธาตุแร่อะไรใส่ให้แก่ร่างกายก็เอาจากสิ่งที่ไม่เป็นภัยให้แก่ตัวเองไม่ดีหรือ เคี้ยวเนื้อสัตว์กับเคี้ยวผัก เคี้ยวอันไหนยากกว่ากัน ลองคำนวณจริงๆ สิ ถ้าเนื้อไม่ต้มเนื้อไม่เปื่อย เคี้ยวเนื้อนี่รับรองอื้อหือ กว่าจะขาด แต่เคี้ยวผักบางอย่างนี่โอ้ยก้อมแก้มนิดหน่อยก็ขาดแล้วเปื่อยแล้วใช่ไหม เพราะฉะนั้นเนื้อบางชนิดต้องเอาไปเคี่ยวนะต้องใช้หม้อสตรีมเลย หม้อความดันให้เนื้อมันเปื่อย บางทีเนื้อวัวอย่างนี้ บางอย่างต้องตุ๋นกันสะน่าดูกว่าจะกินได้ บางอย่างบางอันต้องตุ๋นน่าดูกว่าจะเคี้ยวได้ อย่างนี้เป็นต้น หาเรื่องให้กับตัวเอง ไม่ต้องไปเสียไฟเสียถ่านต้องเสียหม้อตุ๋น ต้องหม้อตุ๋นอย่างชนิดของสวิต ให้มันเสียเปลืองราคาหม้อตุ๋นก็แพงใบหนึ่งเป็นร้อยๆ อะไรอย่างนี้เป็นต้น 

เพราะอะไรต้องเราต้องหาเรื่องถ้าเราไม่ติดในเรื่องพวกนี้เลยเราจะไม่ทุกข์ในการจะต้องไปเสียแรงไปหาเงินซื้อของพวกนี้แล้วก็จะต้องไปติดไปยึดไปหาทุกข์ให้ตัว กินผักกินพืชง่ายๆ ผักสดนี่กินได้ง่ายๆ เยอะไป แล้วก็มีธาตุต่างๆ พวกนี้มีธาตุโปรตีนมีธาตุคาร์โบไฮเดรตมีธาตุวิตามิน a b c ต่างๆ ง่ายที่สุด เราก็กินสิ่งเหล่านั้นให้ง่ายที่สุด (1.35) 

ที่มา ที่ไป

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง 15 เมษายน 2515 


เวลาบันทึก 22 พฤษภาคม 2567 ( 17:09:33 )

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอนที่ 1)

รายละเอียด

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง  15 เมษายน  2515 

พ่อท่านว่า... เรามาเริ่มต้น อธิบายความกันหน่อย เรื่องที่คุณพหลตั้งเอาไว้วันนี้ จะพึ่งอะไรดี ที่เราจะบรรยายกัน เป็นชื่อที่ดีที่สุด แล้วก็รู้สึกว่าจะบรรยายกัน ต้องตั้งใจฟังให้มากหน่อย เพราะเหตุว่าถ้าอาตมาจะบรรยายโดยที่เรียกว่า พื้นๆ ธรรมดา มันก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรและมันก็ซ้ำซาก แต่ที่อาตมากำลังจะบรรยายนี้ไม่ใช่เล่นลิ้น แต่ว่าด้วยเป็นถึงความเป็นจริง ไม่ใช่เป็นแต่เพียงภาษาพูดเท่านั้นด้วยนะ 

สงสัยว่าจะต้องมีใครมาคอยหมุนซะแล้วมั้ง (เทป) ไอ้นี่มันหนักพอหนักแล้วไม่ค่อยเดิน ไอ้นี่มันไม่ค่อยดีสงสัยจะต้องไปล้างเครื่อง สายพานจะหย่อนหรืออะไรก็แล้วแต่ 

เรื่องจะพึ่งอะไรดีนี้ ถ้าอาตมาพูดไปเดี๋ยวนี้ บอกว่าจะพึ่งอะไรดีนะ คนจะต้องค้านทันทีเลย ด้วยภาษา ถ้าถามบอว่าจะพึ่งอะไรดี ถามกันโป้งๆ ขนาดนี้ และโดยเฉพาะนักธรรมะที่ได้เรียนธรรมะแล้วมาพูดธรรมะกันนี่ ถ้าเราจะถามกันเปรี้ยงเลยว่า จะพึ่งอะไรดีอาตมาตอบเรื่องเหมือนกันเลย พึ่งอัตตา เพราะถ้าบอกพึ่งอัตตาเท่านั้นบอกว่าคนข้างนอกพูดแล้วคนทั้งหลายที่เราเรียนธรรมะกันโดยเฉพาะเรียนพุทธศาสนาจะต้องหาว่าอาตมาที่พูดนอกพุทธศาสนา 

เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไม่ให้หลงอัตตา ไม่ยึดถืออัตตา แต่อาตมาบอกจะพึ่งและพึ่งยึดถือมันก็อันเดียวกันนั่นแหละ ที่พึ่งสรณะที่ยึดถือก็สรณะ อันเดียวกันนั่นแหละ คืออัตตานั่นแหละ และอาตมาก็ยืนยันว่าเราจะพึ่งอัตตา นี่ไม่ใช่อาตมาเป็นคนพูด ถ้าอาตมาพูดอย่างนี้แล้วก็หาว่าอาตมานี่พูดเอาเอง เพราะฉะนั้นอาตมาจะต้องขอยกบาลีที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสเอาไว้แล้ว และบาลีอันนี้เป็นที่กว้างขวางใครๆ ก็รู้ พูดขึ้นมาก็ อ๋อทันที 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา ชัดไหม ให้พึ่งอัตตา อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา 

นาโถ แปลว่า ที่พึ่ง ที่พึ่งใด ก็อัตตาของเรา อันเป็นส่วนของเรานี่แหละ เป็นที่พึ่งที่ยิ่ง ตัวตนนี่แหละอัตตา ตัวตนของตนนี่แหละ โกหินาโถ ปโรสิยา นอกจากตนแล้วจะพึ่งใครได้ ไม่มี ไม่มีที่พึ่งอื่น นอกเหนืออัตตา หรืออัตตาแปลว่า ตัวกูของกูที่ท่านพุทธทาสว่า หรือตัวตนของตนนี้แหละ เรียกว่าอัตตาแท้ๆ ที่เราพึ่ง พระพุทธเจ้าท่านก็สอนอันนี้ เพราะฉะนั้นทุกคนก็คงจะไม่เถียงแล้ว ก็คงจะชักเอ๊ะอะไรยังไงๆ แล้วนี่ ศาสนานี้กลับไปกลับมาพูดกันยังไง  แล้วก็เป็นจริงอย่างนั้นแล้วก็จะเห็นจริงอย่างนั้นมากขึ้น เมื่ออาตมาจะได้อธิบายเรื่อยๆๆๆ แยกแยะออกไปเป็นระดับๆๆ 

อาตมาจะแยกแยะออกไปเป็นระดับ ที่จะยืนยันคำว่า ทำไมอาตมาว่าจะต้องพึ่งอัตตา หรือพึ่งตัวตนหรือพึ่งตัวกูของกูซะก่อน ก็เพราะเหตุว่า บาลีบทนี้ยืนยันอย่างหนึ่งว่านอกจากยืนยันแล้ว อาตมาเห็นด้วยและคิดด้วยและถูกต้องด้วยไม่ใช่พระพุทธเจ้าท่านพูดแล้วถูก อาตมาก็เห็นด้วยด้วย เพราะอาตมาไม่ได้เชื่อพระพุทธเจ้าทีเดียว อาตมาเชื่อปัญญาของอาตมาด้วย พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนให้เชื่ออะไรดายไปทั้งหมดเลย   ท่านสอนให้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ และเป็นผู้ที่จะต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงาย 

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าบอกว่าแม้แต่คนนี้เป็นครูของเรา ท่านก็อย่าเชื่อ เช่นเดียวกันพระพุทธเจ้าเป็นครูของเราใช่ไหม ก็เท่ากับท่านบอกว่าอย่าเชื่ออาตมานะอย่าเชื่อตถาคตนะ เพราะว่าตถาคตเป็นครูของเราก็เท่ากับว่าอย่าเชื่อตถาคตก็เหมือนกัน แต่จะเชื่อก็ต่อเมื่อเราเองมีเหตุผลเข้าใจลึกซึ้งแทงตลอดถึงเหตุและผลเป็นปัญญาแทงทะลุว่า อ๋อ มันน่าเชื่อถือ และมันเชื่อถือได้ เพราะมันมีความจริงอันแท้จริงอย่างนี้เอง แล้วเราก็เชื่อ นี่เรียกว่าอาตมาเชื่อ อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา เชื่ออันนี้ไม่ได้เชื่อด้วยปากเปล่า ไม่ได้เชื่อเพราะเป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าเท่านั้นด้วย 

และมีเหตุผลใดที่อาตมาเชื่อแล้วจะมาชักจูงให้พวกคุณเชื่อและเห็นตามด้วย แต่ฟังแล้วต้องไปพิสูจน์ถึงเห็นตามและจะเชื่อได้ มีเหตุผลอะไรเพิ่มเติม เหตุผลอันนั้นก็คือว่า ในศาสนาพุทธของเรา เราทุกคนเป็นผู้ที่รู้ดีเป็นผู้ที่เข้าใจดีทีเดียวว่า พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า ผลที่สูงสุดที่เราเองยึดถือ กันทุกวี่ทุกวัน ที่เราใฝ่เอาโดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนของเราท่านเรียกผลนั้นว่า อรหัตตผล 

อรหัตตผลมาจากภาษาบาลีคำว่า… อาตมาเริ่มเขียนเท่านี้ก็ชักจะอ๋อกันหน่อยแล้วมีอัตตาเข้ามาตัวหนึ่งแล้ว อรหะ วันนี้มาจากบาลีต้นรากศัพท์ว่า อรหะ หรือ อรหัง นี่แหละที่เราเคยสวดกันนี่แหละ ผสมกัน หรือว่าสนธิกันกับคำว่า อัตตา ก็เป็น อรหัตตะ และเราไม่เรียก อรหัตตะ ก็มีตัวต่อกันไปและเราไม่เรียกคำว่า อรหัตตา พอมีตัวต่อไปมีคำว่าผลต่อด้วยบางทีก็เรียกว่า อรหัตตผล หรือ      อรหัตตมรรค 

ผลสูงสุดที่ทางพุทธศาสนาของเราต้องการและกำลังใฝ่หากันอยู่ พระพุทธศาสนิกชนต้องการก็คือ ผลของอัตตา ที่เราเรียกว่า อัตตาอย่าง อรหะ นี่คือผลที่เราต้องการ แม้แต่อรหัตตมรรคมันก็ยังเป็นทาง สูงสุดไปถึงอรหัตตมรรคเราก็ยังต้องการบอกว่าเป็นของดิบของดีอย่างยิ่ง ทวี อรหัตตผลมันก็ยิ่งสูง ถ้า อรหัตผลสูงขึ้นไปอีกเป็นที่สุด  

ถ้าเผื่อว่าอรหัตตผลมันมากๆ เข้ เราสั่งสมอัตตา ที่เรียกว่า อรหะ ให้มากเป็นที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุด หรือแปลว่า ปลาย เพราะฉะนั้นเมื่อได้ครบอรหัตตผลรวมยอดให้เป็นที่สุดแห่งที่สุดแล้ว ท่านเรียกคนผู้นั้นว่า บรรลุอรหันต์ ได้สั่งสมผลของความเป็นอัตตาที่เป็นอรหันต์ครบหมดแล้ว  ก็เรียกว่า       อรหัตตผล เท่ากับเราสั่งสม อัตตานั่นเองใส่เข้าไปเรื่อยๆ 

แน่ใจขึ้นไปอีกนิดนึงล่ะนะที่อาตมาตอบว่า จะพึ่งอะไรดีเราก็เพิ่งอัตตานั่นเอง พึ่งตัวตนนั้นเอง หรือพึ่งรูปร่างของสิ่งหนึ่งก็ตามแต่ใครจะไปอย่างนั้นก็ตามแต่ อัตตา คือ ร่างของสิ่งสิ่งหนึ่งที่เรากำลังยึดเข้าไว้หรือสั่งสมเข้าไว้หรือสร้างเข้าไว้ 

ทีนี้ อัตตาตัวนี้ อาตมาก็ยืนยันด้วยภาษาบาลีว่า อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหิ

นาโถ ปโรสิยา พระพุทธเจ้าท่านก็ยืนยันด้วยบาลีนี้แหละว่า ตนเองนั่นแหละ ตนเองหรือ อัตตานั่นแหละ เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุด นอกจากตนหรือนอกจากอัตตานั่นแล้ว นอกจากอัตตาตัวตนของตนนั่นแล้วก็ไม่มีสิ่งอื่นที่จะดีเหนือกว่า หรือไม่ใช่ที่พึ่งที่ดี 

ที่นี้เพิ่มขึ้นมาเมื่อเรารู้แล้วว่าอัตตา มันคือ ตัวตน อรหะ คืออะไรล่ะ อัตตา คือตัวตนที่เราสร้างขึ้นมา หรือ เป็นสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเราเองเราเรียกว่าอัตตา แปลเป็นภาษาคนก็คือ  อัตตาธรรมดา หรือพระพุทธทาส ก็แปลว่า ตัวกูของกู หรือว่าตัวตน การเป็นตัวเป็นตนการยึดถือตัวยึดถือตนนี้แหละ 

อรหะนั้น โดยภาษามาแปลเป็นภาษาไทยว่า ความเหมาะสม อรหะ แปลว่า ความเหมาะสม หรือ ความเป็นไปอย่างควร ความเป็นไปอย่างพอเหมาะพอเจาะแล้วแต่ จะขยายความไปอีกได้แยะ อรหะ นี่ 

คือ ความเป็นไปอย่างเหมาะเจาะ หรือ ความเป็นไปอย่างสมอย่างควรทีเดียวเรียกว่า อรหะ

ทีนี้คำว่า อรหะ คำนี้ภาษามันกลายตัวอรหะ หรืออรหัง แปลว่า หมดกิเลสหรือใครก็คงได้ยินว่าแปลว่า  หมดกิเลส ก็จริงอยู่ถ้าผู้รู้กิเลสแล้วท่านก็เป็นไปโดยเหมาะโดยควร โดยไม่จำเป็นต้องให้กิเลสมาเกี่ยวข้อง ก็หมดกิเลสเหมือนกันแล้วท่านก็เป็นอยู่โดยเหมาะโดยควรอย่างนั้น โดยสมควรอย่างนั้น ไม่มีกิเลส สิ่งที่เรียกว่า กิเลสเพราะท่านรู้ซะแล้วว่ากิเลสคืออะไร กิเลสคือตัวทำทุกข์และท่านรู้ซะแล้วว่าทุกข์นั้น  มันเกิดด้วยกิเลสตัวขนาดไหนขนาดไหน จะปล่อยให้มันเกิดขนาดไหนมันทุกข์มากทุกข์น้อยขนาดไหน พระอรหันต์ท่านเป็นผู้รู้ แล้วท่านก็ปล่อยให้มันเกิดอย่างไม่เป็นทุกข์ตามควรตามเหมาะที่สุดในโลก อันสมมุติอยู่ 

หมายความว่า พระอรหันต์ คือผู้ที่ยังไม่ตาย เมื่อยังไม่ตายเราก็จะต้องมีการปรุงแต่ง เราจะต้องมีสังขาร อย่างน้อยที่สุด กายสังขารของเราก็ยังเหลืออยู่ กายสังขารเหลือแล้วเราก็ยังจะต้องมี วจีสังขารที่จะต้องเราจะสร้างขึ้น อริยาบทต่างๆ ก็เป็นสังขาร มโนสังขารก็เป็นสังขาร ที่เราจะปรุงจะแต่งอยู่ในโลกนี้เหมือนกัน 

พระอรหันต์จะเป็นผู้รู้เองว่า จะทำกายสังขารให้อยู่อย่างไร ในขณะใด 

กาละใด เทศะใด มันจึงจะเป็นสุขที่สุด หรือเป็นประโยชน์ถูกต้องที่สุด แล้วก็สังขารที่จะเป็นวจี คือพูดปรุงแต่งออกมาเป็นภาษาคำพูดออกมา แค่ใดๆ มันจึงจะเป็นประโยชน์ตนประโยชน์ท่านสูงที่สุด ดีที่สุด  หรือแม้แต่ที่สุด มโนสังขารขนาดใดที่ท่านจะปรุงแต่งออกมา ได้ประโยชน์สูงที่สุดเกื้อกูลโลก เป็นประโยชน์ท่านประโยชน์ตนดีที่สุด ทุกคนก็คงจะเคยได้ยินมาเรื่องประโยชน์ตนประโยชน์ท่านนี่ พระพุทธเจ้าท่านยืนยันเหลือเกินว่าคนเราเกิดมาแล้วต้องสร้างประโยชน์ตนสร้างประโยชน์ท่านให้บริบูรณ์พร้อม 

เพราะฉะนั้น พระอรหันต์เป็นผู้รู้ และท่านจะทำทุกทีไปอย่างนั้น ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจคำว่า อรหะ หรือ คำว่าอรหันต์ ให้ดีที่สุดเราจะเข้าใจโดยปาก มันก็เท่านั้นเท่านั้นแหละ มันก็จะได้พอประมาณ แต่เราจะเข้าใจคำว่าอรหะได้ดีที่สุดนั้นไม่ใช่ด้วยปากเท่านั้น มันจะต้องปรุงแต่งให้เกิดที่ตนจริงๆ ให้รู้แจ้งแทงทะลุจริงๆ เลยว่า อ๋อ ความพอดีพอเหมาะพอสมที่ถูก รู้เองโดยตนเองเป็นผู้รู้ผู้เห็น คนอื่นเข้าใจด้วยไม่พอ แต่ถ้าขนาด อรหะ หรือ อรหันต์ด้วยกันจะรู้ด้วยกันพอได้เพราะมันตัวเท่ากันแล้วนี่มันก็เทียบเคียงกันได้ แต่ถ้าผู้นั้นไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันนะมันจึงเทียบเคียงกันไม่ได้ไล่กันไม่ถูก ด้วยเหตุนี้เอง 

ท่านถึงตรัสไว้ว่า อรหันต์ย่อมรู้อรหันต์ด้วยกัน ไม่มีผิดตรงไหนเลยเพราะมีของเท่ากันมาเทียบเคียงแล้ว เพราะฉะนั้นสบายมาก แต่ถ้าไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันแล้ว ก็เทียบเคียงไม่ค่อยลงตัวหรอกว่า อรหันต์นั้นที่เรียกว่า เป็นความพอดี พอเหมาะ พอสมพอควร ก็จึงไม่พอดี ไม่พอเหมาะ พอสมพอควร 

ความพอเหมาะพอสมควรนี้ หรือใช้แต่ภาษาเท่านั้น โดยสภาวะอาตมาบอกแล้วว่า เราจะต้องไปสร้างเอาเอง ไปทำเอาเองว่ามันจะพอดีพอเหมาะพอสมควรแต่ละขนาดไหน เราจึงจะเรียกว่า พอเหมาะพอควร จนทิ้งโลกได้ทิ้งสิ่งที่มันปรุงแต่งเป็นโลกียะ ทิ้งเอาไว้ในโลกียะ อะไรเรียกว่าโลกียะ  อะไรที่มันปรุงแต่งรวมตัวลงมา เรียกว่ายังติดข้องอยู่ในโลก ไอ้สิ่งเหล่านั้นเราจะต้องไปเรียนรู้โลก  เมื่อเรียนรู้โลกแล้ว แล้วเราก็ไม่ติดไม่ข้องในโลกเหล่านี้เราไม่สร้าง ไม่สร้างโลก อรหันต์ไม่สร้างโลก สิ่งใดที่มันจะเป็นโลกไม่สร้างด้วย ไม่เอา ไม่ปรุงไม่แต่งไม่หนักไม่หนาด้วย แต่สิ่งใดที่จะสงเคราะห์โลกก็ยังพอทำบ้าง ฟังให้ดีนะคำนี้ อย่าไปเป็นคนพาซื่อกันเกินไป สิ่งใดที่จะสร้างโลกพระอรหันต์ไม่ทำไม่สร้าง แต่สิ่งใดจะสงเคราะห์โลก หรือ เกื้อกูลโลก พระอรหันต์จะทำบ้าง 

แต่ถึงแม้ท่านทำบ้างท่านก็ไม่ยึดไม่ติดด้วย ท่านสักแต่ว่าทำแต่ท่านทำบ้าง ฟังให้ดีนะประโยคนี้มันจะกินตัวเข้าไป ถ้าเข้าใจไม่พอแล้วประเดี๋ยวก็มันจะไปชนกันหมด เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จะทำอะไรทุกอย่างจึงใช้วิจารณญาณ หรือ ใช้ความพิจารณาของตนเองเสมอๆ ด้วยปัญญา พิจารณาตนเองเสมอด้วยปัญญาว่า อันนี้เหมาะควรว่าดีไหมจะสงเคราะห์โลกสงเคราะห์ตนได้พอเหมาะพอเจาะไหม เอาล่ะพอดีพอเหมาะท่านก็ทำ ถ้าเผื่อว่ากว่านี้ไหวไหม แหม..กว่านี้ไม่ไหวแล้วไม่ดีมันจะเอนเอียงไปข้างโลกมากไปจนกระทั่งเดี๋ยวเกิดเป็นตัวตนโลกหนักเกินไป ท่านไม่ทำ หรือบางทีก็เป็นทุกข์ให้ตัวเองนั่นแหละมากเกินไป ท่านก็ไม่ทำเหมือนกัน อย่างนี้ 

ก็มีขนาดอยู่ก็มีขนาดจำนวนมีความหนัก มีความเบาไม่เท่ากันกับพระอรหันต์สมัยพระพุทธเจ้า ไม่เท่ากันหรอก เพราะโลกมันไม่เหมือนกันแล้ว มันหนาแน่นไปด้วยกิเลสก็ไม่เหมือนกัน โลกมันเต็มไปด้วยไอ้โน่นยึดไอ้นี่ดึงก็ไม่เท่ากัน รูปก็ไม่เท่ากันนามก็ไม่เท่ากัน ในสมัยโน้นกับสมัยนี้ รูปที่เป็นสมมุติในโลกก็ไม่เท่ากัน นามที่สมมุติอยู่ในโลกนี้ก็ไม่เท่ากัน 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์นั้นจึงยอมอนุโลมตามสมมุติโลกจำนวนไม่เท่ากัน ขนาดไม่เท่ากัน เบาว่างก็ไม่เท่ากันนัก ถ้าพระพุทธเจ้ามาเกิดสมัยนี้ พระพุทธเจ้าก็คงไม่สอนคนเหมือนกัน อาตมาว่านะไม่สอนหรอก มันหนักหนาเหลือเกินนักหนาจริงๆ พุทธเจ้าจะมานั่งสอนว่าอ้าวนั่งอาสนะเดียวแล้วให้บรรลุเหมือนพระยสเหมือนพระปัญจวัคคีย์ไม่ได้หรอก อาตมาว่าไม่สำเร็จหรอก คนสมัยนี้มานั่งสอนอย่างนั้นไม่ได้หรอกไม่ได้จริงๆ อาตมาเชื่ออย่างนั้นเลย 

ถนนพระพุทธเจ้าถ้าเกิดสมัยนี้พระพุทธเจ้าไม่สอนหรอก จะกลายเป็นภาพปัจเจกพุทธะไปเลยไม่สอน แต่ทีนี้ต้องใช้อาศัยคนที่เรียกว่าทน ทนแดดทนฝนทนอึดทนไม้ทนปืนทนมีดทนผา ทนทุกอย่างอย่างอาตมานี่ทน ทนเขาว่าศาสตร์กราบยังไงก็ทน ที่จริงก็ไม่ได้ทนหรอกแต่อาศัยภาษาพูดไม่ได้ทนหรอก ไม่ได้เจ็บไม่ได้ปวดอะไรหรอกแต่ว่าต้องทน พูดไปแล้วคนจะว่าอย่างโน้นอย่างนี้ก็ต้องทน แต่แท้จริง อาตมาไ่ม่ได้ทนเขาจะทำมายัง ก็ไม่ได้ทนหรอก เหมือนทนแต่ไม่ได้ทนทีเดียวหรอก 

ทุกสิ่งทุกอย่างจะเกิดตาม กาละ เทศะ เกิดไปตามเวลาเท่านั้น 

ที่นี้ถ้าเราเองยังไม่ถึงได้เอาอรหัตตผลเราจะพึ่งอัตตาตัวนั้นอย่างไรมันถึงจะแจ่ม ถ้าบอกว่าให้ไปพึ่งอรหัตตผล หรือ อัตตาตรงที่เป็น อรหะ สงสัยไม่ได้พึ่งแล้วอัตตาหิอัตโนนาโถเปล่าเสียแล้ว มันจะไม่พึ่งอัตตาหิอัตโนนาโถแล้วเพราะอัตตาไปเล่นถึงขั้น อรหัง อรหันต์ ไม่ไหว

คนเราก็เลยต้องพยายามถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้เป็นผู้ที่อยู่ในวงศาสนาพระพุทธเจ้าท่านก็ให้พึ่ง รองลงมาก็คือ เมื่อพึ่งอรหะไม่ได้ แล้วมาพึ่งอัตตะที่อยู่ในอรหะไม่ได้ ก็ให้พึ่งอัตถะสิฟังให้ดีนะ เมื่ออัตตะตัวนั้น ยังพึ่งไม่ได้ก็ให้พึ่งอัตถะสิ อัตถะตัวนี้หมายถึงว่า แก่นเนื้อหาสาระ หรือสาระหรือพยัญชนะคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอัตถะ ถ้าพูดให้เต็มก็เรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ญาณที่พระพุทธเจ้าท่านได้ถ่ายทอดไว้แล้วเรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ อัตถะตัวนี้ก็มาจากคำว่าอัตตะนี่เอง ภาษามันแปลงรูปเอามาเรียกใกล้เคียงกันแล้วมันเป็นตัวโตขึ้นมาหน่อยท่านก็เลยใช้คำว่าอัตถะก็คือ แก่นแท้เนื้อหานั่นเอง หรือไอ้ตัวตนเนื้อหาธรรมะนั่นเองแต่ไม่ใช่ตัวตน ไปยึดอยู่ที่ใครแต่เป็นเนื้อหาตัวตนอันนี้อยู่ในสภาวะของ บัญญัติ อยู่ในสภาวะของบัญญัติของสิ่งหนึ่งที่ได้กำหนดขึ้นมาแล้วเรียกมันว่าคำพูดก็ตาม เรียกมันว่าเนื้อหาก็ตามแม้เรียกว่าคำพูดเราก็เรียกว่าอัตถะ แม้เรียกว่าเนื้อหาเราก็เรียกว่าอรรถแก่นสารก็เรียกว่าอัตถะ เป็นอัตถประโยชน์หมายความว่าเป็นประโยชน์ที่เป็นแก่นสารจริงๆ 

นี่เราก็พึ่งสิ่งนี้ต่อมา เรียกว่าพึ่งอัตถะซิ เมื่อเราจะพึ่งอัตถะเราก็ศาสนาพุทธเราก็มาเรียนอัตถะของพระพุทธเจ้า มาเรียนภาษาที่พระพุทธเจ้าท่านเทศน์เอาไว้ก็ตาม หรือพระสงฆ์ผู้ที่รู้อัตถะ เนื้อหาสาระของพระพุทธเจ้า จนกระทั่งเราเอาไปประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนรู้ถึงอทะแท้ๆ รู้ถึงสภาวะตัวจริงๆ ก็เอามาถ่ายทอดอัตถะนั้นออกมาเป็นภาษาก็ตาม ก็เหมือนกัน แล้วเราก็มาพึ่งอัตถะนี้ เป็นชั้นรองลงมา 

คำสอนต่างๆ นี้ดังเช่นที่อาตมากำลังพูดอยู่นี้ อธิบายอยู่นี้เรียกว่า อัตถะทั้งสิ้น คือเป็นภาษาเป็นคำพูด และภาษาคำพูดอันนี้ ชักออกมาจากเนื้อหาแก่นแท้หรือแก่นสารของมันแท้ๆ เลยชักออกมา แล้วเอามาโยงใยมาพยายามชี้ให้พวกคุณได้ฟังเพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์ในการฟัง เกิดปัญญาในการฟังจึงเรียกว่า            สุตมยปัญญา เข้าใจจริงๆ ในการฟังให้ได้แน่นอนมากมาย จนกระทั่งคุณเอาไปคิดทบทวนที่บ้านที่ไหนก็ตามแต่เรียกว่า จินตามยปัญญาอีกทีหนึ่ง คิดทบทวนจนกระทั่งรู้เข้าใจซาบซึ้งว่าอ๋ออรรถนี้หนอ ที่ภาษาที่ได้ฟังมานี้หนอ เป็นภาษาที่มันมีเหตุมีผลจริงๆ เป็นของที่ควรที่จะได้เอามาใช้ เป็นของที่ควรจะได้เอามาอบรมตอนเอามาประพฤติปฏิบัติตามจริงหนอ แล้วเราเองก็จะได้เอาอัตถะนี้ไปประพฤติ 

การประพฤติการบำเพ็ญนั้นท่านเรียกว่า พตะ ก็คืออัตตะอีกนั่นแหละฟังให้ดีไม่ได้หนีจากอัตตะไปไหนเลย พตะ คือตัว พ กับ อัตตา พ.พาน สนธิกับความว่าอัตตะ หรือ อัตตา แปลว่าการประพฤติหรือการบำเพ็ญหรือการกระทำ 

ที่นี้เราจะไปประพฤติหรือบำเพ็ญสิ่งอันนั้นเราก็เอาสิ่งอัตตะที่เราได้มาแล้วจากการฟัง มาคิดทบทวนแล้วก็เอามาบำเพ็ญ เอาไปอบรมตนเรียกว่า ภาวนาก็ได้ภาวนาก็อบรมตนให้เกิดอย่างนั้นอย่างนั้นเรียกว่า ภาวนา หรือเรียกว่าเอาไป พต ก็ได้ หรือเอาไปประพฤติไปบำเพ็ญไปกระทำ 

พตะ อันนี้ก็คือเอาไปทำจริงๆ ให้มันเกิดในตัวในตนจึงเรียกว่า พ + อัตตะ ให้มันเป็นตัวตนเกิดมาที่ตัวที่ตนเรียกว่า พ หรือ พตะ อัตถะ สิ่งที่ได้มาตอนที่อาตมายกเหล่าเนื้อหาแก่นแท้ที่ได้มาเป็นภาษาที่พูดออกมาก็ตามพระพุทธเจ้าท่านเรียกว่า ข้อควรเอาไปประพฤติ ได้ยินเป็นภาษามาทบทวนเป็นข้อเป็นหลัก เป็นหลักใจหรือเป็นกฏอันหนึ่ง ที่เราจะเอามาประพฤติตาม นอกจากภาษาที่เรียกว่า อัตถะ นั้นเอามาโน้มน้อมประพฤติแล้วท่านยังเรียกว่า ศีล อีกเหมือนกัน 

ฟังให้ดีนะมันคล้องจองกันหมดธรรมะ นี่มันเรื่องเดียวกันหมดท่านเรียกว่าศีลด้วย ศีลนั่นคือ หลักใจศีลนั้นคือข้อควรประพฤติที่เราได้ฟังได้รับมาจากครูหรือได้รับมาจากอาจารย์ ที่ท่านบอกให้ เช่น ท่านว่าปาณาติปาตาเวรมณี อ้าวพยายามประพฤติละเว้นศัตรูอันที่จะทำตนเองไปเบียดเบียนผู้อื่นเสีย เรียกว่าปาณาติปาตาเวรมณี นี่เป็นศีลหรือเป็นอัตถะเป็นภาษาที่ท่านกล่าวออกมาบอกให้เราประพฤติอย่างนี้ 

ผู้ที่ได้อันนี้ฟังอันนี้มา เรียกว่า ศีลแล้วก็เอาศีลข้อนี้เองมา พตะ มาประพฤติ ผู้ใดได้ศีลข้อนี้มาแล้ว หรือได้หลักใจอันนี้มาแล้วมาเห็นดีเห็นชอบมาคิดทบทวนว่าเออควรจะเอาศีลข้อนี้มาภาวนา แล้วก็เอามาลงมือภาวนาจริงๆ หรือทำให้มันเกิดที่ตนจริงๆ หรือทำให้มันเกิดอัตตาทำให้เกิดผลเป็นอัตตาตัวตน ขึ้นมากับตนกับตัวจริงๆ จนเรียกว่า พตะ ผู้นั้นก็จะได้ความจริงจะได้ตัวตนอันแท้จริงขึ้นมาให้ตัวเองเลยทีเดียว มันก็จะเป็นผลเรียกว่า อรหัตตผลแต่ผลขึ้นมาเรื่อยๆ 

ผู้ใดมีศีลแล้วก็มี พตะ มีการบำเพ็ญจริงๆ เกิดผลจริงๆ ผู้นั้นจะได้เอา       อรหัตตะ จะได้ผลจะได้เอาอรหัตตผล 

แต่ที่นี้ผู้ใดเอาไอ้สิ่งที่ได้มาจริงๆ ที่เขาบอกมาอาจารย์บอกมาครูบอกมา แต่ครูบอกมาอาจารย์บอกมา ทว่า ผู้นั้นประพฤติไม่จริงประพฤติเป็นศีลที่เรียกว่าสักแต่ว่าศีลเฉยๆ ศีลลูบๆ คลำๆ ศีลที่ไม่แท้ศีลที่มีแต่ภาษาศีลที่ไม่มีเนื้อมีตัวไม่มีอัตตาศีลที่ไม่เกิดตัวเกิดตนเลยฟังแต่ภาษาแล้วเอาไปออกแขกออกลิเกอยู่ บางทีก็ไปนั่งฟังพระท่านมาถึงก็ไม่ยังภันเตวิสุงวิสุง รักขนถายะ ที่วัดพระท่านก็ออกลิเกพร้อมเลยขึ้นต้น ปาณาติปาตา เวระมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ กว่าลิเกบทนี้กว่าจะมีบทร้องบทขับจนกว่าจะจบนะ ผู้ที่ไปขอมายังภันเตก็ตาม พอพระท่านสวดท่านขับร้องออกมาเสร็จแล้ว อุบาสกอุบาสิกาศึกษาทั้งหลายก็บอกว่าปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามินี่เรียกว่ารับศีลได้ศีลมา 

เสร็จแล้วได้แล้วศีลมาแล้วจะเป็นศีล 5 ศีล 8 ก็ตาม พอได้ไปแล้ว ก็ถือเอาไว้ทีเดียวแบกเอาไว้ทีเดียวแหมปานาเราก็ถือ อะทินนาเราก็ถือกาเมแล้วก็ถือ     มุสาวาทาเวระมณีเราก็ถือ สุราเมระยะมัชชะปะมาก็ถือ บางคนถือไว้ร่าเลยเช้าวันนี้เราทำงานทำบุญวันเกิดนิมนต์พระมาขอศีลแล้วแต่เช้า พอตกบ่ายๆ หน่อยเพื่อนก็บอกว่าเฮ้ยเปิดกาขาวให้ทีสิ ไม่เปิดกาขาวเลย เพื่อนจะเลี้ยงวันเกิดนี่เจ้าภาพก็เปิดกาขาวเข้าให้ เพื่อนก็ดื่มกาขาว บอกว่าพระเจ้าภาพไม่กิน หรือ เจ้าภาพบอกว่ารับศีล เพื่อนก็บอกว่าศีลก็ศีลสิเราก็มาดื่มด้วยกัน เสร็จแล้วก็ดื่มเข้าให้

เสร็จแล้วลิเกบทนั้นก็ผ่านไปผ่านไปเหมือนสายน้ำไหลสุราเมระยะมัชชะปะมา ก็เทลงทะเลเลย  ไม่มีเนื้อไม่มีตัวไม่มีตัวมีตนไม่มีการประพฤติไม่มี พต ไม่เกิดตัวเกิดตน พ + อัตตะ ไม่เกิด เรียกว่พระก็ได้ เราจะทำตัวให้เป็นพระก็ได้เราจะทำตนให้เป็นพระไม่เกิด พระอันนี้ไม่เกิดเพราะไม่มีโพไม่มีโพธิ พ. พานนี้สำคัญไม่เป็นพระเพราะไม่มีโพธิ โพธิ คือ ความรู้หรือปัญญา เมื่อไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาเพราะตัวเองไม่ได้ปฏิบัติก็จึงไม่ได้เกิดความรู้ไม่ได้เกิดปัญญา 

โพธิสัตว์ หรือ โพธิสัตโต หลวงพ่อเณรโพธิสัตโต คำว่าโพธิสัตโตก็มาจากคำว่า โพธิ บวก สัตตะ สัตตะ คือ ส + อตต

สัตว์โต สัตว์ รากศัพท์มันมาจากคำว่า สัตตะ ถึงแม้ตอนนี้ภาษาบาลี สัตตะก็แปลว่า สัตว์โลกอยู่เหมือนกัน ใครเรียนภาษาบาลีจะรู้แม้แต่คำว่า สัตว ภาษาบาลีก็ยังเรียกว่า สัตตะ มาจาก ส.เสีย บวกอัตตา แปลว่า สัตว์โลก 

ถ้าสัตว์โลกโดยตรงแล้วจะอธิบายต่อไปไว้ตอนท้ายๆ ก่อน จะเป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังไม่เป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังเป็นขั้นอรหัตตะอยู่ 

โพธิสัตว์คือผู้ที่มีความรู้ผู้ที่จะเป็นโพธิสัตว์ตะได้ต้องเป็นผู้ที่มีอรหัตตะเป็นผู้ที่มีอรหัตผลให้ตัวเองแล้วรู้ แล้วมีความรู้รู้อัตตา  ตัวที่มีความเหมาะสมพอดีแล้วเรียกว่า เป็นผู้ที่มีปัญญาตัวอรหะหรืออรหันต์ หรือ ตัวความพ้นกิเลสรู้จักกิเลส รู้จักความพ้นกิเลสก็นึกว่ารู้จักความเป็นอรหันต์ รู้อรหันต์ ฟังดีๆ นะอาตมาใช้ภาษาที่พวกคุณเคยได้ยินได้ฟังทุกวัน แต่คุณไม่ได้เข้าใจภาษา อาตมากำลังเอาภาษามาคลี่คลายให้ฟัง เพราะฉะนั้นโพธิสัตตะ หรือ โพธิสัตว์นี่เราเรียกศัพท์ทับไปอีกเรียกว่าพระโพธิสัตว์ คือตัวบุคคลผู้หนึ่งที่มีความรู้มีปัญญาเรียกว่า โพธิ แล้วก็เป็นสัตว์โลกเป็นตัวตนจริงๆ เป็นสัตว์โลกจริงๆ 

แล้วก็เอา อัตตะ ที่เป็นอรหัง อรหัง หมายความว่าสิ่งที่พ้นกิเลส หรือรู้กิเลสและก็รู้การทำตนให้พ้นกิเลสอย่างที่อธิบายมาแล้ว เพราะฉะนั้นรู้ อรหัตตะตัวนี้ก็เอาอรหัตตะตัวนี้มาอธิบายสู่กันฟัง 

ทางมหายานเขานี่ เขาบอกว่าพระโพธิสัตว์นี่ เป็นผู้ที่ไม่บรรลุอรหันต์ก็จริงก็ได้เหมือนกัน เขาจะเป็นผู้ที่มีแต่อรหัตตผลเรื่อยไปแล้วก็เป็นโพธิสัตตะเรื่อยไปเขาจะไม่ยอมเกิดยอมสูญ เขาจะไม่ยอมเป็นอรหันต์ คือเขาจะไม่ยอมมีที่ปลายเขาจะไม่ยอมมีที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุดเขาจะไม่ยอมที่สุดเขาจะเกิดๆ ช่วยคนทั้งโลกนี้จนกระทั่งคนสุดท้ายในโลกนี้เหลืออยู่เขาก็จะช่วยคนสุดท้ายนี่ แหม…รู้สึกว่ามีอธิษฐานจิต หรือว่ามีปณิธานสูงเหลือเกินฝ่ายมหายานจะช่วยคนสุดท้ายซะก่อนในโลก ให้พ้นโอคะสงสาร แล้วตนเองถึงจะช่วยตอนนี้เรียกว่าทางมหายานเขาเอาร้ายกาจถึงขนาดนั้นก็ดีอยู่นะเป็นประเด็นทางที่น่าดูเหมือนกันแต่คิดดูซิมันจะเป็นได้ไหมหรือ มันเป็นไปไม่ได้หรอก มันเป็นแต่เพียงคำพูดอันหนึ่งเท่านั้นเอง ซึ่งเป็นคำยั่วยุ เป็นอุบายโกศลอันหนึ่งยั่วยุให้คน มีความตั้งใจสูง 

การช่วยคนให้พ้นอรหันต์ โดยเอาอรหัตตคุณ หรือเอาอรหัตตผลก็เหมือนกัน เอาหัตถกุล หมายถึงคุณความดีที่รู้ว่าเอารหัสหมายถึงอะไร เป็นเนื้อเป็นตัวเป็นอัตตาขึ้นมาแล้วเอาอรหัตตาคุณ มาเผื่อแผ่มาสอน มันก็ดีผู้ใดมีอรหัตตคุณมีอรหัตตผลแล้ว เอามาแจกจ่าย แต่ถ้าใครเอาเงินเอาทองมาแจกจ่ายเฉยๆ ยังไม่ใช่ชั้นดีหรอก ถ้าใครมีเอาอรหัตคุณเอาอรหัตตผลมาแจกจ่าย เอาอรหัตคุณเอา

อรหัตตผลอันนั้นเราเรียกว่าตัวธรรมะแท้ๆ ล่ะ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำทานโดยเอาอรหัตตคุณ หรือ อรหัตตผลมาจากจ่ายคนนั้นเป็นผู้ที่มีการทำทานชั้นสูงสุด ผู้ที่มีอย่างนั้นพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ ว่าผู้ที่มีธรรมทานผู้นั้นแหละเป็นผู้ที่ชนะโลก เป็นผู้ที่ให้ทานสูงสุดในโลก ที่ท่านเรียกว่า สัพเพทานัง ธัมมะทานังชินาติ ไม่มีทานอันใดที่จะแจกจ่ายหรือการทำให้แก่ผู้อื่นจะได้ผลบุญที่ดีที่สุดสูงที่สุด หรือว่าเป็นการให้ทานที่ชนะเลิศทั้งปวง ทานให้ธรรมทานเป็นธรรที่สูงสุด 

ธรรมะอันนั้นคืออะไรที่ดีที่สุดคือ อรหัตตคุณ หรือ อรหัตผล คือความรู้อรหันต์ หรือเอาตัวตนของอรหันต์มาชี้แจงเอาตัวตนของอรหันต์มาแจกจ่าย และอรหังก็คือสภาวะของกิเลส และสภาวะของการฆ่ากิเลสหรือการทำกิเลสให้พ้นไปเรียกว่าอรหัง เราก็ทำอันนี้ให้ได้รู้ให้ได้แล้วจึงเอามาแจกจ่าย 

ผู้ใดไม่มีเลยไม่มีอรหัตตคุณในตนเลย ไม่มีเอาอรหัตตผลในตนเลยผู้นั้นจะเอาอรหัตตผลเอาอรหัตตคุณมาแจกจ่ายได้ไหม ได้ไหม ลองคิดดูซิ ไม่ได้เราจะเอามาจากไหนตัวเองไม่มีเลยไปเชือดเฉือนมาจากไหน แต่เอาเถอะเมื่อไม่ได้เมื่อไม่มี ท่านก็มีอยู่ในภาษาท่านจดไว้บ้างก็มีท่านลอกไว้บ้างก็มีท่านจำกันไว้บ้างก็มีเป็นภาษาบอกกล่าวกันในหูในอะไร เป็นอัตถะชั้นรอง เรียกว่า อรรถฎีกาอาจารย์ก็ตาม เรียกว่า อาจารย์ท่านรองเขียนลงมาอีกอะไรพวกนี้ เราก็เชื่อ               อรรถฎีกาจารย์ต่อลงมา คำข้อเขียนบอกไว้จดไว้ฎีกา จดบอกฎีกาจดบอกแล้วก็อาจารย์เหล่านั้น ก็เอาคำจดบอกเหล่านี้มากล่าวต่อๆ กันไปก็ได้ประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์มันยังไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงยังไม่ใช่ป้อนออกมาจากตัวเองเลย มีอรหัตตะอยู่ในตัวเลย ไม่ใช่ 

ถ้าผู้ใดมีอรหัตตะอยู่ในตัวเลยจริงๆ ชักออกมาทีไร มันแน่นหนามันรู้สึกว่ามันลวดลายเลยมันออกฤทธิ์ออกเดช มันมีตัวตนดีจริงๆ ถ้าใครเห็นตัวตนอัตตานี้จะเห็นชัดๆ เลยโอ้โหตัวตนนี้ปั้นไม่ง่ายนะ คนที่มีอยู่แล้วจริงๆ เมื่อควักออกมามันจะดิ้นพลาดๆ ออกมาเห็นออกปากเลยมันคอมเพล็ดเลยมันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นตัวเป็นตนเห็นชัดเจน แต่ถ้าคนที่ไม่ก็พูดแต่ภาษาที่ท่องมา เรียกว่า อรรถฎีกา

จารย์ ว่ามา หรือ อาจารย์ของเราบอก ให้เราท่องไว้อย่างนี้นะแล้วเราก็เอาท่องๆๆบอกตาม 

ก็จะได้แค่ภาษาแค่นั้นเราก็ฟังตามๆ กันไปแค่ภาษาท่องๆๆ ภาษาพูด     เรียกว่า ญัติ ภาษาบาลีท่านเรียกว่า ญัต ญ กับ อัตตะ ผสมกัน เรียกว่า ญัตตะ พอเวลามาสวดเอามาใส่กิริยาเพิ่มท่านเรียก ญัตติ ตัว ญัตต หรือ ญัตติ คือตัวตนที่เป็นเรื่องราวเป็นที่จะเข้ารูปเป็นขอบข่ายเอามาพูดกัน ภาษาโลกๆ คำว่า ญัตติ หมายถึงหัวข้อ หรือ อัตตาที่มันรองลงมาอีกทีแล้ว อัตตาตัวที่ค่อยๆ เรื้อลงเหลือแค่ภาษาเหลือแค่สิ่งที่ควรจะเอามาตีแผ่กันออกมาอีกที ไม่ใช่อัตตาตัวต้นตอของอรหะแล้วเป็นญัตติเป็นอัตตาตัวที่เรียกว่า  เกิดมาหลายชาติแล้วไม่ใช่เป็นตัวต้นตระกูลแล้วมันบาง ๆลงมาแล้ว เป็นญัตตะ หรือ ญัตติ เพราะฉะนั้นจะเอา ญัต ตัวนี้มาสวดให้กัน มันก็แค่มาญัติให้แก่กันนี่ภาษาไทยพูดนะ ภาษาบาลีเขาก็พูด ญัติเหมือนกัน จะนึกว่าเป็นปริยัติก็ได้ นี่อาตมาพูดถึงวิวัฒนาการของภาษา 

เพราะฉะนั้นปริยัติก็มาจากตัวเดียวกัน คือ ญัต มาเป็น ปริญัติ             ปริยัติ หมายถึง ญัติตัวเดียวยังไม่โก้ต้องปริเลย ปริ หมายถึง เต็มรอบครบเลย     ปริ คือคำสอนแท้ๆ เลย เอาปริยัติเลย 

ภาษาที่มันยืดยาดออกมาเป็นสมมุติที่เราเองเอามาใช้สภาวะที่มันเกิด เพราะฉะนั้นต้องพยายามตามสภาวะแล้วก็ต้องพยายามตามภาษาที่มันโตมันใหญ่ขึ้นมาด้วย ถ้าเราจะเอาภาษาตัวเก่าอย่าง ย ยักษ์ ยอหญิงมันเพี้ยนขึ้นมามันก็จะซ้ำแซะอยู่เพราะฉะนั้น เขาจึงแยกย้ายจากยยักษ์มาหา ญ หญิง ไปเรื่อยๆ เหมือนกัน ปริยัติเราจึงแปลว่าคำสอนโดยตรงและก็จริงคือศีลนั่นเอง ปริยัติคือศีลหรือเนื้อหาคืออัตถะที่เรา ที่พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเรา พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเราอันใดอันใด อันนั้นเป็นปริยัติ อันนั้นเป็นอัตถะที่เราจะมาประพฤติมาปฏิบัติเอามา พต เอามาประพฤติบำเพ็ญทั้งหมดทั้งมวล นี่เรียกว่าความคลี่คลายของอัตตามันตัวใหญ่มาตั้งแต่อัตตาที่มันเป็นไปอย่าง อรหัต หรืออรหันต์ อรหัตตคุณ​ จนกระทั่งตัวใหญ่มาเป็นอัตถะ 

โตใหญ่นี่หมายถึงตัวใหญ่อย่างโลกมาเป็นอัตถะะ จนกระทั่งมาเป็นผู้ที่มีอัตถะนั้นจริงๆ คือโพธิสัตว์เอามาถ่ายทอดกัน เพื่อที่จะให้เรา พต ให้เราประพฤติ จนกระทั่งภาษาที่พูดนี้มันจางลงจางลงหรือมันโลกโตขึ้น เป็นโลกมากขึ้นมันเป็น ญต หรือญัตติ  มากขึ้นจนเป็นปริยัติก็ตามนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังพระพุทธเจ้าทั้งนั้นมันโตขึ้น มันโตมา ๆ 

ที่นี้อาตมาจะต่อให้หมดไอ้อัตตะทั้งหลายที่เราจะพึ่ง เมื่อเราเองเรา พต เราพยายามที่จะ ประพฤติได้เราะจะประพฤติอย่างไรล่ะ 

เช่น ท่านสอนว่าปาณาติปาตาเวรมณีแต่อย่าฆ่าสัตว์นะ เป็นอัตถะที่ท่านให้มาหรือเป็น พต ที่ท่านให้มาหรือเป็นปริยัติที่ท่านให้มาซึ่งเราเองเราจะเอามา พต หรือเอามาประพฤติเราก็ต้องประพฤติเอามาทำลงไปจริงๆ ให้มันเกิดผลแก่ตัวเรา อย่าง มต นี่เป็นอัตตาอีกตัวหนึ่งแล้วมาจากคำว่า มัด บวก อัตตะ

ให้มันเป็น มต  มตตัวนี้หมายถึงตามสมควรหรือตามพอดี  มต ตัวนี้ มม้า บวกอัตตา หมายความว่าพอดีพอควรหรือเหมาะสม ต้องกำหนดรู้กำหนดทำให้มันพอดี มต หรือ มัตตัญญุตา หรือมัตตัญญู แปลว่าทำให้พอดี 

ที่นี่มาขึ้น มัตตะ อีกตัวนึงก็คือ มตาหรือมต มต คือพคือพออดี มีลักษณะคล้ายอรหะ คือ เป็นตัวอ่นอกว่า 

มต ตัวนี้ก็เป็นอัตตาตัวหนึ่งที่เป็นความเหมาะควรที่เป็นชั้นสำหรับแต่ละบุคคล อย่างบางคนขณะนี้นะ จะให้มาประพฤติอย่างอาตมาทันทีขณะนี้ เงินทองไม่เอาจริงๆ เลยไม่ใช้เงินไม่ใช้ทอง รองเท้าก็ไม่ใส่ มีผ้า 3 ผืน สมบัติอะไรไม่สั่งสม เอาแค่รองเท้าไม่ใส่นี้ก่อน ไม่ไหวเหมือนกัน ก็เรียกว่าไม่ใช่ มต มัน มต ไม่ลงแล้วล่ะ หรือให้มาโกนหัวตอนนี้ก็ยังโกนไม่ได้แล้ว ยังไม่ถึงรอบมันยังไม่ถึงขั้นที่จะต้องโกนหัวได้ก็เรียกว่า มต อันนั้นยังไม่เป็นตัวเป็นตนเหมือนกันยังไม่เป็น อรหะ 

ถ้าอาตมาเรียกว่า ถ้าเป็นตัวของอาตมานะ ขณะนี้ถ้าให้อาตมาเป็นอย่างของพวกคุณนี่อาตมาบอกว่า มันแสนจะง่าย มันเป็น มต มันเป็นชั้นอ่อนมันเป็นชั้นเยาว์ ขณะที่สิ่งที่คนเคร่งๆ อย่างยกตัวอย่างเมื่อกี้ ศีลข้อปาณาติบาตอย่าฆ่าสัตว์นะ พวกคุณก็บอกว่ามันยากแฮะ บางบางทียุงกัดก็ไม่ไหว ต้องตบ งูเข้าบ้านมามันต้องฆ่า ไม่ฆ่าไม่ได้ มันเป็นพิษเป็นโทษเป็นภัยความเหมาะสมของคุณก็ยังยากยังต้องตบยุงเดียวต้องฆ่างู แม้แต่ศีลหรืออัตถะะจะได้รับมาจากพระโพธิสัตว์ใดที่ท่านสอนไว้ว่าอย่าไปฆ่าสัตว์นะ คุณก็ยังทำยากอยู่นั่นเอง เป็น  มต เป็นความเป็นกลางความเหมาะสมความพอดีของคุณคุณทำให้เกิดอัตตาให้ได้ความมัชฌิมาของคุณทำให้เกิดให้ได้ 

จนกระทั่งเกิดความไม่ได้เดือดร้อนไม่ได้ลำบากอะไรเลย ตอนแรกคุณอาจจะต้องเข้มงวดกวดขันกับคุณมากทีเดียวคุณเคร่งครัดมากทีเดียวไม่พยายามเผลอ ถ้ายุงกัดก็ไม่พยายามตบทันทีให้มันตาย ต้องพยายาม แหมมันยาก งูมาไม่ฆ่านี้ยากเหมือนกัน คุณต้องอ่านใจคุณด้วยและระมัดระวังสติคุณด้วย 

มีเพื่อนอาตมาคนนึงแต่ก่อนเขาเจองูไม่ได้เป็นอันขาดต้องฆ่ากัน เจองูที่ไหนต้องฆ่าดะ รู้สึกว่าเป็นศัตรูกันหมดกับงูนี่มันมีพิษมีภัยเหลือเกินบอกว่าไม่ได้หรอกมันอยู่ร่วมโลกกันไม่ได้ จนกระทั่งเดี๋ยวนี้เขาได้ฟังธรรมมาเรื่อยๆ เขาก็สนใจธรรมะเรื่อยมา จนพยายามที่จะถือศีลให้มันบริสุทธิ์ ซึ่งมันเป็นไปเองแหละเขาเข้าใจธรรมะ เขาก็ถือศีลเขาเองแล้วเขาก็พยายามไม่ฆ่าสัตว์จริงๆ 

วันหนึ่งเขาก็เจองูที่บ้านเขา เจองูโอ้โหเขาบอกว่า เขาพยายามมีศีลให้บริสุทธิ์นี่เขากำลังจะประพฤติอัดถาดที่ได้รับมาจากพระโพธิสัตว์บอกไว้ว่าอย่าฆ่าสัตว์นะ เพราะฉะนั้นเขาจะต้องใช้ความพยายามของเขาอย่างที่สุดที่จะทำอัตตา ที่มันเป็น มะ คือ มัตตะให้ได้ จะทำความพอดีให้เกิดแก่ตนให้ได้ให้มันเป็นกลางให้มันไม่เดือดร้อน ให้มันไม่ทุกข์ไม่ทรมาน ให้มันทำทุกอย่างให้มันเป็นทุกข์อย่างไม่สุขไม่ทุกข์ด้วย เขาพอเจอแล้วอารมณ์จิตของตัวแรกของเขาบอกเลยว่า อื้อหือมันอยากจะฆ่าเพราะความเคยชินที่อยากจะฆ่าและนึกเกลียดงูมานาน อยากฆ่าแต่มีสติ ก็บอกว่า เอ๊ะฆ่าไม่ได้ฆ่าแล้วผิดศีล ลำบากแน่ ขนาดนั้นเขาบอกว่าเขาต้องสงบอกสงบใจไปนานเลย ใจมันเต้นเร้าๆ มันเต้นอยู่ในใจว่ามันอยากจะฆ่า  ใครเคยมีสภาวะนั้นอยู่ในตนเองจะเห็นตามเลย เขาบอกว่าต้องสงบอกสงบใจตั้งนานกว่าใจมันจะเป็นกลาง กว่าใจมันจะเป็น มต กว่าจะทำให้ใจเฉยๆ กับมันได้แม้นาน จนกระทั่งใจเขาสงบเลย บอกว่าไม่ได้หรอก ช่างมัน มันจะยังไงก็ช่างมันพอควรมันไม่ก้าวก่ายจนกระทั่งเข้ามาที่นอนเราก็ใช้ได้ มันอยู่ข้างนอกก็ช่างมันเถอะ 

เขาพยายามที่สุด จนกระทั่งเขาเอามาเล่าให้อาตมาฟังว่าเออนี่แหละ เป็น พฤติหรือ พต เป็นการประพฤติบำเพ็ญจริงๆแล้วเขาก็เห็นจิตของเราจริงๆ ว่าแหมมันต้องทน กว่าจิตมันจะสงบลงเป็นกลางได้นานเหมือนกัน แล้วเขาก็ได้ทำจริงๆ ได้ พต จริงๆ หรือได้ประพฤติให้มันเกิดอัตตาตัวนั้นในตนจริงๆ เกิด มต เกิดความเป็นกลางเกิดความเหมาะสมพอดีๆ เพราะงูตัวนั้น มันก็อยู่ของมัน เราก็อยู่ของเรา เราก็อยู่ของเรา เขาเล่าว่างูตัวนั้นมันก็เชื่องเสียด้วยนะ มันแสดงลอยหน้าลอยตาลอยนวลไม่รีบหนีเสียด้วย คล้ายๆ กับมันยิ่งยั่วยิ่งยุ เดี๋ยวฉันก็เอากระบองล่อให้เสียนี่คล้ายๆ อย่างนั้นยิ่งยั่วยิ่งยุเสียด้วย เพราะแต่ก่อนจะไล่งูกับเขาเจอกันไม่ได้หรอก อย่าว่างูมันจะวิ่งหนีเลยเขาไล่ตามเลย ทุกทีๆ เจองูแล้วมันไม่อยู่รอหน้าหรอก ธรรมดาของเขานะ เขาบอกไม่มีงูตัวไหนอยู่รอหน้า ไม่มี พอเจอปั๊บ มันก็วิ่งปั๊บ เขาก็ตามไปฆ่าทันทีเหมือนกัน แต่ตัวนี้ มันไม่เป็นเหมือนงูตัวอื่นก่อนๆที่เคยเจอมาเลย แหม เรียกว่ายั่วยวนอยู่ด้วยนะ เขาบอกว่าไม่เคยเจอทำไมมันเกิดเชื่องขึ้นมาได้ด้วย ก็บอกว่าไม่เคยเจองูแบบนี้ เจองูตัวอื่นต้องไล่ฆ่าทันทีแต่ตัวนี้มันเชื่องได้ 

เขาจึงเห็นธรรมะอีกตัว เห็นอะไรรู้ไหม เห็นเมตตาธรรม เพราะใจเขาเกิด มต ขึ้นมา แต่ก่อนแต่ไรเจองู มีแต่วิ่งหนีแต่เมื่อไม่ฆ่า งูไม่วิ่งหนี เพราะถ้าเราไม่มีจิตจะไปฆ่างูมันก็ไม่กลัว มันก็ไม่วิ่งหนี 

เคยเห็นงูตัวหนึ่งมันไล่จิ้งจกมาในศาลา ศาลาที่อาตมากำลังนั่งฉันอาหาร พอไต่ขึ้นมา อาตมาก็เริ่มบอกเลยบอกคนว่างูขึ้นมาแล้วนะ พอได้ยินว่างูชักกระดุกกระดิกแล้ว แต่ไม่เป็นไรเขาอยู่ฝั่งโน้น ส่วนงูมันขึ้นมาศาลาที่อาตมานั่งฉัน เเล้วมีเพื่อนผู้ชายที่เคยบวชมานานเข้าใจธรรมะสูงพอสมควรนั่งอยู่ด้วย อาตมาก็บอกว่านั่งเฉยๆ อยู่เฉยๆ เป็นกลางให้ทำ มต  ให้ทำใจเป็นกลางเฉยๆ บอกว่าอยู่เฉยๆ นะเดี๋ยวงูมันก็เลื้อยขึ้นมาจริงๆ พอเราวางเฉยจริงๆ ใจทำใจ มต คือ บำเพ็ญ พต ไอ้งูมันก็เลื้อยเฉยขึ้นมาจริงๆ ถ้าเราทำเอะอะรับรองมันไม่ขึ้นมาหรอก เพราะเราไม่เอะอะ มันไม่มีเอฟเฟคทางวิญญาณ จิตมันมีผลสะท้อนมาเลย งูนี่มันรู้ เมื่อไม่มีศัตรูขึ้นมามันก็จะตะกละ ความโลภมันเยอะมันก็ไล่จิ้งจกขึ้นมาเลย คุยกันไปแลกกันมา จิ้งจกปีนขึ้นข้างบนมันก็ไล่ขึ้นข้างบน มันเหมือนกับไม่มีคน มันไล่กันอย่างกลับไม่มีคนเลย ศาลามันผ่านหน้าผ่านตาเฉยเลย ไม่อะไรเลย ยังไม่พอ จิ้งจกกระโดดลงมาข้างล่าง งูก็กระโดดลงมาตาม 

ในศาลาสี่เหลี่ยม ถ้ามานั่งอยู่นี่ คนอื่นๆ นั่งอยู่ตรงนี้งูมันก็ลงมาตรงนี้เลย ไต่เข้าไปเลย ตอนแรกไต่เข้ามาหาคุณ ราเชนก่อน คุณราเชนก็นั่งเฉยนิ่ง เราบอกว่านิ่งๆ ตอนนี้จิ้งจกตัวนั้นวิ่งลงไปในจีวร งูตัวนี้ก็เข้าไปจุ๊บๆ อยู่ข้างๆจีวรท่านนั่งอยู่นี่ เขาก็จะไปตามหาจิ้งจกแล้วประเดี๋ยวมันก็ไต่ลงไปข้างศาลาลงไปเลย จิ้งจกตัวนั้นมันวิ่งจากทาง  คุณอำนาจมาหาราเชนอีกที จิ้งจกตัวนั้นก็รอดตัวไป แล้วมันก็ไปลงไปเลย อย่างนี้เป็นต้น 

นี่แหละคืออำนาจของเมตตาธรรม อำนาจของสิ่งที่เราได้ประพฤติแล้วไม่มีการเบียดเบียนกัน วิญญาณต่อวิญญาณมันสงบ มันไม่มีการที่จะะเข่นฆ่าเขา

เข่นฆ่าเรา แต่ถ้าเรามีอิ๊อะอะไรหน่อย มีผลสะท้อนอะไรขึ้นมาในใจมีค่าลบค่าบวกหมายถึงค่าที่จะฆ่ากันในส่วนใดส่วนหนึ่งขึ้นมาหรือแม้แต่การรังเกียจหรือการกลัวก็ตาม ก็เป็นผลที่จะให้เกิดขึ้นได้ ฉะนั้นในระยะนี้เป็นไปได้อย่างจริงๆ เลย อาตมาเล่า และอยากให้เห็นสภาพนั้นจริงๆ พวกผู้หญิงนั่งอยู่ฝั่งโน้น งูมันก็เปิดเหมือนกัน ทีนี้มันแสดงละครให้ผู้หญิงเหล่านั้นได้ดูได้ด้วย เป็นการแสดงบทบาทของงูกับการแสดง 

พต พัตตะ คือให้อัตตาเกิดในตัวเรา คือให้มีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นอัตตาเป็นรูปร่างของการวางเฉยอย่างพอเหมาะพอเจาะ ไม่เดือดร้อน พอดีพอดีอย่างสมควร ไอ้นั่นหน้าที่ของเขาจะไล่จิ้งจก เขาก็ไล่ไปเขาไม่ได้มากวนอะไรเขาไม่ได้มากินเรา เขาไม่ได้มาทำอะไรกับเราเลย เราก็อยู่เฉยๆ เขาก็อยู่กับหน้าที่ของเขา เขาไม่เฉยหรอกเขาก็ไล่จิ้งจกไปนี่แหละคือสภาวะของ มต สภาวะ พต บำเพ็ญให้มันเกิดประโยชน์ขึ้นมา นี่อาตมายกศีลข้อแรกขึ้นมาคือศีลข้อปาณาติบาต เราไม่ฆ่ากัน เราไม่เบียดเบียนกัน แล้วคุณธรรมที่มันจะทำให้เกิด มัตตะ ทำอย่างนี้เป็น

กลางอย่างนี้แล้วให้เห็น มันจะเห็นผลกับเราอย่างนี้ ยิ่งเห็นผลอย่างนี้แล้วเพื่อนของอาตมาที่เล่ามาก่อนนั้นก็ดี หรือแม้แต่สภาวะที่อย่างนี้ ที่อาตมามาเล่าให้ฟังก็ดี นี่เป็นอำนาจที่มันจะเกิดผลสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง 

เมื่อเราเห็นผลอย่างนี้ต่อไปเราก็จะไม่กลัวอะไรมันมากมาย งูเราก็ไม่กลัวมันมากมายนี่ หรือสัตว์ที่ร้ายกาจกว่านี้เราก็จะไม่กลัวมันมากมาย ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาพอเห็นมันตั้งหน้าตั้งตาเป็นศัตรูกันเลยแล้วจะฆ่ามันก่อนเลย ไม่หรอก ไม่มีฆ่ากันเลยในโลกนี้จะเป็นสิงห์เป็นเสือเป็นช้างม้าวัวควายอะไรก็แล้วแต่ ถ้าเราไม่มีผลที่จะไปเป็นศัตรูซึ่งกันและกันหรือเป็นภัยซึ่งกันและกันแล้วนะ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดถ้าเข้าใจการบำเพ็ญการทำอัตตา หรือ การพึ่งอัตตา สร้างอัตตาขึ้นมาเป็นที่พึ่ง ถ้าใครเข้าใจได้อัตตาต่างๆ ที่อาตมากำลังพูดถึงนี้ กำลังอยู่ในขั้นสูงนะเพราะกำลังไต่ออกมาถึงขั้นอรหะ อรหันต์ มาเป็นมัตตะ อีกหน่อยมันนี่มันยังสูงอยู่นะ อีกหน่อยจะไต่ลงไปกว่านี้อีกเรื่อยๆ เราก็ต้องพึ่งอะไรก็พึ่งหลับตาที่เราก่อตัว พึ่งให้สูงแล้วก็จับพึ่งไปเรื่อยๆ อย่างนี้พอเรามาพึ่งมัตตะให้ได้ตามความพอดีความเหมาะสมของเราตามหน้าที่ตามกาละของแต่ละสัตว์ แต่ละบุคคลแต่ละสิ่งทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพึ่งลงมาเป็นระดับระดับอย่างนั้นเลยนะ เราทำ มัตตะ อันนี้ให้มันสูงขึ้นสูงขึ้น ให้มันแก่ขึ้นแก่ขึ้น เรียกว่าให้มันแก่ขึ้นนั่นเองสูงขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือกล้าขึ้นหรือมากขึ้นก็ตาม เราเรียกการกระทำที่สูงนั้นเป็น อัตตา อีกชนิดหนึ่ง ภาษาบาลีท่านเรียกว่า รต 

รต คือ ร + ต บวกอัตตา แปลว่ามากขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือภาษาอันนี้ถ้าเรามาเรียกใช้คำว่า รัตติหรือรัตติกาล คือเวลาแก่ขึ้นหรือกลางคืน รต แปลว่าสีแดง เขาก็แปล แปลว่าจัดก็ได้ แก่ก็ได้ ให้มันเต็มรอบ ทำรัตตะ ให้มันมากขึ้นเราเรียกว่า รต

ทำ มต  ให้มันแก่ขึ้นยาวขึ้น ติดต่อเป็นตัวตนที่ยาวขึ้น รัตตะ เพราะฉะนั้น รัตตัญญู คือผู้ที่มีอายุยืนยาวนาน ผู้ที่แก่มากนั่นแหละ ทำทุกอย่างให้มันแก่ขึ้นอย่างนี้คือให้อัตตามันพอกพูนเพิ่มยาวนานยิ่งยวดมากขึ้น เรียกว่า  รัตตะ เราทำ มต ให้เป็นอัตตาที่แก่ขึ้น รต

 พอ มัตตะแก่ขึ้นเราทำอาการวางเฉยอย่างเช่นปาณาติบาตเราทำการวางเฉยไม่เป็นพิษเป็นภัยแบบไม่ฆ่างูอย่างเมื่อกี้ได้แล้ว เราแก่ขึ้นแก่ขึ้นจนกระทั่งเรามีเมตตาธรรมก็สูง มีการไม่ถือสาหาความกันไม่เกิดความกลัวซึ่งกันและกันจนเห็นผลจริงๆว่า เราเจอเสือเราก็ไม่กลัวเสือ เสือก็ไม่กลัวเราจนกระทั่งต่างคนต่างอยู่ตามหน้าที่ก็ได้  อย่างนั้นเรียกว่า คุณของอรหัต หรือ ผลของอรหัต เป็นคุณที่สูงกว่า มต รต เพราะฉะนั้นพระอรหันต์กับเสือไม่ค่อยทำอะไรกันและกันแล้วมันจะเป็นจริงอย่างนั้น อรหัตตคุณ 

อรหันต์ที่มีอรหัตตคุณเป็น รต แก่ขึ้นไปจนอรหันต์มันสูงเป็นอรหันต์แล้วกับผลเสือก็ไม่ทำอะไรกัน เพราะบารมีในศีลขั้นปาณาติบาตไม่รบกวนกัน ไม่เบียดเบียนกันไม่ทำกันเลยต่างคนต่างอยู่ รู้หน้าที่รู้การเป็นอยู่สัตว์โลก ย่อมอยู่กันไปตามสัตว์โลก ผู้ที่อยู่คนนี้โหดร้ายตามที่เขาเรียกว่าโหดร้ายเขาว่าเสือโหดร้าย ที่จริงเสือมันก็โหดร้ายกับเหยื่อของมัน มันไม่ได้โหดร้ายกับทั่วๆ ไป เช่นเดียวกันกับงูมันก็โหดร้ายกับจิ้งจกอย่างที่เล่าเมื่อกี้ มันไม่ได้มาโหดร้ายกับเรา แต่ถ้าเรารักจิ้งจกมากนะเราจะตีงู บอกว่างูตัวนี้ไปโหดร้ายกับจิ้งจก แต่มันไม่ได้โหดร้ายหรอกทุกอย่างมันเป็นหน้าที่เป็นกรรมของมัน เป็นสิ่งที่มันจะกระทำต่อหน้าที่ของมันแต่ละหน้าที่เป็นไปตามวาระ  เป็นไปตามกาล เป็นไปตามความสมมุติ ที่มันสมมุติเป็นระยะๆ 

เสือมันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เนื้อเก้ง เนื้อกวาง เนื้ออะไรมันก็จับของมันกินของมันไปตามวาระกรรมของมันมันสร้างบาปสร้างบุญของมันด้วยเรื่องของมัน ถ้าเราสร้างวิบากไปร่วมด้วย ไปห้ามเสือไม่ให้กินหมู หมูเขาจะหามเอาคานไปสอดเสือเขาจะต้องกินเนื้อนะ เอาหญ้าให้กินมันก็ไม่กินหรอกเช่น งูมันจะต้องกินเขียดกินกบ เราจะเอาหญ้า ไปให้งูมันกินมันไม่กินหรอก ไม่ใช่เรื่องของมันเป็นกรรมของมันมันจะต้องเกิดมาเป็นงูมันจะต้องมาล่าจิ้งจกมันต้อง ล่ากบล่าเขียดกิน เรื่องของมันเช่นเดียวกันกับคน เราเกิดมาเป็นคนเราก็จะต้องกิน หรือต้องล่า หรือต้องทำสิ่งที่ควรกระทำ 

พอมาเป็นอัตตาชนิดที่เป็น สต คือ ยึดถือเป็นตัวเป็นตน โตรอบมากกว่าพวกพืชแล้วเรียกว่าเป็นสัตว์เป็นอัตตา   เรียกว่า สต เราทำศัพท์ ให้เพี้ยนเป็น สัตว์​ จะได้ไม่งง สต เอาไปใช้เป็น  7 ชาติถ้าครบ 7 ชาติเกิดมา 7 ชาติเรียกว่าเป็นสัตว์ที่ 7 ตระกูลเรียกว่าเป็นตัวเป็นตนแล้ว สิ่งใดก็ตามแต่ ถ้าเราได้พยายามที่จะปลูกฝัง หรือว่าทบชาติ ทบตระกูลของมัน ให้มันยืนยันตระกูลของมันได้ครบถึง 7 รอบ 7 ช่วง 7 Generation ถ้าใครทำได้ถึงขนาดนั้นนะครบ 7 รอบ ท่านถือว่า สิ่งนี้เรียกมันได้ว่าตระกูลแท้ ถ้าใครเรียนถึงเรื่องเกี่ยวกับทาง สัตวศาสตร์ หรือ ทางชีววิทยาก็คงจะเคยได้ยินมาบ้าง แต่อาตมาไม่ได้เรียนทางชีววิทยามันจะตรงหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ พูดตามภาษาทางพุทธศาสนา ถ้าตรงกันก็แสดงว่าพุทธศาสนานี้สอนไว้ละเอียดลออ และเป็นการรู้ด้วยญานตรงกัน 

พอครบ 7 ชาติแล้วครบ 7 ช่วงแล้ว อันนั้นจะเป็นของแท้ เพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืชเพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืช จากอะไรต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นอะไรต่ออะไรมาจนเป็นสัตว์เซลล์เดียว หลายๆ สัตว์ต่อกันมาจนเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า สัตว์นี่คือมันต่อกันมาจากดินน้ำลมไฟ จากดินน้ำไฟลมวิวัฒนาการมาจนกระทั่งเป็นพืช อย่างที่เรียกว่าเป็นพืชชั้นต่ำ มาเป็นพืชชั้นสูง จากพืชชั้นสูงมานับรอบแปรรูปมาเป็นสัตว์ได้ 

อย่างสัตว์ชนิดหนึ่งเขาเอามาให้อาตมากิน เขาบอกว่าจะเอามาให้ไอโอดีน สัตว์ชนิดนั้น เรียกมันว่าสาหร่ายทะเล สาหร่ายทะเลแล้วเขาก็เอามาให้อาตมาฉันวันนึง อาตมาก็ฉันเข้า อาตมาก็บอกว่า เอ้ย สาหร่ายทะเลมันไม่ใช่พืชแท้แล้ว สาหร่ายทะเลมีเจนเนอเรชั่นทบชาติจะเป็นสัตว์ขึ้นมาหลายช่วงแล้ว อาตมากินแค่นั้นกระทบสัมผัสอาตมาบอกว่าไอ้นี่ไม่ใช่พืช เป็นพืชจริงในภาษาคน เรียกว่ามันยังเป็นพืชอยู่ เพราะมันยังไม่ครบ สต ยังไม่ครบ 7 รอบยังเป็นตัวเป็นตนจะเรียกว่า สัตว์แท้ไม่ได้ ถ้าใครเคยกินสาหร่ายทะเลบ้าง มันเหมือนนะ มันมีคาวนะ 

สาหร่ายทะเลมีคาว มีไอโอดีน คือมีโอโซน ธาตุออกซิเจนอยู่ในตัวมันเต็มแล้ว ออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พอพืชใดที่มีออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พืชนั้นจะกลายตัวกลายสภาพมาเป็นสัตว์มากแล้ว แต่มันยังไม่ร่อนออกจากไอ้ที่ยึดเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นพืชสาหร่ายทะเลนี้อาตมาถึงบอกกินเข้าไปปั๊บ อาตมายืนยันว่าไอ้นี่จะมาเป็นสัตว์แล้ว จะเรียกพืชในภาษาคน ได้  แต่อาตมากิน 2 คำแล้วอาตมาก็ไม่ต่อแล้ว จริงมีไอโอดีนแน่ มีโอโซนมากแน่ ออกซิเจน โอโซน คือแตกตัวมาจากออกซิเจนมาก มันเป็นพ่อเป็นแม่กันมาเกี่ยวโยงกันอยู่ มีธาตุพวกนี้อยู่เยอะจริง ไม่เถียง อาตมาไม่เถียง แต่ว่าถ้าอาตมาจะกินอันนี้มันก็จะใกล้จะเป็นสัตว์แล้วอาตมาเข้าใจอาตมาก็ไม่กินต่ออะไรมากมายล่ะ ที่ฉันอันนี้ เพราะเขายืนยันเป็นพืชแต่อาตมาไม่ได้อธิบายให้ฟังอย่างนั้นหรอก ดีนะคุณกฤษเป็นคนถวายสาหร่ายทะเลอาตมา ไม่มาวันนี้ ถ้ามาจะได้เข้าใจอันนี้ด้วยว่า อาตมายืนยันว่าสาหร่ายทะเลเป็นพืชหรือสัตว์อย่างไร แต่มันยังไม่ครบ 7 Generation ยังไม่ครบ 7 ช่วงเท่านั้นเอง 

คนถามว่า...ถัดมาเป็นพวกปลาดาวอะไรพวกนี้ 

พ่อท่านว่า... คนนี้เรียนชีววิทยามาเข้าใจ คนนี้ให้ความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาอีกว่าไอ้พืชตระกูลสาหร่ายทะเล มันวิวัฒนาการต่อจากนั้นมาจะเป็นปลาดาว จริงปลาดาวรูปร่างใกล้เคียงสาหร่ายทะเลจริงๆ แต่อาตมาไม่ได้สัมผัสแบบนั้นแต่สัมผัสกับอายตนะของอาตมา มันบอกเลยว่าไอ้ลื้อ นี่มันเป็นสัตว์แล้วนี่หว่า มันยังไม่ใช่พืชอย่างที่เขาเรียกหรอก แต่มันเป็นสัตว์ที่ปักหลักอยู่กับที่เท่านั้นเอง 

ที่นี้อาตมาอธิบายถึง สต ที่มันเกิด 7 ชาติ 7 ช่วง 7 ระดับ 7 Generation เพราะฉะนั้น ถ้าใครเข้าใจจะเข้าใจต่อได้ สต เป็นสัตว์ที่แยกตระกูลจากพืชแล้วคือพวกที่ได้พบชีวิตขึ้นมา 7 ช่วงขาดลอย ตัดโคตรภูมิมาเป็นสัตว์เลยแล้วเราก็เรียกอันนี้แยกมาเป็น สัตว์หรือสัตตะ นามบาลีก็เรียกยืนยันเป็นสัตว์เหมือนกันมันก็ออกมา 

ทีนี้เมื่อผู้ใด เมื่อผู้ใดได้พยายามที่จะมาหลงมาเห็นว่าตัวเองเป็นสัตว์ มีปัญญาเท่าสัตว์แล้ว สัตว์เหล่านั้นมันก็จะยึดอัตตาตามช่วงของมัน อย่างสัตว์สาหร่ายทะเลมันจะกิน มันก็จะกินอัตตาในช่วงที่เป็นหน้าที่ของมันโดยตรง มันก็จะกินธาตุที่เกี่ยวโยงใกล้เคียงกัน พอมันมาเป็นปลาดาวอย่างที่คุณนี้ว่า เราถือว่าเป็นสัตว์แท้แล้ว ตัดโคตรแล้ว ตัดโคตรภูแล้วออกมาเป็นสัตว์แท้แล้วพอมาเป็นปลาดาวมันก็จะกินอาหารที่ใกล้เคียงกับการเป็นสัตว์มันก็คงจะกินสาหร่ายทะเลนี่แหละ

โยมว่า...มันกินแพลงตอน

พ่อท่านว่า... นั่นก็เป็นสัตว์อีกตระกูลหนึ่งที่มันแยกตัวออกมาอีกอันนึง เอาล่ะเราจะไม่พูดมาก เพราะเราจะไม่ได้มาเรียนวิชาชีววิทยากัน แต่เราจะมาเรียนธรรมะ แต่นั่นแหละ ชีวะ ชีวิตคนเราก็เกิดมาจากชีวิตนี้แหละ เราเรียนชีววิทยาจะเข้าใจอันนี้มาก แต่อาตมาเองไม่ได้ไปรื้อเรื่องพวกนี้มากนักแต่มันรู้ได้ด้วยพุทธศาสตร์จริงๆ ที่อธิบายให้ฟังด้วยเหตุผลเหล่านี้ 

เพราะฉะนั้น ภาษามันบอกเลย ถึงได้ระลึกเรื่องเก่าๆ ได้เพราะฉะนั้น สต 7 ตระกูลนี้มันก็ออกมาอย่างนี้ ปลาดาวมันจะกินแพลงตอนบ้าง สาหร่ายทะเลบ้างก็แล้วแต่มันก็จะกินอยู่ในเจนเนอเรชั่นใกล้ๆ ของมัน มันจะกินอยู่ใน Generation หรือ ว่ากินอยู่ในรอบของตระกูลที่มันใกล้ๆ เคียงๆ กัน มันไม่ไปกินเกินขนาดนั้น เป็นหน้าที่ของมัน

เพราะฉะนั้นสัตว์มันก็กินสัตว์ ต้นไม้มันก็กินสิ่งที่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟที่มันใกล้เคียงกัน ถ้าต้นไม้ที่มันโตขึ้นไปมากมันก็จะกินประเภทที่เป็นน้ำมากกว่า ต้นไม้บางชนิดไม่ค่อยกินน้ำเท่าไหร่ แต่กินดิน กินลมมาก เพราะฉะนั้นต้นไม้บางชนิดโตขึ้นมาแล้วก็มากินน้ำมากขึ้นอย่างนี้เป็นต้น พอกินน้ำมากบางประเภทโตขึ้นมาเป็น พืชที่มันโตใหญ่ขึ้นมาจนกระทั่งมันจะกลายเป็นสัตว์อีกชั้นหนึ่งแล้วอย่างนี้เป็นต้น นี่ความรู้สึกในตัวมันมากแล้ว จนกระทั่งบางทีนะ ลูกของต้นไม้นี้ออกมาเป็นสัตว์ก็ได้เหมือนกัน ใครเคยเห็นแมงหวี่มันเกิดในมะเดื่อบ้าง ไปแกะเอาเถอะในมะเดื่อนี่ แมงหวี่ในลูกมะเดื่อนะ ในเรื่องชีววิทยาจะอธิบายอย่างไรอาตมาก็ยังไม่อยากจะมาพูดนะว่าแมงหวี่มันเกิดในลูกมะเดื่อ อย่างไร จะค่อยๆเป็นสัตว์ที่ต่อเซลล์ต่อทอดกันออกมาอย่างไร อาตมาไม่รู้นะชีววิทยาอธิบายแมงหวี่กับมะเดื่อออกมาอย่างไรอาตมาไม่รู้ 

แต่ว่าถ้าสัตว์พืชกับต้นไม้มันก็มีวิวัฒนาการก้าวหน้าอย่างนี้เรื่อยมาแล้วมันก็จะกิน หรือว่ามันก็จะพยายามที่จะกินสิ่งที่มันอยู่ในช่วงใกล้ๆ กัน 

ที่นี้สัตว์ที่โตขึ้นโตขึ้นโตขึ้นฉลาดขึ้น มันก็จะกินสัตว์ที่ด้อยกว่า สัตว์ที่โตขึ้นมาเรื่อยก็จะกินสัตว์ กินสัตว์ที่ด้อยกว่าเรื่อย เช่นเดียวกันปลาตัวโตก็กินปลาเล็ก ปลาดาวกินแพลงตอน ปลาโตกินปลาเล็ก ปลาโตขึ้นไปก็กินปลาเล็กต่อลงมาเรื่อยๆ เป็นทอดๆ แบบเดียวกัน 

เจ้าคน ที่นี้มาถึงสัตว์คน ต่อขึ้นมาที่นี้มาถึง สัตว์คนต่อขึ้นมา สัตว์ที่เป็นสัตว์ถึงขั้นเป็นคนแล้ว แต่แรกแต่เริ่มมาจริงๆ ตั้งแต่ชั้นโบราณอาการก็เป็นคนโง่ๆ มีขนยาวรุงรังเหมือนลิงก็กินสัตว์เหมือนกัน คนที่พัฒนามาเป็นคนตอนแรกๆ ก็กินสัตว์ กินสัตว์พอกินสัตว์แล้วเสร็จ ตามเชื้อของตัวเอง ที่จริงไม่ได้กินสัตว์มาทีเดียว สัตว์ในโลกนี้มันกินสัตว์กินพืช กินสัตว์กินพืชสลับมาตามระยะนะ ที่จริงแล้วคนในช่วงแรกจริงๆ เกิดมาเป็นคนนั้นน่ะ ไม่กินสัตว์ฟังให้ดีนะ    เนี่ยอาตมากำลังเล่าถึงเรื่องดึกดำบรรพ์ยิ่งกว่าดวงดาวที่ค้นพบเรื่องยิ่งกว่าใครค้นพบแล้วนะ สัตว์ที่มาเป็นคนตระกูลแรกที่จะตัดช่วงจาก สต 7 ช่วงมาเป็นตระกูลคนจริงๆคนตระกูลแรกที่สุดไม่กินสัตว์ เพราะมาจากลิง ฟังให้ดีนะ คนตระกูลสัตว์พอได้ยินคำว่าลิง คุณจะอ๋อ หรือว่าลิงมันไม่กินสัตว์มันกินพืช พิสูจน์ได้จากอะไร 

พิสูจน์ได้จากฟันของคน ไม่ใช่เป็นฟันที่สำหรับกินสัตว์ เป็นฟันที่ขบเคี้ยวแค่พืช เหมือนควายเหมือนวัว …ลิง คนมาจากลิง คนก็ตระกูลแรกที่ถ่ายทอดมาจากลิงแล้วก็กินพืชจากลิง คนตระกูลแรกที่ถ่ายทอดเรารับหน้ามาเป็นคน เป็นคนดึกดำบรรพ์ชั้นแรกเลยนะไม่กินสัตว์กินแต่ นี่เป็นต้นตระกูลคนอาตมาขอนับต้นตระกูลคนอันนี้ 

อีกต่อมาคนนี่มันก็เห็นว่าพืชมันก็กินได้สัตว์ก็กินได้คือ เป็นกิเลสนั่นเอง ก็คนตระกูลต่อมาเป็นคนป่าตระกูลต่อมาก็มากินสัตว์ ใจโหดเหี้ยมขึ้น มากินสัตว์ คนจึงกินสัตว์ตั้งแต่ที่เขายึดถือมาเลยว่าสัตว์พวกนี้มันโง่กว่าเรา เราฆ่ามันกินได้ เนื้อมันก็กินได้ กินแล้วชีวิตเราก็อยู่ได้ด้วยคนตั้งแต่บัดนั้นที่แปรเปลี่ยนจากต้นตระกูลคนชั้นแรกที่สุดนั้น ก็กลายเป็นยึดถือกินสัตว์เรื่อยมา คนต่อมาจึงสั่งสอนกันว่ากินสัตว์นั้นดีกว่า เพราะอะไร เพราะรสชาติของสัตว์มันสูงกว่ากิเลสกามมันมีก็เลยกินสัตว์เรื่อยไป เพราะฉะนั้นสัตว์ใดที่กินสัตว์แล้วนะจะไม่ค่อยกลับไปกินพืช แต่สัตว์ที่กินพืชไม่กินหรอกสัตว์ สัตว์ที่กินพืชเขาไม่กินหรอกสัตว์ แต่สัตว์ใดที่มันหลงเนื้อจะกินพืชยาก เช่นเดียวกันกับหมานี่ หมาตัวไหนที่ติดเนื้อมากแล้วนะ จ้างเลย เอาข้าวเปล่าๆ เอาพืชไปให้มันกิน มันไม่กินหรอก เพราะว่า เพราะกิเลสใน เนื้อมันสูงกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสของเนื้อมันมีมากกว่าพืช 

เพราะฉะนั้นเรื่องกิเลสที่มันสร้างโลก มันสร้างขึ้นมาแบบนี้ หมู หมาต่างๆ มันติดเนื้อสัตว์แล้วมันจึงไม่ติดพืช ถ้าสัตว์เราพยายามป้อนมันให้ดีนะให้มันกินแต่ผักพืชมากๆนะ อย่าเอาเนื้อไปล่อมันมากนะ มันจะกินพืชอยู่บ้าง หมานี่ บางตัวเอาพืชไปล่อมันบ้างมันจะกิน มันจะกินพืชบ้างแล้ว มันก็ไม่ตายด้วยนะ ไม่ตายไม่ตายหรอก มันก็จะอิ่มมันก็จะรักษาร่างกายของมันได้เหมือนกัน (1.14)

ที่มา ที่ไป

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง 15 เมษายน  2515 


เวลาบันทึก 21 พฤษภาคม 2567 ( 09:03:58 )

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอนที่ 2)

รายละเอียด

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง  15 เมษายน  2515 

พ่อท่านว่า... เรามาเริ่มต้น อธิบายความกันหน่อย เรื่องที่คุณพหลตั้งเอาไว้วันนี้ จะพึ่งอะไรดี ที่เราจะบรรยายกัน เป็นชื่อที่ดีที่สุด แล้วก็รู้สึกว่าจะบรรยายกัน ต้องตั้งใจฟังให้มากหน่อย เพราะเหตุว่าถ้าอาตมาจะบรรยายโดยที่เรียกว่า พื้นๆ ธรรมดา มันก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรและมันก็ซ้ำซาก แต่ที่อาตมากำลังจะบรรยายนี้ไม่ใช่เล่นลิ้น แต่ว่าด้วยเป็นถึงความเป็นจริง ไม่ใช่เป็นแต่เพียงภาษาพูดเท่านั้นด้วยนะ 

สงสัยว่าจะต้องมีใครมาคอยหมุนซะแล้วมั้ง (เทป) ไอ้นี่มันหนักพอหนักแล้วไม่ค่อยเดิน ไอ้นี่มันไม่ค่อยดีสงสัยจะต้องไปล้างเครื่อง สายพานจะหย่อนหรืออะไรก็แล้วแต่ 

เรื่องจะพึ่งอะไรดีนี้ ถ้าอาตมาพูดไปเดี๋ยวนี้ บอกว่าจะพึ่งอะไรดีนะ คนจะต้องค้านทันทีเลย ด้วยภาษา ถ้าถามบอว่าจะพึ่งอะไรดี ถามกันโป้งๆ ขนาดนี้ และโดยเฉพาะนักธรรมะที่ได้เรียนธรรมะแล้วมาพูดธรรมะกันนี่ ถ้าเราจะถามกันเปรี้ยงเลยว่า จะพึ่งอะไรดีอาตมาตอบเรื่องเหมือนกันเลย พึ่งอัตตา เพราะถ้าบอกพึ่งอัตตาเท่านั้นบอกว่าคนข้างนอกพูดแล้วคนทั้งหลายที่เราเรียนธรรมะกันโดยเฉพาะเรียนพุทธศาสนาจะต้องหาว่าอาตมาที่พูดนอกพุทธศาสนา 

เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไม่ให้หลงอัตตา ไม่ยึดถืออัตตา แต่อาตมาบอกจะพึ่งและพึ่งยึดถือมันก็อันเดียวกันนั่นแหละ ที่พึ่งสรณะที่ยึดถือก็สรณะ อันเดียวกันนั่นแหละ คืออัตตานั่นแหละ และอาตมาก็ยืนยันว่าเราจะพึ่งอัตตา นี่ไม่ใช่อาตมาเป็นคนพูด ถ้าอาตมาพูดอย่างนี้แล้วก็หาว่าอาตมานี่พูดเอาเอง เพราะฉะนั้นอาตมาจะต้องขอยกบาลีที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสเอาไว้แล้ว และบาลีอันนี้เป็นที่กว้างขวางใครๆ ก็รู้ พูดขึ้นมาก็ อ๋อทันที 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา ชัดไหม ให้พึ่งอัตตา อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา 

นาโถ แปลว่า ที่พึ่ง ที่พึ่งใด ก็อัตตาของเรา อันเป็นส่วนของเรานี่แหละ เป็นที่พึ่งที่ยิ่ง ตัวตนนี่แหละอัตตา ตัวตนของตนนี่แหละ โกหินาโถ ปโรสิยา นอกจากตนแล้วจะพึ่งใครได้ ไม่มี ไม่มีที่พึ่งอื่น นอกเหนืออัตตา หรืออัตตาแปลว่า ตัวกูของกูที่ท่านพุทธทาสว่า หรือตัวตนของตนนี้แหละ เรียกว่าอัตตาแท้ๆ ที่เราพึ่ง พระพุทธเจ้าท่านก็สอนอันนี้ เพราะฉะนั้นทุกคนก็คงจะไม่เถียงแล้ว ก็คงจะชักเอ๊ะอะไรยังไงๆ แล้วนี่ ศาสนานี้กลับไปกลับมาพูดกันยังไง  แล้วก็เป็นจริงอย่างนั้นแล้วก็จะเห็นจริงอย่างนั้นมากขึ้น เมื่ออาตมาจะได้อธิบายเรื่อยๆๆๆ แยกแยะออกไปเป็นระดับๆๆ 

อาตมาจะแยกแยะออกไปเป็นระดับ ที่จะยืนยันคำว่า ทำไมอาตมาว่าจะต้องพึ่งอัตตา หรือพึ่งตัวตนหรือพึ่งตัวกูของกูซะก่อน ก็เพราะเหตุว่า บาลีบทนี้ยืนยันอย่างหนึ่งว่านอกจากยืนยันแล้ว อาตมาเห็นด้วยและคิดด้วยและถูกต้องด้วยไม่ใช่พระพุทธเจ้าท่านพูดแล้วถูก อาตมาก็เห็นด้วยด้วย เพราะอาตมาไม่ได้เชื่อพระพุทธเจ้าทีเดียว อาตมาเชื่อปัญญาของอาตมาด้วย พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนให้เชื่ออะไรดายไปทั้งหมดเลย   ท่านสอนให้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ และเป็นผู้ที่จะต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงาย 

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าบอกว่าแม้แต่คนนี้เป็นครูของเรา ท่านก็อย่าเชื่อ เช่นเดียวกันพระพุทธเจ้าเป็นครูของเราใช่ไหม ก็เท่ากับท่านบอกว่าอย่าเชื่ออาตมานะอย่าเชื่อตถาคตนะ เพราะว่าตถาคตเป็นครูของเราก็เท่ากับว่าอย่าเชื่อตถาคตก็เหมือนกัน แต่จะเชื่อก็ต่อเมื่อเราเองมีเหตุผลเข้าใจลึกซึ้งแทงตลอดถึงเหตุและผลเป็นปัญญาแทงทะลุว่า อ๋อ มันน่าเชื่อถือ และมันเชื่อถือได้ เพราะมันมีความจริงอันแท้จริงอย่างนี้เอง แล้วเราก็เชื่อ นี่เรียกว่าอาตมาเชื่อ อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา เชื่ออันนี้ไม่ได้เชื่อด้วยปากเปล่า ไม่ได้เชื่อเพราะเป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าเท่านั้นด้วย 

และมีเหตุผลใดที่อาตมาเชื่อแล้วจะมาชักจูงให้พวกคุณเชื่อและเห็นตามด้วย แต่ฟังแล้วต้องไปพิสูจน์ถึงเห็นตามและจะเชื่อได้ มีเหตุผลอะไรเพิ่มเติม เหตุผลอันนั้นก็คือว่า ในศาสนาพุทธของเรา เราทุกคนเป็นผู้ที่รู้ดีเป็นผู้ที่เข้าใจดีทีเดียวว่า พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า ผลที่สูงสุดที่เราเองยึดถือ กันทุกวี่ทุกวัน ที่เราใฝ่เอาโดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนของเราท่านเรียกผลนั้นว่า อรหัตตผล 

อรหัตตผลมาจากภาษาบาลีคำว่า… อาตมาเริ่มเขียนเท่านี้ก็ชักจะอ๋อกันหน่อยแล้วมีอัตตาเข้ามาตัวหนึ่งแล้ว อรหะ วันนี้มาจากบาลีต้นรากศัพท์ว่า อรหะ หรือ อรหัง นี่แหละที่เราเคยสวดกันนี่แหละ ผสมกัน หรือว่าสนธิกันกับคำว่า อัตตา ก็เป็น อรหัตตะ และเราไม่เรียก อรหัตตะ ก็มีตัวต่อกันไปและเราไม่เรียกคำว่า อรหัตตา พอมีตัวต่อไปมีคำว่าผลต่อด้วยบางทีก็เรียกว่า อรหัตตผล หรือ      อรหัตตมรรค 

ผลสูงสุดที่ทางพุทธศาสนาของเราต้องการและกำลังใฝ่หากันอยู่ พระพุทธศาสนิกชนต้องการก็คือ ผลของอัตตา ที่เราเรียกว่า อัตตาอย่าง อรหะ นี่คือผลที่เราต้องการ แม้แต่อรหัตตมรรคมันก็ยังเป็นทาง สูงสุดไปถึงอรหัตตมรรคเราก็ยังต้องการบอกว่าเป็นของดิบของดีอย่างยิ่ง ทวี อรหัตตผลมันก็ยิ่งสูง ถ้า อรหัตผลสูงขึ้นไปอีกเป็นที่สุด  

ถ้าเผื่อว่าอรหัตตผลมันมากๆ เข้ เราสั่งสมอัตตา ที่เรียกว่า อรหะ ให้มากเป็นที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุด หรือแปลว่า ปลาย เพราะฉะนั้นเมื่อได้ครบอรหัตตผลรวมยอดให้เป็นที่สุดแห่งที่สุดแล้ว ท่านเรียกคนผู้นั้นว่า บรรลุอรหันต์ ได้สั่งสมผลของความเป็นอัตตาที่เป็นอรหันต์ครบหมดแล้ว  ก็เรียกว่า       อรหัตตผล เท่ากับเราสั่งสม อัตตานั่นเองใส่เข้าไปเรื่อยๆ 

แน่ใจขึ้นไปอีกนิดนึงล่ะนะที่อาตมาตอบว่า จะพึ่งอะไรดีเราก็เพิ่งอัตตานั่นเอง พึ่งตัวตนนั้นเอง หรือพึ่งรูปร่างของสิ่งหนึ่งก็ตามแต่ใครจะไปอย่างนั้นก็ตามแต่ อัตตา คือ ร่างของสิ่งสิ่งหนึ่งที่เรากำลังยึดเข้าไว้หรือสั่งสมเข้าไว้หรือสร้างเข้าไว้ 

ทีนี้ อัตตาตัวนี้ อาตมาก็ยืนยันด้วยภาษาบาลีว่า อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหิ

นาโถ ปโรสิยา พระพุทธเจ้าท่านก็ยืนยันด้วยบาลีนี้แหละว่า ตนเองนั่นแหละ ตนเองหรือ อัตตานั่นแหละ เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุด นอกจากตนหรือนอกจากอัตตานั่นแล้ว นอกจากอัตตาตัวตนของตนนั่นแล้วก็ไม่มีสิ่งอื่นที่จะดีเหนือกว่า หรือไม่ใช่ที่พึ่งที่ดี 

ที่นี้เพิ่มขึ้นมาเมื่อเรารู้แล้วว่าอัตตา มันคือ ตัวตน อรหะ คืออะไรล่ะ อัตตา คือตัวตนที่เราสร้างขึ้นมา หรือ เป็นสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเราเองเราเรียกว่าอัตตา แปลเป็นภาษาคนก็คือ  อัตตาธรรมดา หรือพระพุทธทาส ก็แปลว่า ตัวกูของกู หรือว่าตัวตน การเป็นตัวเป็นตนการยึดถือตัวยึดถือตนนี้แหละ 

อรหะนั้น โดยภาษามาแปลเป็นภาษาไทยว่า ความเหมาะสม อรหะ แปลว่า ความเหมาะสม หรือ ความเป็นไปอย่างควร ความเป็นไปอย่างพอเหมาะพอเจาะแล้วแต่ จะขยายความไปอีกได้แยะ อรหะ นี่ 

คือ ความเป็นไปอย่างเหมาะเจาะ หรือ ความเป็นไปอย่างสมอย่างควรทีเดียวเรียกว่า อรหะ

ทีนี้คำว่า อรหะ คำนี้ภาษามันกลายตัวอรหะ หรืออรหัง แปลว่า หมดกิเลสหรือใครก็คงได้ยินว่าแปลว่า  หมดกิเลส ก็จริงอยู่ถ้าผู้รู้กิเลสแล้วท่านก็เป็นไปโดยเหมาะโดยควร โดยไม่จำเป็นต้องให้กิเลสมาเกี่ยวข้อง ก็หมดกิเลสเหมือนกันแล้วท่านก็เป็นอยู่โดยเหมาะโดยควรอย่างนั้น โดยสมควรอย่างนั้น ไม่มีกิเลส สิ่งที่เรียกว่า กิเลสเพราะท่านรู้ซะแล้วว่ากิเลสคืออะไร กิเลสคือตัวทำทุกข์และท่านรู้ซะแล้วว่าทุกข์นั้น  มันเกิดด้วยกิเลสตัวขนาดไหนขนาดไหน จะปล่อยให้มันเกิดขนาดไหนมันทุกข์มากทุกข์น้อยขนาดไหน พระอรหันต์ท่านเป็นผู้รู้ แล้วท่านก็ปล่อยให้มันเกิดอย่างไม่เป็นทุกข์ตามควรตามเหมาะที่สุดในโลก อันสมมุติอยู่ 

หมายความว่า พระอรหันต์ คือผู้ที่ยังไม่ตาย เมื่อยังไม่ตายเราก็จะต้องมีการปรุงแต่ง เราจะต้องมีสังขาร อย่างน้อยที่สุด กายสังขารของเราก็ยังเหลืออยู่ กายสังขารเหลือแล้วเราก็ยังจะต้องมี วจีสังขารที่จะต้องเราจะสร้างขึ้น อริยาบทต่างๆ ก็เป็นสังขาร มโนสังขารก็เป็นสังขาร ที่เราจะปรุงจะแต่งอยู่ในโลกนี้เหมือนกัน 

พระอรหันต์จะเป็นผู้รู้เองว่า จะทำกายสังขารให้อยู่อย่างไร ในขณะใด 

กาละใด เทศะใด มันจึงจะเป็นสุขที่สุด หรือเป็นประโยชน์ถูกต้องที่สุด แล้วก็สังขารที่จะเป็นวจี คือพูดปรุงแต่งออกมาเป็นภาษาคำพูดออกมา แค่ใดๆ มันจึงจะเป็นประโยชน์ตนประโยชน์ท่านสูงที่สุด ดีที่สุด  หรือแม้แต่ที่สุด มโนสังขารขนาดใดที่ท่านจะปรุงแต่งออกมา ได้ประโยชน์สูงที่สุดเกื้อกูลโลก เป็นประโยชน์ท่านประโยชน์ตนดีที่สุด ทุกคนก็คงจะเคยได้ยินมาเรื่องประโยชน์ตนประโยชน์ท่านนี่ พระพุทธเจ้าท่านยืนยันเหลือเกินว่าคนเราเกิดมาแล้วต้องสร้างประโยชน์ตนสร้างประโยชน์ท่านให้บริบูรณ์พร้อม 

เพราะฉะนั้น พระอรหันต์เป็นผู้รู้ และท่านจะทำทุกทีไปอย่างนั้น ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจคำว่า อรหะ หรือ คำว่าอรหันต์ ให้ดีที่สุดเราจะเข้าใจโดยปาก มันก็เท่านั้นเท่านั้นแหละ มันก็จะได้พอประมาณ แต่เราจะเข้าใจคำว่าอรหะได้ดีที่สุดนั้นไม่ใช่ด้วยปากเท่านั้น มันจะต้องปรุงแต่งให้เกิดที่ตนจริงๆ ให้รู้แจ้งแทงทะลุจริงๆ เลยว่า อ๋อ ความพอดีพอเหมาะพอสมที่ถูก รู้เองโดยตนเองเป็นผู้รู้ผู้เห็น คนอื่นเข้าใจด้วยไม่พอ แต่ถ้าขนาด อรหะ หรือ อรหันต์ด้วยกันจะรู้ด้วยกันพอได้เพราะมันตัวเท่ากันแล้วนี่มันก็เทียบเคียงกันได้ แต่ถ้าผู้นั้นไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันนะมันจึงเทียบเคียงกันไม่ได้ไล่กันไม่ถูก ด้วยเหตุนี้เอง 

ท่านถึงตรัสไว้ว่า อรหันต์ย่อมรู้อรหันต์ด้วยกัน ไม่มีผิดตรงไหนเลยเพราะมีของเท่ากันมาเทียบเคียงแล้ว เพราะฉะนั้นสบายมาก แต่ถ้าไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันแล้ว ก็เทียบเคียงไม่ค่อยลงตัวหรอกว่า อรหันต์นั้นที่เรียกว่า เป็นความพอดี พอเหมาะ พอสมพอควร ก็จึงไม่พอดี ไม่พอเหมาะ พอสมพอควร 

ความพอเหมาะพอสมควรนี้ หรือใช้แต่ภาษาเท่านั้น โดยสภาวะอาตมาบอกแล้วว่า เราจะต้องไปสร้างเอาเอง ไปทำเอาเองว่ามันจะพอดีพอเหมาะพอสมควรแต่ละขนาดไหน เราจึงจะเรียกว่า พอเหมาะพอควร จนทิ้งโลกได้ทิ้งสิ่งที่มันปรุงแต่งเป็นโลกียะ ทิ้งเอาไว้ในโลกียะ อะไรเรียกว่าโลกียะ  อะไรที่มันปรุงแต่งรวมตัวลงมา เรียกว่ายังติดข้องอยู่ในโลก ไอ้สิ่งเหล่านั้นเราจะต้องไปเรียนรู้โลก  เมื่อเรียนรู้โลกแล้ว แล้วเราก็ไม่ติดไม่ข้องในโลกเหล่านี้เราไม่สร้าง ไม่สร้างโลก อรหันต์ไม่สร้างโลก สิ่งใดที่มันจะเป็นโลกไม่สร้างด้วย ไม่เอา ไม่ปรุงไม่แต่งไม่หนักไม่หนาด้วย แต่สิ่งใดที่จะสงเคราะห์โลกก็ยังพอทำบ้าง ฟังให้ดีนะคำนี้ อย่าไปเป็นคนพาซื่อกันเกินไป สิ่งใดที่จะสร้างโลกพระอรหันต์ไม่ทำไม่สร้าง แต่สิ่งใดจะสงเคราะห์โลก หรือ เกื้อกูลโลก พระอรหันต์จะทำบ้าง 

แต่ถึงแม้ท่านทำบ้างท่านก็ไม่ยึดไม่ติดด้วย ท่านสักแต่ว่าทำแต่ท่านทำบ้าง ฟังให้ดีนะประโยคนี้มันจะกินตัวเข้าไป ถ้าเข้าใจไม่พอแล้วประเดี๋ยวก็มันจะไปชนกันหมด เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จะทำอะไรทุกอย่างจึงใช้วิจารณญาณ หรือ ใช้ความพิจารณาของตนเองเสมอๆ ด้วยปัญญา พิจารณาตนเองเสมอด้วยปัญญาว่า อันนี้เหมาะควรว่าดีไหมจะสงเคราะห์โลกสงเคราะห์ตนได้พอเหมาะพอเจาะไหม เอาล่ะพอดีพอเหมาะท่านก็ทำ ถ้าเผื่อว่ากว่านี้ไหวไหม แหม..กว่านี้ไม่ไหวแล้วไม่ดีมันจะเอนเอียงไปข้างโลกมากไปจนกระทั่งเดี๋ยวเกิดเป็นตัวตนโลกหนักเกินไป ท่านไม่ทำ หรือบางทีก็เป็นทุกข์ให้ตัวเองนั่นแหละมากเกินไป ท่านก็ไม่ทำเหมือนกัน อย่างนี้ 

ก็มีขนาดอยู่ก็มีขนาดจำนวนมีความหนัก มีความเบาไม่เท่ากันกับพระอรหันต์สมัยพระพุทธเจ้า ไม่เท่ากันหรอก เพราะโลกมันไม่เหมือนกันแล้ว มันหนาแน่นไปด้วยกิเลสก็ไม่เหมือนกัน โลกมันเต็มไปด้วยไอ้โน่นยึดไอ้นี่ดึงก็ไม่เท่ากัน รูปก็ไม่เท่ากันนามก็ไม่เท่ากัน ในสมัยโน้นกับสมัยนี้ รูปที่เป็นสมมุติในโลกก็ไม่เท่ากัน นามที่สมมุติอยู่ในโลกนี้ก็ไม่เท่ากัน 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์นั้นจึงยอมอนุโลมตามสมมุติโลกจำนวนไม่เท่ากัน ขนาดไม่เท่ากัน เบาว่างก็ไม่เท่ากันนัก ถ้าพระพุทธเจ้ามาเกิดสมัยนี้ พระพุทธเจ้าก็คงไม่สอนคนเหมือนกัน อาตมาว่านะไม่สอนหรอก มันหนักหนาเหลือเกินนักหนาจริงๆ พุทธเจ้าจะมานั่งสอนว่าอ้าวนั่งอาสนะเดียวแล้วให้บรรลุเหมือนพระยสเหมือนพระปัญจวัคคีย์ไม่ได้หรอก อาตมาว่าไม่สำเร็จหรอก คนสมัยนี้มานั่งสอนอย่างนั้นไม่ได้หรอกไม่ได้จริงๆ อาตมาเชื่ออย่างนั้นเลย 

ถนนพระพุทธเจ้าถ้าเกิดสมัยนี้พระพุทธเจ้าไม่สอนหรอก จะกลายเป็นภาพปัจเจกพุทธะไปเลยไม่สอน แต่ทีนี้ต้องใช้อาศัยคนที่เรียกว่าทน ทนแดดทนฝนทนอึดทนไม้ทนปืนทนมีดทนผา ทนทุกอย่างอย่างอาตมานี่ทน ทนเขาว่าศาสตร์กราบยังไงก็ทน ที่จริงก็ไม่ได้ทนหรอกแต่อาศัยภาษาพูดไม่ได้ทนหรอก ไม่ได้เจ็บไม่ได้ปวดอะไรหรอกแต่ว่าต้องทน พูดไปแล้วคนจะว่าอย่างโน้นอย่างนี้ก็ต้องทน แต่แท้จริง อาตมาไ่ม่ได้ทนเขาจะทำมายัง ก็ไม่ได้ทนหรอก เหมือนทนแต่ไม่ได้ทนทีเดียวหรอก 

ทุกสิ่งทุกอย่างจะเกิดตาม กาละ เทศะ เกิดไปตามเวลาเท่านั้น 

ที่นี้ถ้าเราเองยังไม่ถึงได้เอาอรหัตตผลเราจะพึ่งอัตตาตัวนั้นอย่างไรมันถึงจะแจ่ม ถ้าบอกว่าให้ไปพึ่งอรหัตตผล หรือ อัตตาตรงที่เป็น อรหะ สงสัยไม่ได้พึ่งแล้วอัตตาหิอัตโนนาโถเปล่าเสียแล้ว มันจะไม่พึ่งอัตตาหิอัตโนนาโถแล้วเพราะอัตตาไปเล่นถึงขั้น อรหัง อรหันต์ ไม่ไหว

คนเราก็เลยต้องพยายามถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้เป็นผู้ที่อยู่ในวงศาสนาพระพุทธเจ้าท่านก็ให้พึ่ง รองลงมาก็คือ เมื่อพึ่งอรหะไม่ได้ แล้วมาพึ่งอัตตะที่อยู่ในอรหะไม่ได้ ก็ให้พึ่งอัตถะสิฟังให้ดีนะ เมื่ออัตตะตัวนั้น ยังพึ่งไม่ได้ก็ให้พึ่งอัตถะสิ อัตถะตัวนี้หมายถึงว่า แก่นเนื้อหาสาระ หรือสาระหรือพยัญชนะคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอัตถะ ถ้าพูดให้เต็มก็เรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ญาณที่พระพุทธเจ้าท่านได้ถ่ายทอดไว้แล้วเรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ อัตถะตัวนี้ก็มาจากคำว่าอัตตะนี่เอง ภาษามันแปลงรูปเอามาเรียกใกล้เคียงกันแล้วมันเป็นตัวโตขึ้นมาหน่อยท่านก็เลยใช้คำว่าอัตถะก็คือ แก่นแท้เนื้อหานั่นเอง หรือไอ้ตัวตนเนื้อหาธรรมะนั่นเองแต่ไม่ใช่ตัวตน ไปยึดอยู่ที่ใครแต่เป็นเนื้อหาตัวตนอันนี้อยู่ในสภาวะของ บัญญัติ อยู่ในสภาวะของบัญญัติของสิ่งหนึ่งที่ได้กำหนดขึ้นมาแล้วเรียกมันว่าคำพูดก็ตาม เรียกมันว่าเนื้อหาก็ตามแม้เรียกว่าคำพูดเราก็เรียกว่าอัตถะ แม้เรียกว่าเนื้อหาเราก็เรียกว่าอรรถแก่นสารก็เรียกว่าอัตถะ เป็นอัตถประโยชน์หมายความว่าเป็นประโยชน์ที่เป็นแก่นสารจริงๆ 

นี่เราก็พึ่งสิ่งนี้ต่อมา เรียกว่าพึ่งอัตถะซิ เมื่อเราจะพึ่งอัตถะเราก็ศาสนาพุทธเราก็มาเรียนอัตถะของพระพุทธเจ้า มาเรียนภาษาที่พระพุทธเจ้าท่านเทศน์เอาไว้ก็ตาม หรือพระสงฆ์ผู้ที่รู้อัตถะ เนื้อหาสาระของพระพุทธเจ้า จนกระทั่งเราเอาไปประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนรู้ถึงอทะแท้ๆ รู้ถึงสภาวะตัวจริงๆ ก็เอามาถ่ายทอดอัตถะนั้นออกมาเป็นภาษาก็ตาม ก็เหมือนกัน แล้วเราก็มาพึ่งอัตถะนี้ เป็นชั้นรองลงมา 

คำสอนต่างๆ นี้ดังเช่นที่อาตมากำลังพูดอยู่นี้ อธิบายอยู่นี้เรียกว่า อัตถะทั้งสิ้น คือเป็นภาษาเป็นคำพูด และภาษาคำพูดอันนี้ ชักออกมาจากเนื้อหาแก่นแท้หรือแก่นสารของมันแท้ๆ เลยชักออกมา แล้วเอามาโยงใยมาพยายามชี้ให้พวกคุณได้ฟังเพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์ในการฟัง เกิดปัญญาในการฟังจึงเรียกว่า            สุตมยปัญญา เข้าใจจริงๆ ในการฟังให้ได้แน่นอนมากมาย จนกระทั่งคุณเอาไปคิดทบทวนที่บ้านที่ไหนก็ตามแต่เรียกว่า จินตามยปัญญาอีกทีหนึ่ง คิดทบทวนจนกระทั่งรู้เข้าใจซาบซึ้งว่าอ๋ออรรถนี้หนอ ที่ภาษาที่ได้ฟังมานี้หนอ เป็นภาษาที่มันมีเหตุมีผลจริงๆ เป็นของที่ควรที่จะได้เอามาใช้ เป็นของที่ควรจะได้เอามาอบรมตอนเอามาประพฤติปฏิบัติตามจริงหนอ แล้วเราเองก็จะได้เอาอัตถะนี้ไปประพฤติ 

การประพฤติการบำเพ็ญนั้นท่านเรียกว่า พตะ ก็คืออัตตะอีกนั่นแหละฟังให้ดีไม่ได้หนีจากอัตตะไปไหนเลย พตะ คือตัว พ กับ อัตตา พ.พาน สนธิกับความว่าอัตตะ หรือ อัตตา แปลว่าการประพฤติหรือการบำเพ็ญหรือการกระทำ 

ที่นี้เราจะไปประพฤติหรือบำเพ็ญสิ่งอันนั้นเราก็เอาสิ่งอัตตะที่เราได้มาแล้วจากการฟัง มาคิดทบทวนแล้วก็เอามาบำเพ็ญ เอาไปอบรมตนเรียกว่า ภาวนาก็ได้ภาวนาก็อบรมตนให้เกิดอย่างนั้นอย่างนั้นเรียกว่า ภาวนา หรือเรียกว่าเอาไป พต ก็ได้ หรือเอาไปประพฤติไปบำเพ็ญไปกระทำ 

พตะ อันนี้ก็คือเอาไปทำจริงๆ ให้มันเกิดในตัวในตนจึงเรียกว่า พ + อัตตะ ให้มันเป็นตัวตนเกิดมาที่ตัวที่ตนเรียกว่า พ หรือ พตะ อัตถะ สิ่งที่ได้มาตอนที่อาตมายกเหล่าเนื้อหาแก่นแท้ที่ได้มาเป็นภาษาที่พูดออกมาก็ตามพระพุทธเจ้าท่านเรียกว่า ข้อควรเอาไปประพฤติ ได้ยินเป็นภาษามาทบทวนเป็นข้อเป็นหลัก เป็นหลักใจหรือเป็นกฏอันหนึ่ง ที่เราจะเอามาประพฤติตาม นอกจากภาษาที่เรียกว่า อัตถะ นั้นเอามาโน้มน้อมประพฤติแล้วท่านยังเรียกว่า ศีล อีกเหมือนกัน 

ฟังให้ดีนะมันคล้องจองกันหมดธรรมะ นี่มันเรื่องเดียวกันหมดท่านเรียกว่าศีลด้วย ศีลนั่นคือ หลักใจศีลนั้นคือข้อควรประพฤติที่เราได้ฟังได้รับมาจากครูหรือได้รับมาจากอาจารย์ ที่ท่านบอกให้ เช่น ท่านว่าปาณาติปาตาเวรมณี อ้าวพยายามประพฤติละเว้นศัตรูอันที่จะทำตนเองไปเบียดเบียนผู้อื่นเสีย เรียกว่าปาณาติปาตาเวรมณี นี่เป็นศีลหรือเป็นอัตถะเป็นภาษาที่ท่านกล่าวออกมาบอกให้เราประพฤติอย่างนี้ 

ผู้ที่ได้อันนี้ฟังอันนี้มา เรียกว่า ศีลแล้วก็เอาศีลข้อนี้เองมา พตะ มาประพฤติ ผู้ใดได้ศีลข้อนี้มาแล้ว หรือได้หลักใจอันนี้มาแล้วมาเห็นดีเห็นชอบมาคิดทบทวนว่าเออควรจะเอาศีลข้อนี้มาภาวนา แล้วก็เอามาลงมือภาวนาจริงๆ หรือทำให้มันเกิดที่ตนจริงๆ หรือทำให้มันเกิดอัตตาทำให้เกิดผลเป็นอัตตาตัวตน ขึ้นมากับตนกับตัวจริงๆ จนเรียกว่า พตะ ผู้นั้นก็จะได้ความจริงจะได้ตัวตนอันแท้จริงขึ้นมาให้ตัวเองเลยทีเดียว มันก็จะเป็นผลเรียกว่า อรหัตตผลแต่ผลขึ้นมาเรื่อยๆ 

ผู้ใดมีศีลแล้วก็มี พตะ มีการบำเพ็ญจริงๆ เกิดผลจริงๆ ผู้นั้นจะได้เอา       อรหัตตะ จะได้ผลจะได้เอาอรหัตตผล 

แต่ที่นี้ผู้ใดเอาไอ้สิ่งที่ได้มาจริงๆ ที่เขาบอกมาอาจารย์บอกมาครูบอกมา แต่ครูบอกมาอาจารย์บอกมา ทว่า ผู้นั้นประพฤติไม่จริงประพฤติเป็นศีลที่เรียกว่าสักแต่ว่าศีลเฉยๆ ศีลลูบๆ คลำๆ ศีลที่ไม่แท้ศีลที่มีแต่ภาษาศีลที่ไม่มีเนื้อมีตัวไม่มีอัตตาศีลที่ไม่เกิดตัวเกิดตนเลยฟังแต่ภาษาแล้วเอาไปออกแขกออกลิเกอยู่ บางทีก็ไปนั่งฟังพระท่านมาถึงก็ไม่ยังภันเตวิสุงวิสุง รักขนถายะ ที่วัดพระท่านก็ออกลิเกพร้อมเลยขึ้นต้น ปาณาติปาตา เวระมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ กว่าลิเกบทนี้กว่าจะมีบทร้องบทขับจนกว่าจะจบนะ ผู้ที่ไปขอมายังภันเตก็ตาม พอพระท่านสวดท่านขับร้องออกมาเสร็จแล้ว อุบาสกอุบาสิกาศึกษาทั้งหลายก็บอกว่าปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามินี่เรียกว่ารับศีลได้ศีลมา 

เสร็จแล้วได้แล้วศีลมาแล้วจะเป็นศีล 5 ศีล 8 ก็ตาม พอได้ไปแล้ว ก็ถือเอาไว้ทีเดียวแบกเอาไว้ทีเดียวแหมปานาเราก็ถือ อะทินนาเราก็ถือกาเมแล้วก็ถือ     มุสาวาทาเวระมณีเราก็ถือ สุราเมระยะมัชชะปะมาก็ถือ บางคนถือไว้ร่าเลยเช้าวันนี้เราทำงานทำบุญวันเกิดนิมนต์พระมาขอศีลแล้วแต่เช้า พอตกบ่ายๆ หน่อยเพื่อนก็บอกว่าเฮ้ยเปิดกาขาวให้ทีสิ ไม่เปิดกาขาวเลย เพื่อนจะเลี้ยงวันเกิดนี่เจ้าภาพก็เปิดกาขาวเข้าให้ เพื่อนก็ดื่มกาขาว บอกว่าพระเจ้าภาพไม่กิน หรือ เจ้าภาพบอกว่ารับศีล เพื่อนก็บอกว่าศีลก็ศีลสิเราก็มาดื่มด้วยกัน เสร็จแล้วก็ดื่มเข้าให้

เสร็จแล้วลิเกบทนั้นก็ผ่านไปผ่านไปเหมือนสายน้ำไหลสุราเมระยะมัชชะปะมา ก็เทลงทะเลเลย  ไม่มีเนื้อไม่มีตัวไม่มีตัวมีตนไม่มีการประพฤติไม่มี พต ไม่เกิดตัวเกิดตน พ + อัตตะ ไม่เกิด เรียกว่พระก็ได้ เราจะทำตัวให้เป็นพระก็ได้เราจะทำตนให้เป็นพระไม่เกิด พระอันนี้ไม่เกิดเพราะไม่มีโพไม่มีโพธิ พ. พานนี้สำคัญไม่เป็นพระเพราะไม่มีโพธิ โพธิ คือ ความรู้หรือปัญญา เมื่อไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาเพราะตัวเองไม่ได้ปฏิบัติก็จึงไม่ได้เกิดความรู้ไม่ได้เกิดปัญญา 

โพธิสัตว์ หรือ โพธิสัตโต หลวงพ่อเณรโพธิสัตโต คำว่าโพธิสัตโตก็มาจากคำว่า โพธิ บวก สัตตะ สัตตะ คือ ส + อตต

สัตว์โต สัตว์ รากศัพท์มันมาจากคำว่า สัตตะ ถึงแม้ตอนนี้ภาษาบาลี สัตตะก็แปลว่า สัตว์โลกอยู่เหมือนกัน ใครเรียนภาษาบาลีจะรู้แม้แต่คำว่า สัตว ภาษาบาลีก็ยังเรียกว่า สัตตะ มาจาก ส.เสีย บวกอัตตา แปลว่า สัตว์โลก 

ถ้าสัตว์โลกโดยตรงแล้วจะอธิบายต่อไปไว้ตอนท้ายๆ ก่อน จะเป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังไม่เป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังเป็นขั้นอรหัตตะอยู่ 

โพธิสัตว์คือผู้ที่มีความรู้ผู้ที่จะเป็นโพธิสัตว์ตะได้ต้องเป็นผู้ที่มีอรหัตตะเป็นผู้ที่มีอรหัตผลให้ตัวเองแล้วรู้ แล้วมีความรู้รู้อัตตา  ตัวที่มีความเหมาะสมพอดีแล้วเรียกว่า เป็นผู้ที่มีปัญญาตัวอรหะหรืออรหันต์ หรือ ตัวความพ้นกิเลสรู้จักกิเลส รู้จักความพ้นกิเลสก็นึกว่ารู้จักความเป็นอรหันต์ รู้อรหันต์ ฟังดีๆ นะอาตมาใช้ภาษาที่พวกคุณเคยได้ยินได้ฟังทุกวัน แต่คุณไม่ได้เข้าใจภาษา อาตมากำลังเอาภาษามาคลี่คลายให้ฟัง เพราะฉะนั้นโพธิสัตตะ หรือ โพธิสัตว์นี่เราเรียกศัพท์ทับไปอีกเรียกว่าพระโพธิสัตว์ คือตัวบุคคลผู้หนึ่งที่มีความรู้มีปัญญาเรียกว่า โพธิ แล้วก็เป็นสัตว์โลกเป็นตัวตนจริงๆ เป็นสัตว์โลกจริงๆ 

แล้วก็เอา อัตตะ ที่เป็นอรหัง อรหัง หมายความว่าสิ่งที่พ้นกิเลส หรือรู้กิเลสและก็รู้การทำตนให้พ้นกิเลสอย่างที่อธิบายมาแล้ว เพราะฉะนั้นรู้ อรหัตตะตัวนี้ก็เอาอรหัตตะตัวนี้มาอธิบายสู่กันฟัง 

ทางมหายานเขานี่ เขาบอกว่าพระโพธิสัตว์นี่ เป็นผู้ที่ไม่บรรลุอรหันต์ก็จริงก็ได้เหมือนกัน เขาจะเป็นผู้ที่มีแต่อรหัตตผลเรื่อยไปแล้วก็เป็นโพธิสัตตะเรื่อยไปเขาจะไม่ยอมเกิดยอมสูญ เขาจะไม่ยอมเป็นอรหันต์ คือเขาจะไม่ยอมมีที่ปลายเขาจะไม่ยอมมีที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุดเขาจะไม่ยอมที่สุดเขาจะเกิดๆ ช่วยคนทั้งโลกนี้จนกระทั่งคนสุดท้ายในโลกนี้เหลืออยู่เขาก็จะช่วยคนสุดท้ายนี่ แหม…รู้สึกว่ามีอธิษฐานจิต หรือว่ามีปณิธานสูงเหลือเกินฝ่ายมหายานจะช่วยคนสุดท้ายซะก่อนในโลก ให้พ้นโอคะสงสาร แล้วตนเองถึงจะช่วยตอนนี้เรียกว่าทางมหายานเขาเอาร้ายกาจถึงขนาดนั้นก็ดีอยู่นะเป็นประเด็นทางที่น่าดูเหมือนกันแต่คิดดูซิมันจะเป็นได้ไหมหรือ มันเป็นไปไม่ได้หรอก มันเป็นแต่เพียงคำพูดอันหนึ่งเท่านั้นเอง ซึ่งเป็นคำยั่วยุ เป็นอุบายโกศลอันหนึ่งยั่วยุให้คน มีความตั้งใจสูง 

การช่วยคนให้พ้นอรหันต์ โดยเอาอรหัตตคุณ หรือเอาอรหัตตผลก็เหมือนกัน เอาหัตถกุล หมายถึงคุณความดีที่รู้ว่าเอารหัสหมายถึงอะไร เป็นเนื้อเป็นตัวเป็นอัตตาขึ้นมาแล้วเอาอรหัตตาคุณ มาเผื่อแผ่มาสอน มันก็ดีผู้ใดมีอรหัตตคุณมีอรหัตตผลแล้ว เอามาแจกจ่าย แต่ถ้าใครเอาเงินเอาทองมาแจกจ่ายเฉยๆ ยังไม่ใช่ชั้นดีหรอก ถ้าใครมีเอาอรหัตคุณเอาอรหัตตผลมาแจกจ่าย เอาอรหัตคุณเอา

อรหัตตผลอันนั้นเราเรียกว่าตัวธรรมะแท้ๆ ล่ะ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำทานโดยเอาอรหัตตคุณ หรือ อรหัตตผลมาจากจ่ายคนนั้นเป็นผู้ที่มีการทำทานชั้นสูงสุด ผู้ที่มีอย่างนั้นพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ ว่าผู้ที่มีธรรมทานผู้นั้นแหละเป็นผู้ที่ชนะโลก เป็นผู้ที่ให้ทานสูงสุดในโลก ที่ท่านเรียกว่า สัพเพทานัง ธัมมะทานังชินาติ ไม่มีทานอันใดที่จะแจกจ่ายหรือการทำให้แก่ผู้อื่นจะได้ผลบุญที่ดีที่สุดสูงที่สุด หรือว่าเป็นการให้ทานที่ชนะเลิศทั้งปวง ทานให้ธรรมทานเป็นธรรที่สูงสุด 

ธรรมะอันนั้นคืออะไรที่ดีที่สุดคือ อรหัตตคุณ หรือ อรหัตผล คือความรู้อรหันต์ หรือเอาตัวตนของอรหันต์มาชี้แจงเอาตัวตนของอรหันต์มาแจกจ่าย และอรหังก็คือสภาวะของกิเลส และสภาวะของการฆ่ากิเลสหรือการทำกิเลสให้พ้นไปเรียกว่าอรหัง เราก็ทำอันนี้ให้ได้รู้ให้ได้แล้วจึงเอามาแจกจ่าย 

ผู้ใดไม่มีเลยไม่มีอรหัตตคุณในตนเลย ไม่มีเอาอรหัตตผลในตนเลยผู้นั้นจะเอาอรหัตตผลเอาอรหัตตคุณมาแจกจ่ายได้ไหม ได้ไหม ลองคิดดูซิ ไม่ได้เราจะเอามาจากไหนตัวเองไม่มีเลยไปเชือดเฉือนมาจากไหน แต่เอาเถอะเมื่อไม่ได้เมื่อไม่มี ท่านก็มีอยู่ในภาษาท่านจดไว้บ้างก็มีท่านลอกไว้บ้างก็มีท่านจำกันไว้บ้างก็มีเป็นภาษาบอกกล่าวกันในหูในอะไร เป็นอัตถะชั้นรอง เรียกว่า อรรถฎีกาอาจารย์ก็ตาม เรียกว่า อาจารย์ท่านรองเขียนลงมาอีกอะไรพวกนี้ เราก็เชื่อ อรรถฎีกาจารย์ต่อลงมา คำข้อเขียนบอกไว้จดไว้ฎีกา จดบอกฎีกาจดบอกแล้วก็อาจารย์เหล่านั้น ก็เอาคำจดบอกเหล่านี้มากล่าวต่อๆ กันไปก็ได้ประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์มันยังไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงยังไม่ใช่ป้อนออกมาจากตัวเองเลย มีอรหัตตะอยู่ในตัวเลย ไม่ใช่ 

ถ้าผู้ใดมีอรหัตตะอยู่ในตัวเลยจริงๆ ชักออกมาทีไร มันแน่นหนามันรู้สึกว่ามันลวดลายเลยมันออกฤทธิ์ออกเดช มันมีตัวตนดีจริงๆ ถ้าใครเห็นตัวตนอัตตานี้จะเห็นชัดๆ เลยโอ้โหตัวตนนี้ปั้นไม่ง่ายนะ คนที่มีอยู่แล้วจริงๆ เมื่อควักออกมามันจะดิ้นพลาดๆ ออกมาเห็นออกปากเลยมันคอมเพล็ดเลยมันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นตัวเป็นตนเห็นชัดเจน แต่ถ้าคนที่ไม่ก็พูดแต่ภาษาที่ท่องมา เรียกว่า อรรถฎีกา

จารย์ ว่ามา หรือ อาจารย์ของเราบอก ให้เราท่องไว้อย่างนี้นะแล้วเราก็เอาท่องๆๆบอกตาม 

ก็จะได้แค่ภาษาแค่นั้นเราก็ฟังตามๆ กันไปแค่ภาษาท่องๆๆ ภาษาพูด     เรียกว่า ญัติ ภาษาบาลีท่านเรียกว่า ญัต ญ กับ อัตตะ ผสมกัน เรียกว่า ญัตตะ พอเวลามาสวดเอามาใส่กิริยาเพิ่มท่านเรียก ญัตติ ตัว ญัตต หรือ ญัตติ คือตัวตนที่เป็นเรื่องราวเป็นที่จะเข้ารูปเป็นขอบข่ายเอามาพูดกัน ภาษาโลกๆ คำว่า ญัตติ หมายถึงหัวข้อ หรือ อัตตาที่มันรองลงมาอีกทีแล้ว อัตตาตัวที่ค่อยๆ เรื้อลงเหลือแค่ภาษาเหลือแค่สิ่งที่ควรจะเอามาตีแผ่กันออกมาอีกที ไม่ใช่อัตตาตัวต้นตอของอรหะแล้วเป็นญัตติเป็นอัตตาตัวที่เรียกว่า  เกิดมาหลายชาติแล้วไม่ใช่เป็นตัวต้นตระกูลแล้วมันบาง ๆลงมาแล้ว เป็นญัตตะ หรือ ญัตติ เพราะฉะนั้นจะเอา ญัต ตัวนี้มาสวดให้กัน มันก็แค่มาญัติให้แก่กันนี่ภาษาไทยพูดนะ ภาษาบาลีเขาก็พูด ญัติเหมือนกัน จะนึกว่าเป็นปริยัติก็ได้ นี่อาตมาพูดถึงวิวัฒนาการของภาษา 

เพราะฉะนั้นปริยัติก็มาจากตัวเดียวกัน คือ ญัต มาเป็น ปริญัติ             ปริยัติ หมายถึง ญัติตัวเดียวยังไม่โก้ต้องปริเลย ปริ หมายถึง เต็มรอบครบเลย     ปริ คือคำสอนแท้ๆ เลย เอาปริยัติเลย 

ภาษาที่มันยืดยาดออกมาเป็นสมมุติที่เราเองเอามาใช้สภาวะที่มันเกิด เพราะฉะนั้นต้องพยายามตามสภาวะแล้วก็ต้องพยายามตามภาษาที่มันโตมันใหญ่ขึ้นมาด้วย ถ้าเราจะเอาภาษาตัวเก่าอย่าง ย ยักษ์ ยอหญิงมันเพี้ยนขึ้นมามันก็จะซ้ำแซะอยู่เพราะฉะนั้น เขาจึงแยกย้ายจากยยักษ์มาหา ญ หญิง ไปเรื่อยๆ เหมือนกัน ปริยัติเราจึงแปลว่าคำสอนโดยตรงและก็จริงคือศีลนั่นเอง ปริยัติคือศีลหรือเนื้อหาคืออัตถะที่เรา ที่พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเรา พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเราอันใดอันใด อันนั้นเป็นปริยัติ อันนั้นเป็นอัตถะที่เราจะมาประพฤติมาปฏิบัติเอามา พต เอามาประพฤติบำเพ็ญทั้งหมดทั้งมวล นี่เรียกว่าความคลี่คลายของอัตตามันตัวใหญ่มาตั้งแต่อัตตาที่มันเป็นไปอย่าง อรหัต หรืออรหันต์ อรหัตตคุณ​ จนกระทั่งตัวใหญ่มาเป็นอัตถะ 

โตใหญ่นี่หมายถึงตัวใหญ่อย่างโลกมาเป็นอัตถะะ จนกระทั่งมาเป็นผู้ที่มีอัตถะนั้นจริงๆ คือโพธิสัตว์เอามาถ่ายทอดกัน เพื่อที่จะให้เรา พต ให้เราประพฤติ จนกระทั่งภาษาที่พูดนี้มันจางลงจางลงหรือมันโลกโตขึ้น เป็นโลกมากขึ้นมันเป็น ญต หรือญัตติ  มากขึ้นจนเป็นปริยัติก็ตามนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังพระพุทธเจ้าทั้งนั้นมันโตขึ้น มันโตมา ๆ 

ที่นี้อาตมาจะต่อให้หมดไอ้อัตตะทั้งหลายที่เราจะพึ่ง เมื่อเราเองเรา พต เราพยายามที่จะ ประพฤติได้เราะจะประพฤติอย่างไรล่ะ 

เช่น ท่านสอนว่าปาณาติปาตาเวรมณีแต่อย่าฆ่าสัตว์นะ เป็นอัตถะที่ท่านให้มาหรือเป็น พต ที่ท่านให้มาหรือเป็นปริยัติที่ท่านให้มาซึ่งเราเองเราจะเอามา พต หรือเอามาประพฤติเราก็ต้องประพฤติเอามาทำลงไปจริงๆ ให้มันเกิดผลแก่ตัวเรา อย่าง มต นี่เป็นอัตตาอีกตัวหนึ่งแล้วมาจากคำว่า มัด บวก อัตตะ

ให้มันเป็น มต  มตตัวนี้หมายถึงตามสมควรหรือตามพอดี  มต ตัวนี้ มม้า บวกอัตตา หมายความว่าพอดีพอควรหรือเหมาะสม ต้องกำหนดรู้กำหนดทำให้มันพอดี มต หรือ มัตตัญญุตา หรือมัตตัญญู แปลว่าทำให้พอดี 

ที่นี่มาขึ้น มัตตะ อีกตัวนึงก็คือ มตาหรือมต มต คือพคือพออดี มีลักษณะคล้ายอรหะ คือ เป็นตัวอ่นอกว่า 

มต ตัวนี้ก็เป็นอัตตาตัวหนึ่งที่เป็นความเหมาะควรที่เป็นชั้นสำหรับแต่ละบุคคล อย่างบางคนขณะนี้นะ จะให้มาประพฤติอย่างอาตมาทันทีขณะนี้ เงินทองไม่เอาจริงๆ เลยไม่ใช้เงินไม่ใช้ทอง รองเท้าก็ไม่ใส่ มีผ้า 3 ผืน สมบัติอะไรไม่สั่งสม เอาแค่รองเท้าไม่ใส่นี้ก่อน ไม่ไหวเหมือนกัน ก็เรียกว่าไม่ใช่ มต มัน มต ไม่ลงแล้วล่ะ หรือให้มาโกนหัวตอนนี้ก็ยังโกนไม่ได้แล้ว ยังไม่ถึงรอบมันยังไม่ถึงขั้นที่จะต้องโกนหัวได้ก็เรียกว่า มต อันนั้นยังไม่เป็นตัวเป็นตนเหมือนกันยังไม่เป็น อรหะ 

ถ้าอาตมาเรียกว่า ถ้าเป็นตัวของอาตมานะ ขณะนี้ถ้าให้อาตมาเป็นอย่างของพวกคุณนี่อาตมาบอกว่า มันแสนจะง่าย มันเป็น มต มันเป็นชั้นอ่อนมันเป็นชั้นเยาว์ ขณะที่สิ่งที่คนเคร่งๆ อย่างยกตัวอย่างเมื่อกี้ ศีลข้อปาณาติบาตอย่าฆ่าสัตว์นะ พวกคุณก็บอกว่ามันยากแฮะ บางบางทียุงกัดก็ไม่ไหว ต้องตบ งูเข้าบ้านมามันต้องฆ่า ไม่ฆ่าไม่ได้ มันเป็นพิษเป็นโทษเป็นภัยความเหมาะสมของคุณก็ยังยากยังต้องตบยุงเดียวต้องฆ่างู แม้แต่ศีลหรืออัตถะะจะได้รับมาจากพระโพธิสัตว์ใดที่ท่านสอนไว้ว่าอย่าไปฆ่าสัตว์นะ คุณก็ยังทำยากอยู่นั่นเอง เป็น  มต เป็นความเป็นกลางความเหมาะสมความพอดีของคุณคุณทำให้เกิดอัตตาให้ได้ความมัชฌิมาของคุณทำให้เกิดให้ได้ 

จนกระทั่งเกิดความไม่ได้เดือดร้อนไม่ได้ลำบากอะไรเลย ตอนแรกคุณอาจจะต้องเข้มงวดกวดขันกับคุณมากทีเดียวคุณเคร่งครัดมากทีเดียวไม่พยายามเผลอ ถ้ายุงกัดก็ไม่พยายามตบทันทีให้มันตาย ต้องพยายาม แหมมันยาก งูมาไม่ฆ่านี้ยากเหมือนกัน คุณต้องอ่านใจคุณด้วยและระมัดระวังสติคุณด้วย 

มีเพื่อนอาตมาคนนึงแต่ก่อนเขาเจองูไม่ได้เป็นอันขาดต้องฆ่ากัน เจองูที่ไหนต้องฆ่าดะ รู้สึกว่าเป็นศัตรูกันหมดกับงูนี่มันมีพิษมีภัยเหลือเกินบอกว่าไม่ได้หรอกมันอยู่ร่วมโลกกันไม่ได้ จนกระทั่งเดี๋ยวนี้เขาได้ฟังธรรมมาเรื่อยๆ เขาก็สนใจธรรมะเรื่อยมา จนพยายามที่จะถือศีลให้มันบริสุทธิ์ ซึ่งมันเป็นไปเองแหละเขาเข้าใจธรรมะ เขาก็ถือศีลเขาเองแล้วเขาก็พยายามไม่ฆ่าสัตว์จริงๆ 

วันหนึ่งเขาก็เจองูที่บ้านเขา เจองูโอ้โหเขาบอกว่า เขาพยายามมีศีลให้บริสุทธิ์นี่เขากำลังจะประพฤติอัดถาดที่ได้รับมาจากพระโพธิสัตว์บอกไว้ว่าอย่าฆ่าสัตว์นะ เพราะฉะนั้นเขาจะต้องใช้ความพยายามของเขาอย่างที่สุดที่จะทำอัตตา ที่มันเป็น มะ คือ มัตตะให้ได้ จะทำความพอดีให้เกิดแก่ตนให้ได้ให้มันเป็นกลางให้มันไม่เดือดร้อน ให้มันไม่ทุกข์ไม่ทรมาน ให้มันทำทุกอย่างให้มันเป็นทุกข์อย่างไม่สุขไม่ทุกข์ด้วย เขาพอเจอแล้วอารมณ์จิตของตัวแรกของเขาบอกเลยว่า อื้อหือมันอยากจะฆ่าเพราะความเคยชินที่อยากจะฆ่าและนึกเกลียดงูมานาน อยากฆ่าแต่มีสติ ก็บอกว่า เอ๊ะฆ่าไม่ได้ฆ่าแล้วผิดศีล ลำบากแน่ ขนาดนั้นเขาบอกว่าเขาต้องสงบอกสงบใจไปนานเลย ใจมันเต้นเร้าๆ มันเต้นอยู่ในใจว่ามันอยากจะฆ่า  ใครเคยมีสภาวะนั้นอยู่ในตนเองจะเห็นตามเลย เขาบอกว่าต้องสงบอกสงบใจตั้งนานกว่าใจมันจะเป็นกลาง กว่าใจมันจะเป็น มต กว่าจะทำให้ใจเฉยๆ กับมันได้แม้นาน จนกระทั่งใจเขาสงบเลย บอกว่าไม่ได้หรอก ช่างมัน มันจะยังไงก็ช่างมันพอควรมันไม่ก้าวก่ายจนกระทั่งเข้ามาที่นอนเราก็ใช้ได้ มันอยู่ข้างนอกก็ช่างมันเถอะ 

เขาพยายามที่สุด จนกระทั่งเขาเอามาเล่าให้อาตมาฟังว่าเออนี่แหละ เป็น พฤติหรือ พต เป็นการประพฤติบำเพ็ญจริงๆแล้วเขาก็เห็นจิตของเราจริงๆ ว่าแหมมันต้องทน กว่าจิตมันจะสงบลงเป็นกลางได้นานเหมือนกัน แล้วเขาก็ได้ทำจริงๆ ได้ พต จริงๆ หรือได้ประพฤติให้มันเกิดอัตตาตัวนั้นในตนจริงๆ เกิด มต เกิดความเป็นกลางเกิดความเหมาะสมพอดีๆ เพราะงูตัวนั้น มันก็อยู่ของมัน เราก็อยู่ของเรา เราก็อยู่ของเรา เขาเล่าว่างูตัวนั้นมันก็เชื่องเสียด้วยนะ มันแสดงลอยหน้าลอยตาลอยนวลไม่รีบหนีเสียด้วย คล้ายๆ กับมันยิ่งยั่วยิ่งยุ เดี๋ยวฉันก็เอากระบองล่อให้เสียนี่คล้ายๆ อย่างนั้นยิ่งยั่วยิ่งยุเสียด้วย เพราะแต่ก่อนจะไล่งูกับเขาเจอกันไม่ได้หรอก อย่าว่างูมันจะวิ่งหนีเลยเขาไล่ตามเลย ทุกทีๆ เจองูแล้วมันไม่อยู่รอหน้าหรอก ธรรมดาของเขานะ เขาบอกไม่มีงูตัวไหนอยู่รอหน้า ไม่มี พอเจอปั๊บ มันก็วิ่งปั๊บ เขาก็ตามไปฆ่าทันทีเหมือนกัน แต่ตัวนี้ มันไม่เป็นเหมือนงูตัวอื่นก่อนๆที่เคยเจอมาเลย แหม เรียกว่ายั่วยวนอยู่ด้วยนะ เขาบอกว่าไม่เคยเจอทำไมมันเกิดเชื่องขึ้นมาได้ด้วย ก็บอกว่าไม่เคยเจองูแบบนี้ เจองูตัวอื่นต้องไล่ฆ่าทันทีแต่ตัวนี้มันเชื่องได้ 

เขาจึงเห็นธรรมะอีกตัว เห็นอะไรรู้ไหม เห็นเมตตาธรรม เพราะใจเขาเกิด มต ขึ้นมา แต่ก่อนแต่ไรเจองู มีแต่วิ่งหนีแต่เมื่อไม่ฆ่า งูไม่วิ่งหนี เพราะถ้าเราไม่มีจิตจะไปฆ่างูมันก็ไม่กลัว มันก็ไม่วิ่งหนี 

เคยเห็นงูตัวหนึ่งมันไล่จิ้งจกมาในศาลา ศาลาที่อาตมากำลังนั่งฉันอาหาร พอไต่ขึ้นมา อาตมาก็เริ่มบอกเลยบอกคนว่างูขึ้นมาแล้วนะ พอได้ยินว่างูชักกระดุกกระดิกแล้ว แต่ไม่เป็นไรเขาอยู่ฝั่งโน้น ส่วนงูมันขึ้นมาศาลาที่อาตมานั่งฉัน เเล้วมีเพื่อนผู้ชายที่เคยบวชมานานเข้าใจธรรมะสูงพอสมควรนั่งอยู่ด้วย อาตมาก็บอกว่านั่งเฉยๆ อยู่เฉยๆ เป็นกลางให้ทำ มต  ให้ทำใจเป็นกลางเฉยๆ บอกว่าอยู่เฉยๆ นะเดี๋ยวงูมันก็เลื้อยขึ้นมาจริงๆ พอเราวางเฉยจริงๆ ใจทำใจ มต คือ บำเพ็ญ พต ไอ้งูมันก็เลื้อยเฉยขึ้นมาจริงๆ ถ้าเราทำเอะอะรับรองมันไม่ขึ้นมาหรอก เพราะเราไม่เอะอะ มันไม่มีเอฟเฟคทางวิญญาณ จิตมันมีผลสะท้อนมาเลย งูนี่มันรู้ เมื่อไม่มีศัตรูขึ้นมามันก็จะตะกละ ความโลภมันเยอะมันก็ไล่จิ้งจกขึ้นมาเลย คุยกันไปแลกกันมา จิ้งจกปีนขึ้นข้างบนมันก็ไล่ขึ้นข้างบน มันเหมือนกับไม่มีคน มันไล่กันอย่างกลับไม่มีคนเลย ศาลามันผ่านหน้าผ่านตาเฉยเลย ไม่อะไรเลย ยังไม่พอ จิ้งจกกระโดดลงมาข้างล่าง งูก็กระโดดลงมาตาม 

ในศาลาสี่เหลี่ยม ถ้ามานั่งอยู่นี่ คนอื่นๆ นั่งอยู่ตรงนี้งูมันก็ลงมาตรงนี้เลย ไต่เข้าไปเลย ตอนแรกไต่เข้ามาหาคุณ ราเชนก่อน คุณราเชนก็นั่งเฉยนิ่ง เราบอกว่านิ่งๆ ตอนนี้จิ้งจกตัวนั้นวิ่งลงไปในจีวร งูตัวนี้ก็เข้าไปจุ๊บๆ อยู่ข้างๆจีวรท่านนั่งอยู่นี่ เขาก็จะไปตามหาจิ้งจกแล้วประเดี๋ยวมันก็ไต่ลงไปข้างศาลาลงไปเลย จิ้งจกตัวนั้นมันวิ่งจากทาง  คุณอำนาจมาหาราเชนอีกที จิ้งจกตัวนั้นก็รอดตัวไป แล้วมันก็ไปลงไปเลย อย่างนี้เป็นต้น 

นี่แหละคืออำนาจของเมตตาธรรม อำนาจของสิ่งที่เราได้ประพฤติแล้วไม่มีการเบียดเบียนกัน วิญญาณต่อวิญญาณมันสงบ มันไม่มีการที่จะะเข่นฆ่าเขา

เข่นฆ่าเรา แต่ถ้าเรามีอิ๊อะอะไรหน่อย มีผลสะท้อนอะไรขึ้นมาในใจมีค่าลบค่าบวกหมายถึงค่าที่จะฆ่ากันในส่วนใดส่วนหนึ่งขึ้นมาหรือแม้แต่การรังเกียจหรือการกลัวก็ตาม ก็เป็นผลที่จะให้เกิดขึ้นได้ ฉะนั้นในระยะนี้เป็นไปได้อย่างจริงๆ เลย อาตมาเล่า และอยากให้เห็นสภาพนั้นจริงๆ พวกผู้หญิงนั่งอยู่ฝั่งโน้น งูมันก็เปิดเหมือนกัน ทีนี้มันแสดงละครให้ผู้หญิงเหล่านั้นได้ดูได้ด้วย เป็นการแสดงบทบาทของงูกับการแสดง 

พต พัตตะ คือให้อัตตาเกิดในตัวเรา คือให้มีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นอัตตาเป็นรูปร่างของการวางเฉยอย่างพอเหมาะพอเจาะ ไม่เดือดร้อน พอดีพอดีอย่างสมควร ไอ้นั่นหน้าที่ของเขาจะไล่จิ้งจก เขาก็ไล่ไปเขาไม่ได้มากวนอะไรเขาไม่ได้มากินเรา เขาไม่ได้มาทำอะไรกับเราเลย เราก็อยู่เฉยๆ เขาก็อยู่กับหน้าที่ของเขา เขาไม่เฉยหรอกเขาก็ไล่จิ้งจกไปนี่แหละคือสภาวะของ มต สภาวะ พต บำเพ็ญให้มันเกิดประโยชน์ขึ้นมา นี่อาตมายกศีลข้อแรกขึ้นมาคือศีลข้อปาณาติบาต เราไม่ฆ่ากัน เราไม่เบียดเบียนกัน แล้วคุณธรรมที่มันจะทำให้เกิด มัตตะ ทำอย่างนี้เป็น

กลางอย่างนี้แล้วให้เห็น มันจะเห็นผลกับเราอย่างนี้ ยิ่งเห็นผลอย่างนี้แล้วเพื่อนของอาตมาที่เล่ามาก่อนนั้นก็ดี หรือแม้แต่สภาวะที่อย่างนี้ ที่อาตมามาเล่าให้ฟังก็ดี นี่เป็นอำนาจที่มันจะเกิดผลสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง 

เมื่อเราเห็นผลอย่างนี้ต่อไปเราก็จะไม่กลัวอะไรมันมากมาย งูเราก็ไม่กลัวมันมากมายนี่ หรือสัตว์ที่ร้ายกาจกว่านี้เราก็จะไม่กลัวมันมากมาย ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาพอเห็นมันตั้งหน้าตั้งตาเป็นศัตรูกันเลยแล้วจะฆ่ามันก่อนเลย ไม่หรอก ไม่มีฆ่ากันเลยในโลกนี้จะเป็นสิงห์เป็นเสือเป็นช้างม้าวัวควายอะไรก็แล้วแต่ ถ้าเราไม่มีผลที่จะไปเป็นศัตรูซึ่งกันและกันหรือเป็นภัยซึ่งกันและกันแล้วนะ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดถ้าเข้าใจการบำเพ็ญการทำอัตตา หรือ การพึ่งอัตตา สร้างอัตตาขึ้นมาเป็นที่พึ่ง ถ้าใครเข้าใจได้อัตตาต่างๆ ที่อาตมากำลังพูดถึงนี้ กำลังอยู่ในขั้นสูงนะเพราะกำลังไต่ออกมาถึงขั้นอรหะ อรหันต์ มาเป็นมัตตะ อีกหน่อยมันนี่มันยังสูงอยู่นะ อีกหน่อยจะไต่ลงไปกว่านี้อีกเรื่อยๆ เราก็ต้องพึ่งอะไรก็พึ่งหลับตาที่เราก่อตัว พึ่งให้สูงแล้วก็จับพึ่งไปเรื่อยๆ อย่างนี้พอเรามาพึ่งมัตตะให้ได้ตามความพอดีความเหมาะสมของเราตามหน้าที่ตามกาละของแต่ละสัตว์ แต่ละบุคคลแต่ละสิ่งทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพึ่งลงมาเป็นระดับระดับอย่างนั้นเลยนะ เราทำ มัตตะ อันนี้ให้มันสูงขึ้นสูงขึ้น ให้มันแก่ขึ้นแก่ขึ้น เรียกว่าให้มันแก่ขึ้นนั่นเองสูงขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือกล้าขึ้นหรือมากขึ้นก็ตาม เราเรียกการกระทำที่สูงนั้นเป็น อัตตา อีกชนิดหนึ่ง ภาษาบาลีท่านเรียกว่า รต 

รต คือ ร + ต บวกอัตตา แปลว่ามากขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือภาษาอันนี้ถ้าเรามาเรียกใช้คำว่า รัตติหรือรัตติกาล คือเวลาแก่ขึ้นหรือกลางคืน รต แปลว่าสีแดง เขาก็แปล แปลว่าจัดก็ได้ แก่ก็ได้ ให้มันเต็มรอบ ทำรัตตะ ให้มันมากขึ้นเราเรียกว่า รต

ทำ มต  ให้มันแก่ขึ้นยาวขึ้น ติดต่อเป็นตัวตนที่ยาวขึ้น รัตตะ เพราะฉะนั้น รัตตัญญู คือผู้ที่มีอายุยืนยาวนาน ผู้ที่แก่มากนั่นแหละ ทำทุกอย่างให้มันแก่ขึ้นอย่างนี้คือให้อัตตามันพอกพูนเพิ่มยาวนานยิ่งยวดมากขึ้น เรียกว่า  รัตตะ เราทำ มต ให้เป็นอัตตาที่แก่ขึ้น รต

 พอ มัตตะแก่ขึ้นเราทำอาการวางเฉยอย่างเช่นปาณาติบาตเราทำการวางเฉยไม่เป็นพิษเป็นภัยแบบไม่ฆ่างูอย่างเมื่อกี้ได้แล้ว เราแก่ขึ้นแก่ขึ้นจนกระทั่งเรามีเมตตาธรรมก็สูง มีการไม่ถือสาหาความกันไม่เกิดความกลัวซึ่งกันและกันจนเห็นผลจริงๆว่า เราเจอเสือเราก็ไม่กลัวเสือ เสือก็ไม่กลัวเราจนกระทั่งต่างคนต่างอยู่ตามหน้าที่ก็ได้  อย่างนั้นเรียกว่า คุณของอรหัต หรือ ผลของอรหัต เป็นคุณที่สูงกว่า มต รต เพราะฉะนั้นพระอรหันต์กับเสือไม่ค่อยทำอะไรกันและกันแล้วมันจะเป็นจริงอย่างนั้น อรหัตตคุณ 

อรหันต์ที่มีอรหัตตคุณเป็น รต แก่ขึ้นไปจนอรหันต์มันสูงเป็นอรหันต์แล้วกับผลเสือก็ไม่ทำอะไรกัน เพราะบารมีในศีลขั้นปาณาติบาตไม่รบกวนกัน ไม่เบียดเบียนกันไม่ทำกันเลยต่างคนต่างอยู่ รู้หน้าที่รู้การเป็นอยู่สัตว์โลก ย่อมอยู่กันไปตามสัตว์โลก ผู้ที่อยู่คนนี้โหดร้ายตามที่เขาเรียกว่าโหดร้ายเขาว่าเสือโหดร้าย ที่จริงเสือมันก็โหดร้ายกับเหยื่อของมัน มันไม่ได้โหดร้ายกับทั่วๆ ไป เช่นเดียวกันกับงูมันก็โหดร้ายกับจิ้งจกอย่างที่เล่าเมื่อกี้ มันไม่ได้มาโหดร้ายกับเรา แต่ถ้าเรารักจิ้งจกมากนะเราจะตีงู บอกว่างูตัวนี้ไปโหดร้ายกับจิ้งจก แต่มันไม่ได้โหดร้ายหรอกทุกอย่างมันเป็นหน้าที่เป็นกรรมของมัน เป็นสิ่งที่มันจะกระทำต่อหน้าที่ของมันแต่ละหน้าที่เป็นไปตามวาระ  เป็นไปตามกาล เป็นไปตามความสมมุติ ที่มันสมมุติเป็นระยะๆ 

เสือมันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เนื้อเก้ง เนื้อกวาง เนื้ออะไรมันก็จับของมันกินของมันไปตามวาระกรรมของมันมันสร้างบาปสร้างบุญของมันด้วยเรื่องของมัน ถ้าเราสร้างวิบากไปร่วมด้วย ไปห้ามเสือไม่ให้กินหมู หมูเขาจะหามเอาคานไปสอดเสือเขาจะต้องกินเนื้อนะ เอาหญ้าให้กินมันก็ไม่กินหรอกเช่น งูมันจะต้องกินเขียดกินกบ เราจะเอาหญ้า ไปให้งูมันกินมันไม่กินหรอก ไม่ใช่เรื่องของมันเป็นกรรมของมันมันจะต้องเกิดมาเป็นงูมันจะต้องมาล่าจิ้งจกมันต้อง ล่ากบล่าเขียดกิน เรื่องของมันเช่นเดียวกันกับคน เราเกิดมาเป็นคนเราก็จะต้องกิน หรือต้องล่า หรือต้องทำสิ่งที่ควรกระทำ 

พอมาเป็นอัตตาชนิดที่เป็น สต คือ ยึดถือเป็นตัวเป็นตน โตรอบมากกว่าพวกพืชแล้วเรียกว่าเป็นสัตว์เป็นอัตตา   เรียกว่า สต เราทำศัพท์ ให้เพี้ยนเป็น สัตว์​ จะได้ไม่งง สต เอาไปใช้เป็น  7 ชาติถ้าครบ 7 ชาติเกิดมา 7 ชาติเรียกว่าเป็นสัตว์ที่ 7 ตระกูลเรียกว่าเป็นตัวเป็นตนแล้ว สิ่งใดก็ตามแต่ ถ้าเราได้พยายามที่จะปลูกฝัง หรือว่าทบชาติ ทบตระกูลของมัน ให้มันยืนยันตระกูลของมันได้ครบถึง 7 รอบ 7 ช่วง 7 Generation ถ้าใครทำได้ถึงขนาดนั้นนะครบ 7 รอบ ท่านถือว่า สิ่งนี้เรียกมันได้ว่าตระกูลแท้ ถ้าใครเรียนถึงเรื่องเกี่ยวกับทาง สัตวศาสตร์ หรือ ทางชีววิทยาก็คงจะเคยได้ยินมาบ้าง แต่อาตมาไม่ได้เรียนทางชีววิทยามันจะตรงหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ พูดตามภาษาทางพุทธศาสนา ถ้าตรงกันก็แสดงว่าพุทธศาสนานี้สอนไว้ละเอียดลออ และเป็นการรู้ด้วยญานตรงกัน 

พอครบ 7 ชาติแล้วครบ 7 ช่วงแล้ว อันนั้นจะเป็นของแท้ เพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืชเพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืช จากอะไรต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นอะไรต่ออะไรมาจนเป็นสัตว์เซลล์เดียว หลายๆ สัตว์ต่อกันมาจนเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า สัตว์นี่คือมันต่อกันมาจากดินน้ำลมไฟ จากดินน้ำไฟลมวิวัฒนาการมาจนกระทั่งเป็นพืช อย่างที่เรียกว่าเป็นพืชชั้นต่ำ มาเป็นพืชชั้นสูง จากพืชชั้นสูงมานับรอบแปรรูปมาเป็นสัตว์ได้ 

อย่างสัตว์ชนิดหนึ่งเขาเอามาให้อาตมากิน เขาบอกว่าจะเอามาให้ไอโอดีน สัตว์ชนิดนั้น เรียกมันว่าสาหร่ายทะเล สาหร่ายทะเลแล้วเขาก็เอามาให้อาตมาฉันวันนึง อาตมาก็ฉันเข้า อาตมาก็บอกว่า เอ้ย สาหร่ายทะเลมันไม่ใช่พืชแท้แล้ว สาหร่ายทะเลมีเจนเนอเรชั่นทบชาติจะเป็นสัตว์ขึ้นมาหลายช่วงแล้ว อาตมากินแค่นั้นกระทบสัมผัสอาตมาบอกว่าไอ้นี่ไม่ใช่พืช เป็นพืชจริงในภาษาคน เรียกว่ามันยังเป็นพืชอยู่ เพราะมันยังไม่ครบ สต ยังไม่ครบ 7 รอบยังเป็นตัวเป็นตนจะเรียกว่า สัตว์แท้ไม่ได้ ถ้าใครเคยกินสาหร่ายทะเลบ้าง มันเหมือนนะ มันมีคาวนะ 

สาหร่ายทะเลมีคาว มีไอโอดีน คือมีโอโซน ธาตุออกซิเจนอยู่ในตัวมันเต็มแล้ว ออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พอพืชใดที่มีออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พืชนั้นจะกลายตัวกลายสภาพมาเป็นสัตว์มากแล้ว แต่มันยังไม่ร่อนออกจากไอ้ที่ยึดเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นพืชสาหร่ายทะเลนี้อาตมาถึงบอกกินเข้าไปปั๊บ อาตมายืนยันว่าไอ้นี่จะมาเป็นสัตว์แล้ว จะเรียกพืชในภาษาคน ได้  แต่อาตมากิน 2 คำแล้วอาตมาก็ไม่ต่อแล้ว จริงมีไอโอดีนแน่ มีโอโซนมากแน่ ออกซิเจน โอโซน คือแตกตัวมาจากออกซิเจนมาก มันเป็นพ่อเป็นแม่กันมาเกี่ยวโยงกันอยู่ มีธาตุพวกนี้อยู่เยอะจริง ไม่เถียง อาตมาไม่เถียง แต่ว่าถ้าอาตมาจะกินอันนี้มันก็จะใกล้จะเป็นสัตว์แล้วอาตมาเข้าใจอาตมาก็ไม่กินต่ออะไรมากมายล่ะ ที่ฉันอันนี้ เพราะเขายืนยันเป็นพืชแต่อาตมาไม่ได้อธิบายให้ฟังอย่างนั้นหรอก ดีนะคุณกฤษเป็นคนถวายสาหร่ายทะเลอาตมา ไม่มาวันนี้ ถ้ามาจะได้เข้าใจอันนี้ด้วยว่า อาตมายืนยันว่าสาหร่ายทะเลเป็นพืชหรือสัตว์อย่างไร แต่มันยังไม่ครบ 7 Generation ยังไม่ครบ 7 ช่วงเท่านั้นเอง 

คนถามว่า...ถัดมาเป็นพวกปลาดาวอะไรพวกนี้ 

พ่อท่านว่า... คนนี้เรียนชีววิทยามาเข้าใจ คนนี้ให้ความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาอีกว่าไอ้พืชตระกูลสาหร่ายทะเล มันวิวัฒนาการต่อจากนั้นมาจะเป็นปลาดาว จริงปลาดาวรูปร่างใกล้เคียงสาหร่ายทะเลจริงๆ แต่อาตมาไม่ได้สัมผัสแบบนั้นแต่สัมผัสกับอายตนะของอาตมา มันบอกเลยว่าไอ้ลื้อ นี่มันเป็นสัตว์แล้วนี่หว่า มันยังไม่ใช่พืชอย่างที่เขาเรียกหรอก แต่มันเป็นสัตว์ที่ปักหลักอยู่กับที่เท่านั้นเอง 

ที่นี้อาตมาอธิบายถึง สต ที่มันเกิด 7 ชาติ 7 ช่วง 7 ระดับ 7 Generation เพราะฉะนั้น ถ้าใครเข้าใจจะเข้าใจต่อได้ สต เป็นสัตว์ที่แยกตระกูลจากพืชแล้วคือพวกที่ได้พบชีวิตขึ้นมา 7 ช่วงขาดลอย ตัดโคตรภูมิมาเป็นสัตว์เลยแล้วเราก็เรียกอันนี้แยกมาเป็น สัตว์หรือสัตตะ นามบาลีก็เรียกยืนยันเป็นสัตว์เหมือนกันมันก็ออกมา 

ทีนี้เมื่อผู้ใด เมื่อผู้ใดได้พยายามที่จะมาหลงมาเห็นว่าตัวเองเป็นสัตว์ มีปัญญาเท่าสัตว์แล้ว สัตว์เหล่านั้นมันก็จะยึดอัตตาตามช่วงของมัน อย่างสัตว์สาหร่ายทะเลมันจะกิน มันก็จะกินอัตตาในช่วงที่เป็นหน้าที่ของมันโดยตรง มันก็จะกินธาตุที่เกี่ยวโยงใกล้เคียงกัน พอมันมาเป็นปลาดาวอย่างที่คุณนี้ว่า เราถือว่าเป็นสัตว์แท้แล้ว ตัดโคตรแล้ว ตัดโคตรภูแล้วออกมาเป็นสัตว์แท้แล้วพอมาเป็นปลาดาวมันก็จะกินอาหารที่ใกล้เคียงกับการเป็นสัตว์มันก็คงจะกินสาหร่ายทะเลนี่แหละ

โยมว่า...มันกินแพลงตอน

พ่อท่านว่า... นั่นก็เป็นสัตว์อีกตระกูลหนึ่งที่มันแยกตัวออกมาอีกอันนึง เอาล่ะเราจะไม่พูดมาก เพราะเราจะไม่ได้มาเรียนวิชาชีววิทยากัน แต่เราจะมาเรียนธรรมะ แต่นั่นแหละ ชีวะ ชีวิตคนเราก็เกิดมาจากชีวิตนี้แหละ เราเรียนชีววิทยาจะเข้าใจอันนี้มาก แต่อาตมาเองไม่ได้ไปรื้อเรื่องพวกนี้มากนักแต่มันรู้ได้ด้วยพุทธศาสตร์จริงๆ ที่อธิบายให้ฟังด้วยเหตุผลเหล่านี้ 

เพราะฉะนั้น ภาษามันบอกเลย ถึงได้ระลึกเรื่องเก่าๆ ได้เพราะฉะนั้น สต 7 ตระกูลนี้มันก็ออกมาอย่างนี้ ปลาดาวมันจะกินแพลงตอนบ้าง สาหร่ายทะเลบ้างก็แล้วแต่มันก็จะกินอยู่ในเจนเนอเรชั่นใกล้ๆ ของมัน มันจะกินอยู่ใน Generation หรือ ว่ากินอยู่ในรอบของตระกูลที่มันใกล้ๆ เคียงๆ กัน มันไม่ไปกินเกินขนาดนั้น เป็นหน้าที่ของมัน

เพราะฉะนั้นสัตว์มันก็กินสัตว์ ต้นไม้มันก็กินสิ่งที่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟที่มันใกล้เคียงกัน ถ้าต้นไม้ที่มันโตขึ้นไปมากมันก็จะกินประเภทที่เป็นน้ำมากกว่า ต้นไม้บางชนิดไม่ค่อยกินน้ำเท่าไหร่ แต่กินดิน กินลมมาก เพราะฉะนั้นต้นไม้บางชนิดโตขึ้นมาแล้วก็มากินน้ำมากขึ้นอย่างนี้เป็นต้น พอกินน้ำมากบางประเภทโตขึ้นมาเป็น พืชที่มันโตใหญ่ขึ้นมาจนกระทั่งมันจะกลายเป็นสัตว์อีกชั้นหนึ่งแล้วอย่างนี้เป็นต้น นี่ความรู้สึกในตัวมันมากแล้ว จนกระทั่งบางทีนะ ลูกของต้นไม้นี้ออกมาเป็นสัตว์ก็ได้เหมือนกัน ใครเคยเห็นแมงหวี่มันเกิดในมะเดื่อบ้าง ไปแกะเอาเถอะในมะเดื่อนี่ แมงหวี่ในลูกมะเดื่อนะ ในเรื่องชีววิทยาจะอธิบายอย่างไรอาตมาก็ยังไม่อยากจะมาพูดนะว่าแมงหวี่มันเกิดในลูกมะเดื่อ อย่างไร จะค่อยๆเป็นสัตว์ที่ต่อเซลล์ต่อทอดกันออกมาอย่างไร อาตมาไม่รู้นะชีววิทยาอธิบายแมงหวี่กับมะเดื่อออกมาอย่างไรอาตมาไม่รู้ 

แต่ว่าถ้าสัตว์พืชกับต้นไม้มันก็มีวิวัฒนาการก้าวหน้าอย่างนี้เรื่อยมาแล้วมันก็จะกิน หรือว่ามันก็จะพยายามที่จะกินสิ่งที่มันอยู่ในช่วงใกล้ๆ กัน 

ที่นี้สัตว์ที่โตขึ้นโตขึ้นโตขึ้นฉลาดขึ้น มันก็จะกินสัตว์ที่ด้อยกว่า สัตว์ที่โตขึ้นมาเรื่อยก็จะกินสัตว์ กินสัตว์ที่ด้อยกว่าเรื่อย เช่นเดียวกันปลาตัวโตก็กินปลาเล็ก ปลาดาวกินแพลงตอน ปลาโตกินปลาเล็ก ปลาโตขึ้นไปก็กินปลาเล็กต่อลงมาเรื่อยๆ เป็นทอดๆ แบบเดียวกัน 

เจ้าคน ที่นี้มาถึงสัตว์คน ต่อขึ้นมาที่นี้มาถึง สัตว์คนต่อขึ้นมา สัตว์ที่เป็นสัตว์ถึงขั้นเป็นคนแล้ว แต่แรกแต่เริ่มมาจริงๆ ตั้งแต่ชั้นโบราณอาการก็เป็นคนโง่ๆ มีขนยาวรุงรังเหมือนลิงก็กินสัตว์เหมือนกัน คนที่พัฒนามาเป็นคนตอนแรกๆ ก็กินสัตว์ กินสัตว์พอกินสัตว์แล้วเสร็จ ตามเชื้อของตัวเอง ที่จริงไม่ได้กินสัตว์มาทีเดียว สัตว์ในโลกนี้มันกินสัตว์กินพืช กินสัตว์กินพืชสลับมาตามระยะนะ ที่จริงแล้วคนในช่วงแรกจริงๆ เกิดมาเป็นคนนั้นน่ะ ไม่กินสัตว์ฟังให้ดีนะ    เนี่ยอาตมากำลังเล่าถึงเรื่องดึกดำบรรพ์ยิ่งกว่าดวงดาวที่ค้นพบเรื่องยิ่งกว่าใครค้นพบแล้วนะ สัตว์ที่มาเป็นคนตระกูลแรกที่จะตัดช่วงจาก สต 7 ช่วงมาเป็นตระกูลคนจริงๆคนตระกูลแรกที่สุดไม่กินสัตว์ เพราะมาจากลิง ฟังให้ดีนะ คนตระกูลสัตว์พอได้ยินคำว่าลิง คุณจะอ๋อ หรือว่าลิงมันไม่กินสัตว์มันกินพืช พิสูจน์ได้จากอะไร 

พิสูจน์ได้จากฟันของคน ไม่ใช่เป็นฟันที่สำหรับกินสัตว์ เป็นฟันที่ขบเคี้ยวแค่พืช เหมือนควายเหมือนวัว …ลิง คนมาจากลิง คนก็ตระกูลแรกที่ถ่ายทอดมาจากลิงแล้วก็กินพืชจากลิง คนตระกูลแรกที่ถ่ายทอดเรารับหน้ามาเป็นคน เป็นคนดึกดำบรรพ์ชั้นแรกเลยนะไม่กินสัตว์กินแต่ นี่เป็นต้นตระกูลคนอาตมาขอนับต้นตระกูลคนอันนี้ 

อีกต่อมาคนนี่มันก็เห็นว่าพืชมันก็กินได้สัตว์ก็กินได้คือ เป็นกิเลสนั่นเอง ก็คนตระกูลต่อมาเป็นคนป่าตระกูลต่อมาก็มากินสัตว์ ใจโหดเหี้ยมขึ้น มากินสัตว์ คนจึงกินสัตว์ตั้งแต่ที่เขายึดถือมาเลยว่าสัตว์พวกนี้มันโง่กว่าเรา เราฆ่ามันกินได้ เนื้อมันก็กินได้ กินแล้วชีวิตเราก็อยู่ได้ด้วยคนตั้งแต่บัดนั้นที่แปรเปลี่ยนจากต้นตระกูลคนชั้นแรกที่สุดนั้น ก็กลายเป็นยึดถือกินสัตว์เรื่อยมา คนต่อมาจึงสั่งสอนกันว่ากินสัตว์นั้นดีกว่า เพราะอะไร เพราะรสชาติของสัตว์มันสูงกว่ากิเลสกามมันมีก็เลยกินสัตว์เรื่อยไป เพราะฉะนั้นสัตว์ใดที่กินสัตว์แล้วนะจะไม่ค่อยกลับไปกินพืช แต่สัตว์ที่กินพืชไม่กินหรอกสัตว์ สัตว์ที่กินพืชเขาไม่กินหรอกสัตว์ แต่สัตว์ใดที่มันหลงเนื้อจะกินพืชยาก เช่นเดียวกันกับหมานี่ หมาตัวไหนที่ติดเนื้อมากแล้วนะ จ้างเลย เอาข้าวเปล่าๆ เอาพืชไปให้มันกิน มันไม่กินหรอก เพราะว่า เพราะกิเลสใน เนื้อมันสูงกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสของเนื้อมันมีมากกว่าพืช 

เพราะฉะนั้นเรื่องกิเลสที่มันสร้างโลก มันสร้างขึ้นมาแบบนี้ หมู หมาต่างๆ มันติดเนื้อสัตว์แล้วมันจึงไม่ติดพืช ถ้าสัตว์เราพยายามป้อนมันให้ดีนะให้มันกินแต่ผักพืชมากๆนะ อย่าเอาเนื้อไปล่อมันมากนะ มันจะกินพืชอยู่บ้าง หมานี่ บางตัวเอาพืชไปล่อมันบ้างมันจะกิน มันจะกินพืชบ้างแล้ว มันก็ไม่ตายด้วยนะ ไม่ตายไม่ตายหรอก มันก็จะอิ่มมันก็จะรักษาร่างกายของมันได้เหมือนกัน (1.14)

ที่มา ที่ไป

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง 15 เมษายน  2515 


เวลาบันทึก 21 พฤษภาคม 2567 ( 09:01:59 )

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ(ตอนที่ 3)

รายละเอียด

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง  15 เมษายน  2515 

พ่อท่านว่า... เรามาเริ่มต้น อธิบายความกันหน่อย เรื่องที่คุณพหลตั้งเอาไว้วันนี้ จะพึ่งอะไรดี ที่เราจะบรรยายกัน เป็นชื่อที่ดีที่สุด แล้วก็รู้สึกว่าจะบรรยายกัน ต้องตั้งใจฟังให้มากหน่อย เพราะเหตุว่าถ้าอาตมาจะบรรยายโดยที่เรียกว่า พื้นๆ ธรรมดา มันก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรและมันก็ซ้ำซาก แต่ที่อาตมากำลังจะบรรยายนี้ไม่ใช่เล่นลิ้น แต่ว่าด้วยเป็นถึงความเป็นจริง ไม่ใช่เป็นแต่เพียงภาษาพูดเท่านั้นด้วยนะ 

สงสัยว่าจะต้องมีใครมาคอยหมุนซะแล้วมั้ง (เทป) ไอ้นี่มันหนักพอหนักแล้วไม่ค่อยเดิน ไอ้นี่มันไม่ค่อยดีสงสัยจะต้องไปล้างเครื่อง สายพานจะหย่อนหรืออะไรก็แล้วแต่ 

เรื่องจะพึ่งอะไรดีนี้ ถ้าอาตมาพูดไปเดี๋ยวนี้ บอกว่าจะพึ่งอะไรดีนะ คนจะต้องค้านทันทีเลย ด้วยภาษา ถ้าถามบอว่าจะพึ่งอะไรดี ถามกันโป้งๆ ขนาดนี้ และโดยเฉพาะนักธรรมะที่ได้เรียนธรรมะแล้วมาพูดธรรมะกันนี่ ถ้าเราจะถามกันเปรี้ยงเลยว่า จะพึ่งอะไรดีอาตมาตอบเรื่องเหมือนกันเลย พึ่งอัตตา เพราะถ้าบอกพึ่งอัตตาเท่านั้นบอกว่าคนข้างนอกพูดแล้วคนทั้งหลายที่เราเรียนธรรมะกันโดยเฉพาะเรียนพุทธศาสนาจะต้องหาว่าอาตมาที่พูดนอกพุทธศาสนา 

เพราะพระพุทธเจ้าท่านสอนไม่ให้หลงอัตตา ไม่ยึดถืออัตตา แต่อาตมาบอกจะพึ่งและพึ่งยึดถือมันก็อันเดียวกันนั่นแหละ ที่พึ่งสรณะที่ยึดถือก็สรณะ อันเดียวกันนั่นแหละ คืออัตตานั่นแหละ และอาตมาก็ยืนยันว่าเราจะพึ่งอัตตา นี่ไม่ใช่อาตมาเป็นคนพูด ถ้าอาตมาพูดอย่างนี้แล้วก็หาว่าอาตมานี่พูดเอาเอง เพราะฉะนั้นอาตมาจะต้องขอยกบาลีที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสเอาไว้แล้ว และบาลีอันนี้เป็นที่กว้างขวางใครๆ ก็รู้ พูดขึ้นมาก็ อ๋อทันที 

พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา ชัดไหม ให้พึ่งอัตตา อัตตาหิ อัตโนนาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา 

นาโถ แปลว่า ที่พึ่ง ที่พึ่งใด ก็อัตตาของเรา อันเป็นส่วนของเรานี่แหละ เป็นที่พึ่งที่ยิ่ง ตัวตนนี่แหละอัตตา ตัวตนของตนนี่แหละ โกหินาโถ ปโรสิยา นอกจากตนแล้วจะพึ่งใครได้ ไม่มี ไม่มีที่พึ่งอื่น นอกเหนืออัตตา หรืออัตตาแปลว่า ตัวกูของกูที่ท่านพุทธทาสว่า หรือตัวตนของตนนี้แหละ เรียกว่าอัตตาแท้ๆ ที่เราพึ่ง พระพุทธเจ้าท่านก็สอนอันนี้ เพราะฉะนั้นทุกคนก็คงจะไม่เถียงแล้ว ก็คงจะชักเอ๊ะอะไรยังไงๆ แล้วนี่ ศาสนานี้กลับไปกลับมาพูดกันยังไง  แล้วก็เป็นจริงอย่างนั้นแล้วก็จะเห็นจริงอย่างนั้นมากขึ้น เมื่ออาตมาจะได้อธิบายเรื่อยๆๆๆ แยกแยะออกไปเป็นระดับๆๆ 

อาตมาจะแยกแยะออกไปเป็นระดับ ที่จะยืนยันคำว่า ทำไมอาตมาว่าจะต้องพึ่งอัตตา หรือพึ่งตัวตนหรือพึ่งตัวกูของกูซะก่อน ก็เพราะเหตุว่า บาลีบทนี้ยืนยันอย่างหนึ่งว่านอกจากยืนยันแล้ว อาตมาเห็นด้วยและคิดด้วยและถูกต้องด้วยไม่ใช่พระพุทธเจ้าท่านพูดแล้วถูก อาตมาก็เห็นด้วยด้วย เพราะอาตมาไม่ได้เชื่อพระพุทธเจ้าทีเดียว อาตมาเชื่อปัญญาของอาตมาด้วย พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนให้เชื่ออะไรดายไปทั้งหมดเลย   ท่านสอนให้จะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ และเป็นผู้ที่จะต้องเชื่ออย่างมีเหตุผล ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงาย 

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าบอกว่าแม้แต่คนนี้เป็นครูของเรา ท่านก็อย่าเชื่อ เช่นเดียวกันพระพุทธเจ้าเป็นครูของเราใช่ไหม ก็เท่ากับท่านบอกว่าอย่าเชื่ออาตมานะอย่าเชื่อตถาคตนะ เพราะว่าตถาคตเป็นครูของเราก็เท่ากับว่าอย่าเชื่อตถาคตก็เหมือนกัน แต่จะเชื่อก็ต่อเมื่อเราเองมีเหตุผลเข้าใจลึกซึ้งแทงตลอดถึงเหตุและผลเป็นปัญญาแทงทะลุว่า อ๋อ มันน่าเชื่อถือ และมันเชื่อถือได้ เพราะมันมีความจริงอันแท้จริงอย่างนี้เอง แล้วเราก็เชื่อ นี่เรียกว่าอาตมาเชื่อ อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหินาโถ ปโรสิยา เชื่ออันนี้ไม่ได้เชื่อด้วยปากเปล่า ไม่ได้เชื่อเพราะเป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าเท่านั้นด้วย 

และมีเหตุผลใดที่อาตมาเชื่อแล้วจะมาชักจูงให้พวกคุณเชื่อและเห็นตามด้วย แต่ฟังแล้วต้องไปพิสูจน์ถึงเห็นตามและจะเชื่อได้ มีเหตุผลอะไรเพิ่มเติม เหตุผลอันนั้นก็คือว่า ในศาสนาพุทธของเรา เราทุกคนเป็นผู้ที่รู้ดีเป็นผู้ที่เข้าใจดีทีเดียวว่า พระพุทธเจ้าท่านสอนว่า ผลที่สูงสุดที่เราเองยึดถือ กันทุกวี่ทุกวัน ที่เราใฝ่เอาโดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนของเราท่านเรียกผลนั้นว่า อรหัตตผล 

อรหัตตผลมาจากภาษาบาลีคำว่า… อาตมาเริ่มเขียนเท่านี้ก็ชักจะอ๋อกันหน่อยแล้วมีอัตตาเข้ามาตัวหนึ่งแล้ว อรหะ วันนี้มาจากบาลีต้นรากศัพท์ว่า อรหะ หรือ อรหัง นี่แหละที่เราเคยสวดกันนี่แหละ ผสมกัน หรือว่าสนธิกันกับคำว่า อัตตา ก็เป็น อรหัตตะ และเราไม่เรียก อรหัตตะ ก็มีตัวต่อกันไปและเราไม่เรียกคำว่า อรหัตตา พอมีตัวต่อไปมีคำว่าผลต่อด้วยบางทีก็เรียกว่า อรหัตตผล หรือ อรหัตตมรรค 

ผลสูงสุดที่ทางพุทธศาสนาของเราต้องการและกำลังใฝ่หากันอยู่ พระพุทธศาสนิกชนต้องการก็คือ ผลของอัตตา ที่เราเรียกว่า อัตตาอย่าง อรหะ นี่คือผลที่เราต้องการ แม้แต่อรหัตตมรรคมันก็ยังเป็นทาง สูงสุดไปถึงอรหัตตมรรคเราก็ยังต้องการบอกว่าเป็นของดิบของดีอย่างยิ่ง ทวี อรหัตตผลมันก็ยิ่งสูง ถ้า อรหัตผลสูงขึ้นไปอีกเป็นที่สุด  

ถ้าเผื่อว่าอรหัตตผลมันมากๆ เข้ เราสั่งสมอัตตา ที่เรียกว่า อรหะ ให้มากเป็นที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุด หรือแปลว่า ปลาย เพราะฉะนั้นเมื่อได้ครบอรหัตตผลรวมยอดให้เป็นที่สุดแห่งที่สุดแล้ว ท่านเรียกคนผู้นั้นว่า บรรลุอรหันต์ ได้สั่งสมผลของความเป็นอัตตาที่เป็นอรหันต์ครบหมดแล้ว ก็เรียกว่า อรหัตตผล เท่ากับเราสั่งสม อัตตานั่นเองใส่เข้าไปเรื่อยๆ 

แน่ใจขึ้นไปอีกนิดนึงล่ะนะที่อาตมาตอบว่า จะพึ่งอะไรดีเราก็เพิ่งอัตตานั่นเอง พึ่งตัวตนนั้นเอง หรือพึ่งรูปร่างของสิ่งหนึ่งก็ตามแต่ใครจะไปอย่างนั้นก็ตามแต่ อัตตา คือ ร่างของสิ่งสิ่งหนึ่งที่เรากำลังยึดเข้าไว้หรือสั่งสมเข้าไว้หรือสร้างเข้าไว้ 

ทีนี้ อัตตาตัวนี้ อาตมาก็ยืนยันด้วยภาษาบาลีว่า อัตตาหิ อัตโน นาโถ โกหิ

นาโถ ปโรสิยา พระพุทธเจ้าท่านก็ยืนยันด้วยบาลีนี้แหละว่า ตนเองนั่นแหละ ตนเองหรือ อัตตานั่นแหละ เป็นที่พึ่งที่ดีที่สุด นอกจากตนหรือนอกจากอัตตานั่นแล้ว นอกจากอัตตาตัวตนของตนนั่นแล้วก็ไม่มีสิ่งอื่นที่จะดีเหนือกว่า หรือไม่ใช่ที่พึ่งที่ดี 

ที่นี้เพิ่มขึ้นมาเมื่อเรารู้แล้วว่าอัตตา มันคือ ตัวตน อรหะ คืออะไรล่ะ อัตตา คือตัวตนที่เราสร้างขึ้นมา หรือ เป็นสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกับเราเองเราเรียกว่าอัตตา แปลเป็นภาษาคนก็คือ  อัตตาธรรมดา หรือพระพุทธทาส ก็แปลว่า ตัวกูของกู หรือว่าตัวตน การเป็นตัวเป็นตนการยึดถือตัวยึดถือตนนี้แหละ 

อรหะนั้น โดยภาษามาแปลเป็นภาษาไทยว่า ความเหมาะสม อรหะ แปลว่า ความเหมาะสม หรือ ความเป็นไปอย่างควร ความเป็นไปอย่างพอเหมาะพอเจาะแล้วแต่ จะขยายความไปอีกได้แยะ อรหะ นี่ 

คือ ความเป็นไปอย่างเหมาะเจาะ หรือ ความเป็นไปอย่างสมอย่างควรทีเดียวเรียกว่า อรหะ

ทีนี้คำว่า อรหะ คำนี้ภาษามันกลายตัวอรหะ หรืออรหัง แปลว่า หมดกิเลสหรือใครก็คงได้ยินว่าแปลว่า  หมดกิเลส ก็จริงอยู่ถ้าผู้รู้กิเลสแล้วท่านก็เป็นไปโดยเหมาะโดยควร โดยไม่จำเป็นต้องให้กิเลสมาเกี่ยวข้อง ก็หมดกิเลสเหมือนกันแล้วท่านก็เป็นอยู่โดยเหมาะโดยควรอย่างนั้น โดยสมควรอย่างนั้น ไม่มีกิเลส สิ่งที่เรียกว่า กิเลสเพราะท่านรู้ซะแล้วว่ากิเลสคืออะไร กิเลสคือตัวทำทุกข์และท่านรู้ซะแล้วว่าทุกข์นั้น  มันเกิดด้วยกิเลสตัวขนาดไหนขนาดไหน จะปล่อยให้มันเกิดขนาดไหนมันทุกข์มากทุกข์น้อยขนาดไหน พระอรหันต์ท่านเป็นผู้รู้ แล้วท่านก็ปล่อยให้มันเกิดอย่างไม่เป็นทุกข์ตามควรตามเหมาะที่สุดในโลก อันสมมุติอยู่ 

หมายความว่า พระอรหันต์ คือผู้ที่ยังไม่ตาย เมื่อยังไม่ตายเราก็จะต้องมีการปรุงแต่ง เราจะต้องมีสังขาร อย่างน้อยที่สุด กายสังขารของเราก็ยังเหลืออยู่ กายสังขารเหลือแล้วเราก็ยังจะต้องมี วจีสังขารที่จะต้องเราจะสร้างขึ้น อริยาบทต่างๆ ก็เป็นสังขาร มโนสังขารก็เป็นสังขาร ที่เราจะปรุงจะแต่งอยู่ในโลกนี้เหมือนกัน 

พระอรหันต์จะเป็นผู้รู้เองว่า จะทำกายสังขารให้อยู่อย่างไร ในขณะใด 

กาละใด เทศะใด มันจึงจะเป็นสุขที่สุด หรือเป็นประโยชน์ถูกต้องที่สุด แล้วก็สังขารที่จะเป็นวจี คือพูดปรุงแต่งออกมาเป็นภาษาคำพูดออกมา แค่ใดๆ มันจึงจะเป็นประโยชน์ตนประโยชน์ท่านสูงที่สุด ดีที่สุด  หรือแม้แต่ที่สุด มโนสังขารขนาดใดที่ท่านจะปรุงแต่งออกมา ได้ประโยชน์สูงที่สุดเกื้อกูลโลก เป็นประโยชน์ท่านประโยชน์ตนดีที่สุด ทุกคนก็คงจะเคยได้ยินมาเรื่องประโยชน์ตนประโยชน์ท่านนี่ พระพุทธเจ้าท่านยืนยันเหลือเกินว่าคนเราเกิดมาแล้วต้องสร้างประโยชน์ตนสร้างประโยชน์ท่านให้บริบูรณ์พร้อม 

เพราะฉะนั้น พระอรหันต์เป็นผู้รู้ และท่านจะทำทุกทีไปอย่างนั้น ดังนั้นเราจะต้องเข้าใจคำว่า อรหะ หรือ คำว่าอรหันต์ ให้ดีที่สุดเราจะเข้าใจโดยปาก มันก็เท่านั้นเท่านั้นแหละ มันก็จะได้พอประมาณ แต่เราจะเข้าใจคำว่าอรหะได้ดีที่สุดนั้นไม่ใช่ด้วยปากเท่านั้น มันจะต้องปรุงแต่งให้เกิดที่ตนจริงๆ ให้รู้แจ้งแทงทะลุจริงๆ เลยว่า อ๋อ ความพอดีพอเหมาะพอสมที่ถูก รู้เองโดยตนเองเป็นผู้รู้ผู้เห็น คนอื่นเข้าใจด้วยไม่พอ แต่ถ้าขนาด อรหะ หรือ อรหันต์ด้วยกันจะรู้ด้วยกันพอได้เพราะมันตัวเท่ากันแล้วนี่มันก็เทียบเคียงกันได้ แต่ถ้าผู้นั้นไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันนะมันจึงเทียบเคียงกันไม่ได้ไล่กันไม่ถูก ด้วยเหตุนี้เอง 

ท่านถึงตรัสไว้ว่า อรหันต์ย่อมรู้อรหันต์ด้วยกัน ไม่มีผิดตรงไหนเลยเพราะมีของเท่ากันมาเทียบเคียงแล้ว เพราะฉะนั้นสบายมาก แต่ถ้าไม่ใช่อรหันต์ด้วยกันแล้ว ก็เทียบเคียงไม่ค่อยลงตัวหรอกว่า อรหันต์นั้นที่เรียกว่า เป็นความพอดี พอเหมาะ พอสมพอควร ก็จึงไม่พอดี ไม่พอเหมาะ พอสมพอควร 

ความพอเหมาะพอสมควรนี้ หรือใช้แต่ภาษาเท่านั้น โดยสภาวะอาตมาบอกแล้วว่า เราจะต้องไปสร้างเอาเอง ไปทำเอาเองว่ามันจะพอดีพอเหมาะพอสมควรแต่ละขนาดไหน เราจึงจะเรียกว่า พอเหมาะพอควร จนทิ้งโลกได้ทิ้งสิ่งที่มันปรุงแต่งเป็นโลกียะ ทิ้งเอาไว้ในโลกียะ อะไรเรียกว่าโลกียะ  อะไรที่มันปรุงแต่งรวมตัวลงมา เรียกว่ายังติดข้องอยู่ในโลก ไอ้สิ่งเหล่านั้นเราจะต้องไปเรียนรู้โลก  เมื่อเรียนรู้โลกแล้ว แล้วเราก็ไม่ติดไม่ข้องในโลกเหล่านี้เราไม่สร้าง ไม่สร้างโลก อรหันต์ไม่สร้างโลก สิ่งใดที่มันจะเป็นโลกไม่สร้างด้วย ไม่เอา ไม่ปรุงไม่แต่งไม่หนักไม่หนาด้วย แต่สิ่งใดที่จะสงเคราะห์โลกก็ยังพอทำบ้าง ฟังให้ดีนะคำนี้ อย่าไปเป็นคนพาซื่อกันเกินไป สิ่งใดที่จะสร้างโลกพระอรหันต์ไม่ทำไม่สร้าง แต่สิ่งใดจะสงเคราะห์โลก หรือ เกื้อกูลโลก พระอรหันต์จะทำบ้าง 

แต่ถึงแม้ท่านทำบ้างท่านก็ไม่ยึดไม่ติดด้วย ท่านสักแต่ว่าทำแต่ท่านทำบ้าง ฟังให้ดีนะประโยคนี้มันจะกินตัวเข้าไป ถ้าเข้าใจไม่พอแล้วประเดี๋ยวก็มันจะไปชนกันหมด เพราะฉะนั้นพระอรหันต์จะทำอะไรทุกอย่างจึงใช้วิจารณญาณ หรือ ใช้ความพิจารณาของตนเองเสมอๆ ด้วยปัญญา พิจารณาตนเองเสมอด้วยปัญญาว่า อันนี้เหมาะควรว่าดีไหมจะสงเคราะห์โลกสงเคราะห์ตนได้พอเหมาะพอเจาะไหม เอาล่ะพอดีพอเหมาะท่านก็ทำ ถ้าเผื่อว่ากว่านี้ไหวไหม แหม..กว่านี้ไม่ไหวแล้วไม่ดีมันจะเอนเอียงไปข้างโลกมากไปจนกระทั่งเดี๋ยวเกิดเป็นตัวตนโลกหนักเกินไป ท่านไม่ทำ หรือบางทีก็เป็นทุกข์ให้ตัวเองนั่นแหละมากเกินไป ท่านก็ไม่ทำเหมือนกัน อย่างนี้ 

ก็มีขนาดอยู่ก็มีขนาดจำนวนมีความหนัก มีความเบาไม่เท่ากันกับพระอรหันต์สมัยพระพุทธเจ้า ไม่เท่ากันหรอก เพราะโลกมันไม่เหมือนกันแล้ว มันหนาแน่นไปด้วยกิเลสก็ไม่เหมือนกัน โลกมันเต็มไปด้วยไอ้โน่นยึดไอ้นี่ดึงก็ไม่เท่ากัน รูปก็ไม่เท่ากันนามก็ไม่เท่ากัน ในสมัยโน้นกับสมัยนี้ รูปที่เป็นสมมุติในโลกก็ไม่เท่ากัน นามที่สมมุติอยู่ในโลกนี้ก็ไม่เท่ากัน 

เพราะฉะนั้นพระอรหันต์นั้นจึงยอมอนุโลมตามสมมุติโลกจำนวนไม่เท่ากัน ขนาดไม่เท่ากัน เบาว่างก็ไม่เท่ากันนัก ถ้าพระพุทธเจ้ามาเกิดสมัยนี้ พระพุทธเจ้าก็คงไม่สอนคนเหมือนกัน อาตมาว่านะไม่สอนหรอก มันหนักหนาเหลือเกินนักหนาจริงๆ พุทธเจ้าจะมานั่งสอนว่าอ้าวนั่งอาสนะเดียวแล้วให้บรรลุเหมือนพระยสเหมือนพระปัญจวัคคีย์ไม่ได้หรอก อาตมาว่าไม่สำเร็จหรอก คนสมัยนี้มานั่งสอนอย่างนั้นไม่ได้หรอกไม่ได้จริงๆ อาตมาเชื่ออย่างนั้นเลย 

ถนนพระพุทธเจ้าถ้าเกิดสมัยนี้พระพุทธเจ้าไม่สอนหรอก จะกลายเป็นภาพปัจเจกพุทธะไปเลยไม่สอน แต่ทีนี้ต้องใช้อาศัยคนที่เรียกว่าทน ทนแดดทนฝนทนอึดทนไม้ทนปืนทนมีดทนผา ทนทุกอย่างอย่างอาตมานี่ทน ทนเขาว่าศาสตร์กราบยังไงก็ทน ที่จริงก็ไม่ได้ทนหรอกแต่อาศัยภาษาพูดไม่ได้ทนหรอก ไม่ได้เจ็บไม่ได้ปวดอะไรหรอกแต่ว่าต้องทน พูดไปแล้วคนจะว่าอย่างโน้นอย่างนี้ก็ต้องทน แต่แท้จริง อาตมาไ่ม่ได้ทนเขาจะทำมายัง ก็ไม่ได้ทนหรอก เหมือนทนแต่ไม่ได้ทนทีเดียวหรอก 

ทุกสิ่งทุกอย่างจะเกิดตาม กาละ เทศะ เกิดไปตามเวลาเท่านั้น 

ที่นี้ถ้าเราเองยังไม่ถึงได้เอาอรหัตตผลเราจะพึ่งอัตตาตัวนั้นอย่างไรมันถึงจะแจ่ม ถ้าบอกว่าให้ไปพึ่งอรหัตตผล หรือ อัตตาตรงที่เป็น อรหะ สงสัยไม่ได้พึ่งแล้วอัตตาหิอัตโนนาโถเปล่าเสียแล้ว มันจะไม่พึ่งอัตตาหิอัตโนนาโถแล้วเพราะอัตตาไปเล่นถึงขั้น อรหัง อรหันต์ ไม่ไหว

คนเราก็เลยต้องพยายามถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้เป็นผู้ที่อยู่ในวงศาสนาพระพุทธเจ้าท่านก็ให้พึ่ง รองลงมาก็คือ เมื่อพึ่งอรหะไม่ได้ แล้วมาพึ่งอัตตะที่อยู่ในอรหะไม่ได้ ก็ให้พึ่งอัตถะสิฟังให้ดีนะ เมื่ออัตตะตัวนั้น ยังพึ่งไม่ได้ก็ให้พึ่งอัตถะสิ อัตถะตัวนี้หมายถึงว่า แก่นเนื้อหาสาระ หรือสาระหรือพยัญชนะคำสอนของพระพุทธเจ้าเรียกว่าอัตถะ ถ้าพูดให้เต็มก็เรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ญาณที่พระพุทธเจ้าท่านได้ถ่ายทอดไว้แล้วเรียกว่า อรรถปฏิสัมภิทาญาณ อัตถะตัวนี้ก็มาจากคำว่าอัตตะนี่เอง ภาษามันแปลงรูปเอามาเรียกใกล้เคียงกันแล้วมันเป็นตัวโตขึ้นมาหน่อยท่านก็เลยใช้คำว่าอัตถะก็คือ แก่นแท้เนื้อหานั่นเอง หรือไอ้ตัวตนเนื้อหาธรรมะนั่นเองแต่ไม่ใช่ตัวตน ไปยึดอยู่ที่ใครแต่เป็นเนื้อหาตัวตนอันนี้อยู่ในสภาวะของ บัญญัติ อยู่ในสภาวะของบัญญัติของสิ่งหนึ่งที่ได้กำหนดขึ้นมาแล้วเรียกมันว่าคำพูดก็ตาม เรียกมันว่าเนื้อหาก็ตามแม้เรียกว่าคำพูดเราก็เรียกว่าอัตถะ แม้เรียกว่าเนื้อหาเราก็เรียกว่าอรรถแก่นสารก็เรียกว่าอัตถะ เป็นอัตถประโยชน์หมายความว่าเป็นประโยชน์ที่เป็นแก่นสารจริงๆ 

นี่เราก็พึ่งสิ่งนี้ต่อมา เรียกว่าพึ่งอัตถะซิ เมื่อเราจะพึ่งอัตถะเราก็ศาสนาพุทธเราก็มาเรียนอัตถะของพระพุทธเจ้า มาเรียนภาษาที่พระพุทธเจ้าท่านเทศน์เอาไว้ก็ตาม หรือพระสงฆ์ผู้ที่รู้อัตถะ เนื้อหาสาระของพระพุทธเจ้า จนกระทั่งเราเอาไปประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนรู้ถึงอทะแท้ๆ รู้ถึงสภาวะตัวจริงๆ ก็เอามาถ่ายทอดอัตถะนั้นออกมาเป็นภาษาก็ตาม ก็เหมือนกัน แล้วเราก็มาพึ่งอัตถะนี้ เป็นชั้นรองลงมา 

คำสอนต่างๆ นี้ดังเช่นที่อาตมากำลังพูดอยู่นี้ อธิบายอยู่นี้เรียกว่า อัตถะทั้งสิ้น คือเป็นภาษาเป็นคำพูด และภาษาคำพูดอันนี้ ชักออกมาจากเนื้อหาแก่นแท้หรือแก่นสารของมันแท้ๆ เลยชักออกมา แล้วเอามาโยงใยมาพยายามชี้ให้พวกคุณได้ฟังเพื่อที่จะได้เกิดประโยชน์ในการฟัง เกิดปัญญาในการฟังจึงเรียกว่า สุตมยปัญญา เข้าใจจริงๆ ในการฟังให้ได้แน่นอนมากมาย จนกระทั่งคุณเอาไปคิดทบทวนที่บ้านที่ไหนก็ตามแต่เรียกว่า จินตามยปัญญาอีกทีหนึ่ง คิดทบทวนจนกระทั่งรู้เข้าใจซาบซึ้งว่าอ๋ออรรถนี้หนอ ที่ภาษาที่ได้ฟังมานี้หนอ เป็นภาษาที่มันมีเหตุมีผลจริงๆ เป็นของที่ควรที่จะได้เอามาใช้ เป็นของที่ควรจะได้เอามาอบรมตอนเอามาประพฤติปฏิบัติตามจริงหนอ แล้วเราเองก็จะได้เอาอัตถะนี้ไปประพฤติ 

การประพฤติการบำเพ็ญนั้นท่านเรียกว่า พตะ ก็คืออัตตะอีกนั่นแหละฟังให้ดีไม่ได้หนีจากอัตตะไปไหนเลย พตะ คือตัว พ กับ อัตตา พ.พาน สนธิกับความว่าอัตตะ หรือ อัตตา แปลว่าการประพฤติหรือการบำเพ็ญหรือการกระทำ 

ที่นี้เราจะไปประพฤติหรือบำเพ็ญสิ่งอันนั้นเราก็เอาสิ่งอัตตะที่เราได้มาแล้วจากการฟัง มาคิดทบทวนแล้วก็เอามาบำเพ็ญ เอาไปอบรมตนเรียกว่า ภาวนาก็ได้ภาวนาก็อบรมตนให้เกิดอย่างนั้นอย่างนั้นเรียกว่า ภาวนา หรือเรียกว่าเอาไป พต ก็ได้ หรือเอาไปประพฤติไปบำเพ็ญไปกระทำ 

พตะ อันนี้ก็คือเอาไปทำจริงๆ ให้มันเกิดในตัวในตนจึงเรียกว่า พ + อัตตะ ให้มันเป็นตัวตนเกิดมาที่ตัวที่ตนเรียกว่า พ หรือ พตะ อัตถะ สิ่งที่ได้มาตอนที่อาตมายกเหล่าเนื้อหาแก่นแท้ที่ได้มาเป็นภาษาที่พูดออกมาก็ตามพระพุทธเจ้าท่านเรียกว่า ข้อควรเอาไปประพฤติ ได้ยินเป็นภาษามาทบทวนเป็นข้อเป็นหลัก เป็นหลักใจหรือเป็นกฏอันหนึ่ง ที่เราจะเอามาประพฤติตาม นอกจากภาษาที่เรียกว่า อัตถะ นั้นเอามาโน้มน้อมประพฤติแล้วท่านยังเรียกว่า ศีล อีกเหมือนกัน 

ฟังให้ดีนะมันคล้องจองกันหมดธรรมะ นี่มันเรื่องเดียวกันหมดท่านเรียกว่าศีลด้วย ศีลนั่นคือ หลักใจศีลนั้นคือข้อควรประพฤติที่เราได้ฟังได้รับมาจากครูหรือได้รับมาจากอาจารย์ ที่ท่านบอกให้ เช่น ท่านว่าปาณาติปาตาเวรมณี อ้าวพยายามประพฤติละเว้นศัตรูอันที่จะทำตนเองไปเบียดเบียนผู้อื่นเสีย เรียกว่าปาณาติปาตาเวรมณี นี่เป็นศีลหรือเป็นอัตถะเป็นภาษาที่ท่านกล่าวออกมาบอกให้เราประพฤติอย่างนี้ 

ผู้ที่ได้อันนี้ฟังอันนี้มา เรียกว่า ศีลแล้วก็เอาศีลข้อนี้เองมา พตะ มาประพฤติ ผู้ใดได้ศีลข้อนี้มาแล้ว หรือได้หลักใจอันนี้มาแล้วมาเห็นดีเห็นชอบมาคิดทบทวนว่าเออควรจะเอาศีลข้อนี้มาภาวนา แล้วก็เอามาลงมือภาวนาจริงๆ หรือทำให้มันเกิดที่ตนจริงๆ หรือทำให้มันเกิดอัตตาทำให้เกิดผลเป็นอัตตาตัวตน ขึ้นมากับตนกับตัวจริงๆ จนเรียกว่า พตะ ผู้นั้นก็จะได้ความจริงจะได้ตัวตนอันแท้จริงขึ้นมาให้ตัวเองเลยทีเดียว มันก็จะเป็นผลเรียกว่า อรหัตตผลแต่ผลขึ้นมาเรื่อยๆ 

ผู้ใดมีศีลแล้วก็มี พตะ มีการบำเพ็ญจริงๆ เกิดผลจริงๆ ผู้นั้นจะได้เอา       อรหัตตะ จะได้ผลจะได้เอาอรหัตตผล 

แต่ที่นี้ผู้ใดเอาไอ้สิ่งที่ได้มาจริงๆ ที่เขาบอกมาอาจารย์บอกมาครูบอกมา แต่ครูบอกมาอาจารย์บอกมา ทว่า ผู้นั้นประพฤติไม่จริงประพฤติเป็นศีลที่เรียกว่าสักแต่ว่าศีลเฉยๆ ศีลลูบๆ คลำๆ ศีลที่ไม่แท้ศีลที่มีแต่ภาษาศีลที่ไม่มีเนื้อมีตัวไม่มีอัตตาศีลที่ไม่เกิดตัวเกิดตนเลยฟังแต่ภาษาแล้วเอาไปออกแขกออกลิเกอยู่ บางทีก็ไปนั่งฟังพระท่านมาถึงก็ไม่ยังภันเตวิสุงวิสุง รักขนถายะ ที่วัดพระท่านก็ออกลิเกพร้อมเลยขึ้นต้น ปาณาติปาตา เวระมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ กว่าลิเกบทนี้กว่าจะมีบทร้องบทขับจนกว่าจะจบนะ ผู้ที่ไปขอมายังภันเตก็ตาม พอพระท่านสวดท่านขับร้องออกมาเสร็จแล้ว อุบาสกอุบาสิกาศึกษาทั้งหลายก็บอกว่าปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาปะทังสะมาทิยามินี่เรียกว่ารับศีลได้ศีลมา 

เสร็จแล้วได้แล้วศีลมาแล้วจะเป็นศีล 5 ศีล 8 ก็ตาม พอได้ไปแล้ว ก็ถือเอาไว้ทีเดียวแบกเอาไว้ทีเดียวแหมปานาเราก็ถือ อะทินนาเราก็ถือกาเมแล้วก็ถือมุสาวาทาเวระมณีเราก็ถือ สุราเมระยะมัชชะปะมาก็ถือ บางคนถือไว้ร่าเลยเช้าวันนี้เราทำงานทำบุญวันเกิดนิมนต์พระมาขอศีลแล้วแต่เช้า พอตกบ่ายๆ หน่อยเพื่อนก็บอกว่าเฮ้ยเปิดกาขาวให้ทีสิ ไม่เปิดกาขาวเลย เพื่อนจะเลี้ยงวันเกิดนี่เจ้าภาพก็เปิดกาขาวเข้าให้ เพื่อนก็ดื่มกาขาว บอกว่าพระเจ้าภาพไม่กิน หรือ เจ้าภาพบอกว่ารับศีล เพื่อนก็บอกว่าศีลก็ศีลสิเราก็มาดื่มด้วยกัน เสร็จแล้วก็ดื่มเข้าให้

เสร็จแล้วลิเกบทนั้นก็ผ่านไปผ่านไปเหมือนสายน้ำไหลสุราเมระยะมัชชะปะมา ก็เทลงทะเลเลย  ไม่มีเนื้อไม่มีตัวไม่มีตัวมีตนไม่มีการประพฤติไม่มี พต ไม่เกิดตัวเกิดตน พ + อัตตะ ไม่เกิด เรียกว่พระก็ได้ เราจะทำตัวให้เป็นพระก็ได้เราจะทำตนให้เป็นพระไม่เกิด พระอันนี้ไม่เกิดเพราะไม่มีโพไม่มีโพธิ พ. พานนี้สำคัญไม่เป็นพระเพราะไม่มีโพธิ โพธิ คือ ความรู้หรือปัญญา เมื่อไม่มีความรู้ไม่มีปัญญาเพราะตัวเองไม่ได้ปฏิบัติก็จึงไม่ได้เกิดความรู้ไม่ได้เกิดปัญญา 

โพธิสัตว์ หรือ โพธิสัตโต หลวงพ่อเณรโพธิสัตโต คำว่าโพธิสัตโตก็มาจากคำว่า โพธิ บวก สัตตะ สัตตะ คือ ส + อตต

สัตว์โต สัตว์ รากศัพท์มันมาจากคำว่า สัตตะ ถึงแม้ตอนนี้ภาษาบาลี สัตตะก็แปลว่า สัตว์โลกอยู่เหมือนกัน ใครเรียนภาษาบาลีจะรู้แม้แต่คำว่า สัตว ภาษาบาลีก็ยังเรียกว่า สัตตะ มาจาก ส.เสีย บวกอัตตา แปลว่า สัตว์โลก 

ถ้าสัตว์โลกโดยตรงแล้วจะอธิบายต่อไปไว้ตอนท้ายๆ ก่อน จะเป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังไม่เป็นสัตว์โลกตอนนี้ยังเป็นขั้นอรหัตตะอยู่ 

โพธิสัตว์คือผู้ที่มีความรู้ผู้ที่จะเป็นโพธิสัตว์ตะได้ต้องเป็นผู้ที่มีอรหัตตะเป็นผู้ที่มีอรหัตผลให้ตัวเองแล้วรู้ แล้วมีความรู้รู้อัตตา  ตัวที่มีความเหมาะสมพอดีแล้วเรียกว่า เป็นผู้ที่มีปัญญาตัวอรหะหรืออรหันต์ หรือ ตัวความพ้นกิเลสรู้จักกิเลส รู้จักความพ้นกิเลสก็นึกว่ารู้จักความเป็นอรหันต์ รู้อรหันต์ ฟังดีๆ นะอาตมาใช้ภาษาที่พวกคุณเคยได้ยินได้ฟังทุกวัน แต่คุณไม่ได้เข้าใจภาษา อาตมากำลังเอาภาษามาคลี่คลายให้ฟัง เพราะฉะนั้นโพธิสัตตะ หรือ โพธิสัตว์นี่เราเรียกศัพท์ทับไปอีกเรียกว่าพระโพธิสัตว์ คือตัวบุคคลผู้หนึ่งที่มีความรู้มีปัญญาเรียกว่า โพธิ แล้วก็เป็นสัตว์โลกเป็นตัวตนจริงๆ เป็นสัตว์โลกจริงๆ 

แล้วก็เอา อัตตะ ที่เป็นอรหัง อรหัง หมายความว่าสิ่งที่พ้นกิเลส หรือรู้กิเลสและก็รู้การทำตนให้พ้นกิเลสอย่างที่อธิบายมาแล้ว เพราะฉะนั้นรู้ อรหัตตะตัวนี้ก็เอาอรหัตตะตัวนี้มาอธิบายสู่กันฟัง 

ทางมหายานเขานี่ เขาบอกว่าพระโพธิสัตว์นี่ เป็นผู้ที่ไม่บรรลุอรหันต์ก็จริงก็ได้เหมือนกัน เขาจะเป็นผู้ที่มีแต่อรหัตตผลเรื่อยไปแล้วก็เป็นโพธิสัตตะเรื่อยไปเขาจะไม่ยอมเกิดยอมสูญ เขาจะไม่ยอมเป็นอรหันต์ คือเขาจะไม่ยอมมีที่ปลายเขาจะไม่ยอมมีที่สุด อันตะ แปลว่าที่สุดเขาจะไม่ยอมที่สุดเขาจะเกิดๆ ช่วยคนทั้งโลกนี้จนกระทั่งคนสุดท้ายในโลกนี้เหลืออยู่เขาก็จะช่วยคนสุดท้ายนี่ แหม…รู้สึกว่ามีอธิษฐานจิต หรือว่ามีปณิธานสูงเหลือเกินฝ่ายมหายานจะช่วยคนสุดท้ายซะก่อนในโลก ให้พ้นโอคะสงสาร แล้วตนเองถึงจะช่วยตอนนี้เรียกว่าทางมหายานเขาเอาร้ายกาจถึงขนาดนั้นก็ดีอยู่นะเป็นประเด็นทางที่น่าดูเหมือนกันแต่คิดดูซิมันจะเป็นได้ไหมหรือ มันเป็นไปไม่ได้หรอก มันเป็นแต่เพียงคำพูดอันหนึ่งเท่านั้นเอง ซึ่งเป็นคำยั่วยุ เป็นอุบายโกศลอันหนึ่งยั่วยุให้คน มีความตั้งใจสูง 

การช่วยคนให้พ้นอรหันต์ โดยเอาอรหัตตคุณ หรือเอาอรหัตตผลก็เหมือนกัน เอาหัตถกุล หมายถึงคุณความดีที่รู้ว่าเอารหัสหมายถึงอะไร เป็นเนื้อเป็นตัวเป็นอัตตาขึ้นมาแล้วเอาอรหัตตาคุณ มาเผื่อแผ่มาสอน มันก็ดีผู้ใดมีอรหัตตคุณมีอรหัตตผลแล้ว เอามาแจกจ่าย แต่ถ้าใครเอาเงินเอาทองมาแจกจ่ายเฉยๆ ยังไม่ใช่ชั้นดีหรอก ถ้าใครมีเอาอรหัตคุณเอาอรหัตตผลมาแจกจ่าย เอาอรหัตคุณเอา

อรหัตตผลอันนั้นเราเรียกว่าตัวธรรมะแท้ๆ ล่ะ 

เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดทำทานโดยเอาอรหัตตคุณ หรือ อรหัตตผลมาจากจ่ายคนนั้นเป็นผู้ที่มีการทำทานชั้นสูงสุด ผู้ที่มีอย่างนั้นพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ ว่าผู้ที่มีธรรมทานผู้นั้นแหละเป็นผู้ที่ชนะโลก เป็นผู้ที่ให้ทานสูงสุดในโลก ที่ท่านเรียกว่า สัพเพทานัง ธัมมะทานังชินาติ ไม่มีทานอันใดที่จะแจกจ่ายหรือการทำให้แก่ผู้อื่นจะได้ผลบุญที่ดีที่สุดสูงที่สุด หรือว่าเป็นการให้ทานที่ชนะเลิศทั้งปวง ทานให้ธรรมทานเป็นธรรที่สูงสุด 

ธรรมะอันนั้นคืออะไรที่ดีที่สุดคือ อรหัตตคุณ หรือ อรหัตผล คือความรู้อรหันต์ หรือเอาตัวตนของอรหันต์มาชี้แจงเอาตัวตนของอรหันต์มาแจกจ่าย และอรหังก็คือสภาวะของกิเลส และสภาวะของการฆ่ากิเลสหรือการทำกิเลสให้พ้นไปเรียกว่าอรหัง เราก็ทำอันนี้ให้ได้รู้ให้ได้แล้วจึงเอามาแจกจ่าย 

ผู้ใดไม่มีเลยไม่มีอรหัตตคุณในตนเลย ไม่มีเอาอรหัตตผลในตนเลยผู้นั้นจะเอาอรหัตตผลเอาอรหัตตคุณมาแจกจ่ายได้ไหม ได้ไหม ลองคิดดูซิ ไม่ได้เราจะเอามาจากไหนตัวเองไม่มีเลยไปเชือดเฉือนมาจากไหน แต่เอาเถอะเมื่อไม่ได้เมื่อไม่มี ท่านก็มีอยู่ในภาษาท่านจดไว้บ้างก็มีท่านลอกไว้บ้างก็มีท่านจำกันไว้บ้างก็มีเป็นภาษาบอกกล่าวกันในหูในอะไร เป็นอัตถะชั้นรอง เรียกว่า อรรถฎีกาอาจารย์ก็ตาม เรียกว่า อาจารย์ท่านรองเขียนลงมาอีกอะไรพวกนี้ เราก็เชื่ออรรถฎีกาจารย์ต่อลงมา คำข้อเขียนบอกไว้จดไว้ฎีกา จดบอกฎีกาจดบอกแล้วก็อาจารย์เหล่านั้น ก็เอาคำจดบอกเหล่านี้มากล่าวต่อๆ กันไปก็ได้ประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์มันยังไม่ใช่ตัวแท้ตัวจริงยังไม่ใช่ป้อนออกมาจากตัวเองเลย มีอรหัตตะอยู่ในตัวเลย ไม่ใช่ 

ถ้าผู้ใดมีอรหัตตะอยู่ในตัวเลยจริงๆ ชักออกมาทีไร มันแน่นหนามันรู้สึกว่ามันลวดลายเลยมันออกฤทธิ์ออกเดช มันมีตัวตนดีจริงๆ ถ้าใครเห็นตัวตนอัตตานี้จะเห็นชัดๆ เลยโอ้โหตัวตนนี้ปั้นไม่ง่ายนะ คนที่มีอยู่แล้วจริงๆ เมื่อควักออกมามันจะดิ้นพลาดๆ ออกมาเห็นออกปากเลยมันคอมเพล็ดเลยมันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นตัวเป็นตนเห็นชัดเจน แต่ถ้าคนที่ไม่ก็พูดแต่ภาษาที่ท่องมา เรียกว่า อรรถฎีกา

จารย์ ว่ามา หรือ อาจารย์ของเราบอก ให้เราท่องไว้อย่างนี้นะแล้วเราก็เอาท่องๆๆบอกตาม 

ก็จะได้แค่ภาษาแค่นั้นเราก็ฟังตามๆ กันไปแค่ภาษาท่องๆๆ ภาษาพูด     เรียกว่า ญัติ ภาษาบาลีท่านเรียกว่า ญัต ญ กับ อัตตะ ผสมกัน เรียกว่า ญัตตะ พอเวลามาสวดเอามาใส่กิริยาเพิ่มท่านเรียก ญัตติ ตัว ญัตต หรือ ญัตติ คือตัวตนที่เป็นเรื่องราวเป็นที่จะเข้ารูปเป็นขอบข่ายเอามาพูดกัน ภาษาโลกๆ คำว่า ญัตติ หมายถึงหัวข้อ หรือ อัตตาที่มันรองลงมาอีกทีแล้ว อัตตาตัวที่ค่อยๆ เรื้อลงเหลือแค่ภาษาเหลือแค่สิ่งที่ควรจะเอามาตีแผ่กันออกมาอีกที ไม่ใช่อัตตาตัวต้นตอของอรหะแล้วเป็นญัตติเป็นอัตตาตัวที่เรียกว่า  เกิดมาหลายชาติแล้วไม่ใช่เป็นตัวต้นตระกูลแล้วมันบาง ๆลงมาแล้ว เป็นญัตตะ หรือ ญัตติ เพราะฉะนั้นจะเอา ญัต ตัวนี้มาสวดให้กัน มันก็แค่มาญัติให้แก่กันนี่ภาษาไทยพูดนะ ภาษาบาลีเขาก็พูด ญัติเหมือนกัน จะนึกว่าเป็นปริยัติก็ได้ นี่อาตมาพูดถึงวิวัฒนาการของภาษา 

เพราะฉะนั้นปริยัติก็มาจากตัวเดียวกัน คือ ญัต มาเป็น ปริญัติ             ปริยัติ หมายถึง ญัติตัวเดียวยังไม่โก้ต้องปริเลย ปริ หมายถึง เต็มรอบครบเลย     ปริ คือคำสอนแท้ๆ เลย เอาปริยัติเลย 

ภาษาที่มันยืดยาดออกมาเป็นสมมุติที่เราเองเอามาใช้สภาวะที่มันเกิด เพราะฉะนั้นต้องพยายามตามสภาวะแล้วก็ต้องพยายามตามภาษาที่มันโตมันใหญ่ขึ้นมาด้วย ถ้าเราจะเอาภาษาตัวเก่าอย่าง ย ยักษ์ ยอหญิงมันเพี้ยนขึ้นมามันก็จะซ้ำแซะอยู่เพราะฉะนั้น เขาจึงแยกย้ายจากยยักษ์มาหา ญ หญิง ไปเรื่อยๆ เหมือนกัน ปริยัติเราจึงแปลว่าคำสอนโดยตรงและก็จริงคือศีลนั่นเอง ปริยัติคือศีลหรือเนื้อหาคืออัตถะที่เรา ที่พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเรา พระโพธิสัตว์ท่านเอามาบอกกล่าวเราอันใดอันใด อันนั้นเป็นปริยัติ อันนั้นเป็นอัตถะที่เราจะมาประพฤติมาปฏิบัติเอามา พต เอามาประพฤติบำเพ็ญทั้งหมดทั้งมวล นี่เรียกว่าความคลี่คลายของอัตตามันตัวใหญ่มาตั้งแต่อัตตาที่มันเป็นไปอย่าง อรหัต หรืออรหันต์ อรหัตตคุณ​ จนกระทั่งตัวใหญ่มาเป็นอัตถะ 

โตใหญ่นี่หมายถึงตัวใหญ่อย่างโลกมาเป็นอัตถะะ จนกระทั่งมาเป็นผู้ที่มีอัตถะนั้นจริงๆ คือโพธิสัตว์เอามาถ่ายทอดกัน เพื่อที่จะให้เรา พต ให้เราประพฤติ จนกระทั่งภาษาที่พูดนี้มันจางลงจางลงหรือมันโลกโตขึ้น เป็นโลกมากขึ้นมันเป็น ญต หรือญัตติ  มากขึ้นจนเป็นปริยัติก็ตามนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นหลังพระพุทธเจ้าทั้งนั้นมันโตขึ้น มันโตมา ๆ 

ที่นี้อาตมาจะต่อให้หมดไอ้อัตตะทั้งหลายที่เราจะพึ่ง เมื่อเราเองเรา พต เราพยายามที่จะ ประพฤติได้เราะจะประพฤติอย่างไรล่ะ 

เช่น ท่านสอนว่าปาณาติปาตาเวรมณีแต่อย่าฆ่าสัตว์นะ เป็นอัตถะที่ท่านให้มาหรือเป็น พต ที่ท่านให้มาหรือเป็นปริยัติที่ท่านให้มาซึ่งเราเองเราจะเอามา พต หรือเอามาประพฤติเราก็ต้องประพฤติเอามาทำลงไปจริงๆ ให้มันเกิดผลแก่ตัวเรา อย่าง มต นี่เป็นอัตตาอีกตัวหนึ่งแล้วมาจากคำว่า มัด บวก อัตตะ

ให้มันเป็น มต  มตตัวนี้หมายถึงตามสมควรหรือตามพอดี  มต ตัวนี้ มม้า บวกอัตตา หมายความว่าพอดีพอควรหรือเหมาะสม ต้องกำหนดรู้กำหนดทำให้มันพอดี มต หรือ มัตตัญญุตา หรือมัตตัญญู แปลว่าทำให้พอดี 

ที่นี่มาขึ้น มัตตะ อีกตัวนึงก็คือ มตาหรือมต มต คือพคือพออดี มีลักษณะคล้ายอรหะ คือ เป็นตัวอ่นอกว่า 

มต ตัวนี้ก็เป็นอัตตาตัวหนึ่งที่เป็นความเหมาะควรที่เป็นชั้นสำหรับแต่ละบุคคล อย่างบางคนขณะนี้นะ จะให้มาประพฤติอย่างอาตมาทันทีขณะนี้ เงินทองไม่เอาจริงๆ เลยไม่ใช้เงินไม่ใช้ทอง รองเท้าก็ไม่ใส่ มีผ้า 3 ผืน สมบัติอะไรไม่สั่งสม เอาแค่รองเท้าไม่ใส่นี้ก่อน ไม่ไหวเหมือนกัน ก็เรียกว่าไม่ใช่ มต มัน มต ไม่ลงแล้วล่ะ หรือให้มาโกนหัวตอนนี้ก็ยังโกนไม่ได้แล้ว ยังไม่ถึงรอบมันยังไม่ถึงขั้นที่จะต้องโกนหัวได้ก็เรียกว่า มต อันนั้นยังไม่เป็นตัวเป็นตนเหมือนกันยังไม่เป็น อรหะ 

ถ้าอาตมาเรียกว่า ถ้าเป็นตัวของอาตมานะ ขณะนี้ถ้าให้อาตมาเป็นอย่างของพวกคุณนี่อาตมาบอกว่า มันแสนจะง่าย มันเป็น มต มันเป็นชั้นอ่อนมันเป็นชั้นเยาว์ ขณะที่สิ่งที่คนเคร่งๆ อย่างยกตัวอย่างเมื่อกี้ ศีลข้อปาณาติบาตอย่าฆ่าสัตว์นะ พวกคุณก็บอกว่ามันยากแฮะ บางบางทียุงกัดก็ไม่ไหว ต้องตบ งูเข้าบ้านมามันต้องฆ่า ไม่ฆ่าไม่ได้ มันเป็นพิษเป็นโทษเป็นภัยความเหมาะสมของคุณก็ยังยากยังต้องตบยุงเดียวต้องฆ่างู แม้แต่ศีลหรืออัตถะะจะได้รับมาจากพระโพธิสัตว์ใดที่ท่านสอนไว้ว่าอย่าไปฆ่าสัตว์นะ คุณก็ยังทำยากอยู่นั่นเอง เป็น  มต เป็นความเป็นกลางความเหมาะสมความพอดีของคุณคุณทำให้เกิดอัตตาให้ได้ความมัชฌิมาของคุณทำให้เกิดให้ได้ 

จนกระทั่งเกิดความไม่ได้เดือดร้อนไม่ได้ลำบากอะไรเลย ตอนแรกคุณอาจจะต้องเข้มงวดกวดขันกับคุณมากทีเดียวคุณเคร่งครัดมากทีเดียวไม่พยายามเผลอ ถ้ายุงกัดก็ไม่พยายามตบทันทีให้มันตาย ต้องพยายาม แหมมันยาก งูมาไม่ฆ่านี้ยากเหมือนกัน คุณต้องอ่านใจคุณด้วยและระมัดระวังสติคุณด้วย 

มีเพื่อนอาตมาคนนึงแต่ก่อนเขาเจองูไม่ได้เป็นอันขาดต้องฆ่ากัน เจองูที่ไหนต้องฆ่าดะ รู้สึกว่าเป็นศัตรูกันหมดกับงูนี่มันมีพิษมีภัยเหลือเกินบอกว่าไม่ได้หรอกมันอยู่ร่วมโลกกันไม่ได้ จนกระทั่งเดี๋ยวนี้เขาได้ฟังธรรมมาเรื่อยๆ เขาก็สนใจธรรมะเรื่อยมา จนพยายามที่จะถือศีลให้มันบริสุทธิ์ ซึ่งมันเป็นไปเองแหละเขาเข้าใจธรรมะ เขาก็ถือศีลเขาเองแล้วเขาก็พยายามไม่ฆ่าสัตว์จริงๆ 

วันหนึ่งเขาก็เจองูที่บ้านเขา เจองูโอ้โหเขาบอกว่า เขาพยายามมีศีลให้บริสุทธิ์นี่เขากำลังจะประพฤติอัดถาดที่ได้รับมาจากพระโพธิสัตว์บอกไว้ว่าอย่าฆ่าสัตว์นะ เพราะฉะนั้นเขาจะต้องใช้ความพยายามของเขาอย่างที่สุดที่จะทำอัตตา ที่มันเป็น มะ คือ มัตตะให้ได้ จะทำความพอดีให้เกิดแก่ตนให้ได้ให้มันเป็นกลางให้มันไม่เดือดร้อน ให้มันไม่ทุกข์ไม่ทรมาน ให้มันทำทุกอย่างให้มันเป็นทุกข์อย่างไม่สุขไม่ทุกข์ด้วย เขาพอเจอแล้วอารมณ์จิตของตัวแรกของเขาบอกเลยว่า อื้อหือมันอยากจะฆ่าเพราะความเคยชินที่อยากจะฆ่าและนึกเกลียดงูมานาน อยากฆ่าแต่มีสติ ก็บอกว่า เอ๊ะฆ่าไม่ได้ฆ่าแล้วผิดศีล ลำบากแน่ ขนาดนั้นเขาบอกว่าเขาต้องสงบอกสงบใจไปนานเลย ใจมันเต้นเร้าๆ มันเต้นอยู่ในใจว่ามันอยากจะฆ่า  ใครเคยมีสภาวะนั้นอยู่ในตนเองจะเห็นตามเลย เขาบอกว่าต้องสงบอกสงบใจตั้งนานกว่าใจมันจะเป็นกลาง กว่าใจมันจะเป็น มต กว่าจะทำให้ใจเฉยๆ กับมันได้แม้นาน จนกระทั่งใจเขาสงบเลย บอกว่าไม่ได้หรอก ช่างมัน มันจะยังไงก็ช่างมันพอควรมันไม่ก้าวก่ายจนกระทั่งเข้ามาที่นอนเราก็ใช้ได้ มันอยู่ข้างนอกก็ช่างมันเถอะ 

เขาพยายามที่สุด จนกระทั่งเขาเอามาเล่าให้อาตมาฟังว่าเออนี่แหละ เป็น พฤติหรือ พต เป็นการประพฤติบำเพ็ญจริงๆแล้วเขาก็เห็นจิตของเราจริงๆ ว่าแหมมันต้องทน กว่าจิตมันจะสงบลงเป็นกลางได้นานเหมือนกัน แล้วเขาก็ได้ทำจริงๆ ได้ พต จริงๆ หรือได้ประพฤติให้มันเกิดอัตตาตัวนั้นในตนจริงๆ เกิด มต เกิดความเป็นกลางเกิดความเหมาะสมพอดีๆ เพราะงูตัวนั้น มันก็อยู่ของมัน เราก็อยู่ของเรา เราก็อยู่ของเรา เขาเล่าว่างูตัวนั้นมันก็เชื่องเสียด้วยนะ มันแสดงลอยหน้าลอยตาลอยนวลไม่รีบหนีเสียด้วย คล้ายๆ กับมันยิ่งยั่วยิ่งยุ เดี๋ยวฉันก็เอากระบองล่อให้เสียนี่คล้ายๆ อย่างนั้นยิ่งยั่วยิ่งยุเสียด้วย เพราะแต่ก่อนจะไล่งูกับเขาเจอกันไม่ได้หรอก อย่าว่างูมันจะวิ่งหนีเลยเขาไล่ตามเลย ทุกทีๆ เจองูแล้วมันไม่อยู่รอหน้าหรอก ธรรมดาของเขานะ เขาบอกไม่มีงูตัวไหนอยู่รอหน้า ไม่มี พอเจอปั๊บ มันก็วิ่งปั๊บ เขาก็ตามไปฆ่าทันทีเหมือนกัน แต่ตัวนี้ มันไม่เป็นเหมือนงูตัวอื่นก่อนๆที่เคยเจอมาเลย แหม เรียกว่ายั่วยวนอยู่ด้วยนะ เขาบอกว่าไม่เคยเจอทำไมมันเกิดเชื่องขึ้นมาได้ด้วย ก็บอกว่าไม่เคยเจองูแบบนี้ เจองูตัวอื่นต้องไล่ฆ่าทันทีแต่ตัวนี้มันเชื่องได้ 

เขาจึงเห็นธรรมะอีกตัว เห็นอะไรรู้ไหม เห็นเมตตาธรรม เพราะใจเขาเกิด มต ขึ้นมา แต่ก่อนแต่ไรเจองู มีแต่วิ่งหนีแต่เมื่อไม่ฆ่า งูไม่วิ่งหนี เพราะถ้าเราไม่มีจิตจะไปฆ่างูมันก็ไม่กลัว มันก็ไม่วิ่งหนี 

เคยเห็นงูตัวหนึ่งมันไล่จิ้งจกมาในศาลา ศาลาที่อาตมากำลังนั่งฉันอาหาร พอไต่ขึ้นมา อาตมาก็เริ่มบอกเลยบอกคนว่างูขึ้นมาแล้วนะ พอได้ยินว่างูชักกระดุกกระดิกแล้ว แต่ไม่เป็นไรเขาอยู่ฝั่งโน้น ส่วนงูมันขึ้นมาศาลาที่อาตมานั่งฉัน เเล้วมีเพื่อนผู้ชายที่เคยบวชมานานเข้าใจธรรมะสูงพอสมควรนั่งอยู่ด้วย อาตมาก็บอกว่านั่งเฉยๆ อยู่เฉยๆ เป็นกลางให้ทำ มต  ให้ทำใจเป็นกลางเฉยๆ บอกว่าอยู่เฉยๆ นะเดี๋ยวงูมันก็เลื้อยขึ้นมาจริงๆ พอเราวางเฉยจริงๆ ใจทำใจ มต คือ บำเพ็ญ พต ไอ้งูมันก็เลื้อยเฉยขึ้นมาจริงๆ ถ้าเราทำเอะอะรับรองมันไม่ขึ้นมาหรอก เพราะเราไม่เอะอะ มันไม่มีเอฟเฟคทางวิญญาณ จิตมันมีผลสะท้อนมาเลย งูนี่มันรู้ เมื่อไม่มีศัตรูขึ้นมามันก็จะตะกละ ความโลภมันเยอะมันก็ไล่จิ้งจกขึ้นมาเลย คุยกันไปแลกกันมา จิ้งจกปีนขึ้นข้างบนมันก็ไล่ขึ้นข้างบน มันเหมือนกับไม่มีคน มันไล่กันอย่างกลับไม่มีคนเลย ศาลามันผ่านหน้าผ่านตาเฉยเลย ไม่อะไรเลย ยังไม่พอ จิ้งจกกระโดดลงมาข้างล่าง งูก็กระโดดลงมาตาม 

ในศาลาสี่เหลี่ยม ถ้ามานั่งอยู่นี่ คนอื่นๆ นั่งอยู่ตรงนี้งูมันก็ลงมาตรงนี้เลย ไต่เข้าไปเลย ตอนแรกไต่เข้ามาหาคุณ ราเชนก่อน คุณราเชนก็นั่งเฉยนิ่ง เราบอกว่านิ่งๆ ตอนนี้จิ้งจกตัวนั้นวิ่งลงไปในจีวร งูตัวนี้ก็เข้าไปจุ๊บๆ อยู่ข้างๆจีวรท่านนั่งอยู่นี่ เขาก็จะไปตามหาจิ้งจกแล้วประเดี๋ยวมันก็ไต่ลงไปข้างศาลาลงไปเลย จิ้งจกตัวนั้นมันวิ่งจากทาง  คุณอำนาจมาหาราเชนอีกที จิ้งจกตัวนั้นก็รอดตัวไป แล้วมันก็ไปลงไปเลย อย่างนี้เป็นต้น 

นี่แหละคืออำนาจของเมตตาธรรม อำนาจของสิ่งที่เราได้ประพฤติแล้วไม่มีการเบียดเบียนกัน วิญญาณต่อวิญญาณมันสงบ มันไม่มีการที่จะะเข่นฆ่าเขา

เข่นฆ่าเรา แต่ถ้าเรามีอิ๊อะอะไรหน่อย มีผลสะท้อนอะไรขึ้นมาในใจมีค่าลบค่าบวกหมายถึงค่าที่จะฆ่ากันในส่วนใดส่วนหนึ่งขึ้นมาหรือแม้แต่การรังเกียจหรือการกลัวก็ตาม ก็เป็นผลที่จะให้เกิดขึ้นได้ ฉะนั้นในระยะนี้เป็นไปได้อย่างจริงๆ เลย อาตมาเล่า และอยากให้เห็นสภาพนั้นจริงๆ พวกผู้หญิงนั่งอยู่ฝั่งโน้น งูมันก็เปิดเหมือนกัน ทีนี้มันแสดงละครให้ผู้หญิงเหล่านั้นได้ดูได้ด้วย เป็นการแสดงบทบาทของงูกับการแสดง 

พต พัตตะ คือให้อัตตาเกิดในตัวเรา คือให้มีสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นอัตตาเป็นรูปร่างของการวางเฉยอย่างพอเหมาะพอเจาะ ไม่เดือดร้อน พอดีพอดีอย่างสมควร ไอ้นั่นหน้าที่ของเขาจะไล่จิ้งจก เขาก็ไล่ไปเขาไม่ได้มากวนอะไรเขาไม่ได้มากินเรา เขาไม่ได้มาทำอะไรกับเราเลย เราก็อยู่เฉยๆ เขาก็อยู่กับหน้าที่ของเขา เขาไม่เฉยหรอกเขาก็ไล่จิ้งจกไปนี่แหละคือสภาวะของ มต สภาวะ พต บำเพ็ญให้มันเกิดประโยชน์ขึ้นมา นี่อาตมายกศีลข้อแรกขึ้นมาคือศีลข้อปาณาติบาต เราไม่ฆ่ากัน เราไม่เบียดเบียนกัน แล้วคุณธรรมที่มันจะทำให้เกิด มัตตะ ทำอย่างนี้เป็น

กลางอย่างนี้แล้วให้เห็น มันจะเห็นผลกับเราอย่างนี้ ยิ่งเห็นผลอย่างนี้แล้วเพื่อนของอาตมาที่เล่ามาก่อนนั้นก็ดี หรือแม้แต่สภาวะที่อย่างนี้ ที่อาตมามาเล่าให้ฟังก็ดี นี่เป็นอำนาจที่มันจะเกิดผลสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง 

เมื่อเราเห็นผลอย่างนี้ต่อไปเราก็จะไม่กลัวอะไรมันมากมาย งูเราก็ไม่กลัวมันมากมายนี่ หรือสัตว์ที่ร้ายกาจกว่านี้เราก็จะไม่กลัวมันมากมาย ไม่ใช่ว่าเราตั้งหน้าตั้งตาพอเห็นมันตั้งหน้าตั้งตาเป็นศัตรูกันเลยแล้วจะฆ่ามันก่อนเลย ไม่หรอก ไม่มีฆ่ากันเลยในโลกนี้จะเป็นสิงห์เป็นเสือเป็นช้างม้าวัวควายอะไรก็แล้วแต่ ถ้าเราไม่มีผลที่จะไปเป็นศัตรูซึ่งกันและกันหรือเป็นภัยซึ่งกันและกันแล้วนะ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดถ้าเข้าใจการบำเพ็ญการทำอัตตา หรือ การพึ่งอัตตา สร้างอัตตาขึ้นมาเป็นที่พึ่ง ถ้าใครเข้าใจได้อัตตาต่างๆ ที่อาตมากำลังพูดถึงนี้ กำลังอยู่ในขั้นสูงนะเพราะกำลังไต่ออกมาถึงขั้นอรหะ อรหันต์ มาเป็นมัตตะ อีกหน่อยมันนี่มันยังสูงอยู่นะ อีกหน่อยจะไต่ลงไปกว่านี้อีกเรื่อยๆ เราก็ต้องพึ่งอะไรก็พึ่งหลับตาที่เราก่อตัว พึ่งให้สูงแล้วก็จับพึ่งไปเรื่อยๆ อย่างนี้พอเรามาพึ่งมัตตะให้ได้ตามความพอดีความเหมาะสมของเราตามหน้าที่ตามกาละของแต่ละสัตว์ แต่ละบุคคลแต่ละสิ่งทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพึ่งลงมาเป็นระดับระดับอย่างนั้นเลยนะ เราทำ มัตตะ อันนี้ให้มันสูงขึ้นสูงขึ้น ให้มันแก่ขึ้นแก่ขึ้น เรียกว่าให้มันแก่ขึ้นนั่นเองสูงขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือกล้าขึ้นหรือมากขึ้นก็ตาม เราเรียกการกระทำที่สูงนั้นเป็น อัตตา อีกชนิดหนึ่ง ภาษาบาลีท่านเรียกว่า รต 

รต คือ ร + ต บวกอัตตา แปลว่ามากขึ้นหรือแก่ขึ้นหรือภาษาอันนี้ถ้าเรามาเรียกใช้คำว่า รัตติหรือรัตติกาล คือเวลาแก่ขึ้นหรือกลางคืน รต แปลว่าสีแดง เขาก็แปล แปลว่าจัดก็ได้ แก่ก็ได้ ให้มันเต็มรอบ ทำรัตตะ ให้มันมากขึ้นเราเรียกว่า รต

ทำ มต  ให้มันแก่ขึ้นยาวขึ้น ติดต่อเป็นตัวตนที่ยาวขึ้น รัตตะ เพราะฉะนั้น รัตตัญญู คือผู้ที่มีอายุยืนยาวนาน ผู้ที่แก่มากนั่นแหละ ทำทุกอย่างให้มันแก่ขึ้นอย่างนี้คือให้อัตตามันพอกพูนเพิ่มยาวนานยิ่งยวดมากขึ้น เรียกว่า  รัตตะ เราทำ มต ให้เป็นอัตตาที่แก่ขึ้น รต

 พอ มัตตะแก่ขึ้นเราทำอาการวางเฉยอย่างเช่นปาณาติบาตเราทำการวางเฉยไม่เป็นพิษเป็นภัยแบบไม่ฆ่างูอย่างเมื่อกี้ได้แล้ว เราแก่ขึ้นแก่ขึ้นจนกระทั่งเรามีเมตตาธรรมก็สูง มีการไม่ถือสาหาความกันไม่เกิดความกลัวซึ่งกันและกันจนเห็นผลจริงๆว่า เราเจอเสือเราก็ไม่กลัวเสือ เสือก็ไม่กลัวเราจนกระทั่งต่างคนต่างอยู่ตามหน้าที่ก็ได้  อย่างนั้นเรียกว่า คุณของอรหัต หรือ ผลของอรหัต เป็นคุณที่สูงกว่า มต รต เพราะฉะนั้นพระอรหันต์กับเสือไม่ค่อยทำอะไรกันและกันแล้วมันจะเป็นจริงอย่างนั้น อรหัตตคุณ 

อรหันต์ที่มีอรหัตตคุณเป็น รต แก่ขึ้นไปจนอรหันต์มันสูงเป็นอรหันต์แล้วกับผลเสือก็ไม่ทำอะไรกัน เพราะบารมีในศีลขั้นปาณาติบาตไม่รบกวนกัน ไม่เบียดเบียนกันไม่ทำกันเลยต่างคนต่างอยู่ รู้หน้าที่รู้การเป็นอยู่สัตว์โลก ย่อมอยู่กันไปตามสัตว์โลก ผู้ที่อยู่คนนี้โหดร้ายตามที่เขาเรียกว่าโหดร้ายเขาว่าเสือโหดร้าย ที่จริงเสือมันก็โหดร้ายกับเหยื่อของมัน มันไม่ได้โหดร้ายกับทั่วๆ ไป เช่นเดียวกันกับงูมันก็โหดร้ายกับจิ้งจกอย่างที่เล่าเมื่อกี้ มันไม่ได้มาโหดร้ายกับเรา แต่ถ้าเรารักจิ้งจกมากนะเราจะตีงู บอกว่างูตัวนี้ไปโหดร้ายกับจิ้งจก แต่มันไม่ได้โหดร้ายหรอกทุกอย่างมันเป็นหน้าที่เป็นกรรมของมัน เป็นสิ่งที่มันจะกระทำต่อหน้าที่ของมันแต่ละหน้าที่เป็นไปตามวาระ  เป็นไปตามกาล เป็นไปตามความสมมุติ ที่มันสมมุติเป็นระยะๆ 

เสือมันก็ต้องกินเนื้อสัตว์ เนื้อเก้ง เนื้อกวาง เนื้ออะไรมันก็จับของมันกินของมันไปตามวาระกรรมของมันมันสร้างบาปสร้างบุญของมันด้วยเรื่องของมัน ถ้าเราสร้างวิบากไปร่วมด้วย ไปห้ามเสือไม่ให้กินหมู หมูเขาจะหามเอาคานไปสอดเสือเขาจะต้องกินเนื้อนะ เอาหญ้าให้กินมันก็ไม่กินหรอกเช่น งูมันจะต้องกินเขียดกินกบ เราจะเอาหญ้า ไปให้งูมันกินมันไม่กินหรอก ไม่ใช่เรื่องของมันเป็นกรรมของมันมันจะต้องเกิดมาเป็นงูมันจะต้องมาล่าจิ้งจกมันต้อง ล่ากบล่าเขียดกิน เรื่องของมันเช่นเดียวกันกับคน เราเกิดมาเป็นคนเราก็จะต้องกิน หรือต้องล่า หรือต้องทำสิ่งที่ควรกระทำ 

พอมาเป็นอัตตาชนิดที่เป็น สต คือ ยึดถือเป็นตัวเป็นตน โตรอบมากกว่าพวกพืชแล้วเรียกว่าเป็นสัตว์เป็นอัตตา   เรียกว่า สต เราทำศัพท์ ให้เพี้ยนเป็น สัตว์​ จะได้ไม่งง สต เอาไปใช้เป็น  7 ชาติถ้าครบ 7 ชาติเกิดมา 7 ชาติเรียกว่าเป็นสัตว์ที่ 7 ตระกูลเรียกว่าเป็นตัวเป็นตนแล้ว สิ่งใดก็ตามแต่ ถ้าเราได้พยายามที่จะปลูกฝัง หรือว่าทบชาติ ทบตระกูลของมัน ให้มันยืนยันตระกูลของมันได้ครบถึง 7 รอบ 7 ช่วง 7 Generation ถ้าใครทำได้ถึงขนาดนั้นนะครบ 7 รอบ ท่านถือว่า สิ่งนี้เรียกมันได้ว่าตระกูลแท้ ถ้าใครเรียนถึงเรื่องเกี่ยวกับทาง สัตวศาสตร์ หรือ ทางชีววิทยาก็คงจะเคยได้ยินมาบ้าง แต่อาตมาไม่ได้เรียนทางชีววิทยามันจะตรงหรือเปล่าก็ไม่รู้นะ พูดตามภาษาทางพุทธศาสนา ถ้าตรงกันก็แสดงว่าพุทธศาสนานี้สอนไว้ละเอียดลออ และเป็นการรู้ด้วยญานตรงกัน 

พอครบ 7 ชาติแล้วครบ 7 ช่วงแล้ว อันนั้นจะเป็นของแท้ เพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืชเพราะฉะนั้นคนที่เกิดมาเป็นสัตว์แล้วจากพืช จากอะไรต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็นอะไรต่ออะไรมาจนเป็นสัตว์เซลล์เดียว หลายๆ สัตว์ต่อกันมาจนเป็นสิ่งที่เราเรียกว่า สัตว์นี่คือมันต่อกันมาจากดินน้ำลมไฟ จากดินน้ำไฟลมวิวัฒนาการมาจนกระทั่งเป็นพืช อย่างที่เรียกว่าเป็นพืชชั้นต่ำ มาเป็นพืชชั้นสูง จากพืชชั้นสูงมานับรอบแปรรูปมาเป็นสัตว์ได้ 

อย่างสัตว์ชนิดหนึ่งเขาเอามาให้อาตมากิน เขาบอกว่าจะเอามาให้ไอโอดีน สัตว์ชนิดนั้น เรียกมันว่าสาหร่ายทะเล สาหร่ายทะเลแล้วเขาก็เอามาให้อาตมาฉันวันนึง อาตมาก็ฉันเข้า อาตมาก็บอกว่า เอ้ย สาหร่ายทะเลมันไม่ใช่พืชแท้แล้ว สาหร่ายทะเลมีเจนเนอเรชั่นทบชาติจะเป็นสัตว์ขึ้นมาหลายช่วงแล้ว อาตมากินแค่นั้นกระทบสัมผัสอาตมาบอกว่าไอ้นี่ไม่ใช่พืช เป็นพืชจริงในภาษาคน เรียกว่ามันยังเป็นพืชอยู่ เพราะมันยังไม่ครบ สต ยังไม่ครบ 7 รอบยังเป็นตัวเป็นตนจะเรียกว่า สัตว์แท้ไม่ได้ ถ้าใครเคยกินสาหร่ายทะเลบ้าง มันเหมือนนะ มันมีคาวนะ 

สาหร่ายทะเลมีคาว มีไอโอดีน คือมีโอโซน ธาตุออกซิเจนอยู่ในตัวมันเต็มแล้ว ออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พอพืชใดที่มีออกซิเจนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ พืชนั้นจะกลายตัวกลายสภาพมาเป็นสัตว์มากแล้ว แต่มันยังไม่ร่อนออกจากไอ้ที่ยึดเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นพืชสาหร่ายทะเลนี้อาตมาถึงบอกกินเข้าไปปั๊บ อาตมายืนยันว่าไอ้นี่จะมาเป็นสัตว์แล้ว จะเรียกพืชในภาษาคน ได้  แต่อาตมากิน 2 คำแล้วอาตมาก็ไม่ต่อแล้ว จริงมีไอโอดีนแน่ มีโอโซนมากแน่ ออกซิเจน โอโซน คือแตกตัวมาจากออกซิเจนมาก มันเป็นพ่อเป็นแม่กันมาเกี่ยวโยงกันอยู่ มีธาตุพวกนี้อยู่เยอะจริง ไม่เถียง อาตมาไม่เถียง แต่ว่าถ้าอาตมาจะกินอันนี้มันก็จะใกล้จะเป็นสัตว์แล้วอาตมาเข้าใจอาตมาก็ไม่กินต่ออะไรมากมายล่ะ ที่ฉันอันนี้ เพราะเขายืนยันเป็นพืชแต่อาตมาไม่ได้อธิบายให้ฟังอย่างนั้นหรอก ดีนะคุณกฤษเป็นคนถวายสาหร่ายทะเลอาตมา ไม่มาวันนี้ ถ้ามาจะได้เข้าใจอันนี้ด้วยว่า อาตมายืนยันว่าสาหร่ายทะเลเป็นพืชหรือสัตว์อย่างไร แต่มันยังไม่ครบ 7 Generation ยังไม่ครบ 7 ช่วงเท่านั้นเอง 

คนถามว่า...ถัดมาเป็นพวกปลาดาวอะไรพวกนี้ 

พ่อท่านว่า... คนนี้เรียนชีววิทยามาเข้าใจ คนนี้ให้ความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาอีกว่าไอ้พืชตระกูลสาหร่ายทะเล มันวิวัฒนาการต่อจากนั้นมาจะเป็นปลาดาว จริงปลาดาวรูปร่างใกล้เคียงสาหร่ายทะเลจริงๆ แต่อาตมาไม่ได้สัมผัสแบบนั้นแต่สัมผัสกับอายตนะของอาตมา มันบอกเลยว่าไอ้ลื้อ นี่มันเป็นสัตว์แล้วนี่หว่า มันยังไม่ใช่พืชอย่างที่เขาเรียกหรอก แต่มันเป็นสัตว์ที่ปักหลักอยู่กับที่เท่านั้นเอง 

ที่นี้อาตมาอธิบายถึง สต ที่มันเกิด 7 ชาติ 7 ช่วง 7 ระดับ 7 Generation เพราะฉะนั้น ถ้าใครเข้าใจจะเข้าใจต่อได้ สต เป็นสัตว์ที่แยกตระกูลจากพืชแล้วคือพวกที่ได้พบชีวิตขึ้นมา 7 ช่วงขาดลอย ตัดโคตรภูมิมาเป็นสัตว์เลยแล้วเราก็เรียกอันนี้แยกมาเป็น สัตว์หรือสัตตะ นามบาลีก็เรียกยืนยันเป็นสัตว์เหมือนกันมันก็ออกมา 

ทีนี้เมื่อผู้ใด เมื่อผู้ใดได้พยายามที่จะมาหลงมาเห็นว่าตัวเองเป็นสัตว์ มีปัญญาเท่าสัตว์แล้ว สัตว์เหล่านั้นมันก็จะยึดอัตตาตามช่วงของมัน อย่างสัตว์สาหร่ายทะเลมันจะกิน มันก็จะกินอัตตาในช่วงที่เป็นหน้าที่ของมันโดยตรง มันก็จะกินธาตุที่เกี่ยวโยงใกล้เคียงกัน พอมันมาเป็นปลาดาวอย่างที่คุณนี้ว่า เราถือว่าเป็นสัตว์แท้แล้ว ตัดโคตรแล้ว ตัดโคตรภูแล้วออกมาเป็นสัตว์แท้แล้วพอมาเป็นปลาดาวมันก็จะกินอาหารที่ใกล้เคียงกับการเป็นสัตว์มันก็คงจะกินสาหร่ายทะเลนี่แหละ

โยมว่า...มันกินแพลงตอน

พ่อท่านว่า... นั่นก็เป็นสัตว์อีกตระกูลหนึ่งที่มันแยกตัวออกมาอีกอันนึง เอาล่ะเราจะไม่พูดมาก เพราะเราจะไม่ได้มาเรียนวิชาชีววิทยากัน แต่เราจะมาเรียนธรรมะ แต่นั่นแหละ ชีวะ ชีวิตคนเราก็เกิดมาจากชีวิตนี้แหละ เราเรียนชีววิทยาจะเข้าใจอันนี้มาก แต่อาตมาเองไม่ได้ไปรื้อเรื่องพวกนี้มากนักแต่มันรู้ได้ด้วยพุทธศาสตร์จริงๆ ที่อธิบายให้ฟังด้วยเหตุผลเหล่านี้ 

เพราะฉะนั้น ภาษามันบอกเลย ถึงได้ระลึกเรื่องเก่าๆ ได้เพราะฉะนั้น สต 7 ตระกูลนี้มันก็ออกมาอย่างนี้ ปลาดาวมันจะกินแพลงตอนบ้าง สาหร่ายทะเลบ้างก็แล้วแต่มันก็จะกินอยู่ในเจนเนอเรชั่นใกล้ๆ ของมัน มันจะกินอยู่ใน Generation หรือ ว่ากินอยู่ในรอบของตระกูลที่มันใกล้ๆ เคียงๆ กัน มันไม่ไปกินเกินขนาดนั้น เป็นหน้าที่ของมัน

เพราะฉะนั้นสัตว์มันก็กินสัตว์ ต้นไม้มันก็กินสิ่งที่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟที่มันใกล้เคียงกัน ถ้าต้นไม้ที่มันโตขึ้นไปมากมันก็จะกินประเภทที่เป็นน้ำมากกว่า ต้นไม้บางชนิดไม่ค่อยกินน้ำเท่าไหร่ แต่กินดิน กินลมมาก เพราะฉะนั้นต้นไม้บางชนิดโตขึ้นมาแล้วก็มากินน้ำมากขึ้นอย่างนี้เป็นต้น พอกินน้ำมากบางประเภทโตขึ้นมาเป็น พืชที่มันโตใหญ่ขึ้นมาจนกระทั่งมันจะกลายเป็นสัตว์อีกชั้นหนึ่งแล้วอย่างนี้เป็นต้น นี่ความรู้สึกในตัวมันมากแล้ว จนกระทั่งบางทีนะ ลูกของต้นไม้นี้ออกมาเป็นสัตว์ก็ได้เหมือนกัน ใครเคยเห็นแมงหวี่มันเกิดในมะเดื่อบ้าง ไปแกะเอาเถอะในมะเดื่อนี่ แมงหวี่ในลูกมะเดื่อนะ ในเรื่องชีววิทยาจะอธิบายอย่างไรอาตมาก็ยังไม่อยากจะมาพูดนะว่าแมงหวี่มันเกิดในลูกมะเดื่อ อย่างไร จะค่อยๆเป็นสัตว์ที่ต่อเซลล์ต่อทอดกันออกมาอย่างไร อาตมาไม่รู้นะชีววิทยาอธิบายแมงหวี่กับมะเดื่อออกมาอย่างไรอาตมาไม่รู้ 

แต่ว่าถ้าสัตว์พืชกับต้นไม้มันก็มีวิวัฒนาการก้าวหน้าอย่างนี้เรื่อยมาแล้วมันก็จะกิน หรือว่ามันก็จะพยายามที่จะกินสิ่งที่มันอยู่ในช่วงใกล้ๆ กัน 

ที่นี้สัตว์ที่โตขึ้นโตขึ้นโตขึ้นฉลาดขึ้น มันก็จะกินสัตว์ที่ด้อยกว่า สัตว์ที่โตขึ้นมาเรื่อยก็จะกินสัตว์ กินสัตว์ที่ด้อยกว่าเรื่อย เช่นเดียวกันปลาตัวโตก็กินปลาเล็ก ปลาดาวกินแพลงตอน ปลาโตกินปลาเล็ก ปลาโตขึ้นไปก็กินปลาเล็กต่อลงมาเรื่อยๆ เป็นทอดๆ แบบเดียวกัน 

เจ้าคน ที่นี้มาถึงสัตว์คน ต่อขึ้นมาที่นี้มาถึง สัตว์คนต่อขึ้นมา สัตว์ที่เป็นสัตว์ถึงขั้นเป็นคนแล้ว แต่แรกแต่เริ่มมาจริงๆ ตั้งแต่ชั้นโบราณอาการก็เป็นคนโง่ๆ มีขนยาวรุงรังเหมือนลิงก็กินสัตว์เหมือนกัน คนที่พัฒนามาเป็นคนตอนแรกๆ ก็กินสัตว์ กินสัตว์พอกินสัตว์แล้วเสร็จ ตามเชื้อของตัวเอง ที่จริงไม่ได้กินสัตว์มาทีเดียว สัตว์ในโลกนี้มันกินสัตว์กินพืช กินสัตว์กินพืชสลับมาตามระยะนะ ที่จริงแล้วคนในช่วงแรกจริงๆ เกิดมาเป็นคนนั้นน่ะ ไม่กินสัตว์ฟังให้ดีนะ เนี่ยอาตมากำลังเล่าถึงเรื่องดึกดำบรรพ์ยิ่งกว่าดวงดาวที่ค้นพบเรื่องยิ่งกว่าใครค้นพบแล้วนะ สัตว์ที่มาเป็นคนตระกูลแรกที่จะตัดช่วงจาก สต 7 ช่วงมาเป็นตระกูลคนจริงๆคนตระกูลแรกที่สุดไม่กินสัตว์ เพราะมาจากลิง ฟังให้ดีนะ คนตระกูลสัตว์พอได้ยินคำว่าลิง คุณจะอ๋อ หรือว่าลิงมันไม่กินสัตว์มันกินพืช พิสูจน์ได้จากอะไร 

พิสูจน์ได้จากฟันของคน ไม่ใช่เป็นฟันที่สำหรับกินสัตว์ เป็นฟันที่ขบเคี้ยวแค่พืช เหมือนควายเหมือนวัว …ลิง คนมาจากลิง คนก็ตระกูลแรกที่ถ่ายทอดมาจากลิงแล้วก็กินพืชจากลิง คนตระกูลแรกที่ถ่ายทอดเรารับหน้ามาเป็นคน เป็นคนดึกดำบรรพ์ชั้นแรกเลยนะไม่กินสัตว์กินแต่ นี่เป็นต้นตระกูลคนอาตมาขอนับต้นตระกูลคนอันนี้ 

อีกต่อมาคนนี่มันก็เห็นว่าพืชมันก็กินได้สัตว์ก็กินได้คือ เป็นกิเลสนั่นเอง ก็คนตระกูลต่อมาเป็นคนป่าตระกูลต่อมาก็มากินสัตว์ ใจโหดเหี้ยมขึ้น มากินสัตว์ คนจึงกินสัตว์ตั้งแต่ที่เขายึดถือมาเลยว่าสัตว์พวกนี้มันโง่กว่าเรา เราฆ่ามันกินได้ เนื้อมันก็กินได้ กินแล้วชีวิตเราก็อยู่ได้ด้วยคนตั้งแต่บัดนั้นที่แปรเปลี่ยนจากต้นตระกูลคนชั้นแรกที่สุดนั้น ก็กลายเป็นยึดถือกินสัตว์เรื่อยมา คนต่อมาจึงสั่งสอนกันว่ากินสัตว์นั้นดีกว่า เพราะอะไร เพราะรสชาติของสัตว์มันสูงกว่ากิเลสกามมันมีก็เลยกินสัตว์เรื่อยไป เพราะฉะนั้นสัตว์ใดที่กินสัตว์แล้วนะจะไม่ค่อยกลับไปกินพืช แต่สัตว์ที่กินพืชไม่กินหรอกสัตว์ สัตว์ที่กินพืชเขาไม่กินหรอกสัตว์ แต่สัตว์ใดที่มันหลงเนื้อจะกินพืชยาก เช่นเดียวกันกับหมานี่ หมาตัวไหนที่ติดเนื้อมากแล้วนะ จ้างเลย เอาข้าวเปล่าๆ เอาพืชไปให้มันกิน มันไม่กินหรอก เพราะว่า เพราะกิเลสใน เนื้อมันสูงกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสของเนื้อมันมีมากกว่าพืช 

เพราะฉะนั้นเรื่องกิเลสที่มันสร้างโลก มันสร้างขึ้นมาแบบนี้ หมู หมาต่างๆ มันติดเนื้อสัตว์แล้วมันจึงไม่ติดพืช ถ้าสัตว์เราพยายามป้อนมันให้ดีนะให้มันกินแต่ผักพืชมากๆ นะ อย่าเอาเนื้อไปล่อมันมากนะ มันจะกินพืชอยู่บ้าง หมานี่ บางตัวเอาพืชไปล่อมันบ้างมันจะกิน มันจะกินพืชบ้างแล้ว มันก็ไม่ตายด้วยนะ ไม่ตายไม่ตายหรอก มันก็จะอิ่มมันก็จะรักษาร่างกายของมันได้เหมือนกัน (1.14)

ที่มา ที่ไป

150401 จะพึ่งอะไรดี-พ่อท่าน-วัดมหาธาตุ

พ่อท่านเทศนาที่วัดธาตุทอง 15 เมษายน  2515 


เวลาบันทึก 21 พฤษภาคม 2567 ( 09:00:17 )

150715 ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญ

รายละเอียด

150715 ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญ โดยพ่อครู ที่วัดนรนาถสุนทริการาม

  • ต่อจากนี้ไปท่านจะได้ฟังบรรยายธรรมะ ในหัวข้อเรื่อง… 

 ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญ 

ซึ่งบรรยายโดย  

ท่านพระโพธิรักษ์ บรรยาย   

ณ.ที่วัดนรนาถ

เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม   2515 ขอเชิญท่านรับฟังได้แล้วครับ 

 

พ่อครูว่า... ที่อาตมาได้ตั้งชื่อ ของเรื่องที่จะพูดไว้ว่า ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญนั้น ที่จริงไม่ใช่อาตมาตั้งทีเดียวหรอก คุณสมพงษ์เป็นคนกล่าวขึ้นเองว่า จะให้ตั้งชื่อเพราะคราวที่แล้วไม่มีชื่อ พอไม่มีชื่อจะให้อาตมาตั้งชื่อ หรือว่าเราควรจะตั้งเรื่อง อาตมาก็ไม่ได้ตั้งเรื่อง คุณสมพงษ์ก็ยกตัวอย่างว่าควรจะตั้งชื่อเรื่อง เช่นว่า ใครจะเลือกตายเกิดหรือตายสูญ อาตมาก็เอามาตั้งสิ ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญ ก็เลยตั้งขึ้นมาได้ชื่อหนึ่ง แล้วทีนี้มันจะต้องมี 2 เสาร์ เสาร์หน้าอีกเสาร์หนึ่ง อาตมาก็ถามว่าใครจะฟังเรื่องอะไร คุณวิจิตราใช่ไหม ก็เลยบอกว่าอยากฟังเรื่องผี อ้าวผีก็ผี ก็เลยตั้งเป็น 2 ชื่อไม่ใช่อาตมาตั้งเองสักชื่อหรอก ใครจะตั้งก็ได้พวกคุณตั้งเองจะเอาเรื่องอะไรก็ตั้งชื่อมาบ้างก็ได้ 

เสาร์ต้นเดือนใครจะตั้งอะไรก็ตั้งตามๆ กันมา เสาร์ที่ 2 เสาร์ต่อไปใครจะตั้งเรื่องอะไรก็ตั้งขึ้นมาแล้ว

อาตมาก็จะพยายามแจกแจงในมุมเหลี่ยมต่างๆ มันจะได้ครบเหลี่ยมครบมุมทุกเหลี่ยมทุกมุม เพราะธรรมะนั้นเหลี่ยมมุมไหนมันก็เป็นวัฏฏะ เหลี่ยมมุมไหนมันก็เป็นวัฏฏะ ในเมื่อเราครบอธิบายปริวัฏฏ์มันแล้วมันก็จะรู้สภาพสิ่งนั้นอย่างชัดไม่ไปไหนเสีย ถ้าเราขีดวงรอบของมันไว้หมดครบปั๊บไม่ดิ้นแล้วตัวนี้ชัดเจนเลยอยู่ในเอกภพนี้ชัดเจน จุลินทรีย์ตัวหนึ่งก็เป็นเอกภพอันหนึ่งโตขึ้นมา กว่าจุลินทรีย์เป็นสัตว์เซลล์เดียวขึ้นมา ก็เป็นเอกภพอันหนึ่งโตขึ้นมาแล้ว 

ถ้าเรารู้มุมเหลี่ยมของเอกภพของสัตว์เซลล์เดียวเราก็รู้ โตขึ้นมาตัวสัตว์และเซลล์เดียวมีหลายๆ เซลล์ เรารู้รอบทุกเหลี่ยมทุกมุมของมันหมดก็รู้ไอ้ตัวนั้นขึ้นมาอีกแล้ว โตขึ้นมาเรื่อยๆ ขึ้นไปอีก เราก็รู้รอบเลยว่า ขนาดโตขึ้นมามีอะไรเพิ่มขึ้น เหลี่ยมมุมมันหมุนทวนหรือไม่หมุนทวนก็รู้ขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งโตปรุงแต่งขึ้นมาเป็นตัวเราเราก็รู้เราก็เห็นเอกภพอันนี้ รู้เอกภพอันนี้ เข้าใจเอกภพอันนี้ได้รอบถ้วนก็เป็นอันสบายที่สุด 

พอเรารู้มากจนแม้กระทั่งนี่แหละ กายยาววาหนาคืบกว้างศอก นี้รู้เอกภพนี้ชัดเจน ทุกเหลี่ยมทุกมุมแล้วล่ะก็ มันก็เป็นที่สุดท้ายถึงแก่เอวัง เป็นอย่างนั้นเป็นที่สุดท้ายถึงแก่เอวังได้ เป็นที่สุดท้ายเอวังดังนี้ 

ที่นี้เราจะมาพูดให้ตรงหัวเรื่อง ใครจะเลือกเอาตายเกิดหรือตายสูญ อาตมาไม่ว่า ใครจะเลือกอันไหนอาตมาไม่ว่า แต่อาตมาจะอธิบายทั้งตายเกิดตายสูญใครจะเลือกเอาอันไหนเชิญ 

เรามาเริ่มกันที่ตายเกิดเสียก่อน ที่เราเถียงกันอยู่ทุกวันนี้เราเถียงกันว่าตายเกิด หรือตายสูญกันนั้น เถียงเพราะเหตุว่าเราไม่รู้ เราไม่เข้าใจ เราไม่เอาจริง เราก็เถียงกันไป แต่ผู้ที่เข้าใจแล้ว ผู้เอาจริง ก็ไม่เถียง

ต้องมารู้ก่อนตายเกิดตายสูญเป็นยังไง ถ้าใครบอกว่าตายเกิดไม่ตายสูญ มี หรือไม่อันอย่างนั้นมันก็มีอยู่ทั้งมวล พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ท่านบอกเอาไว้ท่านตรัสเอาไว้กับ วัชชโคตร ดูกรวัชชะ คำว่าตายและเกิดนี้ เราตถาคตบัญญัติใช้แก่ผู้ที่มี อุปาทาน ฟังให้ดีนะ คำตรัสของพระพุทธเจ้า คำว่าตายและเกิดนี้ เราตถาคต บัญญัติใช้แก่ผู้ที่มีอุปาทานเท่านั้น หาได้บัญญัติแก่ผู้ไม่มีอุปาทานไม่ 

เพราะฉะนั้นผู้ใดไม่มีอุปาทานแล้ว ใครจะว่าตายว่าเกิดใครจะเอาตายกับเกิดมาเถียงกันยังไงก็ช่าง อาตมาว่าตายกับเกิดเป็นเรื่องเดียวกัน เพราะฉะนั้นผู้ใดยังไม่เข้าใจก็เถียงกันตายเกิดตายสูญ ตายสูญ ตายเกิดอะไรก็ตามแต่ เถียงกันอยู่นั่นแหละ ผกผันกันอยู่นั่นแหละ เพราะฉะนั้นเราไม่เถียง ถ้าเราเห็นอนัตตา เรารู้ว่านี่เริ่มต้น นี่ต่อมาอันนี้เป็นอันนี้เรื่อยไปเลย เป็นปฏิจจสมุปบาทเรื่อยไป เราก็รู้ความเรื่อยไปเหล่านั้น ถ้ามันจะครบวงเราก็จำกัดเข้าไปเป็น 3 ก่อน 

1 2 3 เรียกว่า ไตรลักษณ์ ครบวง 3 เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปก็เป็น 3 สภาพนี้เกิดอยู่เป็นรอบแรก เพราะรอบ 3 นี้เป็นรอบ 3 อย่างโตขึ้นมายกกำลัง 3 เรียกว่าปริวัฏฏ์ 3 ท่านก็เรียกว่าเป็นรอบที่ใหญ่ขึ้นไปอีกซึ่งเป็นสภาพหมุนรอบเชิงซ้อน อาตมาใช้คำว่าสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนอาตมาแปลคำว่า ปริวัฏฏ์ 3 เป็นอย่างนี้ เพราะว่าปริวัฏฏ์ 3 นี้มันไม่ใช่ไตรลักษณ์มันเก่งกว่าไตรลักษณ์ ถ้าไตรลักษณ์มันก็มี 3 ตัวเท่านั้น จะอะไรก็ตามแต่สภาพ 1 2 3 รูป นาม สังขาร ก็เป็นไตรลักษณ์ จะเป็นสังขาร วิญญาณ นามรูปก็เป็นไตรลักษณ์ มันทำงานวนเวียนกันอยู่อย่างนี้ก็เป็นไตรลักษณ์ทั้งนั้น         สภาพหมุนรอบสั้นๆ  เรียกว่าไตรลักษณ์ 

แต่ปริวัฏฏ์ 3 นั้นมันหมุนเป็นวัฏฏะครบ 3 ระบบ  เรียกว่า  หมุนวัฏฏะครบ 3 ระบบ ไม่ใช่ระบบต่อกันเป็นช่วงๆ นะ ถ้าต่อกันเป็นช่วง ๆ เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท ฟังให้ดีนะอันนี้ขึ้นมาเกิดมาเป็นสังขารแล้วก็มาเป็นวิญญาณแล้วก็มาเป็นนามรูปมาเสร็จก็มาเป็นอายตนะ อายตนะก็มีผัสสะ ผัสสะเกิดเวทนา เกิดตัณหาอะไรต่อยืดยาดไปจนกระทั่งครบปฏิจจสมุปบาทนี้ นั่นก็เป็นการติดต่อโยงใยเรื่อยๆๆ ไปแต่ละอันนี้มาเป็นอันนี้เราเรียกว่าบทบาทของมันแล้ว เรียกว่า อิทัปปัจจยตา อันนี้มาเป็นอันนี้เพราะอันนี้มีปัจจัยมาเป็นอันนี้ อันนี้เป็นเหตุเป็นปัจจัยเป็นอันนี้เรียกว่า เป็นปัจจัยต่อกันไปเป็น          อิทัปปัจจยตาซ้อนอยู่ในปฎิจจสมุปบาท 

ถ้ามันเป็นวงๆ วนๆ กันหมดเลย เรียกว่าปฏิจจสมุปบาทถ้าวนไปข้างหน้ามีแต่เกิดเกิดไม่รู้จักจบก็เรียกว่า สมุทัยวาร ถ้าเผื่อว่าย้อนกลับซิ ย้อนกลับจาก ปลายของปฏิจจสมุปบาทดับตั้งแต่ทุกข์ย้อนมาหาสังขารท่านเรียกว่านิโรธวาร หมายความว่า สายดับ ถ้าเอาแต่เกิดมีแต่เหตุเกิดเรื่อยไปมีเหตุผสมด้วยอิทัปปัจจยตา มีเหตุเกิดเป็นปัจจัยอิทัปปัจจยตาหมายความว่า มีสิ่งนี้เป็นปัจจัยก็เกิดเป็นสิ่งนี้ มีสิ่งนี้เป็นปัจจัยก็เกิดเป็นสิ่งโน้นมีสิ่งโน้นเกิดปัจจัยก็เป็นสิ่งที่เกิดต่อไปเรื่อยๆ เรียกว่าเป็นอาการของอิทัปปัจจยตา แต่ถ้าอยู่ในรอบวนอย่างนี้ท่านเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท มีบาทเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท ขออธิบายสูงหน่อยอธิบายตัวยากเสียก่อนเดี๋ยวจะอธิบายตัวต้นให้เข้าใจศัพท์ทั้งหลายก่อน 

เพราะฉะนั้นศัพท์ที่อาตมาพูดถึงนี้มี 1. เรียกว่าไตรลักษณ์สภาพ                                                                       2.     ปริวัฏฏ์ 3 ซึ่งอาตมาตั้งชื่อเป็นภาษาไทยว่าสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนเพราะไม่ใช่มันหมุนรอบธรรมดานะ มันวนเข้า ค่อยๆ พูดไปแล้วจะค่อยๆ เข้าใจเหลี่ยมมุมของมัน เป็นสภาพหมุนรอบเชิงซ้อน 

นอกจากปริวัฏฏ์ 3 แล้วก็เป็นปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาทกับ

ปริวัฏฏ์ 3 ก็ไม่เหมือนกันคนละเรื่อง และอีกศัพท์หนึ่งท่านพุทธทาสเอามาอธิบายอาตมาก็ยังไม่ได้อ่านเหมือนกันว่า ท่านพุทธทาสอธิบายอิทัปปัจจยตาไปแค่ไหน แต่อาตมาอธิบายในฐานะของอาตมาเหมือนกันอาตมาก็เข้าใจ ของอาตมาจะตรงกันกับของท่านพุทธทาสหรือเปล่าอาตมาไม่รู้ อาตมายังไม่ได้อ่านที่ท่านพูด ดูเหมือนจะเล่มโตทีเดียวที่ท่านบรรยายแล้วเอามารวมกันเป็นเล่มโต 

อิทัปปัจจยตา นั้นอาตมาเข้าใจโดยภาษาบาลีและเข้าใจโดย

อรรถะ เนื้อหาของมันว่าเป็นอีกอันหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่ร่วมกันกับปฏิจจ

สมุปบาท ซึ่งหมายถึงการเรียกตัวนี้เป็นตัวนี้ไปเรื่อยๆ ท่านตั้งชื่อเป็นวงเลย ถ้าเป็นอิทัปปัจจยตาเป็นปัจจัยมาร่วมกัน ปรุงแต่งกันต่อไปเรื่อยๆ อาตมาว่าถึงบทบาทสิ่งที่มันเกิดอยู่และมันไม่รู้จักจบสิ้นสักทีให้ฟัง ถ้าจะจบสิ้นเราก็จะต้องรู้วงกลับของปฏิจจสมุปบาท คือนิโรธวาร 

พอเป็นสังขาร ถ้าเรามีอวิชชาอยู่มันก็จะปรุงยาวไปข้างหน้าเรื่อยๆเรียกว่า สมุทัยวาร ถ้าจิตเรายังไม่พ้นอวิชชาเป็นสังขารเป็นวิญญาณเป็นนามรูป ก่อนามรูปมีอายตนะ 6 มันก็ก่อไปเป็นเป็นผัสสะพอได้เป็นผัสสะเกิดเวทนา เกิดตัณหา ก็เกิดอุปาทานก็เกิดภพ ชาติ ชรา มรณะ เป็นอะไรต่ออะไรทุกข์ยากขึ้นจนถึง อุปายาส นั่นเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท 

เราจะทำเป็นนิโรธวาร แล้วจะต้องทำกลับกันพอมาเป็น อุปายาส ตัวสุดท้ายดับถอยหลังถอยลงมาจนกระทั่งถึงสังขารแล้วมาแจ้งชัดสังขารให้ได้ ย้อนมาถึงสังขารพอแจ้งชัดสังขารได้ทีเดียวหมดเกลี้ยงเลยครบทุกอย่างในสังขารทั้งปวง เป็นสัพเพสังขารา เรารู้หมดเลย  เรารู้สัพเพ

สังขาราเมื่อไหร่ล่ะก็เมื่อนั้นแหละเรารู้ทุกข์เกลี้ยงทั้งสิ้น ถ้าเรารู้สัพเพสังขาราหรือสังขาราทั้งปวงรู้หมด มันจะปรุงมาเป็นสภาพของกายสังขารจะปรุงมาเป็นวจีสังขาร จะปรุงมาเป็นมโนสังขาร ตัวนี้แหละร้ายกาจที่คนไม่รู้กับมัน 

กายสังขารยังพอเข้าใจได้ง่ายๆ ยิ่งวัตถุสังขารแล้วยิ่งสบายใหญ่ ถ้ามันเป็นกายสังขารก็ยังพอเข้าใจได้ง่ายหน่อย อย่างผู้ชายกับผู้หญิงสืบพันธุ์สังวาสกันนี่ เป็นสังขารธรรมดาธรรมดาของกายสังขาร จากข้างนอกข้างนอก พอมาสังขารที่ตัวเองตัวเองมีกายทวารรับผัสสะเข้ามา ผัสสะด้วยทวารข้างนอก 5 ทวาร 5 ข้างนอกเรียกว่า กายสังขารแท้ พอกายสังขารแท้มันก็ก่อรูปก่อเรื่องอะไรต่ออะไรเป็นบทบาทของผัสสะ เป็น รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส(โผฏฐัพพะ) ก็เป็นตัวเรารู้อยู่ที่ใจนี่แหละ 

สังขารนี้เราจะรู้ได้ด้วยความรู้สึกของแต่ละคนก็ยังพอเทียบเคียงกันได้อย่างเอาอะไรมาตีร่างกายเรา มันมีลักษณะอย่างไรคุณก็รู้อาตมาก็รู้มันก็เข้ากันได้มันไม่ค่อยผิดกันนักหรอก นอกจากกายสังขารแล้วก็เอามาพูดออกมาได้ด้วยเรียกว่า วจีสังขาร เป็นนิรุตติท่านเรียกว่าพูดเป็นภาษาหรือเป็นบัญญัติ เป็นภาษาแทนสภาวะ แทนสัจจะสภาวะ 

อย่างสมมุติว่าเจ็บอย่างนี้ คำว่าเจ็บนี่เป็นภาษาเป็นนิรุตติเป็นบัญญัติ แต่ถ้าผู้ใดรู้สภาวธรรมว่าเจ็บคืออาการยังไง คุณก็รู้ในใจของคุณเลยว่า อ๋อเจ็บอย่างนี้ ที่คุณมีสภาวะรองรับอยู่แล้วคุณก็อ๋อ ที่ท่านเรียกว่าเจ็บ นิรุตติหรือว่าบัญญัติที่พูดออกมาว่าเจ็บ สัจจะสภาวะของคุณคุณก็นึกรู้ทันทีเลยว่าลักษณะอาการของเจ็บมันเป็นอย่างนี้หมดเลยคุณรู้หมดเลย เจ็บมันแตกต่างกับไม่เจ็บอย่างไรคุณก็รู้ เพราะฉะนั้นอาการของเจ็บกับอาการของไม่เจ็บแตกต่างกันอย่างไรคุณก็รู้เรียบร้อย คุณพอใจอันไหนล่ะ คุณก็ยึดอันนั้นเป็นส่วนใหญ่ ถ้าคุณไปยึดอันไหนอันนั้นแหละเป็นอุปาทานอันนั้นแหละเป็นเรื่องยากที่สุดที่เราจะแคะ 

ถ้าคุณเองคุณไม่ชอบอันไหน ก็เป็นสภาพที่คุณยึดอีกนั่นแหละยึดด้วยลักษณะ อยากให้มันพ้นตัว ถ้าชอบอันไหน ยึดในลักษณะอยากเอามาให้แก่ตัว มีอยู่ 2 สภาวะนี้อยู่ในโลก 2 สภาวะแค่นี้ เพราะฉะนั้นถ้ายึดเอามาให้แก่ตัวท่านเลขภาษาบาลีว่าโลภะ ถ้ายึดอยากให้มันไปพ้นตัวท่านเรียกว่าโทสะ เท่านั้นเองเท่านั้นแหละในโลก 

เพราะฉะนั้นถ้าเข้าใจละเอียดๆ และเข้าใจย่นย่อมาได้แค่นี้ก็ไม่มีสภาพทำอะไรมากมายเลย มันจะเกิดกายสังขารหรือเอามาพูดกันเป็นบัญญัติเป็นภาษาแทนเข้าไปเป็นวจีสังขาร 

แม้แต่การไปยึดวาทะหรือยึดภาษาหรือยึดนิรุตติ ท่านก็เรียกว่า อัตตวาทุปาทาน เหมือนกัน ไม่มีตัวตนมากนะ อัตตวาทุปาทาน มีแต่บัญญัติมีแต่ภาษาหรือมีแต่นิรุตติเท่านั้นแล้วก็ไปยึดอยู่แต่ภาษานั้น ทั้งที่ตัวสภาวะไม่ได้พวกมีอุปาทานอย่างนี้เดี๋ยวนี้แยะที่สุด คือพวกเรียนปริยัติเอาแต่เรียนปริยัติหรือเรียนภาษาหรือไปพยายามฟังๆ หรือพยายามอ่านอ่านท่องๆ มา ได้แต่ภาษาหรือได้แต่นิรุตติได้แต่บัญญัติเหล่านี้มา จึงเรียกพวกนี้ว่า อัตตวาทุปาทาน ยึดมั่นถือมั่นอยู่แค่วาทะ 

ฟังให้ดีนะ อัตตวาทุปาทาน ต้องรู้ตัวให้ชัดแล้วใช้ไม่ได้เลยตลอด ตายไม่มีเนื้อหาสภาวะเลยอย่างที่อธิบายให้ฟังแล้วว่ามันมีสภาวะอย่างไร เจ็บมันเป็นวาทะ แต่ถ้าคนไม่มีสภาวะนะไม่รู้ว่าเจ็บคืออะไร เด็กเกิดใหม่ๆไปบอกว่าเจ็บคืออะไรเขาก็บอกไม่ได้ แต่ก็น้อยที่จะไม่รู้ได้แค่เจ็บ แต่คุณนี่ภาษายากๆ บอกว่านิพพานคืออะไร เขาก็คำนวณเอาเองเลยโดยภาษาทั้งหมดเลย นิพพานคือ ความไม่ยึดมั่นถือมั่นความไม่วางหมดแล้วสิ้นเกลี้ยงรู้แจ้งเห็นแจ้งเป็น ยถาภูตญาณทัสสนะ พูดอย่างไรก็ได้นี่นิพพานภาษาบอกไว้เยอะเลยคุณเอามาอ่านอีกเท่าไหร่ก็ได้ที่ท่านอธิบายสภาพนิพพานอีกเยอะแยะนิพพานคือกาลวิมุตติอะไรอีกเยอะแยะ แต่คุณยังไม่รู้ว่า กาลวิมุตติ สภาพหรือสภาวะจริงๆ ที่อยู่ในตนมีอะไร มีรูปร่างเป็นอย่างไรคุณไม่รู้คุณไม่รู้จริงๆ แต่คุณได้แต่วาทะได้แต่นิรุตติได้แต่บัญญัติพูดได้ละเอียดด้วย แต่เนื้อหามันไม่มีเลย จึงเรียกผู้นั้นว่ามีแต่วาทะอัตตาโต้งๆ แบกหามอยู่จึงเรียกว่า อัตตวาทุปาทาน คุณจะมองเห็นว่าเดี๋ยวนี้คนเก่งแต่บัญญัติภาษามีเยอะแยะเลยแบกอยู่มากมายไม่เข้าเรื่องเลย ฟังให้ชัดนะ 

ถ้าเราเป็นอย่างนั้นบ้าง ก็จงรู้ด้วยว่าเราเองเป็น อัตตวาทุปาทาน ก็เป็นโมฆบุรุษตายเปล่า ไม่ได้อะไรเลย จงระวังให้ดีทีเดียวอย่าทีเดียวอันนี้เรื่องนี้อันนี้กำชับกำชาก่อนจะเข้าเรื่องตายแล้วเกิดหรือว่าตายแล้วสูญเดี๋ยวจะเข้าเรื่อง ตอนนี้กำชับกำชาเรื่องเหล่านี้ก่อน 

ที่มาฟังๆ นี้อาตมาไม่ได้ให้คนฟังเอาแต่ภาษาเอาแต่วาทะ เอาแต่นิรุตติหรือเอาแต่บัญญัติไปไม่ใช่นะ ให้คุณได้ภาษาให้คุณเข้าใจไปแล้วเอาไปทำไปปฏิบัติดูซิ จะทำให้มันวิมุตติลงไปมันเป็นอย่างไรคุณเข้าใจได้ด้วยปัญญาญาณของคุณ คุณรู้แค่ภาษาเอาแค่ สุตะ ไปคิดเห็นเข้าท่าแฮะก็เรียกว่า จินตามยปัญญา เอาไปภาวนาเอาไว้ให้เกิดสภาพจริงๆ ว่ามันเป็นยังไงวิมุตติจริงๆ สภาพมันเป็นอย่างนี้จริงๆ มันเป็นอย่างนี้หนอมันหลุดมันหมดมันขาดเป็นอย่างนี้หนอ วิมุตติ คือตัวที่มันหลุดออกไปแล้วเราไม่มีกิเลสตัณหาอันนี้ในใจเราแล้วเรารู้ว่ากิเลสตัณหาอันนี้วิมุตติไปแล้วอย่างนั้น นอกจากรู้ตัววิมุตติอย่างนั้นแล้วยังมารู้ตัวสภาพของจิตของเราที่มัน  กำลังผัสสะ การที่วิมุตติอยู่เรียกว่าวิมุตติญาณทัสสนะ 

คือขณะที่เรากำลังขาดจากกิเลสตัวนี้นี่ เรามีความรู้เห็นอยู่ในตัวเราเลยสัมผัสอยู่ในสภาวะว่า การที่ขาดจากกิเลสตัณหาตัวนี้นี่ จิตของเราเป็นอย่างไร รู้จิตของเราที่ขาดจากกิเลสตัณหาเป็นวิมุตติอยู่เป็นอย่างไร และรู้ตัวกิเลสตัณหาที่มันขาดออกไปแล้วด้วย ไม่ใช่เราไม่รู้นะเรารู้ทั้งสองอย่างนะรู้ทั้งตัวกิเลสตัณหาที่ขาดออกไปจริงๆ ด้วยหลุดออกไปแล้ว จากตัวเราไม่มีที่ตัวเราแล้ว แล้วก็กลับมาดูที่ตัวเราอีกจิตของเราสบายอย่างนี้เอง มันขาดจากกิเลสตัณหาตัวนี้มันสบายอย่างนี้ มันว่างมันเปล่ามันเบา มันโอ้โห แสนสุข ปรมังสุขังอย่างนี้เอง เราจะรู้สภาพนี้เป็น วิมุตติญาณทัสสนะ นี่อธิบายภาษาที่เขาเรียกกันพูดกันให้ชัดๆ 

เพราะฉะนั้นเรากำลังมาเรียนสิ่งนี้และกำลังจะมาเอาสิ่งนี้ในฐานะของโลกที่จะขึ้นไปเหนือโลก ขณะนี้เราเป็นตัวโลกและจะขึ้นเป็นเหนือโลกเราจะมาเอาสิ่งนี้ อ้าวที่นี้ เราอยู่ในโลกเราจะขึ้นไปเหนือโลก เราก็มาอธิบายแต่โลกซะก่อน 

อาตมาก็จะเริ่มเข้าหาชื่อเรื่องเลยว่าใครจะเลือกเอาตายเกิดหรือตายสูญ ชั่งคุณใครจะเลือกเอาอะไรก็ตาม แต่อาตมาจะอธิบายทั้งตายเกิดและตายสูญ จริงทั้งสองอย่างและไม่จริงทั้ง 2 อย่าง ฟังให้ดีนะอย่าเมา 

เอาให้ละเอียดก็ได้วกกลับมาที่ อัตตวาทุปาทา

อัตตะ หมายความว่ามันยังเป็นตัวเป็นตน วาทะ หมายความว่าเป็นสิ่งที่ออกมาเป็นวจีสังขาร วาทะเป็นคำพูดเป็นวาจาก็ได้ อุปาทาน เป็นสิ่งที่ยึดมั่นถือมั่นเอา อัตตะ + วาทะ + อุปาทาน บาลีสามตัวนี้พอสมาส กันเข้าก็เป็น อัตตวาทุปาทาน 

อัตตวาทุปาทาน ให้ความหมายว่าเรายังล้างอัตตาไม่ได้ก็เพราะว่า ไปยึดเอาแต่แค่คำพูดภาษาหรือบัญญัติที่ตัวเองมีอยู่รู้แต่ภาษา ยึดมั่นถือมั่นอยู่อย่างนั้นไม่ทำให้มันเกิดสภาวะจริงๆ ที่เรารู้แท้ เห็นแท้เป็นเนื้อหาอันที่เป็น ยถาภูตะ ยถาภูตะ อ้าว มีเติมอีกตัวหนึ่งแล้วเมื่อกี้นี้มีแต่วิมุตติมีแต่ญาณทัสสนะอันนี้เกิดมาเป็น ยถาภูตะ

ภูตะ คือชีวิต อาตมาใช้คำว่า ชีวิตแกนกลาง คือชีวิตจริงๆ มันมี 1. ชีวะ 2. ภูตะ 3. ปาณะ อันนี้อาตมาไม่อธิบายเอาไว้อ่านหนังสือศีลของอาตมา อาตมาเขียนไว้ละเอียด ชีวะ ภูตะ ปาณะ ที่อาตมากำลังอธิบายเพราะมีศัพท์คำว่า ภูตะมาผ่าน ยถาภูตะ ตัวภูตะเป็นชีวิตขั้นกลาง ชีวิตแกนกลางก็คือมัชฌิมานั่นเอง เพราะตัวใดที่มันเกิดเป็นอย่างนี้ ยถา หมายความว่า เป็นไปตามบทบาท ยถากรรม ก็คือเป็นไปตามบทบาทของกรรม ยถาภูตะ เป็นไปตามบทบาทการเกิดแกนกลางที่เราชัดแจ้งเป็นกลางๆ แล้วเรียกว่าเกิดเป็นอย่างนั้นเป็นจริงแท้จริงเป็นอย่างนี้ไม่มีอะไรเพี้ยนไม่มีอะไรเติมไม่มีอะไรบกพร่อง ไม่มีทั้งขาดไม่มีทั้งเพิ่มเรียกว่า ยถาภูตะ 

ถ้าต่อคำว่า ยถาภูตญาณก็หมายความว่า มีปัญญารู้ ยถาภูตะ ตัวนี้ มีปัญญารู้มันจริงๆ เราเห็นสภาพธรรมดาของมัน แต่จะเห็นได้นั้นจะต้องไม่ใช่คำศัพท์แค่ว่า ยถาภูตญาณ นะ เติมญาณ​ ว่ามีปัญญารู้ ยถาภูตะ รู้แค่ฟัง รู้เอาไปแค่ทบทวน เป็นจินตามยปัญญาก็ได้แต่รู้จริงยิ่งกว่า ยถาภูตญาณ จนเรียกศัพท์ว่า ยถาภูตญาณทัสสนะ เป็นหลังจากภาวนามยปัญญา มีคำจำกัดความตรงเผลงเข้าไป เพราะฉะนั้นเราจะเกิดความรู้แจ้งเห็นจริงจนเรียกว่า เกิดยถาภูตญาณทัสสนะแล้วละก็ เมื่อนั้นต้องผลหลังจากภาวนามยปัญญา ต้องเกิดผลอย่างนั้นจริงๆ ถึงจะเรียกว่า ยถาภูตญาณทัสสนะ 

ผู้ใดเกิดอย่างนี้แท้จริงเห็นตัวหนึ่งก็พ้น อัตตวาทุปาทาน ตัวหนึ่งเห็นสองตัวก็พ้น อัตตวาทุปาทาน 2 ตัว แต่ถ้าใครยังไม่เกิดเป็นแค่สุตมยปัญญาก็ยังเป็นแค่ อัตตวาทุปาทานอยู่ หรือแม้แต่แค่จินตามยปัญญาก็ยังเป็นแค่ อัตตวาทุปาทาน อยู่ เข้าใจไหมมันซ้อนกันอยู่ 

จะให้พ้น อัตตวาทุปาทาน ต้องให้เป็นภาวนามยปัญญาแล้วเท่านั้นพ้นจากภาวนามยปัญญาจึงจะเกิดเป็น ยถาภูตญาณทัสสนะ เมื่อเห็นเป็นวิมุตติก็เป็นวิมุตติญาณทัสสนะ เราเองเป็นวิมุตติใครจะมารู้กับเราเป็นความจริงที่แท้ที่สุดเป็นญาณทัสสนะ หรือเรียกว่าวิปัสสนาญาณก็ได้ เป็นวิชชา 8 ประการข้อต้นเลย ญาณทัสสนะตัววิปัสสนาญาณเป็นข้อต้นเลยอันนี้แหละเกิดตัวนี้แหละถ้าไม่ทำตัวนี้เกิดไม่มีอะไรเลยในโลกที่จะมาปฏิบัติธรรม สูญเปล่า ก็ได้แต่เพียงฟังได้แต่เพียงรู้ได้แต่เพียงคิดไปเฉยๆ สภาพทำไม่เกิดที่เรา ชัดนะอันนี้นะ ที่นี้จบหวังว่าคงเข้าใจแล้วนะว่า อัตตวาทุปาทาน เลยเกิด ยถาภูตญาณทัสสนะขึ้นมาต่อ

ที่อาตมากล่าวเมื่อกี้แล้วว่าตายเกิดก็จริง ตายสูญก็จริง และตายเกิดก็ไม่จริง ตายสูญก็ไม่จริง ฟังแล้วเมา เมาทีเดียวล่ะ ทำไมอย่างนั้นก็เพราะเหตุว่า เมื่อกี้อ่านแล้วพระสูตรเมื่อกี้อ่านแล้วคำตรัสพระพุทธเจ้าบอกว่า เราบัญญัติตายเกิดนั้นกับเฉพาะคนที่ยังมีอุปาทานเท่านั้น ถ้าคนที่ไม่มีอุปาทานแล้ว จะพูดตายก็ช่างใคร จะพูดเกิดก็ช่างใคร จริงก็ได้ไม่จริงก็ได้เพราะวางทั้ง 2 ส่วน เพราะวางทั้ง 2 ส่วนวางทั้งสิ้นไม่มีอะไรเพราะฉะนั้นคนที่ยังมีอุปาทานอยู่เท่านั้นที่เขายังมีเกิดมีตาย คนไม่มีอุปาทานแล้วไม่มีเกิดไม่มีตาย เฉยๆ มีแต่คำตรัสกับพระพุทธเจ้าที่ตรัสไว้ วัชชโคตร หมายถึงอย่างนี้ ถ้าไม่มีเกิดไม่มีตายนั่นแหละ กาลวิมุตติล่ะ ไม่มีเกิดไม่มีตาย 

อธิบายเป็นระดับไปเอาเข้ามาเรื่องจริงเลยไม่จริงไม่ต้องอะไรประเดี๋ยวจะกลายเป็นนัตถิก เป็นลัทธิที่ผลาญโลกเลยนะ ท่านบอกว่า มักขลิโคสาลเป็นความเห็นแบบนัตถิกทิฏฐิ พวกนี้ไม่มีอะไรเลยคนก็ไม่เป็นคน สัตว์ก็ไม่เป็นสัตว์ สิ่งของก็ไม่เป็นสิ่งของฆ่าคนก็ได้ทำบาปทำกรรมอะไรไม่มีบุญไม่มีบาปหมดเลยพวกนัตถิกทิฏฐิ เป็นลัทธิผลาญโลกพระพุทธเจ้าบอกว่าไม่ได้หรอกเป็นมิจฉาทิฏฐิร้ายกาจมาก ถ้าเราจะเห็นว่าอันนี้ก็ไม่จริงอันนี้ก็ไม่จริงเกิดก็ไม่จริง ตายก็ไม่จริง ระวังนะ ระวังนะถ้าเกิดบอกว่าตายก็ไม่จริง เกิดก็ไม่จริง ถ้าคุณไม่มีส่วนจริงในใจแล้วจนพ้นอุปาทานแล้วคุณจะพูดแต่ปากไม่ได้ เพราะฉะนั้นอาตมาถึงบอกว่า ตายเกิดจริง ตายสูญจริง ก็ได้ ตายเกิดไม่จริงก็ได้ ตายสูญไม่จริงก็ได้ แต่อันไม่จริงเอาไว้พูดทีหลังแต่ตอนนี้ขอพูดคำจริงไว้ก่อน 

พระพุทธเจ้าไม่เอนเอียงไปข้างไหนเลย ถ้าเราบอกว่าตายเกิดแล้วก็เชื่อตายเกิดตลอดกาล พระพุทธเจ้าท่านก็เรียกความเห็นแบบนี้ว่า สัสสตทิฏฐิ คือเห็นว่ามันเกิดเรื่อยๆ เกิดชาตินี้เกิดเป็นชาติหน้าเกิดเป็นชาติโน้นเกิดไปเกิดไปไม่รู้จักจบสิ้นเลยเกิดไป ถ้าเกิดอยู่ตลอดกัปตลอดกัลป์ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงเลยนะ มีเปลี่ยนแปลงเหมือนกันแต่เปลี่ยนแปลงไม่รู้จักจบต่ำบ้าง กลางบ้าง สูงบ้างเละๆ เทะๆ อยู่อย่างนี้ ตลอดกัปตลอดกัลป์นะ ถ้าใครเชื่อว่าชีวิตเป็น สัสสตทิฏฐิแบบนี้คนนั้นก็เป็นปุถุชนธรรมดาๆ ยังไม่มีทิฏฐิอะไรดีเลย ยังเป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างแท้อยู่ 

อาตมาจะแบ่งความเห็นของสัสสตทิฏฐิเป็น 2 อย่าง สัสสตทิฏฐิอย่างหนึ่งคือเห็นว่าอย่างนั้นมันก็เกิดเป็นของมันอย่างนั้นเอง ตายแล้วก็เกิด เกิดแล้วก็ตายทำไปตามเรื่องตามราวมันก็เป็นอยู่อย่างนี้เป็นความธรรมดาอยู่อย่างนี้ คุณทำบาปก็ได้บาปคุณทำบุญก็ได้บุญ แต่คนที่มีความเห็นอย่างนี้ไม่คิดว่าบาปไม่คิดว่าบุญด้วยนะ เขาจะทำอะไรตามที่เขาทนได้ก็ทนอะไรทนไม่ได้เขาก็ปล่อยให้มันเละไป พวกนี้ก็จะเกิดเวียนตายเวียนเกิดแล้วๆ เล่าๆ โลกแตกไป 500 ลูกเขาก็เกิดๆ ตายๆ อยู่ในสภาพอย่างนี้ เกิดๆ ตายๆ อยู่นี้ไม่มีรู้จบอย่างนี้ก็จริง อย่างนี้ก็จริงนะฟังให้ดีก่อนนะอย่าเพิ่งค้านทำใจกลางๆ ดีๆ อย่างนี้ก็จริง คนนี้ไม่มีปัญญาอะไรเลย ปล่อยตามยถากรรม เรียกว่าคนปล่อยตามยถากรรมคือเป็นไปตามบทบาทอย่างนั้นแหละแล้วแต่กรรม กรรมดีก็ขึ้นดีหน่อยกรรมชั่วก็ชั่วลงไป ทำอย่างนั้นแหละฉ่ำแฉะไม่รู้จักจบจักสิ้นนี่เรียกว่าสัสสตทิฏฐิแบบหนึ่ง 

แต่สัสสตทิฏฐิอีกแบบหนึ่งดีขึ้นมาแล้ว เช่น พวกอาจารย์ฤาษีดาบสต่างๆ ที่เขาเข้าใจ เขาเข้าใจว่าทุกอย่างมันไม่จบแต่ว่ามันมีสูงขึ้นได้ และเขารู้วิธีทำให้สูงขึ้นด้วย เช่น ถ้าเราเองตัดบาป ไม่ไปฆ่าสัตว์ ไม่ไปลักทรัพย์ ไม่ไปหลงกามไม่ไปทำอะไรที่เขามีแล้วแต่ศีลของเขานะ นี่อาตมายกตัวอย่างศีลของศาสนาอื่นเขาก็มีของเขา ถ้าไม่ทำอย่างนี้แล้วเขาจะสูงขึ้นๆๆ ขึ้น หรือประเภทศาสนานิครณ ทรมานตนเข้าไปฆ่าดับทุกสิ่งทุกอย่างให้หมดจนกระทั่งหมดความทรมานสิ้นเกลี้ยงจนตัวเองไม่ทนอีกแล้ว เป็นไปได้แล้วนั่นแหละเกิดปรมาตมัน เกิดตัวจบเกิดตัวสุดท้ายแต่ไม่มีที่ยังเกิดอยู่นะยังเป็นปรมาตมันเป็นสัสสตทิฏฐิเหมือนกันว่าง เบาพ้นกิเลสไปได้เยอะเหมือนกัน แต่เป็นการพ้นกิเลสแบบที่เรียกว่ายังจะต้องกลับมาเกิดอีก 

เพราะว่ามันยังเป็นปรมาตมัน ยังมีวิญญาณใหญ่ ยังมีวิญญาณใหญ่อยู่ เข้าไปดับเสพสุขอยู่ที่แดนปรมาตมันประมาณนั้น ตามอายุกัปัปของเขา แต่ไม่เอาภาษามาพูดว่านานเท่าไหร่มันนานสายหลายแสนโกฏกัปไปจมอยู่ตรงนั้น กับกบจำศีลสุขเงียบนิ่งอยู่อย่างนั้นเหมือนกบจำศีล ก็เหมือนคนเข้านิโรธสมาบัติ อย่างบางคนเข้านิโรธอยู่ 7 วันนะแล้วออกมาอย่างนี้เป็นต้น เหมือนกบจำศีลแต่เป็นปรมาตมันไม่ใช่แค่ 7 วันมันเป็น อสงไขยกัป จมดิ่งอยู่อย่างนั้น แต่พอเวลาถึงวาระแล้วก็จะออกมาจากปรมาตมัน มาหมุนเวียนในโลกอีก นี่เรียกว่าสัสสตทิฏฐิอีกแบบหนึ่ง ไม่สูญสิ้นนะเหมือนกัน ไม่เป็นนิพพานที่แท้ที่ของพุทธพวกเราที่พระพุทธเจ้าเราตรัสรู้ เป็นสัสสตทิฏฐิเหมือนกัน เราจะพูดถึงสัสสตทิฏฐิกันก่อน อุจเฉททิฏฐิเอาไว้พูดทีหลัง 

สัสสตทิฏฐิแบบนี้ ประเภทที่เวียนว่ายตายเกิดเป็นไปตามยถากรรมเป็นสัสสตทิฏฐิแบบที่ 1 เราจะไม่พูดถึงกันก็เพราะว่าเป็นคนธรรมดาแหละ แต่พวกคนไม่ธรรมดาแล้วดีกว่าไปยถากรรมนอกวัดข้างนอกตะลุ่งตุ้งแช่อยู่ข้างนอกอย่างนั้นเกิดตามยถากรรมแน่ แต่พวกคุณดีกว่าเขาแล้ว มาเข้าวัดเข้าวาอย่างน้อยที่สุดคุณก็ดีกว่าเขาแล้ว แต่ถ้าคุณศึกษาไม่ดีนะ คุณจะได้แค่ขั้นฤาษีหรือดาบสต่างๆ ที่เขาสอนหรือลัทธิอื่นที่อาตมาว่าเป็นสัสสตทิฏฐิแบบหนึ่ง จบสูงสุดก็ได้แค่ปรมาตมันได้แค่นั้น 

ที่นี้ลักษณะแค่นั้นมันเป็นยังไงมันก็คืออย่างนี้ ก็คือคุณพยายามที่จะมาทำตนนี่นะ เมื่อคุณเป็นฆราวาสคุณก็ปฏิบัติตนไปทีเดียว พยายามอ่าน พยายามทำตัวเอง คือว่าสร้างสมาธิหรือว่าสร้างปฏิบัติก็ตามแต่ ให้คุณทำใจของคุณให้มันขาดจากกิเลสโลก หรือไม่ปรุงแต่งกับกิเลสโลกก็ได้ ลักษณะการไม่ปรุงแต่งกับกิเลสโลกนั้น ทำอย่างแนวของพุทธก็มีโดยบังเอิญ ทำอย่างแนวของฤาษีชีไพรก็มี ทำอย่างของพุทธเป็นยังไง แหมมันซ้อนหลายซ้อนฟังให้ดีนะ 

ทำอย่างฤาษีชีไพรที่เขาคิดกันได้ง่ายๆ ที่สุดคือไปนั่งหลับตาเข้า นั่งหลับตาๆๆ แล้วก็ทำจิตให้มันนิโรธ ให้มันดับๆๆๆ จากโลกนี้ไม่รับรู้ไม่มีอายตนะ ไม่มีอาการ ดับเข้าไปดับเข้าไปฌานที่ 1 ฌานที่ 2 ฌานที่ 3 ฌานที่ 4 เรียกว่ารูปฌานดับเข้าไปในจิต 

ฌานที่ 1 ก็ยังมีนึกคิดอยู่ยังมีอารมณ์รับรู้อยู่เรียกว่ามีวิตก วิจาร จิตยังมีตัวปรุงแต่งเรื่องนั้นเรื่องนี้แต่ไม่ปรุงแต่งเรื่องอื่นหรอกปรุงแต่งแต่สภาพของจิตที่มันจะไปจะเป็น พยายามถ้าไปปรุงแต่งในกามก็รู้เรื่องกามถ้าปรุงแต่งอะไรก็รู้เรื่องนั้นแต่พวกนี้เข้าใจว่าแม้เอากามไปปรุงมันก็เป็นเรื่องของร้าย 

เพราะฉะนั้นพอมันปรุงกามคุณก็พยายามวิตก วิจาร และคุณก็พยายามฆ่า ถ้าคุณดับได้คุณก็ดีใจมีปีติ ปีติใจว่าคุณฆ่าได้แล้วนี่ 1 ถ้าคุณไม่ฆ่าด้วยวิธีคุณรู้คือใช้สติปัฏฐาน คุณก็ฆ่าด้วยวิธี ลืมๆ เป็น วิกขัมภนะ เอาน่าอย่าให้มันเกิดในจิตของเราประเภทกามพวกนี้ลืมๆ มันเสียทิ้งๆ มันเสียวางๆ มันเสียมันก็วางได้ พอวางได้ทิ้งได้คุณก็ปีติหายไปแล้ว คุณก็เป็นสุข ทำปีติได้ทุกทีเป็นฌานที่ 2 พอปีติแล้วเสร็จคุณทำได้ฌานที่ 3 นอกจากอาการดีใจแล้วคุณก็ยังดับมันลงไม่ให้จิตมันกระเพื่อมอีก บางทีก็น้ำลายไหลดีใจบางทีก็หัวเราะบางทีก็กระตุกอยู่ในเส้นในสายในตัวในตนอะไร เป็นอาการปีติ เป็นอาการดีใจบางทีเต้นเร่าๆ ก็มี คันคะเยอก็มี เหมือนตัวมันลอยเหาะได้เลยก็มีปีติทั้งนั้นดีใจทั้งนั้น 

ถ้าเราระงับอาการพวกนี้ได้ทั้งหมด จิตคุณก็เบาลงไปอีก อายตนะของคนก็สงบลงไปอีกสงัดลงไปอีกเป็นสุข สบายมากขึ้น นอกจากสุขแล้วคุณก็ยังดับจิตของคุณลงไปได้อีกไม่ให้มีสุข ไม่ให้มีรสชาติ จิตไม่ให้มีรสชาติ สุขก็ไม่เอา สุขเวทนาก็ไม่ให้มี เฉยๆ วางลงไปอีก จิตของคุณก็ดับสนิทลงไปอีกวางเป็นรสเฉยๆ แล้วก็รู้สภาพนั้นของคุณเอง แล้วก็รู้สภาพนั้นของคุณเอง สภาพเฉยๆ นี่แหละยังไม่หมดกิเลสหรอกใครเคยนั่งสมาธิจะรู้ว่าอาการเฉยๆ เป็นอย่างนี้เอง อาการเฉยๆ ว่างๆ จิตมันไม่ปรุงแต่งจริงๆ จิตไม่ปรุงแต่งจริงๆ แต่มันยังมีจิต ฟังให้ดีนะ คือจิตมันรู้รสของความเฉยๆ สุขก็ไม่มี แม้แต่สุขก็ไม่มีนะ สภาพจิตขาดสุขนี่คุณจะรู้ได้ด้วยเข้าฌานเป็นรูปฌานชั้นที่ 4 เรียกว่าจตุตถฌาน เฉยๆ ว่างๆ มันเฉยๆ จริงๆ 

และสภาพนี้แหละเป็นสภาพว่างเบานี่แหละ ท่านเรียกว่าภาษาอังกฤษท่านเรียกว่า Space สภาพว่างเปล่าแล้ว อวกาศแล้วเป็นสภาพเชื่อมต่อกับ อรูปฌานขั้นต้น ถ้าคุณพยายามทำจิตรู้สิ่งนี้แล้วนะ พอรู้ไอ้สภาพว่างๆ เฉยๆ แล้วคุณก็บอกว่าไอ้ว่างๆ นี้ไม่มีอะไรมันมีแต่ธาตุว่างเรียกว่าอากาศ ปริเฉทญาณ มีญานรู้ ปริเฉทมีญาณรู้ความว่าง ปริเฉทหมายความว่า ว่าง ว่างอันนี้ เราเรียกว่า อากาสธาตุ ถ้าใครเพ่งพิจารณาว่าเราจะเป็นผู้ยึดอากาสธาตุนี้ตลอดโลกผู้นั้นก็ขึ้นอรูปฌานขั้นที่ 1 วันนี้อธิบายฌานให้ชัด ขึ้นเอารูปฌานขั้นที่ 1 เลยเพ่งอยู่ที่อากาศว่างๆ หรือปริเฉทตัวนี้หรืออากาสธาตุตัวนี้ ในโลกนี้มีดินน้ำไฟลมเป็นธาตุตายตัว 4 ธาตุ มหาภูตรูป 

อากาสธาตุอันนี้พอเข้าถึงฌาน 4 แล้ว ว่างแล้วเสร็จคุณเอาจิตของคุณปั๊บฉันจะยึดสภาพว่างอย่างนี้แหละเรียกว่าความเปล่าๆ ปลี้ๆ ปริเฉทความไม่มีอะไร ฉันจะยึดตรงนี้เป็นที่อยู่อาศัยฉันจบอยู่ตรงนี้ชีวิตฉันจะอร่อยเอร็ดอยู่ตรงนี้ คุณก็ยึดตรงนี้ไป แล้วคุณทำจิตของคุณดับกิเลสตัณหาหรือสดับสภาพจิตที่มันไปรับรู้อะไรได้จริงๆ นะคุณก็จะเสพอย่างนี้อยู่ตลอดเวลาจึงเรียกว่าเป็นผู้ที่มีอายตนะรับอากาศนี้เป็นผู้รับรู้สึก หรือรับปริเฉทรับความว่างตรงนี้เป็นสิ่งที่รู้สึก รับอากาสธาตุอันนี้เป็นสิ่งที่รู้สึกรู้สึกในสภาพตรงนี้แล้วก็จมอยู่ตรงนี้แหละอย่างนี้ คือรูปพรหม เป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งที่เสพความว่างเปล่าเสพอร่อย อร่อยหรือไม่อร่อยช่างคุณเถอะแต่คุณเองคุณจะรู้สึกว่าอร่อยถ้าใครเข้าฌานนี้ได้จะรู้สึกว่าอร่อยมันอร่อยน่าดูจริงๆ แล้วคุณก็เสพว่างอย่างนี้ เฉย..อร่อย ทำเมื่อใดเมื่อใดก็อร่อยอยู่เมื่อนั้น 

ที่นี้มันยังมีสภาพสูงกว่านี้ ถ้าเราไปเพ่งแต่อากาศไปยึดมั่นถือมั่นอยู่ที่อากาศเราก็เสพทีนี้ท่านบอกว่าสภาพรูปกับนาม นะ ในโลกนั้นมันมีอยู่ 2 สภาพ อากาศนั่นเราไปเสพอากาศ อากาศเป็นรูปเราเสพรูปคืออากาสธาตุเป็นรูป เราเสพรูปเราก็อร่อย อากาสธาตุมันเป็นรูปนะ รู้ไหมว่าไอ้ตัวที่เรานี้มันยังมีอยู่ตัวเราคือตัวไหนตัวเราก็คือตัวเข้าไปเสพน่ะสิ เข้าไปรู้อากาสธาตุน่ะสิ ตัวนี้แหละคือวิญญาณอยู่ยังคือตัวรู้ไงไปรู้อากาสธาตุแล้วคุณก็ไปเสพอากาสธาตุ คุณก็อร่อยอยู่กับอากาสธาตุคุณก็มีอายตนะอยู่กับอากาสธาตุ คุณก็มีความรู้สึกผัสสะอยู่กับอากาสธาตุ มันยังมีรู้ตัวหนึ่งเรียกว่านาม อากาสธาตุนั้นเป็นรูป 

ถ้าเผื่อว่าจะทำจิตของเราให้สูงขึ้นยิ่งกว่านี้วางอากาสธาตุเสียสิ ทิ้งมันเสียสิแล้วคุณมาอยู่ที่จิตของคุณเอง มาอยู่ที่วิญญาณของคุณเอง วิญญาณขนาดนี้แหละขนาดที่ไปรับทราบอากาสธาตุนี่แหละกลับมาอยู่ที่วิญญาณ มันมีอีกตัวนึงกลับมาอยู่ที่นามทิ้งรูปเสีย คุณทิ้งรูปทิ้งอากาสธาตุ คุณก็มีอยู่ที่นามอยู่ที่วิญญาณของคุณ คุณก็เปิดจิตของคุณอีกตัวนึงขึ้นมา เปิดอายตนะของคุณขึ้นมา มารับรู้จิตของคุณเป็นวิญญาณเป็นตัวรู้ คุณทิ้งธาตุ ทิ้งปริเฉท ทิ้งอากาสธาตุ มาอยู่ที่วิญญาณตัวรู้ก็เกิดเป็น วิญญาณัญจายตนะ 

เปิดอายตนะอีกตัวหนึ่งกลับมาอยู่ที่นามทิ้งรูปตัวนั้นไป ก็เป็นเอารูปฌานชั้นที่ 2 เป็นรูปฌานชั้นที่ 2 พอมาถึงจุดนี้แล้วมันก็อร่อยเหมือนกัน มันไม่น้อยไปกว่าอากาสธาตุหรอก มันเบาว่างเหมือนกัน เพราะจิตคุณไม่มีอะไรมากมายมันมีแต่จิตเปล่าๆ วิญญาณเปล่าๆ แต่มันยังมีอายตนะมีอัตตา นี้เป็นอรูปฌานขั้นที่ 2 เป็นอรูปพรหมเป็นสัตว์โลกชนิดหนึ่งชั้นที่ 2 คุณอร่อยอยู่ตรงนี้ก็ทำจิตของคุณอยู่ทางนี้ได้จริงๆ ลืมตาทำได้ก็อยู่อย่างนี้จริงๆ ด้วยถ้าหลับตาก็เป็นสภาพหลับตาทำเพราะมันละเอียดมากแล้วลืมตาทำมันไม่ไหวหรอกความกระเพื่อมมันเเยะ จะไปเหลือแค่อากาสธาตุ หรือเหลือแค่ วิญญาณัญจายตนะ มันยากที่สุด

เอามาถึงวิญญาณนี้แล้วอาการที่สูงกว่านี้เช่น อาฬารดาบส อาจารย์ของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งนะ ท่านก็บอกว่าสูงกว่านี้ยังมีอีก สูงกว่า วิญญาณัญจายตนะ ยังมี ดับวิญญาณของตัวเองเสียสิ อย่าให้มันมีความรู้สึกสิดับเสียเลยให้มันหมดสิ้นเลย ดับไม่ให้มีอะไรเหลือหรอเลยนิดนึง น้อยนึง ก็ไม่ให้มีดับเข้าไป ดับจิตให้มันเงียบเลย เขาก็พยายามดับจิตตัวที่มันมีความรู้สึก หรือมันมีวิญญาณธาตุรู้ที่มันยังรู้นี้อยู่ดับลงไปดับลงไป นิดนึงน้อยหนึ่งก็ไม่มีต่อจากนี้ก็เป็นฌานที่ 4 ของอรูปฌาน หรือเป็นพรหมชั้นที่ 4 เป็น อรูปพรหมชั้นที่ 4 เรียกว่า อากิญจัญญายตนะ อากิญจัญ หรือ     อากิญโจ นิดหนึ่ง น้อยหนึ่ง ก็ไม่มีแม้แต่ภาษาที่เราว่างก็คือนิดนึงน้อยหนึ่งก็ไม่มี จิตของเราก็ไม่มีดับลงไป ดับไปแล้วไม่รับรู้อะไรจริงๆ สภาพเหล่านี้เป็นสภาพนิโรธแต่ละชั้น นิโรธสมาบัติแต่ละชั้น แต่ว่านิโรธสมาบัติที่ไม่ดับที่สุดเรียกว่านิโรธไปทีละลำดับๆโลกีย์มันก็ยังมีอัตตา โลกีย์ยังเสพที่จริงเขาไม่เรียกคำว่าเสพหรอกแต่เขาก็เรียกว่า เสพ เสพอะไร เสพฌาน เสพจิตที่มันไปปรุงอยู่ตรงนั้นมันค้างอยู่ตรงนั้นมันมีปรมาตมัน มันมีจิตของเราอยู่มันยังไม่ได้ดับขาดจิต เสพสุขเสพทุกข์อยู่เสพความสบายอยู่เขาเข้าไปอยู่ที่ อากิญจัญญายตนะ 

พระพุทธเจ้าท่านสอนพระอานนท์อยู่ในสูตรหนึ่ง ท่านสอนว่า ถ้าเผื่อว่าจะทำ อภิสัญญานิโรธล่ะ ดับให้มีเลยสัญญาณไม่ให้เหลือเลย พระพุทธเจ้าก็บอกว่าต่อจาก อากิญจัญญายตนะ ดับให้มันได้มากที่สุดเท่าไหร่ดับไม่ให้เหลือจริงๆ เลยถ้ามีความสามารถต่อจากดับแค่ อากิญจัญญายตนะ ท่านเรียกว่า อภิสัญญานิโรธดับอย่างเก่งดับสัญญาของเราอย่างเกลี้ยง สัญญาคือ ตัวสุดท้ายของจิตดับเข้าไปเกลี้ยงจริงๆ เลย สภาพนี้พระพุทธเจ้าท่านก็บอกว่านี่แหละคือ อภิสัญญานิโรธ อาตมาจำได้อยู่ที่ ทีฆนิกายแต่พระสูตรอะไรจำไม่ได้ ที่ท่านสอนพระอานนท์ต่อจากอันนี้เองต่อจาก อากิญจัญญายตนะ และดับให้สนิทเลยเรียกว่าอภิสัญญานิโรธ แต่ความจริงมันยังไม่หมด ก็เรายังไม่ตายจริงเรายังมีอาตมัน ยังมีอัตตาอยู่ในจิตเรายังไม่ได้ฆ่าจิตจริงๆ มันก็ยังมีตัวนั้นอยู่ มันไม่ไปไหนหรอกลองดูสิ อุทกดาบสก็มาสอน พระพุทธเจ้าว่าไม่จริงหรอกแค่ อากิญจัญญายตนะ มันยังไม่จบสูงกว่านี้ยังมีอีกน่า เพราะเราไม่สมมุติเราวางโลกต่างหากแล้วแต่เรายังไม่วางใจ เราวางโลก แต่เราไม่วางใจ เมื่อไม่วางใจมันก็ยังมี ลองระลึกถึงสัญญาของเราขึ้นมา สัญญาของเรามันหายไปจริงหรือยัง ลองดูสิอุทกดาบสท่านสอนพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ทำตามไปถึงขั้นฌาน ขั้นอากิญจัญญายตนะ ลองอยากดูสัญญาของเราว่ามันจะมีอยู่หรือเปล่า หยั่งลงๆๆ อ้อ มีแฮะ ยังไม่ได้ดับให้ยังอยู่แค่ตัวอัตตายังอยู่แฮะ 

อันนี้แหละจึงเรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ เปิดดูมันยังไม่ได้วางจริง ท่านก็พยายามเพ่งเพียรพอทำฌาน ได้ อากิญจัญญายตนะ จะให้ตกลงไปนะเสร็จแล้วก็หยั่งสัญญาตัวเองลงไปดูซิว่ามันหายไปหรือยัง ก็มันยังไม่วางจริงมันจะหายไปไหนล่ะ มันก็ไปรู้สัญญาสิ มันก็มีความรู้สึกมั่นหมายขึ้นมาสิ จะเป็นความรู้สึกขนาดไหนก็ตามแต่มันก็ยังมีอารมณ์รู้ เรียกว่า อารมณ์รู้อยู่ในนามขันธ์ของเราเองจึงเรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ คนที่เรียนรู้ถึงขั้นนี้แล้วมันเบาว่างมากที่สุดเลยจริงๆ ใครปฏิบัติให้มี วสี แคล่วคล่องได้มันจะสูงขึ้นจริงๆ 

ถ้าใครดับ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วย ดับอย่างเรียกว่า ดับโลก แต่วางใจ ถ้าดับแต่โลกจริงๆ ไม่ให้มี เนวสัญญานาสัญญายตนะ ท่านเรียกว่า นิโรธสมาบัติเป็นฌาน หรือว่าเป็นระดับจิตที่ละเอียดยิบ ถ้าสูงที่สุดของการทำนิโรธแห่งจิตได้อย่างจริงๆ อย่างเก่งจนกระทั่งดับอาตมันให้มันคงทนเป็นดินฟ้าอากาศเลยจริงๆ นะ มันจะมีคุณภาพมันจะมีประสิทธิภาพ มันจะมีสมรรถภาพถึงขนาด มีดฟันก็มีดเด้งดึ๋งเลยเอาไฟเผาก็ไม่ไหม้ ลอยน้ำก็เท้งเต้ง อย่างนั้นเลยเป็นสภาพอย่างนั้นเลย แต่ไม่ใช่สภาพง่ายๆ มันจะเป็นนิโรธสมาบัติที่มีสมรรถภาพมีอภิญญาเก่งถึงขนาดที่พอเข้านิโรธสมาบัติขั้นนี้เอา มีดฟันเล่นแล้วเหมือนเอามีดฟันลูกฟุตบอลเด้งดึ๋งเลยนะ เป็นพวกฤาษีชีไพรที่ฝึกกันเป็นร้อยๆ ปี นิโรธสมาบัติแบบนี้มีจริงไม่ใช่ไม่มีจริง อาตมารู้ดีเข้าใจดีแต่อาตมาทำไม่ได้ และไม่คิดจะทำด้วย เพราะชีวิตนี้ไม่ต้องการเลยการละทุกข์ละสุขในโลกนี้ไม่ต้องการสิ่งนี้ ไม่ต้องการการไม่รู้เรื่องอะไรยิ่งกว่าท่อนไม้นะท่อนไม้ฟันยังเข้านะแต่ไอ้นี่มันฟันยังไม่เข้าเลยมันยิ่งกว่าท่อนไม้เอาไปทำอะไรล่ะ มันก็เป็นท่อนไม้ดีๆ นี่เองเอาไฟไปเผายังไม่ไหม้เลยเอาไปทำฟืนยังไม่ได้เลย ถ้าเป็นท่อนไม้เอาไปทำฟืนยังเออหุงข้าวได้บ้าง แต่ไอ้นี่เอาไปทำฟืนแทนฟืนเผาก็ไม่ไหม้ ใช้ไม่ได้ไร้ประโยชน์ในโลกจริงๆ นิโรธสมาบัติขั้นนี้นี่ฤาษีชีไพรเขาศึกษาและทำได้จริงๆ ด้วยแต่เขาใช้เวลานานเหลือเกิน นานจริงๆ แล้วก็ทำพยายามเข้าได้จริงๆ แล้วมันเป็นได้จริงๆ ด้วย มันเป็นความยึดมั่นถือมั่นชนิดหนึ่ง ที่เขาสั่งสอนให้แก่จิต เขาจะไม่รับผัสสะในโลกนี้เลย 

เพราะฉะนั้นอะไรจะมาผัสสะมากระทบมีดมากระทบไฟจะมากระทบร้อนหนาวเย็นอ่อนแข็ง หรือว่าหยาบคาย อุตุไม่เป็นอะไรไปได้ไม่มีทั้งอุตุไม่มีทั้งกรรมไม่มีทั้งอะไรทุกอย่างเขาทิ้งให้เกลี้ยงหมดเลย ไม่มีจิต ไม่มีอุตุ ไม่มีกรรม ไม่มีอาหารไม่มีเกลี้ยงไม่มีหมด กรรมไม่มีอุตุไม่มีอาหารไม่มีจิตไม่มีเกลี้ยงอยู่เฉยๆ มันอย่างนั้น อย่างนี้พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า เออก็ดีเหมือนกันนะแต่ไม่เอาหรอก ถ้ามันจะใช้ประโยชน์ในโลกนี้ไม่เข้าท่าเลย เก่งเหมือนกันทำความพิลึกพิลั่นได้ดีเหมือนกัน นี่ว่าสุดที่สุดแล้วเรื่องของฌานสมาบัติแบบทางฤาษีชีไพร 

ที่นี้เอามาให้ละเอียดอีกทีนึงไม่เอาด้านฤาษีชีไพรเอาด้านอีกด้านหนึ่ง พอดับกิเลสพวกนี้ได้แล้ว เราทำความสูงความสูงขึ้นไปอีกรูปหนึ่ง โดยไปยึดมั่นถือมั่นอยู่ในสวรรค์ แบบนี้ก็มีฤาษีชีไพรหรืออาจารย์เจ้าลัทธิอีกพวกนึงถือเป็นสัสสตทิฏฐิเหมือนกัน ยึดได้แค่ภูมิสวรรค์เป็นสูงสุด เช่นศาสนาแห่งคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาเต๋า เป็นต้น  พวกนี้ยึดได้แค่สวรรค์เป็นสูงสุด ไม่ใช่พรหมนะเมื่อกี้นี้เป็นพรหมนะที่อธิบายฌาน พวกนี้เข้าหาพรหมหมด ฟังให้ดีแยกให้ดีอันนี้ไม่ใช่พรหมแล้วออกมาหาสวรรค์ ที่อธิบายนี้เป็นสัสสตทิฏฐิเหมือนกันออกมาหาสวรรค์พวกนี้ประโยชน์สูงสุดแค่สวรรค์เหมือนกันทำอย่างไร 

ก็คือจิตของเราอย่าเกลือกกลั้วกิเลสชั้นต่ำ กิเลสชั้นต่ำที่สุดในปัจจุบันโลกคุณอยากจะมีประโยชน์สูงที่สุดอาตมาจะอธิบายเรียกว่า ประโยชน์ในปุถุชนหรือฆราวาสอันแท้จริง มันก็มี พระพุทธเจ้าสอนเอาไว้เหมือนกัน 4 ประการคือ 1. 

อุฏฐานัง ตัวเองนี่เเหล่ะพยายามขยันหมั่นเพียรสร้างฐานะที่ให้ดีๆ ไม่ใช่ว่าเราหาได้ 10 ใช้ 20 หาได้ 20 ใช้ 30 นี่เรียกว่าไม่รู้ฐานะตัวเอง ทำมาหากินให้ดีเป็นอาชีพบริสุทธิ์ไม่เดือดร้อนและคุณก็ทำให้ดีแล้วรู้จักฐานะด้วย ไม่ใช่หา 5 กิน 10 หา 10 กิน 20 อย่างนี้ไม่เอานี่เรียกว่า อุฏฐานัง รู้ฐานะตัวเองทำให้ดีเอาไปใช้เสียส่วนหนึ่ง ใช้เลี้ยงตัวส่วนหนึ่งใช้เลี้ยงครอบครัวส่วนหนึ่งเก็บไว้อีกส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งทำทานบ้าง แบ่งเป็น 4 อย่างนี้เป็นต้น อย่างนี้เรียกว่าธรรมดารู้จักฐานะ 

นอกจากรู้จักฐานะแล้ว รู้จัก อารักขนัง หรืออารักขสัมปทา เมื่อกี้นี้ อุฏฐานสัมปทา อารักขสัมปทาให้มีความถึงพร้อมในการรักษารู้จักรักษาสิ่งที่เราได้มาอันตามควร รักษาไว้อันไหนไม่ดีก็บูรณะมันขึ้น อันไหนมันควรจะทำให้ดีก็ทำอันไหนมันไม่ควรจะทำแล้วทิ้งได้ก็ทิ้ง หรือว่าไม่ควรจะทิ้งก็อย่าไปทิ้งง่ายนักอย่างนี้เป็นต้นเรียกว่ารู้จักรักษาอย่าให้มันสลายไปโดยเปล่าประโยชน์มีปัญญารู้ รู้ในการรักษานี่เรียกว่า อารักขสัมปทา

กัลยาณมิตตตาสัมปทา คบเพื่อนคบฝูงให้ดี คนที่จะพาไปในโลกดีๆ อยู่อย่างดี  รักษาเนื้อรักษาตัวสร้างลาภยศสรรเสริญให้แก่ตัวเองอย่างดีเรียกว่ากัลยาณมิตตตา มีกัลยาณมิตรเสมอๆ ไม่ไปคบคนชั่วเป็นมิตร นั้นเป็นอบายมุขนะ ถ้าไปคบคนชั่วเป็นมิตรเป็นอบายมุข  เพราะฉะนั้นนี่คบคนดีเป็นกัลยาณมิตรเสมอๆ คุณก็สร้างฐานะธรรมดาเป็นประโยชน์ธรรมดาแก่โลกแก่ปุถุชนฆราวาสธรรมธรรมดาๆ วันนี้อาตมาพูดโลกียะ โลกียธรรมด้วย เพราะคุณเอาตายแล้วเกิดคุณก็ต้องเป็นอย่างนี้ แล้วคุณจะเกิดมาสบายด้วยถ้ามันปฏิบัติถูกอย่างนี้ มีกัลยาณมิตตตา แล้วคุณก็มีสมชีวิตาด้วย 

สมชีวิตาสัมปทาก็คือ การทำตนให้มีชีวิตที่ดีเป็น สมา หรือ สัมมาอาชีวะก็เรียกได้หรือไม่ใช่หมายถึงแค่อาชีพเท่านั้นแต่ว่ามีชีวิตของตัวเองอยู่ให้สบายๆ อย่างดีอย่างถูกอย่างต้องด้วย ใช้ปัญญาของคนที่เหมาะที่ควรอย่างนี้พิจารณาแล้วไม่ดีคุณเลิกอย่างนี้พิจารณาแล้วดีคุณเอา อย่างนี้เสมอๆ ด้วยปัญญาของคุณจริงๆ คุณทำเรียกว่า สมชีวิตา มีชีวิตถูกต้องอย่างนี้เสมอๆ เรียกว่า สมชีวิตา บางคนอธิบายสมชีวิตาว่าเป็นการทำตนให้เสมอ เสมอพระโสดาบันก็เสมอพระโสดาบันคนธรรมดาก็เสมอคนธรรมดาอย่างนี้ อย่างนั้นมันมีความหมายก็ได้เหมือนกันแต่ว่ามันไม่เข้าท่ามันไม่ได้ประโยชน์อะไรนี่ 

สมชีวิตา หมายความว่าคุณพยายามทำตนให้มีชีวิตที่ดีถูกต้องทำชีวิตทั้งหลายแหล่ให้มันดีเสมอๆ พิจารณาด้วยปัญญาของคุณจริงๆ อย่าไปเอาทำชีวิตให้มันเหลวแหลกอย่าไปทำชีวิตให้มันเป็นไปโดยการทุกข์ทรมานด้วยประตูใดๆ ถ้าคุณมีธรรม 4 อย่างนี้ สัมปทา 4 อย่างนี้ ประพฤติตนธรรมดาธรรมดาอยู่ในปุถุชนอยู่ในโลกียะก็สบายที่สุด จะเจริญรุ่งเรืองด้วยโลกจริงๆ คุณมาฟังนี้คุณจะเอาแค่นี้ก็เอาจริง อาตมาไม่ว่าไม่จริงหรอก คุณจะเกิดไม่ตายสูญ นะก็เอาอย่างนี้ 

ถ้าจะขึ้นชั้นที่ 2 นี่เรียกว่าดีขึ้นอีกหน่อยเรียกว่า สัสสตทิฏฐิตายแล้วเกิดดีอีกหน่อย ทีนี้จะดีขึ้นอีกหน่อยเรียกว่าศาสนาของลัทธิอื่น เรียกว่า สัมปรายิกะ เมื่อกี้นี้เป็นทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ เป็นประโยชน์ในเดี๋ยวนี้ในชาตินี้เรียกว่าทำเอา ตอนนี้ประโยชน์ที่สูงขึ้นหน่อยเรียกว่า สัมปรายิกัตถประโยชน์เป็นประโยชน์ในชาติหน้าเบื้องหน้าบ้าง สอนสวรรค์ก็แล้วตอนนี้ สวรรค์เป็นยังไงคุณก็พยายามให้เกิดความเชื่อมั่นว่าโลกนี้มันมีสวรรค์นะ คุณเอาก่อนนะ โลกนี้มีสวรรค์คุณเชื่อให้ได้นะเชื่อพระเจ้านะ พระพรหมก็เป็นพระเจ้าพระยโฮวาก็เป็นพระเจ้า เต๋าก็เป็นพระเจ้านะ คุณเอาให้ได้นะคุณศรัทธาให้มั่นหน้า เรียกว่าสัทธาสัมปทา เรียกว่าสร้างสัทธาสัมปทาจะขึ้นสวรรค์กันแล้วนะตอนนี้นอกจากชีวิตปกติในโลกมันดีแล้วทำชีวิตเพื่อชาติหน้า เพื่อภพหน้า เพื่อเบื้องหน้าเป็นสวรรค์กันแล้วนะ เรียกว่า สัมปรายิกัตถประโยชน์ มีสัทธาสัมปทาคุณเชื่อนะว่าสวรรค์นี้มีจริง พูดเฉพาะคนที่มีอุปาทานเท่านั้นตายแล้วเกิดยึดถือเพราะฉะนั้นศรัทธาให้มันนะเชื่อให้จริงให้มั่นนะว่าสวรรค์มีนะ 

เพราะฉะนั้นสวรรค์นี่คุณเชื่อพระเจ้าให้ได้พระเจ้าเป็นผู้คุ้มครองสวรรค์เป็นพระพรหมก็ได้ เป็นพระยะโฮวาเป็นเต๋าเป็นอะไรก็ตามแต่เถอะ แล้วแต่เจ้าศาสนาไหนเขาตั้งชื่อเอาขึ้นมาเป็นบัญญัติเป็นชื่อเป็นสมมุติก็ได้ เมื่อคุณศรัทธามั่นว่าสวรรค์มี สัทธาสัมปทาแล้ว คุณก็รักษาศีลเข้าสิเขามีศีลเหมือนกันนะศีลสัมปทา ทำให้พร้อมทีเดียวเขารักษาศีลอาจจะไปทำอะไรก็ได้ไม่ทำบาปต่างๆนานานี่แหล่ะ เช่นสมมุติว่ารักษาศีล 5 คนไม่ฆ่าสัตว์ คุณไม่ลักทรัพย์ คุณไม่พยายามผิดผัวใครเมียใคร คุณไม่พยายามจะมุสาโกหกใครก็ไม่ทำ ไม่พยายามกินเหล้าเมาสุราให้จิตมันต่ำจนกระทั่งไปทำบาปทำกรรม คุณก็รักษาศีลให้บริสุทธิ์ผุดผ่องได้ของคุณธรรมดาธรรมดาไปเรื่อยๆ ศีลสัมปทาคุณก็ได้ขึ้นสวรรค์เหมือนกันนะ คุณไม่ทำบาปคุณไม่ทำบาปขนาดบริสุทธิ์ได้ระดับศีล 5 คนก็ได้ขึ้นสวรรค์ ขึ้นสวรรค์แหงๆ นอกจากคุณรักษาศีลนี้ขึ้นสวรรค์ได้แล้วล่ะก็ 

ทาน เรียกว่าจาคสัมปทาบริจาคให้ไป มีเท่าไหร่คุณก็ให้ให้เขาไปสาธุขอให้ได้สวรรค์ชั้นที่ 6 นะ ชั้นสูงสุดนะได้หรือชั้นไหนคุณปรารถนาเอาก็ตามแต่ปรารถนาสวรรค์เข้าไปคุณมีศรัทธาแล้วนี่สวรรค์เป็นรูปนั้นรูปนี้เขาอาจจะวาดรูปสวรรค์ให้คนดูก็ตามรูปสวรรค์ไหนก็ว่าไป เพราะคุณมีศรัทธาเชื่อมั่นแล้วนี่มาทำบุญทำทานขึ้นสวรรค์นะจะได้สวรรค์ชั้นโน้นชั้นนี้เขาจะว่ายังไงคุณก็ทำทานเข้าไป คุณก็ยึดมั่นในสวรรค์ของคุณไป คุณไม่รักษาศีลก็ได้คุณทำแต่ทานให้เต็มเหนี่ยวคุณก็ขึ้นสวรรค์ได้เหมือนกัน 

คุณทานแต่วัตถุ แต่จิตของคุณยังเป็นโลกสวรรค์มีโลภมูลจิตมันก็ยังโลภอยู่ โลภมูลจิตคุณยังไม่เกลี้ยงมันยังไม่วิมุตติ เดี๋ยวอาตมาจะอธิบาย ตายแล้วสูญให้ฟัง 

ฉะนั้นถ้าคุณแม้แต่จาคสัมปทาคุณเองก็ยังมีสวรรค์ของคุณอยู่รักษาสวรรค์ของคุณเรื่อยไปทำทีไรก็ปรารถนาสวรรค์ของคุณไป คุณก็ได้สวรรค์แหงๆ 

อีกสัมปทาอีกอันนึง คือปัญญาสัมปทา ปัญญาอย่างนี้ได้แค่ปัญญาชั้นสวรรค์นี่แหละเป็นสัมปรายิกัตถประโยชน์ เห็นไหมศาสนาตั้งไม่รู้กี่ศาสนาสอนได้แค่นี้ ยังมีประโยชน์สูงสุดที่ศาสนาพุทธค้นพบอีกคือ ปรมัตถประโยชน์ ยังไม่พูดถึงตายเกิดไม่มีถ้าใครยังจะเลือกตายเกิดนะอย่าพูดถึง  ปรมัตถประโยชน์ เพราะมันไม่อยู่ในสายนี้ ถ้าเลือกเอาตายแล้วเกิดไม่อยู่ในสายนี้เลย 

เพราะฉะนั้นระดับธรรมดาถ้าคุณจะเอาทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ประโยชน์ปัจจุบันนี้คุณก็เอาทำอย่างที่ว่าสัมปทาศีล มี อุฏฐานสัมปาท อารักขสัมปาท กัลยาณมิตตตา สมชีวิตสัมปทา คุณก็สบายแล้วในโลกปัจจุบันนี้แต่ไม่แน่นะ คุณจะลงนรกหรือเปล่าคุณจะขึ้นสวรรค์ได้หรือเปล่าไม่รู้แต่คุณสบายในบัดนี้ แต่ถ้าคุณทำทานถือศีลด้วยคุณศรัทธาสวรรค์ทำทานถือศีลและทำปัญญาให้รู้ให้ได้ด้วยว่า การสร้างสวรรค์เป็นยังไงการทำบุญทำทานเป็นยังไงคุณก็จะมีสัมปรายิกัตถประโยชน์ คุณจะขึ้นสวรรค์ได้จริงๆ ศาสนาต่างๆ สอนแค่นี้ ตายแล้วเกิด ตายแล้วเกิด คุณไปขึ้นสวรรค์คุณก็ต้องพอหมดอายุคุณก็ลงมาลงมาเกิดอีก ไม่มีทางรอดหรอก 

เพราะฉะนั้นสวรรค์นี่ในสภาพของการสอนแบบนี้ สอนแบบรูปร่าง สอนแบบรูปแบบ สอนแบบยึดมั่นถือมั่น สอนแบบยึดมั่นถือมั่นจะเป็นอย่างนี้เสมอ ในสภาพที่ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างเดียว อาตมาจะพูดต่อ ในตอนตายสูญ เพราะฉะนั้นใครจะเลือกเอาตายเกิดเอาทีเดียวได้ จบแค่นี้เรื่องตายเกิด สูงแค่นี้สูงสุดสวรรค์แค่นี้จะสวรรค์ชั้นไหนคุณทำเข้าถ้าคุณทำทานมากๆ เข้าทำศีลมากๆ เข้ามีปัญญาจะทำเท่าไหร่มันก็สูงสุดเท่าที่คุณสามารถกระทำได้จบแค่นี้ไม่มีอื่น นี่เรียกว่าพวกที่จะเลือกเอาตายแล้วเกิดพวกสัสสตทิฏฐิแบบแบบหลายประเภทอาตมาแยกแยะไว้ละเอียดหมดแล้ว แม้แต่สัสสตทิฏฐิของอาจารย์เจ้าลัทธิหลายอย่าง อาตมาก็อธิบายให้ฟังละเอียดแล้ว จริงเป็นจริง ถ้าใครจะเลือกเอาอย่างนี้เรียกว่า เลือกเอาตายเกิดเชิญ ไม่ว่า 

แต่อาตมาว่าพุทธศาสนาของเรานั้นเก่งกว่าคนพวกนี้ เก่งกว่าอาจารย์พวกนี้ คือเห็นว่า สามารถทำตายสูญได้แฮะ สามารถนะฟังให้ดีนะอย่าเพิ่งไปเห็นก่อนนะอย่าเพิ่งไปเห็นผิดว่าตายสูญ คือเข้าใจได้ว่าอ๋อความจริงนี้เราสามารถทำให้ตายสูญได้ เรียกว่าอุจเฉท สูญนี้หมายความว่า อุจเฉท ถ้าใครมีความเห็นเป็นอุจเฉททิฏฐิ มีความเห็นว่าตายสูญ ก็แบ่งเป็น 2 อย่างเหมือนกันอีก 

อุจเฉทชนิดหนึ่งมีความเห็นว่าโลกหน้าไม่มีโลกไหนไม่มี หากตายดิ้นเดี๋ยวนี้กายยาววาหนาศอกดับเดี๋ยวนี้กายก็ดับวิญญาณก็ดับเหมือนกัน นี่เลยว่าอุจเฉททิฏฐิที่เป็นมิจฉาทิฏฐิเลยฟังให้ดีนะ อุจเฉททิฏฐิที่เป็นมิจฉาทิฏฐิคือมันเป็นการตายสูญ โดยที่ตัวเองไปเข้าใจว่า ไม่ต้องทำอะไรมากนี่ชาตินี้มันตายแล้วมันก็ตายสิ้นกายนี้เกิดมาได้ด้วยขนมได้ด้วยข้าวสุกขนมสดหรือ ด้วยอะไรก็ตามแต่ ก็ทำมาหากินโกงเขาบ้างไม่ให้ใครรู้ก็ได้ มีความเห็นว่าตายขาดตายสูญแล้วเขาก็ประพฤติของเขาจริงๆ ไม่ใช่ อัตตวาทุปาทาน เท่านั้น เอาประพฤติของเขาจริงๆ เขาบอกว่าถ้าฆ่าคนเดี๋ยวมันเป็นบาปเป็นภัยคนจะฆ่าเราต่อเขาก็ไม่ทำ เขาก็รักษาตัวรอดแค่นี้ ฆ่าอะไรๆ แต่เขาฆ่าสัตว์อยู่เขาก็ไม่มีศีลเลยฆ่าสัตว์ใหญ่ไปสู้กับช้างก็ไม่ได้เดี๋ยวมันฆ่าตาย ถ้าฆ่ามดฆ่าหมูฆ่าปลวกก็ฆ่ามันเข้าไปสิไม่มีบาปอะไรหรอกพวกอุจเฉททิฏฐิจะเป็นแบบนี้ เขาจะไม่มีศีลเลยแม้แต่ศีลข้อฆ่าสัตว์เขาก็ฆ่าตามควร ถ้าไปฆ่าช้างสามารถมีปืนอย่างดีไปฆ่าช้างเขาก็ฆ่าเหมือนกันพวกอุจเฉททิฏฐิพวกนี้เขาไม่แคร์อะไรเลย เขาจะมีชีวิตอยู่รอดโดยที่ตัวเขาเองนี่แหละจะเป็นผู้ที่หาความสุขใส่ตน ชาตินี้ชาติเดียวเพราะเขาเชื่อว่าตายแล้วสูญ เลิกกันไม่มีอะไรอีก นี่ก็คืออุจเฉททิฏฐิที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ คือเป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าบอกว่าถ้าเห็นอย่างนี้ก็ไม่เอา 

ส่วนอุจเฉททิฏฐิของพระพุทธเจ้านั้น ฟังดีๆนะถ้าจะไปพูดกับพวกนักธรรมะบางคนบอกว่าพระพุทธเจ้าเห็นเป็นอุจเฉททิฏฐิ เดี๋ยวจะยุ่ง แต่พระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เห็นอุจเฉทิฏฐิตัวเดียว มันเห็นว่า อุจเฉท+สมะด้วย ถึงเรียกว่า สมุจเฉททิฏฐิ มีตัว สม+ อุจเฉท ด้วย 

เพราะฉะนั้นถ้าจะทำให้ขาดสูญจริงๆ ต้องทำให้ขาดสูญจริงๆ ต่อเนื่องเสมอๆ โดยสภาพธรรมอย่างนั้นมีความเห็น มีความเห็นแท้มีความเข้าใจให้ถ้วนทั่วทุกมุมเรียกว่าต้องทำ อุจเฉททิฏฐิ แบบนี้ด้วยท่านก็สอนคนเข้าไปว่า เราจะทำให้มัน อุจเฉท ได้จริงๆด้วย ถ้าผู้ใดตายสูญ จริงๆ แล้วไม่เกิดอีกคนนั้นก็เป็นอรหันต์ก็มันขาดสูญตายแล้วไปจากร่างนี้ไม่มาเกิดอีกจะเป็นอะไรล่ะ มันก็ตายสูญ ใช่ไหม มันก็เป็นอุจเฉท ก็เมื่อตายสุดแล้วไม่มาเกิดอีกอย่างจริงอย่างจังเลย ด้วยการกระทำที่ถูกต้องด้วย ก็เป็น อุจเฉท เป็นการตายสูญสิ แต่ไม่ใช่ตายสูญด้วยเอาปากพูดนะ ไม่ใช่ว่าชาติหน้าตายสูญ แต่เราก็มีกรรมประกอบกรรมไม่กังวล ไม่ได้เราต้องควบคุมกรรม พระพุทธเจ้าสอนเน้นหนักว่ากรรมเป็นกำเนิดกรรมเป็นเผ่าพันธุ์กรรมเป็นตัวจำแนกสัตว์ สอนชัดเจนเพราะฉะนั้นเราต้องมาระวังกรรมของเราอย่าสร้างอกุศลกรรมต้องก่อแต่กุศลกรรมเป็นบาทฐานเรื่อยไป สร้างแต่กรรมดีที่คิดว่าดีแต่คำว่ากรรมดีก็ไม่ได้หมายความว่าสวรรค์ กุศลกรรมใหม่ได้หมายความว่าสวรรค์แต่จะใช้กุศลกรรมเป็นเครื่องรองรับก็เอา 

เราจะปฏิบัติขั้นเอาสัมปทา 4 ของพระพุทธเจ้าเมื่อกี้นี้มาอธิบายก็ได้ที่อาตมาอธิบายว่าสัมปรายิกัตถประโยชน์ สัมปทา 4 ของพระพุทธเจ้านั้นมีศรัทธาว่าแล้ว มีศีล มีทาน มีปัญญา แต่ศรัทธา ศีล ทาน หรือจาคะ กับปัญญา 4 ตัวนี้ ที่จะปฏิบัติให้เป็นปรมัตถประโยชน์เป็นขั้นนิพพานไม่เหมือนกับเมื่อกี้แฮะ ไม่เหมือนกันนะฟังให้ดีแยกให้ดีนะ ตายสูญนั้นจะต้องก่อกรรมให้ดีจนสิ้นสุดอาสวะจริงๆ มันจึงจะเรียกว่าตายสูญได้แน่ๆ 

เพราะฉะนั้นเริ่มต้นสัมปทานของเราจะทำให้ถึงพร้อมสัมปทาแปลว่าทำให้ถึงพร้อม ศรัทธาอันนี้ไม่ใช่ว่ายึดสวรรค์แล้ว อาตมาพูดให้ฟังเสมอจะหาว่าอาตมาไปรื้อสวรรค์ของเขาเขาจะสอนสวรรค์ไปหรือสวรรค์เขา ก็อาตมาพูดปรมัตถ์ก็ต้องพูดทิ้งสวรรค์สิ เพราะฉะนั้นศรัทธานี้ไม่ยึดสวรรค์แล้ว ฟังให้ดีนะ ศรัทธาต้องยึดในมรรคผลนิพพาน ถ้ามีจริง ใครเป็นคนสอนพระพุทธเจ้า ต้องยึดพระพุทธเจ้าด้วยแนวไหนพระพุทธเจ้าสอนอย่างไรพระธรรมคำสอนของท่านเป็นยังไงศึกษาให้ออก พระสงฆ์ที่เป็นอรหันต์แล้วท่านเรียนมายังไง แล้วท่านมีตัวอย่างยังไงเอาเป็นตัวอย่าง เอาพระ

อาริยะเอาพระสงฆ์เอาพระอรหันต์ต่างๆ เป็นประโยชน์ให้ได้ ถ้าไม่มีอรหันต์ก็มีอาริยอนาคามี สกิทาคามี เชื่อมั่นนิพพานมีจริงด้วย ต้องเป็นปัญญาที่สร้างที่ทำสัมมาทิฏฐิให้ถูกสร้างสัมมาทิฏฐิให้ถูกว่า อ๋อ ทางเดินอันเรียกว่ามรรคที่จะไปสู่อาริยมรรคนี้จะต้องประพฤติอย่างนี้หนอ จะต้องเห็นให้ได้อย่างนี้หนอ ต้องเดินให้ด้วยวิธีอย่างนี้หนอ ให้ชัด สร้างปัญญานี้ให้เป็นโลกุตรปัญญาอย่าไปเอาแค่โลกียะปัญญาแค่สวรรค์อย่างเมื่อกี้ก็ไม่เอา ฟังให้ดีนะแยกให้ออกนะ 

เพราะฉะนั้นขั้นที่เรียกว่าโลกุตระแล้วโลกียะถีบทิ้งเลย โลกียะไม่เอาด้วยเลยตั้งแต่เริ่มต้นสัทธาสัมปทาตัวแรกก็ให้เป็นโลกุตระ เชื่อมั่นในพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ของเราจริงๆ ว่าท่านเดินยังไง ท่านมีปฏิปทาอย่างไร พระพุทธเจ้ามีพระปฏิปทาอย่างไรพระอรหันต์เจ้ามีปฏิปทาอย่างไรท่านสอนอย่างไรมีพระธรรมอย่างไรเลียนแบบให้ได้ พระสงฆ์ก็คือ อัฏฐปุริสปุคคลา บุคคล 8 จำพวกนี่แหละ ท่านตรัสว่าอย่างไร อาตมาจะอ่านให้ฟัง 

บุคคลในโลกนี้มีอยู่ 9 จำพวก 9 จำพวกเป็นไฉน 

1. พระอรหันต์ 

2. ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระอรหันต์ 

3. พระอนาคามี 

4. ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเพื่อการกระทำให้ถึงซึ่งอนาคามีผล 

5. พระสกทาคามี 

6.  ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อแจ้งให้ซึ่งสกทาคามีผล 

7. พระโสดาบัน 

8. ท่านผู้ปฏิบัติตนเพื่อแจ้งซึ่งโสดาปัตติผล 

นี่คือ อัฏฐปุริสปุคคลา คือสาวกสังโฆ ถ้านอกจากนี้ไม่อยู่ใน 8 นี้เป็นสมมุติสงฆ์ ไม่ใช่อัฏฐปุริสปุคคลาไม่ใช่สาวกสังโฆนะ อาตมาแจกให้ฟังให้ละเอียด อัฏฐปุริสปุคคลา คือสาวกสังโฆ มี 8 จำพวกเท่านั้น จำพวกอื่นคือปุถุชนอย่างสัสสตทิฏฐิทั้งหมดคือปุถุชนเท่านั้นเองไม่รอด จะขึ้นให้รอดต้องเอามาอย่างพระพุทธเจ้าสอนวันนี้อยู่ใน 

ปุคคลสูตร อยู่ไหนสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกายนวกนิบาต

อาหุเนยยบุคคล 9 จำพวก อยู่ใน อาหุเนยยสูตร อยู่ในอังคุตตรนิกาย นวกนิบาตเหมือนกัน เมื่อกี้อยู่ในข้อ 214 

ดูกรภิกษุทั้งหลายบุคคล 9 จำพวกนี้เป็นผู้ควรแก่ของคำนับ อาหุเนยบูชา เป็นผู้ควรของคำนับ เป็นผู้ควรของต้อนรับ เป็นผู้ควรของทำบุญ ไม่พูดบาลีแล้วนะ เป็นผู้คเป็นผู้ควรของทำบุญ เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า 9 จำพวก 9 จำพวกเป็นไฉนคือ 

พระอรหันต์ 1 ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระอรหันต์ 1 พระอนาคามี 1 ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความปฏิบัติให้แจ้งซึ่งอนาคามีผล 1 สกทาคามี 1 ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามีผล 1 พระโสดาบัน 1 ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล 1 โคตรภูบุคคล 1 

9 โคตรภูบุคคลนี่เป็นยังไง เมื่อกี้นี้บอกว่าบุคคล 9 จำพวก คนที่ 9 ของสูตรแรกที่อ่านไปเป็นปุถุชน แต่คนที่ 9 ของ อาหุเนยยบุคคล ท่านเรียกว่า โคตรภูบุคคล

โคตรภูบุคคล เป็นอย่างไร โคตรภูบุคคลก็คือคนที่ตัดโคตรของความเป็นปุถุชนตัดได้ 2 ทาง 1 ตัดด้วยจิตเกิดตัดโคตรภูจิตขึ้นไปปั๊บก็เป็นโคตรภูบุคคลอย่างแท้จริงแม้คุณหัวดำหัวขาวนี่ก็ได้เป็นได้ คุณหัวดำหัวขาวนี่คุณก็เป็นโคตรภูบุคคลได้เป็นของเป็นคนผู้ควรบูชาแล้วนะ ของควรได้รับของต้อนรับด้วยได้รับของต้อนรับบูชาแล้วนี่แหละคนธรรมดานี่ได้นี่ เรียกว่าทางใจตัดทางจิตเรียกว่าตัดโคตรจิตให้จิตมันเกิดจริงๆ มีสภาวธรรมจิตของคุณเกิดเห็นโลกียะแท้ๆ แล้วเบื่อหน่ายโลกียะ

แท้ๆ มีใจเอนเอียงเข้ากระแสที่จะไปสู่นิพพานแล้วไม่เอาแล้วโลกียะเห็นชัดๆ มันไม่ยากเลยนะเดี๋ยวอธิบายอาตมาจะอธิบายต่อ

ตอนนี้เอาอธิบายโคตรภูบุคคล โคตรภูโคตรภูบุคคลชนิดตัดจิตเมื่อกี้อธิบายไปแล้วว่าเป็นผู้ที่ปฏิบัติตนให้จิตมันหลุดพ้นจริงๆ เห็นวิมุตติรู้วิมุตติเข้าใจวิมุตติจนกระทั่งเห็นโลกียะชัดๆ เห็นโลกียะเห็นโลกเห็นโลกุตรธรรมต่างๆ ถ้าเราเป็นหลงโลกียธรรมหรือโลกธรรม 8 แล้วเราก็ ยังจะไปยึดถืออยู่ มันก็จะเป็นโลกมันยังเวียนอยู่ เห็นชัดๆ แล้วก็พยายามทำจิต ปฏิบัติตนมีพฤติกรรมมีกรรม มีกรรมต่างๆ สร้างกรรมต่างๆ ให้แก่ตนให้มันเอนเอียงเข้าหานิพพานจริงๆ ให้เข้ากระแสจริงๆ อย่างนี้เรียกว่าตัดจิตจริงๆ คุณประพฤติปฏิบัติได้แม้หัวดำหัวหงอกธรรมดาไม่ต้องสวดยติยติจตุตกรรมนะ ถ้าคุณมาอีกประเภทนึงก็เรียกว่า ประเภทที่ยังไม่ได้เป็นอัฏฐปุริสปุคคลาคือยังไม่ได้เข้าอริยสงฆ์ 8 แต่คุณหัวดำหัวขาวนี่คุณ ถ้าเป็นตัดโคตรภูจิตคุณเข้าแล้วนะเป็นโสดาแล้วนะคุณเข้าเป็นโสดาแล้ว

เพราะฉะนั้นถ้าคุณเองยังไม่เข้า โสดายังไม่ได้ประพฤติเลยหรือประพฤติแล้ว

ก็ตามแต่มันยังไม่ถึงขั้นจิตขาดเป็นตัดโคตรภูจิตนะ คุณก็อาจจะทำด้วยทางกายได้เรียกว่าโคตรภูบุคคลอีกประเภทนึง คือนักบวช บวชเข้ามาในศาสนาพุทธปฏิญาณตนถูกสวดญัติแล้วเรียกร้อย รับในหมู่คณะสงฆ์เรียบร้อยว่าอ้ารับเข้าหมู่มาเป็นพระในสมณศากยบุตรพอเป็นศิษย์ตถาคตด้วยกันแล้วก็มาพึงเพียร พึงเพียรนะฟังให้ดีนะ มาพึงปฏิบัติตนจริง ไม่ใช่ทำตนจนปาราชิกปาราชิก

ปาราชิกนี่เดี๋ยวนี้พระในประเทศไทยนี่ปาราชิกอยู่เยอะแยะนะแต่ไม่มีใครจับสึกเท่านั้นเอง เพราะว่าไม่มีใครไปเอาใจใส่ปาราชิกนั้นมันไม่ยากเลยนะ ปาราชิก 1 ผิดเมถุนธรรมเพียง 1ครั้งแม้แต่กับสัตว์ อย่าว่าแต่คนเลย อย่าว่าแต่กับคนที่เป็นผู้หญิงผู้ชายก็ยังผิดผู้ชายด้วยกัน แม้แต่ไปทำที่ในซอกขาในซอกแขนในที่อะไรต่างๆ ไม่ได้ทั้งนั้นแหละ ปาราชิกทั้งสิ้น

ท่านว่าไว้ละเอียดมากในวินัยปิฎก ปาราชิกข้อที่ 1 นี่โอ้โหตั้งกว่าครึ่งเล่มยาว

มาก ลักษณะต่างๆ นี่ปาราชิกหมดนะ เพราะฉะนั้นใครยังไปแม้แต่เมถุนธรรมไม่ละขาดให้ได้ ยังไปกระทำตนอยู่ไม่ได้ ยังไปกระทำตนอยู่ในสภาพที่เรียกว่าไปกระทำซ่องเสพอยู่ไม่ได้ ปาราชิกข้อที่ 1 

ปาราชิกข้อที่ 2 ฆ่าคน ปาราชิกอันนี้ล่ะชัดละยาก ปาราชิกข้อที่ 3 สิเยอะเอาเงินเขาแค่ตีราคาเป็น 1 บาทขึ้นไปโดยไม่ได้รับอนุญาต ปาราชิกนะ ข้อนี้สิมีกันอยู่ดื่น ที่ไม่เราไม่รู้กันเฉยๆ มีเยอะแยะเลยปาราชิกข้อนี้และข้อที่ 4 ก็แยะ อวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีในตนแยะเหมือนกัน อวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีในตน เป็นยังไง ก็คือตัวเองไม่ได้เกิดสภาวธรรมในนี้ไม่มีอุตริ อธิบายอุตริมนุสธรรมซะ ก่อน ไม่ใช่อุตริมนุสธรรมหรอก สยะน่ะมันเป็นภาษาไทยไอ้ภาษาบาลี มนุส ส 2 ตัว

อุตริมนุสธรรม อุตริมนุสธรรมก็คือมีธรรมะที่เหนือธรรมดาของคน ขณะนี้เรากำพูดกำลังพูดถึงโลกุตรธรรมเพราะฉะนั้นก็คือมีสภาวะของโลกุตรธรรมนั่นเองในตัว ไม่ใช่อื่นไม่ใช่เดรัจฉานวิชา ฟังให้ดีนะ ไม่ใช่เดรัจฉานวิชาทั้งมวล แต่เป็นโลกุตรวิชชา เป็นวิชชาที่จะเหนือโลกจริงๆ ใครที่ยังไม่มีโลกุตรวิชชาอย่างนี้ในตนจริงๆ อุตตระหรืออุตรินี่มันแปลว่า เหนือ แปลว่าสูงกว่าเขา มันมีจริงๆ นะ

ถ้าไม่มีเกิดในเนื้อในหนังในจิตในใจของตนเป็นสภาวธรรมแท้ๆ ยังสอนใครไม่ได้ ยังไปอวดไปแสดงที่ไหนไม่ได้ ตัวเองยังไม่รู้นิพพานจริง ยังไม่มีสภาวะรู้เมื่อกี้นี้รู้

วิมุตติในใจจริงๆ อย่างที่อาตมาอธิบายแล้วเมื่อกี้นะ ถ้าเราไม่รู้แล้วเราไม่เกิดผลจริงๆ ในตัว ตัวนี้สัมผัสจริงๆ รู้ตัวแท้นะ แต่เอาวิมุตติไปอธิบายโต้งๆๆ เหมือนอย่าง

กับตัวเองรู้อย่างงี้เลยอย่างงี้ แหม ตอบด้วยปฏิภาณฉะฉานเลยนะ คนนั้นแหละได้อวดอุตริมนุสธรรมแล้ว เป็นคนที่หล่นจากธรรมวินัยของเราแล้ว ตถาคตท่านว่าอย่างนั้น เป็นคนที่ได้หล่นจากธรรมวินัยของเราแล้ว เหมือนผลไม้ที่เน่าในยังไม่สุกถ้วน

แต่ได้หล่นลงก่อนที่มันจะสุก หล่นลงเองมันเน่าแล้วเองจนกระทั่งมันทนมันอยู่ไม่ได้

หล่นลงเอง ไม่มีใครไปเปลื้องผ้าเหลืองท่านหรอก ไม่มีใครไปเปลื้องผ้าเหลืองท่าน เพราะคนไม่รู้ คนไม่เข้าใจแต่อาตมาเห็นอาตมารู้หลายคน พระหลายๆ องค์ พูด พูดจริงจะอวดอุตริมนุสธรรมเนี่ยอาตมาเห็น อาตมารู้ แต่อาตมาก็ไม่มีสิทธิ์จะไปเปลื้องผ้าเหลืองของท่าน นี่อาตมารู้นะว่าพระองค์ไหนปาราชิกมั่งไม่ปาราชิกมั่งขนาดนี้อาตมารู้ รู้หลายองค์เยอะแยะเลยเดี๋ยวนี้ สอนธรรมะอยู่เดี๋ยวเนี้ย ตัวเองยังไม่มีนิพพานยังไม่เคยเกิดนิพพานเลย พูดนิพพานผิดๆ ถูกๆ อาตมาฟังก็รู้ว่าผิด แล้วก็อธิบายไปสิอย่างกับของตัวเองเจอเลย นี่แหละอวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีในตน

มันร้ายกาจที่สุด เพราะมันทำลายศาสนาก็ไปอธิบายผิดๆ ถูกๆ คนมันก็เข้าใจผิดๆ ถูกๆ มันก็ทำลายศาสนาสิก็เข้าใจว่า อ๋อ ศาสนาพุทธเป็นอย่างงี้เหรอ นิพพานของพุทธเป็นอย่างงี้เหรอ เปล่าเลยนิพพานของพุทธนั้นบริสุทธิ์สะอาดเหลือเกิน ไม่ใช่แค่สวรรค์และไม่ใช่บิดๆ เบี้ยวๆ ไม่ใช่นิพพานเฉโก ไม่ใช่นิพพานเฉโกด้วย นิพพานของพระพุทธศาสนาบริสุทธิ์ผุดผ่องออกจะตายเพราะงั้นเมื่อไปอธิบายนิพพานเฉๆ เบี้ยวๆ บิดๆ คนก็ไปจับเอาว่าเอออย่างงี้ แล้วก็ไปจำเอาของคนนั้นพอคนนี้มาพูดของจริงเอ้ย อั๊วอาจารย์อั๊วคนนี้อาจารย์อั๊วสอนงี้แล้วมันทำลายศาสนามั้ย 

พระพุทธเจ้าถึงกำชับกำชานักหนาเลย อย่านะปาราชิก ท่านถึงเอาขาดเลยเอาแรงที่สุดเอาขั้นปาราชิก และเรื่องนี้แหละใหญ่ที่สุดที่พระพุทธเจ้าท่านกัน ไม่ใช่เดรัจฉานวิชานะ อวดอุตริมนุสธรรม  ยิ่งไปอวดอุตริมนุสธรรมในเรื่องของเดรัจฉานวิชา เดรัจฉานวิชาก็เป็นธรรมเหนือมนุษย์คือเป็นความเก่งเหนือมนุษย์เหมือนกัน เป็นอภิญญาเหมือนกัน แต่ว่าเรื่องเหล่านั้นพระพุทธเจ้าท่านบอกว่า สงฆ์ของเราไม่ประพฤติแม้ในศีลท่านก็ห้ามไว้ แต่เดี๋ยวนี้พระไม่เรียนศีลละ อยู่ในมหาศีลท่านบอกไว้ชัดเดรัจฉานทุกอย่างสงฆ์ของเราไม่แตะต้อง อาบัติไม่ดี ผิดศีลนะมันไม่ดีด่างพร้อยไม่เอา แต่เดี๋ยวนี้สงฆ์เมื่อสงฆ์ไม่เรียนศีลก็เล่นเดรัจฉานวิชาเขงๆ เลยแล้วแสดงด้วยอย่างนั้นก็ไม่ได้เข้าท่าแล้ว เรียกว่าสอนให้ศาสนาเบี่ยงแล้วก็ไปสอนศาสนาบอกว่านี่ศาสนาพุทธเป็นเดรัจฉานวิชาอย่างนี้ มันเข้าแนวศาสนาพุทธที่ไหน มันไม่ใช่สอนวิมุตตินี่ มันสอนอวดไอ้เรื่องโลกียธรรมเลอะๆ ไปเนี่ยความเก่งทางอภิญญาทางโลกท่านก็บอกว่าไอ้อย่างงี้ไม่เอา นอกจากไม่เอาแล้ว  แต่อวดทางไอ้อิทธิฤทธิ์อิทธิวิธีอะไรพวกนี้นะ หรือโลกียะต่างๆ พวกอภิญญา 6 อภิญญา 5 ไม่ต้องอวดอภิญญา 6 หรอก อวดอภิญญา 5 มีพวกอิทธิวิธี มีบุพเพนิวาสานุสติญาณ จุตูปปาตญาณ เจโตปริยญาณมีโสตทิพย์นะ 5 อย่างพวกเนี้ย อวดมันก็ยังดีกว่ามาอวดอุตริมนุสธรรมที่ตัวเองไม่รู้โลกุตรธรรมแต่มาขยายขี้เท่อโลกุตตรธรรมให้คนอื่นเข้าเขวดีกว่านะ อวดวิชาอภิญญายังดีกว่าเพราะอภิญญาเหล่านั้น พระพุทธเจ้ายังบอกว่ายังมีประโยชน์บ้างเลย ยังมีประโยชน์ช่วยโลกบ้างเลย 

แต่อันนี้สิไอ้ขี้เท่อที่ไม่มีจริงๆ เนี่ยตัวเองว่า แหม ฉันรู้นิพพานฉันรู้อริยสัจ 4

ฉันรู้อะไรเพราะโอ้โห เอาเอาไปเอายอดๆ มาพูดทั้งนั้น อริยสัจ 4 ฉันแจ้งงแล้วอธิบาย

อริยสัจ 4 ยังก็ของตัวเองแจ๋วๆ เลย ทั้งๆ  ที่ตัวไม่มีสภาพธรรมในนั้น อันนี้แหละ

สำคัญมาก เพราะมันทำลายศาสนา แม้แต่ไปอวดอภิญญาต่างๆ ก็ยังไม่เท่าไหร่หรอก ยังไม่เท่าไหร่  ยังไม่เท่าไหร่ นี่พระพุทธเจ้าท่านเอาหนักอันนี้ปาราชิกนี่ปาราชิกอันนี้ไม่ใช่อื่น  ท่านเอาปาราชิกเอาอันนี้ เอาไปอวดโลกุตรธรรมที่ไม่มีในตน  โลกุตรวิชชาที่ไม่มีในตน โลกุตรวิชชาที่ไม่มีในตน ท่านเอาอันนี้ เพราะงั้นถ้าผู้ใดไปอวดโลกุตรวิชชาที่ไม่มีในตนแล้วปาราชิกทุกคน  พระเดี๋ยวนี้มี อาตมาฟัง เคยฟัง 

เพราะฉะนั้นเนี่ยถึงบอกอาตมาถึงกล้าพูดว่าเดี๋ยวนี้พระที่ยังนุ่งเหลืองโกนหัวอยู่นะแต่ปาราชิกก็มีอยู่แยะ ใน 2 กรณีเนี่ย คือกรณีที่ไปเอาเงินเขาโดยถือว่าในความเป็นขโมยตั้งแต่บาทหนึ่งขึ้นไปเนี่ย ปาราชิกแล้ว 2 ไอ้เนี่ย ไอ้ตัวสอนอุตริมนุสธรรมเนี่ย เดี๋ยวนี้มีเต็มบ้านเต็มเมืองเลย พวกปาราชิกกรณีที่ไอ้อุตริมนุสธรรมนี่ยิ่งร้้ายใหญ่ มีเยอะเลย  มีเยอะกว่าด้วย อาตมาว่าเยอะกว่านะ เพราะว่าการขโมยคงจะไม่ค่อยเท่าไหร่หรอก เอ๊ะ! แต่ก็ไม่แน่นะ ไอ้เอาเงินของเขานี่เยอะเหมือนกันแหละ  อาจจะเท่าๆ กันพอๆ น่ะ แต่คนไม่รู้เฉยๆ แต่ตัวท่านเองน่ะหล่นจากธรรมวินัยของเราแล้วเหมือนอย่างผลไม้เน่าในที่หล่นจากขั้วเอง พระพุทธเจ้าท่านว่านี่ไม่ใช่คนของเรา คนอย่างนี้ไม่ใช่คนของเรา เราไม่ได้นับเป็นคนของเรา พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่าอย่างงี้ ท่านไม่ถึงขนาดไปร้ายกาจต้องดึงผ้าห่มผ้าเหลืองได้เอาไปจับสึกอะไรหรอกท่านไม่ แต่โดยสภาวธรรมจริงๆ โดยสัจจธรรมหล่นจากธรรมวินัยของเราแล้ว นี่เป็นอย่างนี้ อาตมาอธิบายพวกนี้ให้ฟังด้วย 

เพราะฉะนั้นพระจริงๆ ที่จะเป็นโคตรบุคคลซึ่งจิตยังไม่เป็นอริยโสดาบันแต่พยายามปฏิบัติธรรมบวชเข้ามา พอบวชเข้ามาแล้วมาปฏิบัติธรรมปฏิบัติธรรม ด้วยหน้านองน้ำตาก็ยังทำ  ยังสู้ทนที่จะทำ ไม่ละเมิดในศีล ไม่ละเมิดในวินัย พยายามจะให้วินัยให้ศีลที่เราประพฤตินี้ทั้งหมดธรรมวินัยทั้งหมดของพระพุทธเจ้าที่ท่านตราตั้งไว้ให้พยายามไม่ให้ด่างพร้อยบริสุทธิ์ แต่แม้จิตมันจะไม่เกิดตัดโคตรภูก็ตามตั้งหน้าตั้งตาบำเพ็ญจริงๆ เชื่อฟังคำสั่งสอนและตามใจตามบังคับตัวเอง พากเพียรประพฤติจริงๆ ด้วยหน้าแม้หน้านองน้ำตาอยู่ท่านว่าอย่างงั้น แม้หน้านองน้ำตาอยู่ก็ประพฤติจริงโดยจริง คนอย่างนี้แหละ แล้วมีข้อยกเว้นอีกอันนึงว่าคนนี้ไม่สึกตลอดชีวิต คนนี้ไม่สึกตลอดชีวิต คนอย่างนี้แหละคือ โคตรภูบุคคลทางกาย ฟังให้ดีนะ อย่างนี้เราต้องสงเคราะห์ท่านนะให้ของรับทานนะให้มีทักขิเนยทานให้ได้รับอาหุเนยบูชานะ ให้นะ คนอย่างนี้แหละโคตรภูบุคคล อีกประเภทที่ 9 

จริงจิตยังไม่เกิดโสดาบันหรอกยังไม่มีโสดาปัตติผลยังมีไม่มีโสดาปัตติมรรค  ตัวจิตตัวโสดาปัตติมรรค จิตยังไม่เกิดหรอก ยังไม่เกิดแค่ขั้นต้นนะ โสดาขั้นปัตติมรรคจิต หมายความว่าจิต ของพระที่กำลังจะประพฤติให้เป็นโสดาปัตติผลกำลังเป็นผู้ที่เห็นทางแล้ว โสดาปัตติมรรคเห็นทางแล้วรู้ทางแล้ว แจ้งชัดด้วยศรัทธาอันมั่นคง ไม่มีวิจิกิจฉา ไม่มีความสงสัยเอนเอียงอีกแล้วประพฤติอย่างจริงๆ แต่มันยังไม่เกิดผลเท่านั้นเอง นั่นเป็นโสดา นั่นเป็นพระโสดาบัน แต่ส่วนผู้ที่ยังไม่เป็นโสดาบันแม้ปฏิบัติอย่างที่ว่านี้ก็เป็นโคตรภูบุคคล ควรจะให้ของ ทาน  ควรจะเกื้อหนุนให้ท่านปฏิบัติธรรมส่งเสริมธรรม เพราะบารมีของคนมันไม่เท่ากัน เพราะบางคน นี่บารมีมันยังน้อยมันก็ปฏิบัติไปเรื่อยๆ เรื่อยๆๆๆ ใจมันยังไม่เก่งนี่ อินทรีย์มันยังไม่กล้า พละมันยังไม่กล้ามันก็ค่อยๆ สั่งสมไปแต่ท่านทำจริงๆ แม้จะเจ็บปวดสู้ทน ทำยังไงท่านก็พากเพียรพยายามจริงๆ คนผู้นี้แหละเรียกว่า โคตรภูบุคคล เป็นผู้ที่จะพยายามที่จะเป็นผู้ทำตนให้ตายสูญ จะทำตนให้ตายสูญ แต่มันยังไม่ตายสูญก็พากเพียรต่อไป มันยังไม่ตายสูญก็พากเพียรต่อไป 

ทีนี้เมื่อพากเพียรแล้วอาตมาอธิบายมาแล้วถึงบอกว่าเราจะศรัทธาอย่างไร เราจะต้องศรัทธาถึงอย่างนี้ให้หมดเมื่อศรัทธาให้พร้อม ให้เข้าใจในอย่างนี้หมดทุกคนแล้วว่าคนก็มีอย่างนี้ ของบุคคล จะพากเพียรอย่างนี้ละจะทำตนอย่างนี้ล่ะไปสู่นิพพานนะ ไม่ใช่ไปยึดแค่สวรรค์ 

 2. ศีลสัมปทา ศีลสัมปทาก็ปฏิบัติอย่างศีลให้มันเป็นอาริยะเรียกว่า อริยกันตศีล อย่าปฏิบัติศีลแค่สีลัพพตปรามาส ฟังให้ดีแยกให้ดีนะ สีลัพพตปรามาสแค่ไหน 

สีลัพพตปรามาสก็แค่ทำสักแต่ทำ ไม่เกิดผล ไม่เกิดผลสูงพอ ทำสักแต่ทำให้เกิดผลสูงพอ เช่น  ฉันถือศีล 227 นะ แต่ไม่รู้อยู่ไหน ไม่เคยมีสติ ควบคุมตนให้มีกาย ให้รู้เวทนา ให้รู้แม้จิตของตน ให้รู้แม้ในธรรมต่างๆ ที่จะมาเกิดผัสสะเกิดการสัมพันธ์กระทบกันรู้กันทุกๆ อิริยาบท เป็นสติปัฏฐาน หมายความว่า ไม่มีการดำเนินให้รู้เลย ไม่ควบคุมสติตัวเองเลย ไม่เคย ถือศีล 227 จะอยู่ไหนก็ไม่รู้เอาไปกองไว้ที่ไหนก็ไม่รู้ แต่ไม่เคยมีสติรู้เลย 227 แม้แต่ข้อนึง ปาณาติบาตก็ไม่เคยระลึกถึง ไม่ได้  อย่างงี้เรียกว่าไม่ปฏิบัติศีล 

เพราะฉะนั้น ศีลสัมปทาที่จะเป็นนิพพานนั้น จะต้องปฏิบัติศีลอย่างให้มีสติปัฏฐาน ให้มีสติควบคุมเป็นเอกายนมรรค เป็นทางเดินทางเดียวที่จะขึ้นสู่นิพพานอย่างจริง  ทางอื่นไม่มีอีก ฟังให้ดีนะ ไม่มีทางอื่นอีกที่จะขึ้นสู่นิพพานมีทางเดียวเอกายนมรรค ต้องมีสติปัฏฐาน ถือศีลข้อที่ 1 ปาณาติปาตาเวรมณี เราก็ฉันจะไม่ฆ่าสัตว์มีสติรู้ตน จะถือศีลแค่ 5 ข้อก่อนก็ได้ เป็นพระโกนแล้วนี่ โกนหัวแล้วเนี่ย เมื่อคืนนี้อาตมาไปบรรยายให้นาคฟังบอกจะถือศีลแค่ไหนอาตมาบอกเอาเถอะถือศีล 5 เขาจะบวชพระแล้วบวชไปแล้วมั้ง วันนี้เป็นองค์พระแล้วก็ไม่รู้บอกเป็นพระถือศีล 5 แล้วบอกถือศีล 5 อย่าไปโม้ว่า ตัวเองถือศีล 227 หน่อยเลย อย่าโม้เลย  เอาศีล 5 นี่ให้มันบริสุทธิ์เป็นอริยกันตศีลซะก่อน 

เพราะโสดาปัตติยังคะ องค์ของความเป็นพระโสดานั้นมี 1. พระพุทธพระธรรม

พระสงฆ์พร้อม มีศรัทธาเข้าใจพร้อม 2. ศีล 5 บริสุทธิ์เท่านั้นแหละ  เป็นโสดาบันแล้ว ไปมัวคิดอะไรศีล แหม ฉันแบกศีลไปตั้ง 227 โก้จะตาย แต่ไม่มีแม้แต่ศีล 5 ก็ไม่บริสุทธิ์ ไม่ยังไม่เป็นอริยกัตศีลเลยอริยกัตศีลความว่า ศีลอริยกะหมายความว่า เป็นผู้ที่เป็นอริยะ อริยะแล้วมีกะตัวนึงเนี่ยหมายความว่าเป็นผู้  เป็นนาม เป็นเจ้าของ เป็นผู้ที่เป็นอริยะ+อันตะ อันตะนี่หมายความว่า ปลายสุด   มีความสูงสุด  มีศีลที่สูงสุดเป็นความฉลาดเป็นผู้ฉลาดที่สูงสุด อริยะเป็นผู้ชี้ ไม่ใช่คนเป็นผู้ชี้ มีนักธรรมอธิบายเหมือนกันนักธรรมสมัยนี้  อริยกัตศีล ฉันรู้เองเนี่ย ปฏิบัติศีลของฉัน ฉันไม่มีศีลก็ได้ปฏิบัติศีลอย่างมีปัญญา ไอ้นั่นมันศีลขี้เก๊ตัวเองตัดสินเองไม่ได้ ต้องให้พระอริยเจ้าเป็นผู้ตัดสินว่า ออ..พระอริยเจ้าชอบใจ พอใจแล้ว เออ..ปฏิบัติได้ขนาดนี้เหมาะแล้วสมควรแล้วที่จะเป็นอริยะได้ ให้พระอริยเจ้าเป็นผู้พอใจเป็นผู้เห็นด้วย เป็นผู้ตัดสิน ไม่ใช่เราไปโมเมตัดสินเองว่า ฉันบริสุทธิ์ศีลแล้วนะ มันก็หวานที่ทุกคนก็ตัดสินเอาเองได้สิ โมเมแบบนี้ 

อริยกันตศีลไม่ได้หมายความว่า ตัวเองตัดสินเองให้พระอริยเจ้านั้นเป็นผู้ตัดสินให้ ว่าตัวเองมีศีลบริสุทธิ์เพียงพอแล้วนะ นี่อย่างนี้เรียกว่า อริยกัตศีล เพราะฉะนั้น ถ้า

ผู้ใดปฏิบัติตนแม้ศีล 5 ก็เป็นอริยกันตศีลบริสุทธิ์ผุดผ่องสูงพอ เช่น อาตมายกตัวอย่างเมื่อกี้ว่าถือศีล ปานาก็จะต้องมีสติรู้ตัวเองหมดเลยเพราะตัวเองนี่จะต้องเกี่ยวข้องกับสัตว์ ไม่ว่าสัตว์เล็กสัตว์ใหญ่สัมพันธ์กันอยู่หมดเลยในโลกเนี้ย มันเป็น

ปฏิจจสมุปบาทกันอยู่มันเป็น  relative เอ่อ relativity มันเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอยู่สัตว์ตัวนั้นสัตว์ตัวนี้อะไร  เราก็พยายามอย่าให้เป็นบาป อย่าให้เบียดเบียนกันนะ สัตว์ก็อยู่ส่วนสัตว์ เรามันจะไม่มีโทษมีภัยต่อกันนะ แม้ไม่กินเนื้อสัตว์ได้ก็ทำเข้าไปถ้าไม่กินได้ก็ไม่เกี่ยวข้องกัน ศีลมันก็จะบริสุทธิ์ออกมา แม้แต่สัตว์ใหญ่สัตว์เล็กเราก็ไม่ทรมานทรกรรมกัน ไม่ฆ่ากัน ไม่ฆ่ากันทุกประตูไม่เบียดเบียนกันด้วยชีวิตทุกประตู ให้มีจิตรู้จริงๆ พอพบมด เออ เลี่ยงมด นี่ไม่ใช่พบมดกระทืบเลย หรือว่าพบอะไร แหม มีงูฆ่า มันจะมาตีเราไม่มีปัญญาหรือ หรือโง่กว่างูให้งูมันมากินเราได้เหรอ เราต้องเป็นคนสูงกว่ามันแล้วก็หาทางหลีกหลบหลีกไปอะไรอย่างนี้เป็นต้น 

ต้องเป็นผู้ที่ไม่ฆ่าสัตว์บริสุทธิ์จริงๆ ด้วยประการทั้งปวง แม้แต่ ศีลอทินนาฯ เราก็ไม่เอาของเขา ไม่ให้เราก็ไม่เอา นอกจากไม่ให้แล้ว เราต้องให้เขาด้วยถ้ามี อทินนะ แปลว่า ผู้ซึ่งเขาไม่ให้ ทินนะนี่หมายความว่า  อันเขาให้เรา อะ หมายความว่าไม่ อันเขาไม่ให้เรา อทินนะ หมายความว่า อันเขาไม่ให้เรา อย่าไปเอาของเขา อทินนะแล้วยังมีทานะอีกนะหรือ ทานา อทินนาทานานอกจากเราไม่เอาของที่เขาไม่ให้เราแล้ว ทานานี่หมายความว่าเราก็ต้องให้เขาด้วย ฟังให้ดีนะ ศีลนี่มันไม่ใช่ตื้นๆ นะ เราต้องให้เขาด้วย ทานให้เขาด้วยมีอะไรจะให้ทานเขาล่ะ ถ้าบวชแล้วมันก็ไม่มีอะไรมากล่ะไม่มีอะไรมากล่ะ ไม่มีอะไรมากก็ไม่ต้องให้ แต่เราอย่าไปเอาของเขาก็แล้วกัน อย่างงี้เป็นต้น 

เราต้องมีใจรู้เสมอรู้ตัวเราจะไม่ปฏิบัติให้ศีลผิดเป็นอันขาด ให้บริสุทธิ์ ไม่ให้ด่างไม่ให้พร้อย ไม่ให้ทะลุ อย่างนี้จริงๆ แม้กาเมสุมิจฉาจาร แต่ถ้าบวชเป็นพระแล้วก็ไม่ควรจะยึดถือศีล 5 เป็นกาเม ควรจะยึดถือศีล 5 ให้มันเป็น อพรหมจรรย์ไม่เกี่ยวข้องด้วยเมถุนธรรมทั้งปวง เพราะร้ายกาจมาก พระพุทธท่านเอาพระพุทธเจ้าท่าน เอาตายเลยข้อแรกเลย (1.37) ไอ้เมถุนธรรมนี่ เพราะเมถุนธรรมนั้นเป็นเรื่องร้ายกาจที่สุดต้องตัดสะพานให้ได้ นี่อาตมาเมื่อกี้ นี้เปิดดูในนี้แล้วที่พระอานนท์ท่านได้รับคำสอนมาจากพระพุทธเจ้านะ ท่านพยายามเอ่อ สอนเข้มงวดกวดขันเข้าแล้ว ท่านก็ชี้แจงแล้วพระอานนท์นี่ท่านมาสอนภิกษุณีท่านมาสอนภิกษุณีท่านก็เลยเอาบทนี้มาตอบภิกษุณี

คำตอบอันนี้ถ้าใครเคยได้ยินก็จะคงไม่ไอ้นั่นนักหนาไม่สงสัยนักหนา คือเอาตัณหาล้างตัณหาเนี่ยแต่ว่ามันไม่ได้มีเท่านั้นอันนี้มันมีถึง4 ประโยคด้วยกัน มีถึง 4 ประโยคด้วยกันเดี๋ยวหานิดหน่อย พระอานนท์ท่านบอกว่า ดูกร น้องหญิงกายนี้เกิดจากอาหารอาศัยอาหารแต่ควรละอาหาร ฟังนะน่ากลัวมั้ย 2. ดูกร น้องหญิงกายนี้เกิดจาก

ใจอาศัยใจควรละใจ ไอ้ใจนี่พอทน แต่ละอาหารนี่สิ ต้องเข้าใจนะ เพราะเดี๋ยวนี้เราละอาหารอยู่แล้วสำหรับผู้ปฏิบัติธรรมกิน 3 มื้อละลงมาเหลือ 2 กิน 2 ละลงมาเหลือ 1 ให้มีมัชฌิมา ถ้าเราจะให้กายสังขารนี่มันตั้งอยู่ เรากินวันละมื้อพอเพียงพอดีอยู่แล้ว

เป็นมัชฌิมาให้ได้ เรียกว่าละอาหารแต่ไม่ใช่….

ศาสนาพระพุทธเจ้านี่มัชฌิมาปฏิปทานะ รู้เหมาะรู้ควรนะ รู้เกิดการตั้งอยู่การเกิดการตั้งอยู่การดับไปนะ ท่านรู้ชัดนะ เพราะฉะนั้น ถ้าบอกว่ากายนี้เกิดจากอาหารอาศัยอาหารแต่ควรละอาหารแล้วคุณอย่าเข้าใจว่าอ้อ ละให้เกลี้ยงเลยไม่ใช่นะ แต่ควรละให้อยู่ในมัชฌิมาปฏิปทาน้อยที่สุดที่ท่านได้ตัดสินแล้วว่า มื้อเดียวนี่แหละเก๋ที่สุด

แล้ว พระพุทธเจ้าท่านวางวางระเบียบเอาไว้เก๋ที่สุดแล้ว แล้วเป็นมัชฌิมาที่ดีที่สุด

แล้ว นี่ควรละอาหารให้มันเข้าเข้าแนวอย่างนี้ 2. กายนี้เกิดจากใจอาศัยใจควรละใจ ทุก

อย่างมันเกิดมาแต่ใจทั้งนั้น มโนปุพพังคมาธัมมา มโนเสฏฐา มโนมยา ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ใจเป็นเบ้งใจเป็นตัวที่ให้ก่อให้เกิดอะไรขึ้นมาจนกระทั่งใจเกิดมานิดนึง

ก่อน มโนเสฏฐาแล้วก็โตมาหน่อย มโนมยา เป็นตัวมายาใหญ่เลย มโนมยานี่ อาตมาแปลโลกๆ ง่ายๆ ไม่ต้องไปแปลตรงภาษาบาลีท่านแปลศัพท์สำนวนบาลีหรอกคนเมาเพระภาษาบาลีแปลบาลีเป็นสำนวนบาลีนี่คนเมามาก แปลภาษาบาลีให้เป็นภาษาไทยดีกว่านะ มันโตมาจนกระทั่งเป็นมายาหลอกคนอยู่เนี่ย นี่แหละใจนี่แหละเป็นตัวเอก เพราะฉะนั้นถ้าขั้นถึงเป็นหลอกแล้วล่ะก็ไม่ควร ควรลดใจที่ไปยึดถืออะไรแล้วมาหลอกเป็นมายาให้มันมาก ลดลงๆ จนกระทั่งอยู่ในขั้นที่เรียกว่ามัชฌิมาแล้วหยุดนะ อย่างนี้เรียกว่าลดลงมา 3. กายนี้เกิดจากตัณหา อาศัยตัณหาควรละตัณหา แต่อันนี้สิ ควรจะละให้มากที่สุด จนกระทั่งใช้ศัพท์คำว่าให้เกลี้ยงก็ได้ แต่ถ้าพูดอย่างคนอื่นก็พูดว่าละให้เกลี้ยง แต่ถ้าพูดอย่างอาตมากับพวกคุณบ้างอาตมาว่า ถ้าเกลี้ยงซะหมดจริงๆ แล้วโลกมันดับเลย 

เพราะฉะนั้น ถ้าใครอ่านหนังสือของอาตมาเล่ม 2นะ อาตมาบอกว่ายัง ควรเหลือวิภวตัณหาไว้ แต่วิภวตัณหาของอาตมานั้น วิ คำนี้ไม่ได้แปลว่า ไม่ วิคำนี้แปลว่า

ยิ่ง เข้าใจนะ ใครอ่านมาแล้วเข้าใจ ถ้าใครไม่ยังไม่อ่านอาตมายังไม่อธิบายวันนี้ ถ้าอธิบายแล้วยาวเลย วิภวตัณหานี่ เพราะคนมันไม่รู้เรื่องเดี๋ยวนี้ไม่เข้าใจจริงๆ

เพราะฉะนั้นถ้าใครอยากจะอ่าน หาหนังสือเล่ม 2 อาตมาอ่าน แต่ก็หายากแล้วล่ะเดี๋ยวนี้หายากเต็มที เพราะยังไม่ได้มีพิมพ์เพิ่มอีก มันมีหนังสืออื่นที่จะพิมพ์นะ

เพราะฉะนั้นถ้าเราละตัณหาก็เหมือนกันเราควรจะละตัณหาจนกระทั่งถึงขั้นมัชฌิมาปฏิปทานะ ถึงขั้นมัชฌิมาเหมือนกัน แต่ถ้าจะพูดโดยโก้ๆ ว่าต้องละตัณหาให้สิ้นเกลี้ยงก็ได้ คือตัณหาที่เป็นโลกียะ แต่ตัณหาที่เป็นโลกุตระที่จะช่วยโลกอย่าไปละ เพราะฉะนั้นพระอรหันต์ทุกองค์ท่านจะสร้างสังขารที่เป็นคุณธรรมเป็นธรรมทาน สร้างเป็นวจีธรรมมาพูดสู่กันฟังนี่ก็เป็นวจีสังขาร สังขารใดเป็นทุกข์ทั้งนั้นแหละ มันเป็นตัณหาทั้งนั้นแหละ ถ้าอาตมามาพูดนี่ไม่มีตัณหามาเลยมาพูดไม่อยากมาพูดเลยมาถึงก็อ่อยๆหรือไม่พูดเอาเลยอย่าเงี้ย มันก็ไม่ได้เรื่องอ่ะสิ แต่มานี่ต้องมีตัณหา เพราะฉะนั้นเราอาศัยภาษาว่าตัณหานี่นะ อาศัยบัญญัติว่าตัณหานี่คือความที่ว่าปรารถนาหน่อยเถอะน่า ปรารถนาแต่ปรารถนาให้เป็นถูกทางนะ เป็นสัมมานะ ไม่ใช่ปรารถนาไป

มิจฉา ถ้าเราจะหนีจากโลกียะเราทิ้งขาด

เพราะฉะนั้นคำว่าตัณหาคำนี้หมายถึงโลกียตัณหา ต้องละโลกียตัณหาให้สิ้นเกลี้ยงดับสูญเลย ดับให้ได้เกลี้ยง อาศัยตัณหานี่แหละละตัณหา ควรละตัณหาแล้วก็เป็นตัณหาที่เหลืออยู่ก็คือเอาโลกุตรตัณหาที่เป็นโลกุตระฆ่าโลกียตัณหา เพราะฉะนั้นมีคนมาไอ้โต้วาทะเล่น เขาบอกว่า เอ๊ะ ถ้าอย่างงั้นคนที่อยากได้นิพพานไม่เป็นตัณหาเหรอ มาถามอาตมาสิอาตมาจะตอบให้อย่างสวยเลย ก็ตัณหาสิ แต่มันเป็นโลกุตรตัณหานะ มันไม่ใช่ตัณหาธรรมดานะ เพราะฉะนั้น ถ้าใครบอกว่าเป็นพระอรหันต์แล้วก็ต้องไม่มีตัณหาเลยเกลี้ยงตัณหาเลย อย่าพูดเลย พระอรหันต์ก็มีตัณหาแต่ตัณหาของพระอรหันต์นั้นเป็นตัณหาเกื้อกูลโลก เป็นตัณหาที่เกลี้ยงจากโลกียะหมดแล้ว เหนือโลกแล้วไม่มีเรื่องโลกuยะเกลี้ยงไม่มี ตัณหาอย่างโลกียะเกลี้ยง แต่ท่านมีโลกุตรตัณหาคือตัณหาเพื่อเกื้อกูลโลก ฟังให้ดีนะ เพราะฉะนั้นคนมาเถียง มาว่าอาตมาว่า เอ้อ นี่ศาสนาไหน ศาสนาพุทธ ได้ สร้างกุศลธรรมอย่าหยุดพระพุทธเจ้าท่านก็สอน ได้แต่ว่ากุศลขั้นนี้ไม่ใช่กุศลขั้นแค่สวรรค์นะ เป็นกุศลขั้นเลยเถิดไปกว่าสวรรค์เป็นนิพพานแล้ว เพราะฉะนั้นอันนี้ถึงบอกว่า นี่แหละอาศัยตัณหาละตัณหา พระอานนท์ท่านพูดเอาไว้ มันจริง แต่ทีนี้คนไปเถียงกัน เอ๊ะ! อาศัยตัณหาละตัณหามันก็ยังมีตัณหาสิ มี แต่ตัณหาอันนี้เป็นตัณหาชั้นสูงตัณหาชั้นต่ำนั้นฆ่าให้เกลี้ยงโดยใช้ตัณหาชั้นสูงฆ่าตัณหาชั้นต่ำ แต่จะเกิดอย่างนี้ได้ต้อง ปัญญาสัมปทา ปัญญาต้องรู้นะโลกุตระยังไงโลกียะยังไงต้องรู้

นะ ถ้าปัญญาสัมปทาไม่รู้พร้อมถึงโลกียะเป็นยังไง โลกุตตระเป็นยังไง คุณก็ฆ่าตัณหาโลกuยะไม่ได้ ต้องมีปัญญาสัมปทาอย่างสูง

เพราะฉะนั้นรักษาศีลแล้วก็อาศัยตัณหาฆ่าตัณหา เมื่อกี้นี้อาตมาอยากจะยกข้อสุดท้ายนี้ ดูกรน้องหญิง กายนี้เกิดจากเมถุนก็แลเมถุน พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เป็นเสตุฆาตหรือเสตุฆาตะ เสตุฆาตวิรัติหมายความว่าตัดสะพานเสีย พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่า เรื่องเมถุนธรรมตัดสะพานเสีย อย่าแตะต้องนะ ไม่เป็นไปเพื่อโลกุตระนะ ไม่เป็นไปเพื่อโลกุตระนะ ต้องตัดสะพาน ขนาดเรื่องอาหารยังมีที่วรรคเลยเข้าใจมั้ย เรื่องอาหารก็ยังมีมัชฌิมา เรื่องใจก็มีมัชฌิมา แม้แต่เรื่องตัณหายังมีมัชฌิมา แต่เรื่องเมถุนไม่มีมัชฌิมาเลย มีแต่สุญญตาต้องขาดสูญกันเป็นอุจเฉททิฏฐิ ไม่มีนะ เมถุนธรรมต้องขาดสูญนะ เสตุฆาตะหรือเสตุฆาตให้ได้นะ นี่คำตรัสพระพุทธเจ้าท่านยืนยัน เอ้ย..พระอานนท์ท่านยืนยันให้พระภิกษุณีฟัง นี้ท่านท่านสอนภิกษุณีนะ ท่านบอกว่าพุทธเจ้าท่านตรัสอย่างงี้น้องหญิงเมถุนธรรมนั้นจะต้องเสตุฆาตนะ อย่าไปทำเป็นเล่นๆ นะ มันเจ็บปวดมั้ย ใครที่ยังมีไอ้นี่อยู่ระวังนะ เพราะงั้นถึงบอกว่านี่เป็นทาง ไม่ใช่เรื่องเล็กนะโลกุตระนี่ เรื่องใหญ่นะ เพราะงั้นถึงบอกว่าอันนี้มันไม่

ใช่เรื่องเล็กพูดกันอาตมาก็ย้ำ แล้วใครหาว่าอาตมานี่เป็นพระอะไรพูดแต่เรื่องเมถุน

เมถุน อ้าว ก็คุณเองน่ะหนักอยู่ในเมถุนน่ะทุกวันนี้ไม่เสตุฆาตสักทีนึง มันถึงไม่

ขึ้นมาสักทีเมื่อมันไม่ขึ้นมามันก็ไม่ได้สินะ แล้วก็ต้นทางด้วยปาราชิกข้อที่ 1 ท่าน

ก็บอกแล้ว เป็นพระเลิกด้วยนะไม่เกี่ยวข้องกับผู้หญิง ท่านก็บอกอยู่แล้ว พอเริ่มบวช

ขึ้นมาแม้แต่เป็นโคตรภูโคตรภูบุคคลทางกาย เริ่มบวชมาแล้วก็เริ่มต้นให้ตัดแล้ว

นี่ท่านก็บอกชัดอยู่แล้วทุกอย่าง เพราะงั้นแม้แต่อย่างนี้แล้วยังจะต้องมาทำงาน

อื่นอีกตั้งเยอะตั้งแยะเนี่ยเป็นกิจของสมณะที่จะต้องพากเพียรฆ่าลงไป ดับลงไปหรือทำ

ให้น้อยลงไปนะ เพราะงั้นแม้แต่ถือศีลนี่เพราะงั้นศีลเมื่อกี้พูดถึงศีลกาเมจึงจะ

ต้องเมถุนธรรมขาดด้วยศีลข้อกาเมเมื่อกี้ถึงศีล ศีลข้อกาเมต้องมีสติถ้าจิตของเราไป

แวบๆๆเห็นผู้หญิงเข้ามันก็ยังมีอะไรอะไรอยู่ ไม่ได้นะ เอาให้หนักนะไอ้นี่ไม่รู้แล้วนอกจากเห็นผู้หญิงแล้วยเป่าปากด้วยนี่ พระพวกนั้นน่ะก็อย่าไปพูดเลยนะ ไม่

ใช่โคตรภูบุคคลเลย ไม่ได้ปฏิบัติธรรมอยู่ในสติปัฏฐานเอกายนมรรคอันตรงไหนเลยไม่ได้เข้าทางเลย เพราะฉะนั้นต้องมีสติเตือนตนระมัดระวังเรื่องเมถุนเพศคู่ ถ้าเป็นผู้

หญิงที่ปฏิบัติธรรมก็พยายามปฏิบัติธรรมให้เห็นผู้ชายเนี่ยเป็นภัย ไม่เอานะ จะมา

สังขารธรรมได้วัตถุอย่างวัตถุอย่างที่อาตมาพูดแล้วเมื่อกี้นี้ คือร่างต่อร่างมาสัมผัสกันมาสังขารกันนั่นแหละมันยังมีโลกอยู่อย่าอย่าทีเดียวผู้หญิงก็พยายามพิจารณาให้ดีตัดขาดให้ดีสำหรับเรื่องผู้ชาย ผู้ชายก็พิจารณาตัดขาดให้ดีสำหรับเรื่องผู้หญิงนี่ เรียกว่าข้อที่ 3 ศีลข้อที่ 3 มีสติเตือนตนสร้างปัฏฐานังสร้างปัฏฐานะทำการเพาะไอ้นี่ขึ้น เริ่มทำไอ้นี่ขึ้นพอกเพิ่มไอ้นี่ขึ้น คือทำจิตของเราให้บริสุทธิ์ขึ้นนั่นเองเรียกว่ามีสติสร้างฐานของจิตปัฏฐานะสร้างฐานของจิตขึ้น โคตรภูญาณนั้นหมายความว่ารู้ปัญญาโคตรภูบุคคลนั้นบางคน ถ้ายังเป็นโคตรภูแบบทางกายคือบวชมาเฉยๆ ยังไม่เกิดโคตรภูญาญได้มรรคบุคคลถ้าเป็นโคตรภูญาณ แต่ว่าถ้าโคตรภูจิตแล้วจะเป็นโคตรภูญาณที่จะฆ่ามีปัญญารู้ชัด ถ้าเป็นโคตรภูญาณก็เป็นโสดาปัตติมรรคบุคคล แต่ถ้าเป็นโคตรภูจิตเกิดเป็นผลเลยนะไม่ใช่แค่ญาณเป็นผลเลยนะ ตัดจิตตัวที่เรียกว่าไอ้เห็นเห็นแล้วรู้แล้วด้วยปัญญาเป็นวิมุตติจริง ต้องตัดทีจึงจะเป็นโสดาปัตติผลเกิดญาณแล้วต้องเกิดผล

นะ กำลังอธิบายออกจากโลกีย์อยู่ อ้าวทีนี้ศีลข้อที่ 4 ก็เหมือนกัน เราจะต้องพูดเพื่อไม่โลภด้วยประการทั้งปวงข้อสำคัญที่สุด มุสาวาทเนี่ย พูดเพื่อไม่โลภในการพูดของเราทุกเวลา ทุกเวลาสำหรับพระนี่นะปฏิบัติตนหรือสำหรับผู้ที่จะปฏิบัติตนสู่โลกุตระเนี่ย ต้องพูดอย่างไม่โลภเอามาง่ายๆ อย่าไปแปลเป็นอื่น จะไปโป้ปดมดเท็จก็เพื่อโลภจะไปโกหกส่อเสียดไปอะไรก็โลภมันโลภละเอียดเป็นระดับๆ อย่างไอ้นั่นที่สุดก็คือโลภลาภยศสรรเสริญสุข โลภไอ้อยากได้ลาภ อยากได้ยศ อยากได้สรรเสริญ โกหกเขาก็เอา พูดส่อเสียดเขาก็เอา พูดลดเลี้ยวหลอกลวงเขาก็เอา พูดใช้เลศใช้เล่ห์เหลี่ยมเล่ห์ใน

อะไรเพื่อที่จะให้ได้มาก็เอา อย่างงี้ไม่เอา ละเว้นให้ได้ มันถึงจะตัดโลภกิเลส มันถึงจะตัด

โลภกิเลส นอกจากไม่พูดอย่างนั้นแล้ว อย่าพูดผรุสวาทต่างๆ นานาอาตมาขอบรรยายแค่ 2 พูด แค่นั้นแหละไม่ต้องเอามาก พูดผรุสวาทก็คือพูดด้วยความโกรธมันจะได้ตัดโทสะกิเลส อย่าพูดด้วยความโกรธ ไอ้ที่จริงมันโกรธมันไม่โกรธเพราะอะไรหรอก มันโกรธเพราะเราโลภ มันเนื่องมาจากโลภ ซึ่งอาตมาเคยอธิบายมานานแล้ว พูดมาบ่อยแล้วเหตุเกิดจริงๆ มันโลภมูลจิตน่ะแล้วมันก็เกิดโทสะได้ไม่สมใจในสิ่งนั้นมันก็โทสะ ไม่สมใจในลาภก็โทสะ ไม่สมใจในยศก็โทสะ ไม่สมใจในสรรเสริญก็โทสะ ไม่สมใจในสุขก็โทสะ แม้ที่สุดสุขที่ไม่ได้เสพกามไม่ได้รูปสวยก็โกรธ ไม่ได้กลิ่นหอมก็โกรธ ไม่ได้ลิ้มรสอร่อยๆ อาตมาไปพูดอย่างพระงี้บางทีอาตมาบอกอย่าไปกินสิอาหารอร่อยๆ อย่างงั้นเวลากลางคืนกลางค่ำแล้วไม่ต้องดื่มน้ำเปรี้ยวน้ำหวานก็ได้อย่าไปกิน โกรธเพราะไม่จะไม่ได้ลิ้มรสอร่อยจากน้ำหวาน นี่เรียกว่าโทสะ เรียกว่าบางทีก็อาจจะพูดโต้ตอบว่าอาตมาได้เหมือนกันเป็นผรุสวาทเรียกว่าเป็นคำไม่ดีคำหยาบออกมาด้วยอย่างนี้แหละตัดโทสะไม่ต้องไปพูดถึงอีก 2 ตัวนั้น เท่านี้ก็เข้าใจนะเป็นต้น เป็นตัณหาสิ ก็อาตมาบอกอยู่แล้วว่าเป็นตัณหา แต่เรากำลังจะเอาตัณหานี้ล้างโลกียะเป็นตัณหาล้างตัณหาเข้าใจมั๊ยที่อาตมาพูดนำแล้วเมื่อกี้ว่าพระอานนท์เคยสอนว่าเอาตัณหาล้างตัณหานี่แหละ แต่เป็นตัณหาขั้นสูงเป็นตัณหาความอยากที่ดี เป็นตัณหาโลกุตระ ที่อาตมาใช้ภาษาว่า ตัณหาโลกุตระฝ่ายกุศล ก็ช่างใครเถอะเขาจะพูดยังไงก็ช่างใครเขา เป็นตัณหาฝ่ายกุศลเข้าใจมั้ยซึ่งเรากำลังจะมาหาปรมัตถประโยชน์กำลังมาเรียนปรมัตถประโยชน์ อาตมาพูดทีไรก็ไม่พยายามทิ้งปรมัตถ์สักที พูดโลกียะไปต่ำๆ แค่ไหนก็พยายามพูดถึงปรมัตถ์ด้วยเสมอๆ 

ถ้ามีเวลา ถ้าเวลามันจำกัดเท่านั้นน่ะก็ไม่พูด ถ้ามันมีเวลาอย่างที่มาอธิบายนี่

พยายามเสมอให้เป็นปรมัตถ์เข้าได้จะให้เห็นความแตกต่างกันกับโลกีย์กับปรมัตถ์กับ

โลกุตระนะ เพราะฉะนั้น แม้รักษาศีลยิ่งเหล้าสุราแล้วก็หรือเครื่องเมาต่างๆ ไม่ใช่

แค่เมาด้วยน้ำสุรานะ การเมาเนี่ยเรียกว่าการทำประสาทให้เสีย ทำประสาทให้ไม่มี

สมรรถภาพ อย่างกินเหล้าเข้าไปเนี่ยมันก็มีตัวธาตุเข้าไปกดประสาทของเราทำให้

ประสาทของเราเนี่ยเนี่ยมันเสื่อมประสาทของเราถูกกั้นทาง พอกั้นทางแล้วมันก็ไม่มีสติที่จะทำงานได้เต็ม จิตมันเดินไม่ค่อยสะดวกแม้แต่เดินก็เซอะไรงี้ นี่ก็เป็นการเมาแบบสุรา แต่ยาอย่างอื่นหรือว่าของติดของเสพติดอย่างอื่น ก็ทำให้เมาได้ ถ้าอย่างสุรานี่เรกว่าเมาอย่างเดินเอียงเลยเรียกว่าเกิดโมหะ เกิดโมหะอย่างร้ายกาจเลยทีเดียว ทีนี้

ถ้าเผื่อว่าเมาอย่างอื่นล่ะ เมาของที่เรียกว่าแค่ขั้นอ่อนๆ เมายาเสพติดอื่นๆ นะ เช่นว่าเมาของอะไรพวกนี้ก็ทำให้เราหลงขณะใดที่เราเสพขณะนั้นเรามีโมหจริต เรามีโมหจิต มีโมหมูลจิต เรามีจริงๆ เพราะฉะนั้นได้เสพของอร่อยก็ตามเสพอะไรก็ตามเถอะที่มันทำให้เราหลง ประเภทที่เรียกว่าเป็นยาต่างๆ ที่จะเอาไปเสพเลิกให้หมดมีสติบุหรี่บุหรออะไรทั้งนั้นน่ะ อย่าไปยกขึ้นมาให้เห็นเลยบุหล่งบุหรี่ทั้งนั้นน่ะ ขณะใดที่เราเสพอยู่นั่นล่ะ มันเป็นการที่เรียกว่าเสวย เสพ สพยะ เนี่ยมันก็ สวยะ ตัวเดียวกันนั่นแหละภาษาบาลี เสวย สวยะ สพยะ เสพ พยะเนี่ยเหมือนกัน มันเสวยมันเอร็ดอร่อยอยู่มันกำลังเสพอยู่ก็

ตัวที่เสพนั่นเป็นกามเป็นตัณหา ก็เราเวลาเสพอยู่แล้วเราไปเลาะตัณหาได้ไง เพราะ

ฉะนั้น อย่าเสพต้องพยายามมีสติเตือนตนและพยายามประพฤติตนจริงๆ ให้มันเป็นไปเพื่อที่จะละตัณหา ละกิเลสจริงๆ ศีลแค่ 5 ข้อนี้แหละ ทำสัมปทา ทำความถึงพร้อมให้มันละเอียดบริสุทธิ์ เป็นอริยกันตศีล ให้เป็นศีลที่บริสุทธิ์สูงสุด บริสุทธิ์จนขั้นเรียกว่า

ฉลาดรู้ให้พอ อริยกะ ให้เป็นอริยกะในศีลนี้ให้สูงอย่างนั้นจริงๆ จึงจะเรียกว่าเดิน

ทางเข้าในมรรค เดินทางเข้าสู่นิพพานนะ เดินทางเข้าสู่นิพพาน เพราะฉะนั้น แม้ถือศีลในเวลาปกติถือศีลข้อไหนก็ทำศีลทำจิตให้เราให้ว่าง จากพวกนั้นไม่ให้มีกิเลสไม่ให้มี

ตัณหาให้จิตมันว่างจากกิเลส ว่างจากตัณหาทั้งมวล อย่างที่อาตมาอธิบายแล้ว ไม่ใช่ไปนั่งเสพอยู่ แม้แต่สูบุหรี่นี่ก็เสพมันก็ไม่ว่างจากตัณหานี่เป็นต้น เอาจิตไปพูด

เพื่อจะลดเลี้ยวเอาของเขาอยู่ มันก็ไม่ว่างจากโลภกิเลสอย่างงี้ เพราะทำจิตให้ว่างจาก

กิเลส ว่างจากตัณหาเสมอๆ มีสติสอดส่องอย่างนี้จริงๆ ควบคุมตนครองตนด้วยสติแล้วก็ปฏิบัติเพื่อเลาะเพื่อละจริงๆ ให้เสมอแล้วจิตคุณจะไปไหนเสียนะจิตคุณจะไปไหน

เสีย จิตของคุณก็รู้อ่านแวะอยู่วนอยู่ที่ไอ้ความว่าง จิตไม่มีกิเลส จิตไม่มีตัณหานี่ตลอดไป ไม่เห็นยากตรงไหนเลยภาษา แต่การกระทำถ้าคุณไม่ทำจริง คุณไม่ประพฤติจริงนะ

มันยาก เพราะฉะนั้นถึงบอกอาตมาซ้ำหรือว่าย้ำทุกทีว่าพยายาม พยายามเอาไปทำ เอาไปทำเข้าใจด้วยภาษาแล้วเอาไปทำ อันนี้เรื่องศีลไม่พูดมากกว่านี้ เรื่องทาน เรื่องทานนี่ก็ทานให้เป็นปรมัตถ์ อย่าไปทานกันแค่หลงสวรรค์อย่างที่อธิบายไปแล้วเมื่อกี้นี้ อ้าวทำเข้าไปปรารถนาไป สาธุ จะสร้างชั้นไหนก็สร้างไปอย่างงั้นไม่เอาแล้ว เราไม่ได้สร้าง

สัมปรายิกัตถประโยชน์เท่านั้นแล้วขณะนี้ แต่เราสร้างปรมัตถประโยชน์ 

เพราะฉะนั้น บริจาคหรือจาคสัมปทาเนี่ย หรือทานเนี่ย เราก็จะต้องให้อย่างจิตว่าง ให้อย่างไม่สร้างโลภกิเลส เมื่อกี้คุณเสมถามแล้ว จิตของเราเนี่ย ถ้าสมมุติว่าเราทำทาน สาธุ อ้าว ยกพนม เอาใส่ในก้องในกระป๋องเนี่ยในตู้เนี่ย ขอให้ถูกลอตเตอรรี่นะใ ส่ 5 บาทไอ้นี่มันมีที่ไหนจิตมันว่างจากกิเลสมั้ยมันก็โลภกิเลสสิทำทาน 5 อยากจะได้

ลอตเตอรี่ด้วยนะจะเล่นที่ 1 ด้วยน่ะ เป็นล้านแน่ะนี่ ค้ากำไรเกินควรขนาดไหนนี่มันสร้างโลภมูลจิตอยู่ในตัวมันไม่ได้จิตว่างจากกิเลสตัณหาเลยทำทานแบบนี้ไม่ใช่ทานอย่างพุทธ เป็นทำทานอย่างเป็นแค่สวรรค์ถ้าได้เงินถูกลอตเตอรี่มาล้านมันก็ได้สวรรค์ละตอนนี้สวรรค์โลกนี้ด้วย เป็นทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ด้วย แต่ถ้าไปโลกหน้านะ

คุณโม้เอาบางทีคุณอยากได้สวรรค์อย่างที่ว่าทำ 5 บาทจะได้ล้าน มันไม่มีหรอก

สัจจธรรมที่ไหนมันจะส่งให้คุณ มันไม่มีเรื่องลูกฟลุกหรอก ทำสัจธรรมมันไม่มีลูกฟลุกมันมีแต่คุณทำบุญไว้จริงหรือเปล่าล่ะคุณจะถูกลอตเตอรี่ ถ้าคุณทำบุญไว้จริงสั่งสมกรรมไม่จริงคุณก็ถูกลอตเตอรรี่ล้านหนึ่งได้ โดยคุณไม่ต้องยกมือปรารถนา สาธุขอให้ถูกลอตเตอรี่ที่ 1 ไม่ต้องไปยกมือมันก็ถูก เพรางั้นคนถูกลอตเตอรี่ถามเขาซิบางคนซื้อฟลุกๆ ด้วยซ้ำไปอ้าคนมายัดเยียดขายให้ อ้าว ถูกที่หนึ่งไปถามเขาซิเยอะไป

คนจะถูกน่ะมันต้องมีกรรมดี มันจะไปถูกโดยบังเอิญไม่มีหรอกในโลก เพราะฉะนั้นอย่าว่าแต่ถูกลอตเตอรี่เลย แม้แต่กรรมอื่นก็เหมือนกันมันจะต้องมีกรรมเป็นบาทฐานเกิด

โดยฟลุกๆ เล่นๆ ไม่มีไม่มีลูกฟลุกสัจจธรรมไม่มีลูกฟลุก มีแต่ความเป็นจริงตามความแท้จริงมีแต่ความเป็นจริงตามความแท้จริง

เพราะฉะนั้นถ้าคุณทำทานแบบนั้นน่ะคุณจะให้สตางค์เพื่อจ่ายค่าไฟค่าพัดลมนี่บ้างคุณมานั่งฟังธรรมได้ประโยชน์แก่คุณนะ คุณจะให้ท่านช่วยค่าไฟค่าน้ำอะไรนี่ ท่าน

บริการคุณออกจะยินดียิ่งอะไรนะม้ามื้อมันพังเขาก็ซ่อมก็เซิมอะไรต่ออะไรเนี่ยพวกนี้ต่างๆ นานๆ คุณจะให้สตางค์เพื่อที่จะทำบุญช่วยไอ้นี่คุณก็ทำไปสิไม่เป็นไรนี่เป็น

ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ที่แท้ คือเห็นผลทันตา คุณให้สตางค์ใส่ตู้นี่ปั๊บ ท่านก็เอามาไว้ใช้ประโยชน์ในการที่จะมาใช้จ่ายพวกนี้ ก็แล้วไปนี่การให้ไม่ใช่ประโยชน์ของเรานี่ การ

ให้ผู้อื่นคือประโยชน์ของผู้อื่นเป็นสัจจธรรม คุณให้ให้เขาแล้วคุณยังเอาประโยชน์ของคุณอยู่ก็แล้วกัน ไอ้นี่มันขี้โกงนี่ ก็คุณให้เขาคุณยังจะเอาประโยชน์ที่คุณอยู่นี่มันไม่เข้าแก๊ปนี่ เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าทิฏฐธัมมิกัตถทำประโยชน์อย่างปรมัตถ์แล้วล่ะก็ ให้มีปัญญารู้ว่าให้เขาเขาจะทำประโยชน์ ไม่ใช่ให้เขาแล้วเราได้ประโยชน์ ให้เขาเขาสิได้ประโยชน์ให้ตังค์เขา เขาก็เอาไปซื้ออาหารเอาไปจ่ายค่าไฟ จ่ายค่าน้ำเอาไปทำอะไรๆ ก็ตามแต่ด้วยปัญญาที่เหมาะควร ที่เหมาะควรเห็นเป็นของดีเหมาะควรจะทำคุณก็ให้ ไม่ต้องไปหวังสวรรค์อะไรหรอกนี่เรียกว่าปรมัตถประโยชน์ทำแล้วลืม ทำแล้วเลิกคิดถึงเรียกว่าทำใจวางให้ว่างเลยไม่ต้องไปหวัง ไม่ต้องมีโลภจิต จิตโลภในอะไรอีกที่จะหวังคำตอบแทนแม้แต่เป็นลาภอย่างที่ว่าเมื่อกี้แล้วทำบุญ 5 บาทตักบาตรทับพีนึงก็อยากได้ถูกลอตเตอรี่ ทำอะไรไม่ต้องไปหวังเลย ทำจิตว่าง โลภมูลจิตก็สำลอกให้จิตมันไม่มีแม้แต่โลภมูลจิตอยู่ในจิต จิตมันก็เป็นจิตสุญญตานี่แหละทำนิพพานจิตให้ตัวเองทำทานก็ทำนิพพานจิตอย่างนี้อย่าไปทำอย่างอื่น ทำเข้าไปถ้าเห็นเหมาะเห็นควรก็ทำ จะให้ข้าวพระใส่บาตรก็เพื่อให้พระไปฉัน ไม่ใช่จะให้พระนี่ส่ง ข้าวนี้ไปถึงญาตติโกโยติกาคนโน้นหรือทำไอ้โน้นไอ้นี่อะไรไม่ต้อง ไม่ต้องไปคิดปรมัตถประโยชน์ไม่ต้องไปคิดไม่ต้องไปมุ่งหวัง ให้คนนี้ส่งไปหาคนนั้นหรือให้ตอบแทนให้ทำมาค้าขึ้นหน่อยนะอะไรตอะไรนะไม่มีเลย นิพพานไม่มี แต่ถ้า สัมปรายิกัตประโยชน์แค่สวรรค์เขามีเขาเอาเป็น

จริงด้วย อาตมาไม่ว่าเมื่อกี้นี่ ถ้าใครเลือกจะเอาอย่างเกิดก็เอานะ แต่อย่างที่นี้อย่างที่ว่าจะเอาอย่างตายสูญแล้วนี่ไม่มีนะ ฟังให้ดีนะ แยกกันออกให้ชัดขึ้นขนาดนี้แล้ว ก็ไม่มีปัญญาจะอธิบายชัดกว่านี้อีกแล้ว เพราะฉะนั้น แม้แต่ทำทานก็ทำอย่างสูญไม่นึกถึง คุณจะให้เงิน 100,000 เพื่อสร้างไอ้หอประชุมที่จะอธิบายธรรมนี้ คุณก็ให้เขาไป คุณไม่ต้องมาให้ติดป้ายที่หน้าประตูนี่บอกฉันเป็นคนทำ นาย ก. นามสกุล ขคง. สร้างช่วยเงินสร้างที่นี่ล้านหนึ่งไม่ต้อง ไอ้นั่นมันสรรเสริญนี่ ไม่ต้องมีโลกธรรมทั้งปวง ไม่ต้องหวังลาภไม่เอา ยศไม่เอา สรรเสริญไม่เอา แม้แต่สุขทำแล้วยังไม่กรุ่นดีใจอยู่ก็ไม่เอา ถ้ายังมีตัวสุขมันก็ยังไม่จบนะ แม้แต่มีตัวสุขมันก็ยังไม่เป็นนิพพาน ยังไม่เป็นวิมุตติ ยังไม่เป็นสุญญตา ไม่เอาเหมือนกัน ทำจิตให้ว่างเลยทำแล้วสูญเห็นประโยชน์แท้ ประโยชน์จริงว่าเขาจะใช้ประโยชน์จริงให้ทานให้ไปล้านหนึ่ง ก็ได้ถ้าคุณมีพอ ถ้าคุณไม่มี คุณก็ไม่ต้องทำ ถ้าคุณมีเท่าไหร่หนื่นนึง 100 นึง 1000 นึง เห็นประโยชน์แท้ประโยชน์จริงคุณให้เขาไปเลยและทิ้งกันเลิกกันนี่เรียกว่าจาคสัมปทาที่เป็นปรมัตถ์ เป็นปรมัตถประโยชน์การทำอย่างนี้แหละรักษาศีลกับจาคะ 2 อย่างนี่แหละ จะขึ้นสู่ทางที่นิพพาน สร้างปัญญาสัมปทา สร้างปัญญาอย่างนี้ให้จริงให้ถึงพร้อม เกิดปัญญาอย่าง สุตะ ฟังไปแล้วขณะนี้เป็นปัญญาอย่าง สุตะ ไปคิดทบทวนให้ดี ให้เข้าใจแล้วทำให้ถูกถ้วนทำให้ถูกทางแท้ เมื่อทำให้ถูกทางแท้แล้ว คุณก็เป็นตัวปรมัตถ์แท้ เป็นภาวนามยปัญญา สร้างปัญญาให้ถึงพร้อมด้วยสัมปทา ทั้งนี้อย่างนี้ มีทั้งสุตมยปัญญา มีทั้งจินตมยปัญญามีทั้งภาวนามยปัญญาครบพร้อมแล้วคุณจะไปไหน คุณก็ไปหาการตายสูญ

เท่านั้นเอง สูญอย่างประพฤติด้วย ไม่ใช่สูญอย่างโม้ๆ หรือสูญอย่างอุจเฉททิฏฐิ

แบบผิดๆ แบบหลงว่าตายแล้วสูญเป็นนัตถิกกริยา อะไรก็ไม่มีอย่างน้ันไม่เอา

ต้องเป็นประเภทที่เรียกว่าทำจริงๆ มีสัมปทาจริงๆ มีปฏิปทาประพฤติจริงๆ มันถึงจะ

เดินทางนี่เรียกว่า จะเลือกเอาตายสูญ แล้วก็ประพฤติการไปสู่ความตายสูญ ถ้าใครทำ

กิเลสหมด ทำตัณหาหมดจริง คุณก็ตายสูญแหงไม่มีใครไม่มีตัวไหนเกิดอีกอย่างแน่นอนเลยทีเดียวนะ พระพุทธเจ้าท่านว่าไว้นิดหน่อยว่า 

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเมื่อก่อนนี้เราตถาคตและเธอทั้งหลายไม่รู้จักอริยสัจ 4

ตามที่มันเป็นจริงนั่นสิ จึงต้องเวียนตายเวียนเกิดอยู่อย่างไม่รู้จบสิ้น แต่บัดนี้เราตถาคตและเธอทั้งหลายนี่ ท่านพูดกับพระอรหันต์นะ และเธอทั้งหลายรู้อริยสัจ 4 ตาม

ที่มันเป็นจริงแล้ว จิตบรรลุนิพพานแล้ว การเกิดใหม่อีก จึงไม่มีอีกต่อไป ก็การเกิด

ใหม่ไม่มีอีก มันก็ตายสูญเท่านั้นเอง และตายแม้กระทั่งจิตที่มันเกิดในปัจจุบัน

นี้ ถ้าเราทำได้จริง คุณจะทำตายเมื่อไหร่คุณก็ทำได้ พระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ในสูตร

อีกสูตรหนึ่ง ในฐานสูตร แต่คนไม่เข้าใจอาตมาจะอธิบายให้ฟัง อาตมาก็ยังไม่เคยเห็นใครอธิบายอยู่ในฐานสูตรเนี่ย ฐานสูตรนี่ก็หมายความว่า สิ่งที่มันเป็นไปได้ สิ่งที่มันตั้ง

ขึ้นแล้ว สิ่งที่มันเกิดเป็นตำแหน่งเป็นฐานะ เป็นของจริงแล้ว เรียกว่า ฐานสูตร ใน

ฐานสูตรนี้ ท่านบอกว่าดูกรภิกษุทั้งหลายคราวที่แล้วอาตมาก็อ่านให้ฟัง มนุษย์ชาว

อุตตรกุรุทวีปชาวอุตตรกุรุทวีปนี่หมายความว่าคนที่สร้างภพให้ตัวเองใหม่ทวีปอันนี้ก็หมายความว่าภพเหมือนกันเป็นทวีปนี่หมายความว่าเป็นแดนกว้างขวางทวีปอุตตรกุรุอันนี้หมายความว่าภพอันอยู่เหนือภพอันอยู่เหนือแล้วผู้ใดมนุษย์ผู้ใดที่ทำตนให้ขึ้นสู่

อุตตรกุรุทวีปได้แล้วประเสริฐกว่าเทวดาชั้นดาวดึงส์และภิกษุ และและพวกมนุษย์ชาวชมพูทวีปมนุษย์ชาวชมพูทวีปคืออะไรคือมนุษย์พวกที่ยังประพฤติธรรมอยู่เนี่ยยังอยู่ในคนที่ยังไม่พ้นนี่ยังเป็นเสขบุคคลหรือเป็นโยคบุคคลธรรมดาเนี่ยมนุษย์พวกนี้แหละเป็นชาวชมพูทวีปผู้ที่ขึ้นสู่อุตรกุรุทวีปแล้วเรียกว่าประเสริฐกว่าชาวเทวดากับชาวมนุษย์ธรรมดาอยู่ด้วยฐานะ   3 ประการเป็นไฉน 3 ประการคือ 1 ไม่มีทุกข์เห็นมั้ยพวกนี้พ้นทุกข์แล้วไม่มีทุกข์แล้ว 2 ไม่มีความหวงแหนเห็นมั้ยชาวอุตตรกุรุทวีปนี่เก่งมั้ยไม่มีความห่วงแหนไม่มีทุกข์ 3 มีอายุที่แน่นอนมีอายุที่แน่นอนคือยังไงมีอายุที่แน่นอนก็คือสามารถที่จะกำหนดอายุตัวเองได้อายุคืออะไรอายุคือการเกิดแล้วก็ดับฟังให้ดีนะอายุคือการเกิดมาเกิดมาแล้วก็ตั้งอยู่แล้วก็ดับ ในขณะที่เกิดมานี่พวกชาวมนุษย์

อุตตรโกรุทวีปคือพวกโลงอุตรภิชาติ พวกที่ไม่มีทุกข์แล้ว ไม่มีความหวงแหนแล้ว

พวกนี้พอเวลาจิตท่านเกิดนะพอจิตท่านเกิดขึ้นมาหน่อยนึงท่านก็รู้พอเกิดมาตั้งอยู่

เท่าไหร่ท่านจะให้ดับไปเมื่อไหร่ท่านดับของท่านได้ด้วยเรียกว่ามีความเก่งถึง

อย่างงั้นน่ะมีอำนาจเหนือจิตมีอินทรีย์ พละกล้าสามารถดับจิตตัวเองได้วิมุตติได้

ตลอดเวลาจึงเรียกว่าเป็นผู้มีอายุที่แน่นอน ออขั้นอรหันต์นะที่ก็พูดกันอยู่ในกล

โลกุตรภูมิเป็นขั้นอรหันต์แต่โสดาบันก็ได้โสดาบันบางคนก็ดับกิเลสตัณหาของตนเอง

ได้อย่างช่ำชอง บางอย่างเหมือนกันก็เรียกว่ามนุษย์ในอุตตรกุรุทวีปเหมือนกันโสดาบันก็มีนิพพานน้อยๆ ของตัวเองแล้วนะ เพราะงั้นทำวิมุตติหรือทำนิพพานให้ตัวเองได้ดับตัวไหนได้ก็เรียกว่ามีอายุที่แน่นอนในเรื่องนั้นในโอปปาติกะตัวนั้น ในสิ่งที่มันเกิดวิญญาณที่มันเกิดอันนั้นเข้าใจมั้ยพอวิญญาณมันเกิดผุดขึ้นมาเป็นอารมณ์อะไรก็ตามแต่หรือเป็นเรื่องอะไรก็ตามแต่แม้พระโสดาบันท่านมีอารมณ์นี้มาท่านก็ดับของท่านได้โดยท่านกำหนดจริงๆ ไอ้สิ่งที่ง่ายๆ โสดาบันท่านทำได้ท่านก็เป็นผู้ที่กำหนดอายุที่แน่นอนของเรื่องนี้ได้เหมือนกันเพราะฉะนั้นโลกุตรภูมิอันนี้หมายถึงอริยบุคคลทั้งหมดถ้ายิ่งเป็นอรหันต์แล้วยิ่งเก่งใหญ่อ้าวอะไรนะเกิดจากขันธ์ 5 ก็เกิดจากขันธ์ 5 นี่แหละก็ที่มันเกิดข้างนอกนี่เราเกิดแล้วทีเดียว นี่เกิดมาเป็นร่างเป็นกายนี่เป็นรูป แล้วนี่ไม่ต้องไปพูดถึงมันแต่ไปพูดถึงนามธรรม เวทนาญญาสังขารวิญญาณ นั่นมันเกิดอยู่เกิดอยู่แล้วมันยังไม่ดับจริงเรายังไม่ตายจริงยังไม่ดับจริงหรอก

สอุปาทิเสสนิพพานนะเป็นบุคคลผู้ที่ยังไม่ได้ดับขันธ์จริงยังมีขันธ์ 5 รองรับอยู่เพราะฉะนั้นนามธรรมนี่แหละมันจะเกิดจิตมันจะเกิดอยู่ในนี้จิตใดมันเกิดมาถ้าเป็นพระอรหันต์ จิตใดเกิดท่านรู้และท่านกำหนดแล้ว ท่านดับเองด้วยเรียกว่าอายุของจิตท่านดับเองได้นี่เรียกว่าพระอรหันต์อ่าท่านรู้ขันธ์ 5 หมดแล้วล่ะนามขันธ์ของท่านทั้ง 4 ท่านก็รู้เกลี้ยง ท่านสั่งเองได้ ฆ่าได้ ดับจนกระทั่งแม้กระทั่งเวทนาท่านกระดับของท่านได้อันนี้เรื่องของท่านนะ เพราะฉะนั้นมนุษย์ผู้ที่อยู่ในอุตรกุรุทวีปนี้หรือโลกอุตรภูมินี้มีความแน่นอนมีความประเสริฐ 3 อย่างนี้เป็นผู้ที่มีสติบริบูรณ์แล้วแน่นอนแล้วพวกนี้นะทีนี้เทวดาล่ะ ดูก็ภิกษุทั้งหลายเทวดาชั้นดาวดึงส์ประเสริฐกว่ามนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีป

เทวดานี่ก็ยังมีความประเสริฐกว่ามนุโลก เหมือนกันนะประเสริฐกว่าเหมือนกันนะ

ประเสริฐยังไงประเสริฐก็คือว่าอ่าชาวเทวดาดาวดึงส์นี่ประเสริฐกว่ามนุษย์ชาว

อุตตรกุรุทวีปกับพวกมนุษย์ชาวชมพูทวีปคือพวกที่ยังเป็นมนุษย์ธรรมดาที่ยังประพฤติอยู่ยังไม่บรรลุเนี่ยยังไม่เป็นอเสขบุคคลหรือว่าเป็นเสขบุคคลพวกนี้ประเสริฐกว่า 3 ประการเหมือนกัน 1 ได้อายุทิพย์อายุทิพย์หมายความว่าไงอยากได้อายุมันยืนยาวไปเท่าไหร่ก็ปรารถนาเอาเอาๆ ปรารถนาไปเรื่อยมันรู้จักจบนี่หมายความว่าให้มันต่อไปเรื่อยแล้วปรารถนาอยากได้ให้มันได้เดี๋ยวนี้ก็ให้ได้ถ้าไม่ได้แล้วฉันจะร้อนใจ ฉันจะทุกข์ใจตกลงนรก แต่เทวดานี่หมายความว่าเป็นผู้ที่มีพร้อมสามารถที่จะเอาอย่างนี้ให้มันยืนยาวไปถ้าเกิดอย่างนี้แล้วก็อยากมีอายุต่อไปก็ต่อไปได้มีความสามารถพร้อม

มีทิพย์พร้อมจึงเรียกว่าอายุทิพย์มีวรรณทิพย์วรรณทิพย์ก็หมายความว่าสิ่งที่

เป็นรูปเป็นผิวข้างนอกเรียกว่าวรรณทิพย์เรียกว่าเป็นรูปเลยทีเดียวล่ะอะไรก็ตาม

แต่ที่มันบพร้อมสำเร็จได้ลงมาเป็นรูปฉันก็จะเสพอยากได้อย่างนี้พร้อมแล้วก็ได้

จริงๆ ทุกทีเป็นทิพย์ระลึกเอาได้ระลึกเอาได้สมหวังทุกทีนี่เเก่งเหมือนกันนะเทวดา

ทำได้ ชาวมนุษย์ลงอุตรภิชาติอย่างอาตมางี้นะ เออยากจะได้เงินสักล้านเดี๋ยวเนี้ยเอยากเหมือนกันแท้ แต่ถ้าชาวดาวดึงส์แล้วหรือชาวสวรรค์แล้ว ท่านมีบารมีมากจนขณะอยากได้เงินล้านนึงได้จริงๆ นี้เรียกว่ามีทิพย์อยากได้อาหารอย่างพร้อมมูลได้จริงๆเรียกว่ามีทิพย์ อยากจะได้อะไรพร้อมมูลเป็นรูปทุกอย่างและ อันที่ 3 มีสุขทิพย์อยากจะมีสุขอยู่ตลอดชาติอยากได้สุขหมดทุกอย่างเป็นนามเป็นนามธรรมอยากได้ทุกอย่างความสุขเป็นสุขที่ไม่รู้จักจบจากสิ้น เพราะฉะนั้นเทวดาเนี่ยอายุนานเหลือเกินหลงเสพอยู่นั่นแหละ ดาวดึงส์นี่เสพไปเถิดไม่รู้กี่แสนกี่พันกี่หมื่นชาติอยู่ตรงนั้นแหละไม่รู้กี่กัปมากมายท่วมหูท่วมหัวเลยพวกดาวดึงส์นี่กิเลสอยากเสพอยู่ตะบันราชเลยไม่มีเพลาลง

ได้พวกดาวดึงส์เนี่ยนะ เพราะฉะนั้นพวกนี้จะไม่มีสติที่จะมาอ่านธรรมะเลยชาวดาวดึงส์นี่แหละมันค้านพระอภิธรรมพระพุทธเจ้าท่านตรัสเอาไว้ว่าชาวดาวดึงส์นั้นมีอายุทิพย์อยากจะเสพอายุก็อยากให้ยืนวรรณะก็อยากให้มีพร้อมรูปอยากไม่มีพร้อมสุขทิพย์อยากให้มีพร้อมอยู่เสมอไม่มีสติเลยอยู่ในโมหจิตพวกที่เสพเนี่ยเป็นพวกเสพนะพวกนี้อยู่ในโมหจิตไม่มีสติมาอ่านอะไรพระพุทธเจ้ากล่าวว่า พระพุทธเจ้าไปสอนพระมารดานะไปสอนพระมารดาอยู่ที่ดาวดึงส์ใช่มั้ย แล้วก็ไปสอนพระอภิธรรมเพื่อที่จะให้บรรลุแล้วก็ในที่กล่าวกันที่โม้กันนะ บอกว่าพระมารดานะบรรลุโสดาบันด้วยนะค้านพระสูตรข้อนี้ค้านตรงไหนค้านตรงที่ว่าก็ชาวเทวดามีอายุทิพย์มีวรรณทิพย์มีสุขทิพย์เท่านั้นไม่มีสติเลยเมื่อไม่มีสติจะเอาปัญญาที่ไหนมารองธรรมมาทำสติปัฏฐานพิจารณาธรรมให้จนเกิดบรรลุเป็นอริยโสดาซึ่งเป็นกายมรรคซึ่งเป็นทางที่จะเดินสู่นิพพานมีทางเดียวไม่มีทางอื่นพระพุทธเจ้าบอกแล้วเพราะฉะนั้นชาวดาวดึงส์นั่นหรือจะสามารถบรรลุธรรมได้ก็เมื่อพระพุทธเจ้ารู้แล้วว่าชาวดาวดึงส์โง่ถึงขนาดนี้แล้วจะไปสอนพระอภิธรรมให้ฟัง มันเรื่องอะไรไม่มีในโลกนี่แหละสูตรนี้เรามันค้านพระอภิธรรมอย่างจั๋งหนักเลยแสดงว่าภาษาที่เขาเล่ากันว่าไปเทศน์โปรดพระพุทธมารดาก็พระพุทธเจ้าโง่

เหลือเกินเนี่ยพระพุทธเจ้าของเขาอ่ะ แต่อาตมาไม่บอกว่าพระพุทธเจ้าองค์ที่เป็นสมณโคดมนี่นะ ถ้าพระพุทธเจ้าสมณโคดมก็ท่านตรัสว่าอย่างนี้แล้ว ท่านจะไปสอนเขายังไงท่านรู้อยู่แล้วนี่ท่านก็ตรัสอยู่พระโต้งๆ เนี่ยท่านบอกว่าชาวดาวดึงส์มีอายุทิพย์

เสพทิพย์ทั้งหมดเลยมีวรรณะ มีรูป รูปนามทิพย์ มีสุขทิพย์ด้วยนี่ยืนยันเอาสูตร

นี้อันที่ 3 นี่ยืนยันชัดอีก ดูกรภิกษุทั้งหลายมนุษย์ชาวชมพูทวีปประเสริฐกว่า

พวกชาวอุตรกุรุทวีปและเทวดาชั้นดาวดึงส์ด้วยฐานะอีก 3 ประการเหมือนกันประเสริฐตรงไหนคือ 1 เป็นผู้กล้ากล้าทำได้ทั้งดีทั้งชั่วอย่างมากชาวมนุษย์นี่แหละกล้าทำเลวที่สุดกว่ามนุษย์นี่แหละทำได้อย่างจัดชาวดาวดึงส์เค้าก็ไม่ค่อยกล้าทำเลวเท่ายิ่งชาวมนุษย์อุอุตตรกุรุทวีปเราเค้ายิ่งไม่ทำใหญ่ทำชั่วแต่ทำดีมนุษย์พวกนั้นเกล้า

เหมือนกันนะชาวอุตตรกุรุทวีปเค้ากล้าแต่เกล้าได้ด้านเดียวแต่ชาวชมพูทวีปนี่สิชาว

มนุษย์ธรรมดาแหมทำได้กล้าทำทั้งดีกล้าทำทั้งชั่วหนักแค่ไหนก็กล้าจริงๆ เป็นคนที่

กล้าเสี่ยงกล้าทำทุกประการจึงเรียกว่าเป็นผู้มีความกล้า 2 เป็นผู้มีสติชาวมนุษย์ธรรมดานี่แหละเป็นผู้มีสติที่จะสามารถเรียนธรรมรู้ธรรมบรรลุธรรมได้ก็ชาวดาวดึงส์ไม่มีสติแล้วจะไปเรียนธรรมรู้ธรรมได้ไง ชาวมนุษย์สมพูทวีปมีสติท่านก็ฟ้องบอกอยู่แล้วเพราะฉะนั้นไอ้ที่ไปโม้ไปสอนพระพุทธมารดาที่ดาวดึงส์นะ เอาพระสูตรนี้ไปยันหน่อยเถอะใครจะเอาไปยันมันไม่จริงไปโม้กันเป็นนิทานอะไรก็ไม่รู้อะไรนะ ทำไมนะได้ตกหรือไม่ตกก็ช่างเถอะอ้าเราไม่พูดล่ะเราพูดถึงว่าเไม่พูดถึงลงนรกขึ้นสวรรค์ล่ะเราพูดถึงว่าเป็นอย่างนั้นเพราะฉะนั้นพระสูตรนี้ท่านตรัสเอาไว้ชัดและอีกอันนึงท่านบอกกำชับกำชาไว้เลยว่าผู้ที่จะมีทางบรรลุนิพพานได้นั้นมีมนุษย์ชมพูทวีปเท่านั้นคือประการที่ 3 เป็นผู้อยู่ประพฤติพรหมจรรย์อันเยี่ยมมนุษย์สมพูทวีปเท่านั้นที่จะประพฤติพรหมจรรย์อันเยี่ยมได้ดาวดึงส์ ประพฤติไม่ได้ไม่ใช่ก็เป็นผู้เสพไม่มีสติคนเสพไม่มีสติทุกคนแล้วจะไปเอาจิตที่ไหนมาพิจารณาธรรมนะ มันฟ้องค้านกันมั้ยใช่มันเป็นโมหมูลจิตเสพแล้วเป็นโมหมูลจิตทุกตัวอาตมาบอกแล้วยังอร่อยสูบบุหรี่แค่นี้คุณกำลังเป็นเทวดาใช่มั้ยเออภิธรรมสอนได้ก็นั่นน่ะสิเอาอภิธรรมไปสอนได้ยังไงเนี่ยสูตรนี้มันค้านพระอภิธรรมอย่างจั๋งหนักเลยชัดมั้ยอ่าเพราะฉะนั้นนี่แหละฐานะของคน 3 จำพวกนี้พวกเรานี่แหละเป็นู้มนุษย์ที่เก่งที่สุดแล้วชาวชมพูทวีปคือชาวมนุษย์เนี่ยภพนี้แหละดีที่สุดแล้วพยายามพากเพียรก็เถอะ มีความกล้าแล้วมีเรามีสติแล้วเราเป็นผู้ที่ประพฤติพรหมจรรย์อันเยี่ยมได้อื่นไม่มีอยู่ในภพอื่นไม่มีแต่ว่าภพที่มนุษย์อุตรกุรุทวีปไม่ต้องประพฤติแล้วเเป็นแล้วพรหมจรรย์อยู่แล้ว เพราะฉะนั้นเราไม่พูดถึงเขานะคนที่มีเอาที่จิตก็ได้เอาที่จิตก็ได้เอาที่ภพที่เขาว่าถึงสวรรค์ก็ได้ไม่ประหลาดไม่ประหลาดจิตก็มีลักษณะเดียวกันจะเอาภพที่ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่ภพหน้าที่คุณมองไม่เห็นก็เหมือนกันเหมือนกันแต่ว่าอ่าอยู่ในดาวดึงส์นี่ภพที่โน่นก็เหมือนกันจะเอาพภพที่จิตนี่ก็เหมือนกัน จิตเราเดี๋ยวนี้ก็เป็นดาวดึงส์ได้คุณจิตดาวดึงส์ของคุณอยู่ที่นี่ก็ได้ แต่คุณจะเสพอยู่

ดาวดึงส์เหรอถ้าคุณเสพอยู่ดาวดึงส์คุณก็ไม่ได้ไปหานิพพานกันล่ะได้อ่าว่าได้คุณเข้าใจให้ได้ก็แล้วกันว่าจะเอาภพนอกโลกนี้ก็ได้จิตก็ได้ภพของจิตก็ได้จิตของเราที่อยู่ในชั้นดาวดึงส์ก็เหมือนกันจิตใดที่กำลังเสพชั้นดาวดึงส์เสพทิพย์อยู่ไม่ทำไมจะไม่ขัดล่ะก็ผู้ใดที่เป็นชั้นดาวดึงส์เสพจิตดาวดึงส์อย่างนี้อยู่มันก็ไม่ได้นะแต่ผู้ที่แม้จะอยู่ดาวดึงส์ในจิต

นี้หรือผู้ที่ฟังให้ดีเดี๋ยวแม้จะอยู่ในดาวดึงส์นี้อยู่ในจิตนี้ก็ตามแม้จะเป็นดาวดึงส์ที่อยู่ในภพที่พระพุทธเจ้าหรือพระพุทธมารดาตายไปแล้วจริงนะแล้วก็ไปอยู่อีกภพนึงเรียกว่าชั้นดาวดึงส์ท่านก็ต้องมีลักษณะเดียวกันท่านก็ต้องเสพทิพย์อยู่ชั้นนั้นก็จิตนี่อยู่ในบุคคลธรรมดานี่ยังสามารถบรรลุธรรมไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่ได้ แล้วจิตที่ไปอยู่ชั้นดาวดึงส์นั่นมันจะมีสภาพผิดกันตรงไหนล่ะ มันก็เสพทิพย์อยู่หลงอยู่ไม่มีสติอยู่เหมือนกันเข้าใจมั้ย ได้บุคคลก็ได้ผู้กำกับไม่ต้องไปห่วงสิ แต่ผู้กำกับต้องเข้าใจลักษณะเข้าใจมั้ย เพราะฉะนั้นเอาที่จิตของคุณก็ได้ถ้าคุณเองคุณยังไปหลงเสพทิพย์อยู่ทั้งหมด

เนี่ยอยากเสพมีอายุยืนยาวไปเสพวรรณทิพย์เสพสุขทิพย์ตลอดกัปตลอดกัลป์แล้วเมื่อไหร่คุณจะได้ปฏิบัติธรรมถ้าคุณทำเป็นชั้นดาวดึงส์อยู่ปฏิบัติธรรมไม่ได้แต่พระพุทธมารดาที่ว่าตายไปอยู่ชั้นดาวดึงส์นั้นแล้วเป็นคนที่มีลักษณะคุณลักษณะคือดวงจิตเท่านั้นมันไม่มีกายทิพย์นี่เอมันไม่มีกายหยาบนี่ใช่มั้ยมันก็จะต้องพร้อมกันถ้าไปอยู่ดาวดึงส์อยู่ชั้นสวรรค์ชั้นนั้นจะต้องมีคุณลักษณะของอายุทิพย์วรรณทิพย์สุขทิพย์อยู่พร้อมเขาจะเสพเอยากได้อะไรเเสพเป็นคนหลงพวกเทวดานี่คนขี้หลงอย่างมากเลยสอนธรรมะไม่ขึ้นสอนไม่ขึ้นเสพทุกข์นะถ้าเผยว่าเสพทุกข์แล้วยังจะพอพูดกันได้อยากออกจากทุกข์แต่เสพสุขนี่แหมดึงเถิดดึงชักกระเย่อยังไงก็ไม่อยากออกจากสุขจากทิพย์ต่างๆ เนี่ยใช่เป็นคนหลงขนาดหนักเลยพวกเทวดาเนี่ยก็โปรดไม่ได้น่ะสิอาตมาถึงบอกว่าโปรดไม่ได้ไงก็ถูกก็อาตมาพิจารณาให้ฟังว่าเป็นบุคคลภายหลังมาเขียนพระพุทธเจ้าไม่ได้ทำจริงนี่อาตมาพิสูจน์ให้ฟังไง ที่อาตมาพิสูจน์ให้ฟังนี่ไงบอกว่าไม่ใช่หรอกนะนี่พูดสู่กันฟังเอาล่ะต่อนะ เพราะฉะนั้นบุคคลที่จะประพฤติธรรมบรรลุได้ประพฤติในช่วงนี้ในช่วงที่เป็นมนุษย์อยู่ในชมพูทวีปนี้อยู่ในที่นี้แดนนี้อย่าไปเอาอื่นมามากมายนัก

เพราะฉะนั้นท่านบอกว่าเนี่ยในสูตรนี้ก็ชัดอ่าคุณชำนาญพูดมาก็ชัดนี่สูตรนี้ก็ชัดชัดจริงๆ นะ เพราะฉะนั้นเราจะปฏิบัติธรรมเพื่อขาดสูญหรือเพื่อตายสูญแล้วล่ะก็

ปฏิบัติได้แต่เราอย่าเป็นคนมีจะไปเป็นคนมีความเห็นเท่านั้นอย่าไปเป็นคนมีความ

เห็นยึดมั่นถือมั่นเท่านั้น แต่ต้องเป็นคนที่ไม่ยึดมั่นถือมั่นทั้งสัสสตทิฏฐิไม่ยึดมั่นถือมั่นทั้งอุจเฉททิฏฐิแต่ต้องรู้ให้ได้ว่าสัสสตทิฏฐิมันไม่มีจบเราจะจบอยู่ที่อุจเฉททิฏฐิแล้วตั้งจิตเข้ามาให้ดีแล้วสร้างศรัทธาสร้างศีลสร้างบริจาคหรือสร้างจาคะสัมปทาให้พร้อมสร้างปัญญานั่นเองเป็นใหญ่ให้พร้อมแล้วปฏิบัติเข้าไปปฏิบัติเข้าไปให้ถึงพร้อมด้วยทุกประการนี่เป็นหลักปฏิบัติธรรมดาธรรมดาก่อประโยชน์คุณทำให้เป็นปรมัตถประโยชน์อย่างนี้เสมอๆ นิพพานไปไหนเสียขอถามหน่อยซินิพพานที่คุณไปไหนเสีย ถ้าคุณทำอย่างที่อาตมาว่าเสมอแม้แต่การรักษาศีลคุณก็ให้มันถึงวิมุตติทุกทีแม้แต่ทำทานก็ให้ถึงวิมุตติแม้แต่การปฏิบัติธรรมอย่างอื่นๆ ใดๆ ก็ทุกทางให้มันถึงวิมุตติทำศีลให้

บริสุทธิ์นั่นแหละมันเป็นอธิจิตเอง อธิจิตมันก่อปัญญาเองมันอยู่ในหลักศีลสมาธิ

ปัญญาของพพุทธเจ้าทั้งสิ้นแล้วมันเดินทางไปหาวิมุตติถ้วนทั่วทุกประตู นี่แหละคือ

ใครอยากจะได้ตายเกิดก็เลือกเอาใครอยากจะได้ตายสูญก็เลือกเอาแหล่ะ อาตมาอธิบายมาจนถึง 16 เพราะฉะนั้นใครจะเลือกเอาอันใดก็เลือกเอาถ้าใครอยากจะเถียงกันก็เถียงกันไปตายเกิดตายสูญอยากเถียงอีกกี่วันกี่เวลากี่อะไรก็เถียงกันไปเถอะ แต่ความเป็นจริงอย่างแท้จริงมันมีอยู่อย่างนี้สูญก็ได้เกิดก็ได้ถ้าใครทำมันก็จริงใครทำมันก็จริงแต่ถ้าใครหลงก็เป็นอัตตวาทุปาทานอยู่เท่านั้นนะ มันมีอยู่อย่างนี้ก็เป็นอันสรุปรวมลงได้ว่าศาสนานี้ศาสนาพุทธนี้สอนให้ทะลุทะลวงไปจนกระทั่งถึงประโยชน์สูงสุดเป็นมรรคผลนิพพานอย่างนี้จริงๆ ด้วยเหตุเหล่านั้นแหละจึงอยากจะให้ทุกคนพยายามฟังให้ดีนะเรียกว่าพยายามตั้งใจโยนิโสมนสิการสุดซู้ซังคือฟังธรรมให้ดีสุดซู้ซั้งฟังด้วยดี แต่พวกคุณฟังด้วยดีอยู่แล้วล่ะ ที่มาฟังอาตมาพูดคนเดียวนี่อาตมาเชื่อว่ามาด้วยศรัทธาอย่างดีนะ ก็สุดสูซังแล้วก็โยนิโสมนสิการด้วยให้มันพร้อมพยายามคิดตามตรองตามแล้วเอาไปปัจจเวกอีก เอาไปคิดอีกเอาไปทบทวนดูอีกไปปัจจเวกที่บ้านก็ได้หรือตามทางนั่งรถเมล์กลับบ้านก็คิดทบทวนเราจะปฏิบัติอะไรก่อนอันไหนที่เราชัดอะไรที่เราง่าย มันเป็นมัชฌิมาของเราหรือว่าจะเดินทางได้ดีเลือกเอาไปแล้วก็ไปพึงกระทำจริงๆ ให้เป็นปัญญาให้เป็นภาวนาปัญญาชัดๆ อย่าให้มันเอาแต่แค่อยู่ปัญญาแค่ขั้นฟังแค่ขั้นคิดเล่นโก้ๆ แล้วก็เอามาเถียงกันโก้ๆ หรือเอาไปโม้เล่นโก้ๆ อวดหน้าอวดตาเล่นเฉยๆ ฉันเก่งฉันพ่อทุท่อง ได้พูดได้อะไรเฉยๆ ขอทีเถอะศาสนานี้ไม่ใช่ศาสนาที่ง่ายดายถึงขนาดนั้นหรอก ในโลกมันเป็นศาสนาพระพุทธเจ้าได้พากเพียรนักหนาสร้างมาแล้วท่านก็พยายามสอนลูกศิษย์สาวกของท่านมามากมายนะ เพราะงั้นจบเรื่องของใครจะลือเลือกเอาตายเกิดหรือตายสูญก็เลือกเอาแลด้วยประการดังนี้อ้าทีนี้ก็เป็นเรื่องของสากกัจฉะนะสากกัจฉะหรือสากัจฉาคทามถ้าฉะแล้วมันหนักหน่อยดูมันเข้าทีดีที่อธิบายมาที่บอกว่าจะให้อธิบายอุปาทานที่เมื่อกี้อ่านสูตรแล้วบอกว่าอ่าพระพุทธเจ้าตรัสสอนวัชวัชโรเอาไว้ว่าเอ่อที่พระพุทธเจ้าท่านที่ท่านตรัสถึงเรื่องการตายการเกิดนั้นท่านตรัสแต่เฉพาะกับคนที่ยังมีอุปาทานอยู่เท่านั้นส่วนผู้ที่ไม่มีอุปาทานแล้วนั้นท่านไม่ตรัสท่านไม่พูดคำว่าตายเกิดนะ เพราะฉะนั้นถ้าจะดับอุปาทานก็คือพยายามปฏิบัติตนให้มันหลุดพ้นซึ่งความยึดถืออย่างที่ว่าไอ้ตายสูญเมื่อกี้นี้ทั้งหมดที่ว่ามานั่นแหละจะไปอธิบายซ้ำอะไรอีกล่ะ เรียกว่าหมดอุปาทานล่ะก็วิปัสสนาที่เมื่อกี้สร้างปัญญาทีไรก็เป็นวิปัสสนาทีนั้นแหละเมื่อกี้อาตมาอธิบายถึงสัมปทา 4 นี่ก็มีตัวปัญญาที่อาตมาพยายามว่าแม้แต่ศรัทธาก็ให้เกิดปัญญาก็บอกแล้วว่าศรัทธาของเรานี่ก็ต้องเชื่อมั่นในปัญญาที่มันเป็นโลกุตรปัญญานะ เป็นสัมมาทิฏฐินะก็วิปัสสนาตัวนี้ตั้งแต่เริ่มต้นมีสัตอินทรีหรือมีศรัทธาอันเป็นไปโดยโลกุตตระจริงๆ แต่ต้นมาแล้วก็มารักษาศีลมาบำเพ็ญทานแล้วก็ศีลก็อาตมาบอกแล้วว่าถ้ารักษาศีลนี่แหละคือสร้างที่จิตอย่างที่อาตมาว่าแล้วแล้วมันก็เกิดปัญญาอยู่ในตัวมันวนอยู่ในนี้แหละเป็นปริวัติ 3 คือสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนอาตมาอธิบายคำว่าปริวัต3 มาแต่ต้นแล้วมันเป็นสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนวนกันอยู่ในเนี้ยคุณปฏิบัติศรัทธาให้มันถึงโลกุตระแล้วก็เป็นปัญญาที่รู้ในศรัทธาเชื่อมั่นในโลกุตตระนั้น

จริงๆ นะ แล้วเมื่อคุณรู้ในศรัทธานั้นแล้วเสร็จคุณก็ประพฤติศีลหรือประพฤติจาคะศีล

คุณก็ประพฤติไปจริงๆ อย่างที่ละเอียดละออที่อาตมาอธิบายไปแล้วเมื่อกี้นี้ว่า

ประพฤติศีลก็ให้มันสู่สู่วิมุตติก็จิตคุณสู่วิมุตติเมื่อใดเมื่อใดมันก็คือนั่นแหละ คือคุณทำศีล สมาธิ ปัญญา ปัญญาที่ได้จากวิมุตติก็เป็นญาณทัศนะใช่มั้ย อาตมาพูด

แล้วด้วยศัพท์ภาษาบาลีเยอะแยะปัญญาตัวที่เป็นญาณทัศนะนี่ก็เป็นการรู้ยถาภูฏาณ

เป็นการรู้วิมุตติญาณทัศนะทุกอย่างเลยในตัวของมันเองมันเป็นสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนหรือครบปริวัติ 3 ของมันอยู่ในตัวนี้หมดทุกอันเลยแม้แต่ทานให้เป็นวิมุตติอาตมาก็อธิบายแล้วเหมือนกันอ่าเป็นวิปัสสนาในตัวหมายความว่าเป็นผู้ประพฤติปัสสะนี่เป็นกริยาเป็นการประพฤติปัสสะเป็นการประพฤติเพื่อให้เกิดตัวรู้เพื่อให้เกิดญาณ

ปัสสะหมายความว่าผู้ปฏิบัติผู้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดญาณให้เกิดตัวรู้วิปัสสะหมายความว่าให้ทำให้ยิ่งวินี่ทำให้ยิ่งวิปัสสะเป็นผู้ที่ทำให้เกิดญาณอย่าอย่างยิ่งเรียกว่าวิปัสสะวิปัสสนาไม่เห็นมีอะไรนี่คำว่าอภิธรรมพระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสอภิธรรมอภิวิชญ์แล้วก็บอกว่านี่เป็นบัญญัติที่บอกถึงสภาวสัจจะด้วย ก็ว่าได้เหมือนกันนะเค้าก็ว่าได้เหมือนกันแต่ในความหมายของพระพุทธเจ้านั้นอภิธรรมนั้นเป็นสิ่งที่ท่านได้ให้คนเข้าใจว่ามันเป็นนามอภิธรรมนี่เป็นนามอภิวิชญ์บอกอะไรกันพระอภิธรรมเป็นนามพระวินัยเป็นรูปอภิธรรมนั้นคือตัวสภาพธรรมที่รับรู้อยู่ในใจมันเป็นตัวรู้สภาพธรรมที่รู้รู้อยู่ในใจเป็นอภิธรรมฟังให้ดีนะถ้าคุณฟังดีๆ คุณจะเข้าใจพระอภิธรรมคือตัวเนื้อหาแท้ๆ เป็นตัวรู้เป็นนามธรรมอภิวิชญ์และอภิวิชญ์[เพลง]ตรัสต่อไว้เมื่อกี้ที่ว่าเมื่อกี้นี้เนี่ยที่บอกว่าพระพุทธองค์ที่บอกว่าดูก่อนคำว่าตายและเกิดนี้เราตถาคตบัญญัติใช้แก่ผู้ที่มีอุปาทานเท่านั้นหาได้บัญญัติแก่ผู้ไม่มีอุปาทานไม่ที่ใช้คำว่าเอ่อที่ใช้กับกับพระอรหันต์นั้นใช้แต่คำว่าดับขันธ์หรือนิพพานหรือปรินิพพาน ไม่ได้ใช้คำว่าตายเลยไม่ได้ใช้คำว่าตายตายะหรือปหาอะไรไม่ได้ใช้อ่าไม่เกิดไม่ดับไม่เกิดไม่ดับไม่เกี่ยวก็เกิดดับไม่เกี่ยวก็เกิดดับท่านใช้ว่าคำว่านิพพานหรือปรินิพพาน เพราะฉะนั้นคำว่านิพพานอ้าอาตมาขอแถมอีกคำว่านิพพานของพระพุทธองค์จึงไม่ใช่ว่าไปเอาเมื่อตายทีเดียวก็ไม่เอานิพพานของพระพุทธเจ้า พระองค์กำหนดเอาให้ได้ในบัดนี้กำลังเป็นคนเป็นๆ นี้ให้มีนิพพานอยู่ในนี้ไม่มีเกิดไม่มีดับอยู่ในภพนี้จริงๆ ไม่มีเกิดไม่มีดับอย่างไรไม่มีเกิด ไม่มีดับก็คือมีแต่รู้มีแต่รู้รู้สภาพจริงตามความเป็นจริงจริงๆ เห็นอย่างนี้รู้ อย่างนี้จิตสัมผัสรู้แล้ววาง รู้ตามโลกสมมุติโลกเท่านั้นเอง ไม่มีความยึดถือ ไม่มีความหลงใหลด้วยเลยจริงๆ เห็นชัดๆ และไม่มีการดีดดิ้นกับโลกเลยโลกไม่มีฤทธิ์อะไรกับเราเลยสักนิดเดียวนี่เรียกว่าสภาพของนิพพานของพระพุทธองค์อ้าก็จิตอรหันต์สิที่พูดอยู่เดี๋ยวนี้จิตอรหันต์ของพระพุทธองค์เป็นอย่างนี้ ถ้าจิตอรหันต์ของศาสนาอื่นเขาเข้าใจอาตมาจะอธิบายเทียบเคียงให้ฟังด้วยศาสนาอื่นฤาษีดาบสทั้งหลายแหล่ เขาเข้าใจว่านิพพานของเขานี่มีเหมือนกันแล้วเขาเองก็ทำนิโรธสมาบัติทำอะไรได้เต๊งเลยนะของพระอรหันต์ของเก๊ก็ถือว่านั่นของอรหันต์ของเขาเหมือนกันเป็นปรมาตมันเป็นการดับนิโรธอย่างที่อธิบายไปแล้วเมื่อกี้ดับจนกระทั่งไม่รู้เรื่องอะไรเลยเงียบไม่มีตัวรู้อยู่ในโลกนี้ไม่มีพระพุทธเจ้าท่านบอกว่าถ้าอยู่ในโลกนี้ไม่มีนั่นเป็นนิพพานพรหมเสวยที่อาตมาอธิบายไปแล้วก็เสพอยู่ในนิโรธเสพอยู่ในสมาบัติไหนก็ตาม แต่ไม่มีในโลกนี้ตัวเองไม่ได้มาวุ่นเกี่ยวกับโลกนี้เลยอย่างนี้พระพุทธเจ้าบอกว่าใช้ไม่ได้ อยู่ในชั้นที่ไม่ดีมันไม่มีประโยชน์ตนประโยชน์ท่านมันมีประโยชน์ตนอย่างเดียว มีประโยชน์ตนประตูเดียวคือตัวเองสบายดีนี่ว่างเปล่าเฉยดับอยู่ได้แต่ประโยชน์ตนไม่มีในโลกเลย พระพุทธเจ้าท่านบอกว่านิพพานอย่างนี้ยังไม่เก่งเก่งจริงออกมาสิ ออกมาจากสมาบัติมามาๆๆมาดับอยู่กับโลกเเนี่ยลืมตาโพงๆ เนี่ยแล้วก็ดับได้เป็นนิพพานแท้ๆ เลยเรียกว่าอยู่ในพบเป็นๆ อย่างเงี้ยอยู่ช่วยมนุษย์โลกได้ด้วยเกื้อกูลคนอื่นก็ได้ด้วยเกื้อกูลตนก็ได้ตัวเองก็ว่างตัวเองก็สบายนี่นิพพานของพระพุทธเจ้าสูงกว่าเขาตรงนี้ถ้ามันไม่เกิดปัจจัตตังแล้วมันจะมาเกิดอันนี้จริงเป็นจริงได้ยังไงล่ะมันจะเกิดอันนี้จริงเป็นจริงมันต้องเกิดปัจจัตตัง เพราะงั้นแค่คุณฟังนี่ก็เป็นปัจจัตตังของคุณแค่คุณเป็นสุตมยปัญญา เพราะงั้นคุณจะทำปัจจัตตังของคุณให้ลึกเป็นจินตามปัญญาคุณก็เอาไปคิดต่อถ้าคุณคิดด้วยเหตุผลเข้าไปเชื่อมากมายคุณก็เป็นสุตจินตมยปัญญาเชื่อลึกซึ้งขึ้นไปอีกจนกระทั่งเอาไปปฏิบัติเกิดผลเห็นแจ้งเป็นภาวนามยปัญญาก็เป็นปัจจัตตังชั้นที่คุณ ทีนี้ก็ยิ่งแจ้งยิ่งกว่าเข้าไปลึกเข้าไปอีกนี่แหละปฏิวัติ 3 มันจะเป็นสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนอยู่อย่างนี้ตลอดเวลาเลยการแสดงธรรมของพ่อท่านแผนกบันทึกเสียงมีมาเพียงเท่านี้สาธุ


 

ที่มา ที่ไป

150715 ใครจะเลือกตายเกิด หรือ ตายสูญ โดยพ่อครู ที่วัดนรนาถสุนทริการาม


เวลาบันทึก 12 กรกฎาคม 2567 ( 11:23:29 )

16 ปีแห่งความอบอุ่น

รายละเอียด

ต่อจากนี้ไปเป็นการอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 16 ปีแห่งความอบอุ่น
โดยพ่อท่านพระโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พุทธศักราช 2529
ณ พุทธสถานสันติอโศก ขอเชิญท่านรับฟังได้ ณ บัดนี้

 

ชีวิตแต่ละชีวิตเราเป็นเจ้าของชีวิตปัญญาก็เป็นของเราผู้มีปัญญา
ที่ไม่เข้ากระแสธรรมมีความฉลาดมีความรู้ที่เป็นไปอย่างโลกียะนั้น
ก็เป็นปัญญาที่เฉลียวฉลาดได้มากมาย
แต่ความเฉลียวฉลาดที่มากมายนั้นยิ่งฉลาด
ถ้ายิ่งไม่ได้ศึกษาธรรมะที่เป็นโลกุตระแล้ว
ก็ยิ่งเป็นความฉลาดที่กอบโกยเอาหนี้ชีวิตหนี้บาปหนี้เวรให้แก่ตนเองเพราะความได้เปรียบในเชิงฉลาดต่างต่างนั้นมากยิ่งขึ้น มากยิ่งขึ้น
ชีวิตเป็นของเรา
ปัญญาก็เป็นของเรา
แต่มนุษย์ที่เกิดมามีชีวิตนั้น
น้อยกว่าน้อยนัก
ที่เกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว
ตายจากชาตินั้น จุติจากชาตินั้น
จะได้กลับมาเป็นมนุษย์อีก
ส่วนมากโดยแท้จะตกนรก
คําตรัสของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านี้
ถ้าผู้มีดวงตาที่ชัดเจน
ผู้ที่มีปัญญาอันชัดแท้
จะเป็นผู้ที่
เห็นจริง
เพราะ
ชีวิตมนุษย์นั้น
มีความโลภเป็นเจ้าเรือน
มีความเห็นแก่ตัวเป็นเจ้าเรือน
มีลาภ
ยศ
สรรเสริญ
โลกียสุข
ที่จะต้องแสวงหา
เป็นค่านิยม
อันลึกซึ้ง
ดังนั้น
ผู้ที่ไม่แสวงหาธรรม
ไม่รู้แจ้งในธรรม
ไม่เป็นคนที่เข้ากระแสตามโลกุตรธรรมจริงๆ
แล้ว
น้อยกว่าน้อยจริงๆ
ที่ตายจากชาติมนุษย์นั้นแล้ว
จะได้เกิดมาเป็นมนุษย์อีก
ดังนั้น
ผู้ที่มีปัญญา
และชีวิตก็เป็นของเรา
เมื่อได้รู้ยิ่งเห็นจริง
ว่าทิศทางที่จะทําให้ตนนั้น เจริญ
เป็นผู้มีจิตสูง
ประเสริฐ
ต่อไปและต่อไป
ในชีวิต
ในปัญญา
ก็ขอให้พิจารณาและดูความจริง
ที่เกิดอยู่ทุกวี่ทุกวันนั้น
ให้ออกเถิด
ว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นที่ตัดสินพระทัย
เดินในทิศทางนี้
ทั้งๆที่พระองค์สมบูรณ์ด้วยลาภ
ได้ยศ ได้สรรเสริญ
และโลกียสุขมหาศาลนั้น
มันเป็นความจริงปานใด
และผู้ที่ได้เห็นจนพ้นวิจิกิจฉาแล้ว
ก็จงดําเนินชีวิตที่เป็นของเรา
และจงพึงพิสูจน์
ด้วยปัญญาของตนของตน
แล้วก็จงดําเนินไป
สู่สุคติหรือความเจริญที่ยิ่งๆขึ้น
เทอญ
เอ้า ต้องเจริญธรรมกันหน่อย
นานๆ ขึ้นมาที
มนุษย์ผู้มีความอบอุ่นทั้งหลาย
อาตมารู้สึกว่า ยิ่งนับวันนะ
ก็ยิ่งอบอุ่นขึ้น
16 ปีแห่งความหลัง
นี่ก็ 16 ปี
ปีนี้ปีที่ 16 ขึ้นมา
ถ้าเผื่อว่าชนวันที่ 7 พฤศจิกายน
2529 นี้ขึ้น
ก็ครบ 17
ปี
ครบ 16 ก็ขึ้น 17
จะครบ 16
ปี ขึ้น 17
อาตมาก็จะย่างพรรษาที่ 17 ขึ้นไป
ขณะนี้ก็อยู่ในวาระของปีที่สิบหกนะ ตั้งแต่บวชมา
เริ่มต้นกระต๊อกกระแตกมา
ไม่ได้คิด
ไม่ได้นึกรู้อาตมาไม่ได้มานั่งพยากรณ์
นั่งหลับตาฌานดูหมอเอาไว้ว่า
เออก็ไปข้างหน้า
นี่ยังไม่รู้เลยว่าข้างหน้าจะเป็นยังไงอีก
อีกสิบปี ยี่สิบปี สามสิบปี
ถ้าอยู่ไปอีกนี่ ไม่รู้ข้างหน้าอีกสามสิบปีที่ต่อไปจะเป็นยังไงอีก
ยังไม่รู้
และอาตมาก็ไม่ประสงค์จะรู้
ไม่ประสงค์จะรู้จริงจริงเพราะว่าอาตมาเจตนาที่จะทํางานด้วยปัญญาไม่ใช่ทํางานด้วยมีอะไรมาเป็นตัวจูงนําร่องอะไรไปให้เป็นอย่างงู้นอย่างงี้ทําไปตามประสาฝันฝัน
วาดๆ โครงการอะไร
อันนี้ทุกคนจะได้ยินอาตมาพูดบ่อยว่า อาตมาไม่ใช่นักวางแผน
ไม่ใช่นักวางโครงการ
ไม่ใช่บุคคลที่จะไปคิด วาดวิมานในฝัน
วาดวิมานโน่นนี่ เอาไว้อะไรให้มัน
วุ่นวายไป แต่
ก็มีปัญญา
มีอนากตังสญาณอยู่บ้าง
ซึ่งธรรมดาสามัญอนาถังสญาณ คือมีความรู้ในเบื้องที่เป็นอนาคต
ถ้าเผื่อว่าเรามีสองบวกสองมันก็จะเป็นสี่ ถ้าเกิดเราทําจริงเอาสองมาบวกสอง มันจะเป็นสี่ในโอกาสข้างหน้า
อันนี้เป็นความจริงที่อาตมารู้
เป็นญาณที่แท้แท้ไม่ใช่ญาณประเภทที่มานั่งเล็งพยากรณ์
มีความรู้ในความจริงอย่างนี้
อันนี้รู้เพราะรู้
เพราะฉะนั้นเราจะทําไปด้วยความรู้ที่จริงอย่างนี้
เรามีอะไรยังไงต่อไปในอนาคต
ถ้าผมว่าอย่างนี้ๆ มันเป็นอย่างนี้ มีเหตุปัจจัยอย่างนี้ ถ้าเราทําอย่างนี้ขึ้นมา คุณค่าอย่างนี้
แล้วมันจะเกิดประโยชน์ เกิดคุณค่า เกิดความเจริญ
พัฒนาไปอย่างนั้น
อย่างไร
เรามีญาณ มีปัญญา มีความรู้ที่รู้ เราก็ทํา
ทําให้สม
ที่เราเห็นชัด ๆ ชัดเจนอย่างนั้น ด้วยเหตุผล
ด้วยของจริง
ไม่ใช่มานั่งเดา
มีพิลึกพิลือ มีประหลาด ๆ อะไร
ซึ่งมันประหลาดนะ พวกเรานี่มันประหลาด
บางที 2 2
ภาษาโลก ๆ นี่มันไม่ค่อยถูกหรอก
แต่ว่าญาณนี่จะต้องเข้าใจลึกๆหน่อยเหมือนกัน
ถ้าพูดอย่างภาษาโลก 2 บวก 2 ก็แบบโลกๆ
แต่คนเรามันไม่ใช่อย่างนั้นทีเดียว
พวกคุณน่ะสมมุติว่า มันจะสมมุติเอาเรื่องจริงอย่างพวกคุณเนี่ย
แต่ก่อนนี้
อ่า
คุณ ก็เป็น
คน อยู่ แบบ โลก โลก
น่ะ มีความสุข
มี โลกียสุข
อยู่ อย่าง โลก โลก
มีสรรเสริญ
มีลาภ มียศอะไรอยู่พอประมาณอย่างโลกๆ แล้วคุณก็ดําเนินชีวิตไป
ปฏิบัติธรรมไป
แต่ก่อนที่คุณยังไม่ได้มาพบอโศก คุณก็คงปฏิบัติธรรมไป คุณก็คงไม่คิดว่าคุณจะต้องมา
เหลือล่อนจ้อนๆ ลงมางี้ เอ๊ะ
ผมเผ้าเราก็ยาวสลวยสวยขําดําเงาอะไร ทําไมมันมาล่อนจ้อนๆอยู่งี้ เมื่อวานนี้
เค้าดูทีวีเพลงกัน
ดูไปแล้วเขาก็ดูภาพแล้วก็แพนกันไป
อ่าเห็นมนุษย์ของโลกโลกีย์เขาก็เซตผมดูท่าทางอะไรกันเนี่ยอย่างมาร้องเพลงก็ร้อง แล้วเขาก็แพนไปดูมนุษย์โลกเก่าโลกใหม่
นั่งพับเพียบอยู่บนพื้นปอ
ก็มีนั่งให้ดูผู้หญิงเหมือนกัน
แต่อีกคนก็ดูนั่งพับเพียบอยู่เนี่ย แต่งเนื้อแต่งตัวทรงผมทรงเผ้า
ก็มีคนทักว่าเออดูที่ทรงผม
พวกนั้นอาตมาก็เห็นไม่ใช่ไม่เห็นก็รู้อยู่
บอกนี่แหละอาตมาน่ะก็พอใจนัก
ที่อยู่กับสังคมเขาอย่างนี้แหละ
เขาก็เป็นเขาเราก็เป็นเรา
เป็นสังคมที่มัน
จะต้องชนกันให้ดู
ชนกันให้ดูว่าคนโลกโลกเนี่ย
เขาเองเขาหลงในโลกีย์สุขลาภยศสรรเสริญเห่อเหิมอะไรของเขาเนี่ย
เขาเป็นอย่างนั้น
แต่มนุษย์อย่างพวกเราเนี่ยมัน
มันมันลงไปได้อย่างนี้นะ
ทรงผมของพวกเราก็อย่างเงี้ย
ทรงผมของเขาก็อย่างนั้น
พวกเราก็อย่างงี้หน้าตาเราก็ไม่ต้องไปแต้มไปแต่งอะไรก็อย่างเงี้ย
เสื้อผ้าหน้าแพ้แล้วก็นุ่งห่มอย่างเงี้ย
เสร็จแล้วเราก็มีชีวิตอ่อนน้อมถ่อมตนนั่งกับพื้น
พวกที่มาร้องเพลงน่ะลงมานั่งกับพื้นกับพวกเรานะ
เขาก็ต้องลงมานั่งกับพื้นกับพวกเรา
ที่ไปก็ลงมานั่ง
เขาก็ต้องเออ ขย่มขยับลงมา
แต่เขาก็นั่ง
นั่งข้างบน แต่ว่ามันก็เกรงใจ
เขาลงมานั่งกับพื้น
ก็อะไรกับพวกเรา
คะซึ่งเป็นสภาพที่เราจะต้องดึงถ่วงสังคม
นี่ลงมาให้ให้ให้ได้ให้เห็นจริงเป็นจริง
อาตมากําลังเกริ่นถึงว่า
แต่ก่อนคุณก็คงจะไม่นึกว่า เออ
เราจะมาเป็นอย่างนี้ มาล่อนจ้อนๆ
อย่างที่ว่าเนี่ย
มาเปลี่ยนไป แปลกไป
เกินที่คาด
อาตมาเชื่อว่าพวกคุณจะเกินคาดว่า
เอ้ เราไม่น่าจะมาบ้าได้ปานนี้นะ
ว่ากันด้วยสํานวนธรรมดาๆ
เราก็มาบ้าอะไรถึงขนาดเหมือนกันนะ
มันก็ไม่น่าจะบ้าได้ถึงขนาดขนาดนี้
แต่เราไม่ได้บ้าหรอก
เรารู้อยู่ว่าเรามีสติสัมปชัญญะ
มีเหตุผล
มีปัญญา
เรารู้ว่าเรามาทําอะไร
เป็นยังไง
เพราะเรามีใจพอ
เรามีความสันโดษ เรารู้แล้วชีวิต
อ่า
เล็บ
ผม ขน ฟัน หนัง มันก็อย่างงี้แหละ
เล็บมันก็อย่างงี้ ผมก็อย่างงี้
ขนก็อย่างงี้
ฟันก็อย่างงี้
หนังก็อย่างงี้
เราก็เข้าใจแล้วว่า
มันมีเพื่ออะไร
มีมาแล้วเราจะอยู่กับมัน
หรือเราจะจัดแจงกับมัน
เราจะต้องเป็นภาระกับมัน
มันจะเป็นภาระกับเรา
อย่างไรแค่ไหน
แค่นี้เราพอไหม ใจเราพอไหม
เราสุขสบายดีไหม
เรามีผมแค่นี้ อย่างนี้แหละ
เรามีเสื้อผ้าอย่างนี้
แค่นี้แหละ เรามีหน้าตาอย่างนี้
แค่นี้แหละ
ค่านิยมของโลกเราก็เข้าใจ
เข้าใจเขา
เขาจะนิยมอย่างที่เขานิยมกันอยู่
แต่เราก็ไม่ได้นิยมตาม
ไม่ได้ลอยไปตามโลกียะกระแส
ไม่ได้ไปตาม
โลกียะกระแส เค้าก็ไปของเค้า
เราก็เห็นอยู่
เค้าก็ไปอย่างนั้นแหละ
เค้าเป็นสุข
เค้ารู้สึกประเสริฐ เค้ารู้สึกว่า
อารยะ
เค้ารู้สึกว่า เค้าอารยะ
เค้ารู้สึกว่า เค้าเจริญ
เขาก็เป็นของเขาไปตามกระแสของเขา
แต่ส่วนเราก็ไม่ได้ล่องลอยไปกับกระแสเขา
เราก็เป็นตัวของเรา
แล้วเราก็รู้อยู่ว่าเราเองเราใจพอสันโดษ
คุณจะเข้าใจคําว่าสันโดษมากขึ้นว่าเออใจเราพอใจของเรามันไม่มันไม่
มันไม่เป็นปมด้อยปมเด่นอะไรเกินไป
มันก็เข้าใจชัดชัดมันมีตัวหยุดตัวพอ
มันมีตัวเห็นคุณค่า
เห็นประโยชน์
เห็นความเป็นภาระที่ปลงภาระ
ที่เบาภาระ เห็นความว่าง
เห็นความว่างความไม่หนักความสบายเนี่ยเป็นเรื่องของกิจของชีวิตที่เราประคบประหงมตนบําเรอตนแล้วเราก็หลงว่ามันเป็นโลกียสุขว่าเป็นเรื่องเชิดหน้าชูตาเป็นเรื่องที่น่าชื่นชมน่าได้น่ามีน่าเป็นน่ายินดี
โลกเขาเป็นอย่างงั้นชัด
แต่เราก็ไม่เป็นร่องรอยตามเขา เราหยุดแล้ว
เราหยุดแล้ว เราพอแล้ว
แล้วเราก็ไม่มีภาระแล้ว
ปลงภาระแล้ว วางแล้ว
วางแล้ว
วางโลกียะ
โลกียสุข หรือวางแบบโลกๆ ก็เป็น
วางได้สนิทใจ
เราเอง เรามีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าแล้ว
เรารู้แล้วว่า อย่างนั้นมันผลาญ
มันเป็นถ้าเผื่อว่าเป็นอย่างนั้นทําอย่างนั้นอยู่มันผลาญทั้งเวลาแรงงานและทุนรอนหรือวัสดุ
อ่าวัสดุของโลก
มันมันก็ผลาญไปอีกต่อ
เราก็เคยผลาญมาตอนนี้เราไม่ผลาญแล้ว
เราพอจริงไหมใจพอสันโดษจริงไหม
แล้วเรายังน้อยลงไปกว่านี้ได้อีกไหม
อภิชฌะ มักน้อยกว่านี้
อภิชฌะ สันตุฏฐิ
ปะภิเวกะ อสังสักคะ วิริยะัมภะ
ซึ่งเป็นคาถาวัตถุ 5
คาถาวัตถุ 5 มีคาถาวัตถุ 10
จากนั้นก็มีศีล สมาธิ
ปัญญา
วิมุตติ
วิมุตติญาณทัศนะอีก 5 ข้อ ก็รวมกันเป็นคาถาวัตถุ 10
คาถาวัตถุ 5 อภิชชะ
สันทิฏฐิ ปะวิเวกะ
อสังสัตคะ วิริยะัมภะ
มี 5 ข้อ
เราได้ปฏิบัติประพฤติ
ที่จริงน่ะของเรา คาถาวัตถุ
5 อันหลัง ศีล สมาธิ ปัญญา
วิมุตติ วิมุตติ ญาณทัศนะนั้น
ไม่ได้คลาดไปจากตัวเรา
เรามีอยู่ชัดเจน
เราเข้าใจในศีล
เข้าใจในสมาธิ เข้าใจในปัญญา เข้าใจในวิมุตติ
และที่สุดเข้าใจในวิมุตติญาณทัสสนะ ว่าเราพึงบําเพ็ญ เราพึงเป็นพึงมีหรือไม่
และอภิชฌะมรรคน้อย
เราได้มรรคน้อยเป็นประเภท
สภาพหมุนรอบเชิงซ้อนด้วยนะ มีสภาพหมุนรอบเชิงซ้อนคัมภีร์รา
ลึกซึ้งขึ้นไปเรื่อยเรื่อย
มันมักน้อยแล้วได้ แล้วก็พยายามตั้งค่าว่ามักน้อยแค่นี้
แล้วเราก็ปฏิบัติประพฤติให้มันมักน้อยอยู่จน
ทรงสภาพ
ใจไม่มีกิเลสมักน้อยขนาดนี้แล้วก็น้อยขนาดนี้ได้ เราสมบูรณ์ดีไหม
สมบูรณ์หมายความว่าเต็มหมายความว่าไม่ได้ทรมานตนทางกายก็ไม่ได้ทรมานร่างกาย
จิตใจก็ไม่ได้ทรมานจิตใจแล้วหมดทุกข์
ไม่มีทุกข์อันเป็นทุกข์ที่เราจะต้องเป็นสันดาป
สันตาปะทุกข์ ทุกข์ที่เกิดจากไฟราคะโทสะโมหะเป็นรากเหง้า
ทุกข์ที่เราไม่เข้าใจมัน
เพราะเรามาเป็นสภาพอย่างนี้จัดแจงให้ตัวเองอภิชฌะมักน้อยขนาดนี้
มีแค่นี้พอแค่นี้
ชีวิตของเราก็สังเคราะห์ไว้ได้
โดยสมบูรณ์ไม่ได้ทรมานจนร่างกายดี จิตใจนั่นแหละจะเป็นตัวที่ค่อยค่อยทําทีหลัง
ทําไปจนกระทั่งจิตใจมันสงบ จิตใจมันเกิดปัญญาหมดวิจิกิจฉามันลงตัว
จิตใจมันไม่มีต้านการไม่มีทุกข์
รู้แล้วว่าไม่มีทุกข์ เรามีแค่นี้พอแค่นี้
เรากิน เราอยู่ เราใช้
เรารับอะไรมาสังเคราะห์ชีวิตไว้
ชีวิตเราก็ใช้แค่นี้แหละ เป็นเครื่องอาศัย
เป็นอาหาระ
หรือเป็นวิหาร
เป็นอาหารนั่นแหละ ที่จริงอาหารนี่มันยิ่งกว่าวิหาร วิหารมันเหมือนหยาบกว่า
แต่ที่จริงโดยนัยยะลึกซึ้งมันสูงกว่าวิหารเราใช้ถึงขนาดนามธรรม
อยากมีเมตตาวิหารมีเอ่อสุญญตวิหารอะไรพวกนี้มันยิ่งลึกซึ้งเป็นเครื่องอยู่มีสภาพอารมณ์ของสุญญตอารมณ์ของเมตตาเป็นเครื่องอาศัยเป็นเครื่องอยู่ที่ลึกซึ้งอาหารดูหยาบกว่าเป็นเครื่องที่อยู่ที่สังเคราะห์ชีวิตนี้ไว้
เราก็มีชีวิตที่มีอะไรสังเคราะห์ไว้
เป็นเครื่องอาศัย เป็นเครื่องอยู่
ที่พอแล้วยัง
พอแล้วรึ
โดยเฉพาะปัจจัย 4
เราน้อยลงไปกว่านี้ได้อีกไหม
โดยเฉพาะสิ่งที่เราจะเอามายั้งชีวิตไว้ เป็นอาหาร
ปริยัติทุกข์
ซึ่งเป็นทุกข์อย่างนึง ที่เรารู้ด้วยปัญญาว่า เป็นเครื่องอาศัย
เป็นพฤติกรรมที่เราจะต้องมี
เราจะต้องทําแสวงหาในสิ่งที่ควรแสวงหา
แสงแสวงหาอาหารมากิน
แสวงหาเครื่องยังอยู่
พอเป็นไป
ซึ่งไม่เป็นภาระ ไม่ลําบากแล้ว พอเป็นพอไป
แสวงหางาน
ที่จะมากระทําสําหรับ
อริยะ ผู้เป็นอริยะ
ย่อมรู้ว่า
มันก็มีงานการ
ที่เราจะต้องเป็นเครื่องอาศัย
เป็นอาหาร ปริยัติ
อ่า
ไม่ใช่ว่าดูดาย หรือให้คนอื่นมา
คอยประคบประหงมเอาไว้เป็นภาระ
เราก็เลยหนักแผ่นดิน
ไม่มีท่าอะไรก็ไม่ใช่
เราก็ทํามาหากิน
แต่ในระบบของมนุษย์เราสูง
เราทํามาหากินอย่างเรา
มีการมีงาน
มีคุณมีค่า มีอะไร
เราก็ได้แสวงหา
เราก็ได้สร้างสรรค์งานการ
ในฐานะอริยบุคคล
หรือมนุษย์ผู้เจริญ
ก็เป็นผู้ที่มีเครื่องอาศัยอันนี้
จะบอกว่ามันเป็นทุกข์
มันก็เป็นทุกข์โดย
โดยอย่างงั้นน่ะ
เรารู้โดยปัญญา
มันเลี่ยงไม่ได้หรอก ชีวิตมนุษย์
มันเป็นชีวิตมันก็เลี่ยงไม่ได้
อหารับปริยัติ
ทุกข์ มันเป็นทุกข์อย่างนั้น
ไม่ใช่อวิชชา
เป็นปัญญาอย่างยิ่งด้วย
เราก็รู้อยู่ว่าเราเองเราก็ไม่ไม่หนักหนาเพราะวางใจพอเห็นจริงแล้วก็รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแล้วอ๋อมนุษย์เกิดมามีคุณค่าประโยชน์มีอันนี้แหละคือตัวมนุษย์มนุษย์คือกรรมกรรมคือมนุษย์มนุษย์คือการงานการงานคือมนุษย์และการงานที่ยังกุศลให้ถึงพร้อม
อันใดเป็นบาป
อันใดเป็นสิ่งไม่สมควร
เรารู้ เราก็ละเว้น
เราก็เลิกเด็ดขาด
อันใดเป็นคุณค่า
เราก็ยังคุณค่านี้ไป
จนกว่ามันจะตาย
พระบรมศาสดาเราก็ทํางานอย่างนี้ไปจนตาย
จนสิ้นชีพดับขันธ์ปรินิพพาน
ก็ชัดชัดแล้วแม้พระมหาสาวกต่างต่างก็ขวนขวาย
ถึงขนาดทํางานไปอย่างพระโมคคัลลานะ
สุดท้ายก็ยังต้องตายเพราะการงาน
การงานที่มันไปขัดใจคนอื่นเขา
การงานที่มันไปย้อนแย้ง
มันไปทวนกระแส
จนคนเขาไม่ชอบใจ
ขนาดคนมีฤทธิ์ ปานนั้น มีฤทธิ์มาก
ฤทธิ์มากเลย ต้องตายแบบนั้น
มันตลกนะ
มีฤทธิ์แบบโลก
ที่จริงจะชนะได้ด้วยนะ
ขนาดตายชุบตัวเองฟื้นทําอะไรฤทธิ์
เราเข้าใจเป็นง่ายง่ายจะชุบตัวเองด้วยทางไหนก็ตามใจ
ซึ่งมันเป็นได้
น่ะเหลือเกินที่เราจะคิด
เพราะฉะนั้นเราไม่ต้องคิดแล้วก็ฟังเหตุผลที่เข้าใจแม้จะเป็นดังนามธรรมหรือจิตระทึกมกราธิฐานก็ตาม
สามารถตายแล้วก็ฟื้นฟื้นแล้วก็ตาย
เอาตายอีกก็ฟื้นฟื้น
จนสุดท้ายต้องยอมตายยอมน่ะ
คนฟังทางนามธรรมหรือบุคคลาธิฐานมันก็ลงตัวกันด้วยเหตุผลสุดท้าย
ต้องยอมตายจริงจริงอะตายปรินิพพานไปเลย
ตายนี่ทิ้งขันธ์ไปเลยนะ
ตายด้วยวิธีต้องให้เขาฆ่า
ให้ฆ่าศึกศัตรูฆ่าเหมือนแพ้
ทั้งทั้งที่ชนะนะ
สามารถที่จะเอาชนะได้เพราะมีฤทธิ์มาก
แต่ต้องยอมแพ้เป็นที่สุด
ต้องตาย
ตายเพราะงาน งานไป
ไปแข่งขันเขา
ไปต้านโต้
เขาไปรบรากับเขา
เขาก็จะต้องเอาชนะให้ได้
แต่เขาไม่ได้ชนะนะ
คนที่เขาทําให้พระโมคคัลลานั้นตาย
ไม่ได้ชนะ
เขาก็ไม่ได้ชนะ
ของเราก็ไม่ได้สาบสูญ
ของเราก็ไม่ได้น้อย
น้อยได้ด้อยลงไปเลย
ทางด้านศาสนา
ก็งอกงาม เจริญ
แม้บุคคลนั้นจะตายไปเพราะ
ทํางานศาสนานี้ก็ตาม
ศาสนาก็เจริญงอกงามมาจนกระทั่งถึงป่านนี้
ก็เพราะว่า
พระพุทธเจ้า
ผู้เป็นบรมศาสดา
พระมหาสาวกต่างๆ
ได้สร้างสรรค์ ได้มีการงาน มีอาหา และปริยายธิ ทุกข์
รู้ว่าเป็นทุกข์ทุกข์ที่รู้ชัดรู้เจนด้วยปัญญาอันยิ่งและเราก็มีสามัญลักษณะเข้าใจแล้วมันก็เกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปวนเวียนอยู่ในกรรมกิริยาพฤติกรรมเท่านั้นกรรมการงานมันก็เป็นการสร้างสรรค์เป็นธรรมดาเมื่อเราเข้าใจแล้วมันก็ไม่มีปัญหาอะไร
เราไม่พัก เราไม่เพียร
เท่านั้นเอง มันก็จบ
ถ้าเราเข้าใจ เราจะเข้าใจ
ในความหมายว่า เราไม่พัก
เราไม่เพียร
เรามีอายูหะ เรามีความเพียร
เรายังมีอายุ
เราก็มีตัวอายุ มีตัวอิทธิบาท
เป็นไป
มีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
ในการงาน
มีฉันทะในการงาน มีวิริยะในการงาน มีจิตตะในการงาน มีวิมังสาในการงาน
มันก็เจริญเป็นไป มันก็เข้าใจแล้วว่า ชีวิตมันก็คืออย่างนี้
แล้วเราทํางานด้วยความเป็นทาสของโลกธรรม
ทํางานเพราะลาภเป็นเจ้าเรือน
ลาภเป็นนาย
ทํางานเพราะยศมาเป็นนาย เราจะต้องแย่งชิงยศ
เพราะเราจะต้องการยศ
ต้องแสวงหายศ แสวงหาลาภ
แสวงหาสรรเสริญ
แสวงหาโลกียสุข มาหรือเราถึงค่อยทํางาน
เราทํางานเพราะโลกธรรมอย่างนั้นหรือ
เปล่า
เราไม่ได้ทํางานเพราะโลกธรรมอย่างงั้นเลย
แน่นอนลาภ เราก็ไม่ได้ไปหวังที่จะได้อะไร
มันก็เป็นไปตามธรรมของมันพอสมควรและเราก็ไม่ได้มานั่งสร้างหนี้ไม่ได้นั่งมานั่งเอาเปรียบ
เรามีแต่จะเสียสละเรามีแต่จะสร้างสรรค์เพื่อเป็นคุณค่าประโยชน์ออกไป เป็นบุญไม่ใช่เป็นหนี้
สิ่งเหล่านี้อาตมาคิดว่าพวกเราฟังภาษาธรรมะเป็นภาษาธรรมที่เราพูดกันอยู่นี่เข้าใจดี
คนเก่า คนแก่
ที่มาแล้วก็มาหัดมาฝึก
จนกระทั่ง เดี๋ยวนี้อาตมาว่า ถ้าไม่โง่เกินไปนี่
พูดซ้ําซาก พูดย้ํา ยืนยัน
ชี้ทั้งชีวิตที่เราเปลี่ยนแปลงมา
ระบบสังคม
ระบบที่พวกหมู่พวกเราเป็นอยู่
ระบบวนเวียนอยู่วันๆ คืนๆ เช้าขึ้นมาก็เป็นอย่างนี้แหละ
อาตมาก็เคยชี้ให้พวกคุณได้มอง
ได้ใช้ปัญญามอง ว่าตื่นเช้าขึ้นมา เราก็มีสัญญาณตื่นมา
พยายามสร้างความตื่นให้แจ่มใส
ไม่ง่วง
เราก็รู้ว่าเป็นโทษเป็นภัย เราก็ได้ดีขึ้นมาบ้าง แต่ก่อน บางคนง่วงเอาหนักเอาหนา
ง่วงลําบากลําบน แต่พอมาฝึกปรือเข้า ก็รู้สึกว่าพอเป็นไปได้
แต่ขณะนั้นมันก็ยังยาก เพราะว่า
จิตที่มันหลงใหล ติดยึดในความเบา ความว่าง มันไม่เคยพบ
มันตาย อด จะอยาก ไม่เคย
พบเคยเห็น
ก็มันมาเจอ
ภพก็นั่งซึม นั่งหลับ ง่วงเลย โอ้
มันเบา มันว่าง มันง่าย อย่างนี้หนอ
ก็โลกเบาว่างอย่างนั้น ใครจะไม่รู้ แล้วนั่งซึม
ซื่อบื้อ มะรืนทื่อ
อย่างนั้นน่ะ นิ่งๆ อย่างนั้นน่ะ
นั่งจมอยู่อย่างนั้น ใครก็เข้าใจว่ามันหยุด มันว่าง
ยิ่งนั่งดับได้เป็นฤาษี
นั่งนิโรธเลย ดับไม่รู้เรื่อง รู้หนรู้ห่าวเลย มันยิ่งเบาว่าง
ไม่ประหลาดอะไรหรอก
แม้แต่นั่งไป ไม่ได้ดับนิโรธอะไร นั่งไปก็ไปวุ่น อยู่ในภพ ไม่รู้ว่าฟุ้งซ่านอะไร
ไป
ตามเรื่องตามราว มันก็ยังเบา ยังว่าง
แล้วจะไปประหลาดอะไร
เรื่องอย่างนี้ก็บอกเหตุผล
บอกตัวจริงอยู่แล้ว ทุกคนก็เข้าใจทราบดี
แต่เราก็รู้แล้วว่าก็อย่างงั้นแหละมันก็ไม่ได้หมายความว่าเราไปให้มันอีกนอนให้มันอีกหรือว่าไปตกภพให้มันอีกมันก็เป็นกําไรอะไรไม่ใช่เหรอมันไร้ค่าด้วยซ้ํามันทําให้เราเสียเวลาจมเสพแล้วก็ติดหนักด้วยนะยิ่งติดยิ่งหนักยิ่งหนักยิ่งติดใครลองซ้อมดูสิ
ซ้อมดูเอา ก็ไปทางนี้ หลวงพ่อ มันยิ่งหนักยิ่งติด
เหมือนกับคนติดนอนนี่แหละ
ลูกๆ ใครอาจจะเคย
บอกว่าทําไมมันง่วงนัก แต่นอนให้มันหายง่วง
ยิ่งนอนก็ยิ่งนอนยาว
เอาไปลองดูสิ ไม่เชื่อคุณ
ยิ่งนอนยิ่งนอนได้ยาว ยิ่งชํานาญ
แต่ก่อนนี้นอนเท่านี้
พอถึงเวลานี้ตื่นแล้ว
นอนต่อไปอีกไม่หลับแล้ว ลําบาก
พลิกไปพลิกมา พลิกมาพลิกไป
นอนไม่ค่อยหลับ
ผมฝึกต่อไปอีก อ้าวต่อได้อีกแฮะ
ต่อเร็ววันละชั่วโมง
วันละสองชั่วโมง
ต่อไปได้เรื่อยเรื่อย
เออสิบชั่วโมงแล้วก็ยังนอนต่อได้เว้ย
สิบสองชั่วโมงเราก็นอนต่อได้
เดี๋ยวนอนต่อไปอีกไม่กินแล้วข้าว
สิบห้าชั่วโมงก็นอนได้
อ้าวคนเคยเคยจริงจริงนะคุณก็คนเคยฝึกดูสิ
ยิ่งนอนได้ยาวแหม่
ไอ้เรื่องกินไม่ต้องมากเพราะว่าจริงจริงเวลามันนอนมันก็ไม่ต้องกินอาหารมาก
แต่มันกิเลสเท่านั้นแหละมันรู้ว่าเคยมันเคยมันหิว
ถ้ายิ่งนอนยิ่งไปมันในตระการนอนแล้วนะ
เอ้ยไม่มากหรอกกินตื่นขึ้นมากินสักประเดี๋ยวเท่านั้นน่ะ
เดี๋ยวก็นอนได้อีกนอนไปดิ
นะ
เหมือนกัน
ไอ้นี่ก็เหมือนกัน
เรานั่งตกภพไป
รีๆ หลับๆ
ก็ยิ่งรี
ยิ่งหลับก็ยิ่งติด
ก็ยิ่งมันก็ยิ่งอร่อย
ก็ยิ่งนอนยาว
นอนนาน
ก็ยิ่งตกภพไปนินาน เป็นภาวะตัณหา
เป็นตัณหาในภพ
แล้วมันไม่ได้สะอาดนะ
ในภพนั้นมันฟุ้งซ่านบอกแล้ว
ไม่ได้ฝึกเพราะฉะนั้นเราจึงจะต้องมาฝึกเจโตสมถะเนี่ย
เพื่อล้างในภพนี่ให้ไม่ให้มันเป็นอย่างงั้น
ตกภพอย่างงั้นไม่
แล้วเรารู้ให้ชัดเลยว่า
นั่งให้สบายนั่งให้ขนาดตกภพมันก็ยังชอบ
เรานั่งให้สบาย
ยิ่งลึกซึ้งเข้าไปอีกชั้นนึงเข้าไป
ว่านั่งว่างสบายเนี่ย
เราปรับจิตของเราได้
นั่งเข้าไปก็อยู่ในสภาพที่ไม่ฟุ้งซ่าน
ปราศจากนิวรณ์เป็นฌานฤาษีนี่แหละ
ที่จริงไม่ใช่ฌานฤาษีหรอก
ฌานพุทธเราก็เรียน
เจโตสมถะนะ
เราก็เรียน เรียนเพื่อรู้นะ
เพื่อเสริมหนุน
แต่แท้จริงไม่ต้องมานั่งติดภพนี้ก็ไม่
ไม่เป็นไร
เรียนไม่ใช่เรียนเพื่อให้ไปตกภพแล้วก็ติดภพ
เพราะงั้นมานั่งเจโตสมถะนี่
ให้รู้ว่ามันเบาว่างอย่างนั้น
มันเป็นของอร่อยชนิดนึงเหมือนกัน
เป็นของอร่อยเพราะฉะนั้นถ้าเราไม่รู้ก็เป็นโลกียะ
ต้องเสพแสวงหาและติดใจ
อัตสาทะเพราะฉะนั้นเราจะรู้โดยไม่ติดใจ
ต้องรู้มัน
โดยเฉพาะคนอย่างเรา
แม้ว่าคุณเองนี่นะ
คุณไม่ได้
ไม่ได้ไปเสพภพอย่างนี้นี่นะ
คุณตายไปแล้ว คุณก็ต้องได้อยู่ดี
คุณยังมีกิเลสที่เป็นภาวะตัณหา
แต่ตายแล้วมันไม่สูญนะ
ยังเป็นภาวะตัณหาอยู่
ตายแล้วมันก็เสพภพนั้นอยู่
ซึ่งมันละเอียดลออมาก
คุณไม่นึกเลยว่า เอ๊ะ
มันจะมีอะไรหรือ
ก็มีอันนั้นแหละ
เพราะจิตวิญญาณมันเป็นอาการเสพอาการที่มันยังเป็นสภาพนามธรรมทั้งนั้น
มันก็อร่อย
ไอ้อัดอ้อยอยู่นี่แหละ มันไม่สูญ
เพราะฉะนั้นเป็นอนาคามีก็ได้ถ้าเผื่อว่ากิเลสกามกิเลสอะไรของคุณหมด
คุณจะอร่อยอย่างงี้แล้วไม่มีอะไรปลุกเลยคุณ
ไอ้ตอนที่ตายไปไม่มีรูปนามขันธ์ห้า
ไม่มีตาหูจมูกลิ้นกายไม่มีสุรภาว
ไม่มีสติมันโต
ตายไปแล้วตกภพอย่างนี้ด้วยแล้วนี่นะคุณ
ถ้ายิ่งตกภพไปอย่างนั้น
ก็อยู่ไปได้
กี่ชั่วโมง
กี่เดือน กี่วัน ก็อยู่ไปได้
ทีนี้แล้วตกไม่มี
เหตุปัจจัยที่จะเป็นเครื่อง
ที่จะต่อออกมาสู่ภพนอก
นับเป็นล้านล้านปีจมอยู่ตรงนั้นแหละ
แม้คุณจะเป็นอนาคามีสังโยชน์เบื้องต่ําศูนย์แล้วนะ
ไป
เป็นล้านล้านปี
น่ากลัวมาก
น่ากลัวมาก
จมอยู่อย่างงั้นแหละ
แทนที่จะสลาย
แทนที่จะสูญ ไม่ได้เรื่อง
แล้วมันไม่ได้เรื่อง
ตั้งแต่เป็นเป็น
ก็มันไปติดอยู่อย่างงั้น
มันก็ไม่ตื่นตัว
มันก็ไม่สดใส
มันก็จะไปเอาแต่อยู่ในภพ
ซึมบือทึก
อยู่อย่างนั้นแหละ
มันก็ไม่ได้อะไร
มันติดนะ
ความติดเป็นกิเลส
ความอร่อย อัสสาธะ แม้แต่นรก ภวตัณหา เป็นกิเลส
เพราะฉะนั้นต้องมาล้างออก พระพุทธเจ้านี่ลึกซึ้งจุดนี้ แก้ไขปมประเด็นของฤาษีพวกนี้ออกเกลี้ยง
พระพุทธเจ้านี่
ท่านเห็นท่านชัดเจน
อาตมาจึงมาเห็นตาม
มาเห็นตามมา
รู้ว่าชัดแจ้งด้วย ก็โอ้ ไอ้อย่างนี้เองนะ มันมนุษย์มันนาเนี่ย
แล้วมันก็หลงใหล
หลงติด หลงยึด
เพราะงั้นเรามาศึกษาจริงๆ พยายาม
จึงจะเห็นแล้ว ยิ่งคุณจะเห็นชัดเจนว่า ที่อาตมาหยิบตัวนี้ออกมา เราไม่พัก เราไม่เพียร
เราจึงฆ่าผู้เข้าสุสานได้แล้ว
ฆ่าผู้เข้าสุสานได้ ก็คือ นิพพาน
ได้พ้นฝั่ง
ฝั่งโลกียะไปสมบูรณ์
ก็เป็นนิพพาน
ภาษาอีกภาษาหนึ่ง ภาษาแทนกัน เป็น synonym
เป็นภาษาที่ใช้แทนกันได้ กับนิพพาน
เนี่ย
เราไม่พัก เราไม่เพียรนี่ จะเห็นความนี้ชัดเจน
อ๋อ
สุดท้ายนี้เราก็มามีอยู่กับกิจการงาน
เป็น อาหา ละ
ปริยายจิต ทุกข์
เป็นทุกข์ที่เรารู้แน่
รู้แท้เลยว่าการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปแหละ ทุกข์มันก็มีแต่ทุกข์เท่านั้นแหละเกิดขึ้น ทุกข์เท่านั้นแหละตั้งอยู่ ทุกข์เท่านั้นก็ดับไป
แล้วตัวทุกข์ตัวนี้เป็นทุกข์ที่วางใจ
เป็นทุกข์ที่เรารู้ยิ่งด้วยปัญญาอันยิ่ง
ไม่มีอวิชชาแล้ว
เข้าใจอย่างดีเลยว่า อ่อ มนุษย์ทรงอยู่อย่างนี้
อาศัยอันนี้
แสวงหาอย่างนี้ เป็นเครื่องอาศัย
อาหารักปริยัติ
ปริยัติ อาแสวงหาอาหาร แสวงหาที่อาศัย ที่อยู่อย่างนี้ ต้องมีความเป็นอยู่อย่างนี้ แสวงหาอย่างนี้
ผู้ไม่แสวงหาสิ
ผู้ไม่แสวงหาสิผิด
ท่านระบุแล้วว่านี่เป็นทุกข์
ทุกข์ในการแสวงหาของอริยะ
แสวงหาอาหาร เป็นต้น แสวงหาการงานที่สมควร
เพราะเราอยู่ในการงานเรามีความเพียรมีอิทธิบาท จึงเป็นฐานอาศัยของมนุษย์
ที่ประเสริฐสุด
เหมือนอย่างกับพระพุทธเจ้า เหมือนอย่างกับสาวกอย่างที่ว่านะ
เพราะฉะนั้นถ้าตัวเราเป็นคนที่มีคาถาวัตถุห้าที่สมบูรณ์
เป็นคนมักน้อย
ได้น้อย สภาพซ้อนเชิง
ชีวิตอาศัย
ปัจจัย 4 ก็รู้แล้วล่ะ ไม่สะสมแล้วล่ะ
เป็นมนุษย์
วรรณะ 9
ไม่สะสม
มรรคน้อยได้ อภิชฌะก็อยู่ใน
วรรณะเก้าด้วย
อภิชฌะมรรคน้อย สันโดษก็อยู่ในวรรณะเก้าด้วย
ขัดเกลา
ขัดเกลาใจ จนใจไม่มีอะไรจะขัดเกลาแล้ว ขัดเกลากิเลสจนเกลี้ยงและสรรเลขา
ถ้าเราขัดเกลากิเลสจนเกลี้ยงแล้ว เรายังขัดเกลากายกรรมวจีกรรมได้อีกนะ
ขัดเกลากายกรรม วจีกรรม แม้พระอริยะเจ้า
พระอรหันต์
ขนาดพระสารีบุตร ยังขัดเกลาตัวเองที่ดุ๊กดิ๊ก ดุ๊กดิ๊กเป็นลิง
พอเป็นลิงมาตั้ง 500
ชาติ เดี๋ยวนี้พระพุทธเจ้าท่านพยากรณ์ให้
ไม่ค่อยจะเป็นคนสุภาพ
เป็นคนกรุบกริบ จุกจิกอะไร
ท่านก็ยังต้องขัดเกลาวัดขนาด
อัครสาวกเบื้องขวา เป็นพระอรหันต์เจ้า ชั้นใหญ่นะ
ก็ยังต้องมีสิ่งที่ต้องขัดเกลาปรับปรุง
กายกรรม
วจีกรรม
ของท่านมันก็ยังไม่สมบูรณ์
มันยังไม่งามพร้อม
มันดุกดิกยุกจิ๊กอะไรกันก็ต้องทํา
ให้เป็นคนสุภาพสงบเหมือนอย่างพระอัสชิ
ยกพระอัสชิเป็นอาจารย์อย่างยิ่ง
อย่างนี้เป็นต้น
หลักฐานตํานาน เรื่องราวพวกนี้
มันประกอบให้เราได้เข้าใจถึงความลึกซึ้งต่อไป
นี่เราอธิบายถึงขั้นว่า
แม้เป็นพระอรหันต์แล้ว
จะต้องปฏิบัติอะไร
มีอะไรที่จะทําความเจริญ
มีอะไรที่จะต้องเป็นสิ่งที่จะดีงามขึ้นไปอีก
เห็นมั้ย
มันมี
แต่ท่านไม่ทุกข์แล้วด้วยจิตวิญญาณ
กิเลสท่านไม่มี
กิเลสท่านสูญพระสารีบุตร
ท่านไม่มีทุกข์
ไอ้ประเภทที่ทุกข์ด้วยอวิชชาทั้งหลายแหล่
แม้แต่ท่านยังจะปรับ
จิตใจ เอ้ย ไม่ใช่ปรับจิต
ปรับกาย ปรับอะไร
ความเป็นพฤติกรรม
ที่ทําให้มันดุ๊กดิ๊ก
มันอะไรเนี่ย
ถ้าปรับของท่านอยู่
ท่านก็ไม่ทุกข์
เพราะท่านวางใจได้ท่านเข้าใจด้วยปัญญาอันยิ่งแล้ววาสนาบารมีสิ่งนี้เราต้องพากเพียร
เจตนา เจตนาตั้งใจ
ที่จะทําให้มันเจริญขึ้นเพราะคนเรามีความเจริญได้ไม่มีที่สิ้นสุด
ไม่สันโดษในกุศล
ไม่สันโดษในความดีงาม
ไม่สันโดษในความเจริญ
เป็นความไม่สันโดษในความเจริญ
เป็นไปอีกไม่มีพอ
ในความเจริญจะไปพอทําไมมันเจริญได้อีกอย่างไร
เจริญเข้าไป
จนกว่าจะจบสิ้นเป็นปรินิพพาน
ถ้ายังไม่ปรินิพพานยังมีความเจริญ
ยังมีสิ่งที่กอบก่ออยู่
เรื่องอะไรที่จะต้องหยุด
ยังกุศลให้ถึงพร้อมต่อไปได้
มีเหตุผลต่างต่างที่อาตมาเอามาประกอบให้เพื่อให้พวกเรานี่คลายใจหรือว่าพ้นวิจิกิจฉาว่าอ๋อมันมีที่จบอย่างนี้มันมีที่มนุษย์เจริญสุดก็เป็นอย่างนี้ต้องมีอย่างนี้อะไรมันสุดขาดอะไรมันหมดศูนย์สุญญตาอยู่ที่ไหนความเจริญไม่ต้องสุญญตา
ความเจริญเป็นไปได้เรื่อยๆ
จนกว่าเราจะตาย
ปรินิพพานถึงจะสูญทุกอย่าง
ยังไม่ปรินิพพาน
ยังมีสูญหรอก
ยังมีรูปนามขันธ์
5 อยู่ ยังเป็น สะ อุปาทิเสสะ
ถ้านิพพานก็นิพพาน
เป็นพระอรหันต์เจ้า
ที่เป็นสาวกาทิเสสนิพพานแล้ว
ก็ยังต่อ
จะมีอะไรต่อ
ความเจริญต่อ
ไม่มักน้อยในสิ่งนี้นะ
อันนี้ก็เหมือนการย้อนแย้ง
แต่ไม่ย้อนแย้งหรอก นะ เรา
อภิชฌะก็ดี
สันตติก็ดีใจ
ไม่พอในสิ่งเหล่านี้ ไม่พอ
ไม่สันโดษ ไม่สันตติในกุศล
แล้วไม่มักน้อยในกุศลหรอก
ต้องชัดเจนด้วยเหตุผลนี้
เราเป็นคนมักน้อย
แต่เราเป็นคนไม่มักน้อย
พูดเล่นโวหารเหมือนเซน
เราเป็นคนมักน้อยแล้ว
แต่เราก็ไม่มักน้อย
เราเป็นคนสันโดษแล้ว
แต่เราก็ไม่สันโดษ
เหมือนพูดญวนๆ ภาษาเซน
แม้เราเป็นพระอรหันต์
เราก็ยังต้องพูดอย่างนี้
เราเป็นคนสันโดษแล้ว
แต่เราไม่สันโดษหรอก ในกุศล
เราเป็นคนมักน้อยแล้ว
แต่เราไม่มักน้อยหรอกในกุศล
ไม่เป็นปัญหาเลย
เพราะงั้น เรายังมีความขัดเกลา
สิ่งที่ยังบกพร่อง
สิ่งที่ยังไม่เจริญ
สิ่งที่ยังไม่พัฒนาอยู่
อะไร จุดไหน ก็แล้วแต่
เราจะพัฒนาต่อไปอีก
เพราะในตัวอภิชฌา
จะขอเน้นคาถาวัตถุ
5 ให้ชัดเจนอีก
เรามักน้อย
ยังมีอีกไหม
ที่จะมักน้อยอะไรได้อีก
อะไรที่มันฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือยรุ่มร่าม
สุรุ่ยสุร่าย
หรือว่าจะตัดเจียนลงมาให้อีก
ได้งามขึ้นไปอีก
ให้สุขุมประณีตขึ้นมาอีก
จะเป็นกายกรรม วจีกรรมก็ดี หรือแม้แต่วัตถุ
วัตถุที่เรายังเปลือง ยังผลาญอยู่สุรุ่ยสุร่ายนะ เนี่ยเราใช้อันนี้เปลือง
เพราะเราไม่ประณีต ไม่สุขุม
เป็นคนไม่เรียบร้อย
ทิ้งขว้าง
หรือยัง
ทําไมเรายังเป็นคนใช้อันนี้เปลืองอยู่ ผลาญอยู่มากอยู่
ตัวเราโตกว่าเขาไปหรือ
ถ้าโตโตโตก็อาจจะใช้ผ้ามากหน่อย น้อยกว่านี้ไม่ได้
มันตัวมันโตมากจริงจริงก็ว่าไป อันนี้จํานน
ตัวมันโตมาก ก็ต้องใช้ผ้ามากหน่อย
มากกว่าคนที่มันน้อยหน่อย
อาตมาอาจจะใช้ผ้ามากกว่าท่านสุริโยภาโส
เพราะท่านตัวสั้น
แล้วก็อาจจะใช้ผ้าผืนนรพรน้อย ผืนเล็กก็อาตมาก็ได้ หรือท่าน
ชาตวโร ก็ต้องยิ่งเทียบกันแล้ว
องค์นี้เปลืองผ้ามากกว่า สุริโยภาโส
ก็ใช่
จํานนล่ะ อันนี้ตรงตามควร
จะไปนุ่งห่ม เขินๆ เอาผ้าท่านสุริโยภาโสมมานุ่งห่ม
เอ๊ เป็นพระมินิยังไง
มันจะเป็นพระมินิไป
ก็ดูไม่ดี
ก็เอาสมเหมาะสมควร
เราก็รู้ที่จบแล้ว อย่างงี้ไม่มีปัญหา
อ่าถ้าตรงนี้ใช้อย่างงี้ผ้ามากกว่าหน่อยนึง แต่มันมีขีดละอะอิจฉาเราน้อยแล้ว
อย่างนี้เป็นต้นเนี่ย พูดนี่พูดหนูยกตัวอย่างให้ฟังว่ามันมีขีดจบนะ
ปัจจัย 4 ก็ตาม อาตมา
จบในเรื่องที่อยู่อาศัย
แม้ไม่มีกุฏซักกุฏ ไม่มีที่ที่หลบนอน
อาตมาก็ว่า อาตมามีกรด 1 อันแล้ว
อยู่ได้ตลอดตายอาตมามั่นใจนะมีกรดเนี่ยอาตมาอยู่ได้ตลอดตายถึงแม้ว่ามันมีกรดอันนี้แหละมันจะหักจะพังมันจะผุมันจะกร่อนมันจะอะไรอาตมาก็ว่าอาตมามีปัญญาซ่อม
ซ่อมชัยอาตมาว่าอาตมาอธิษฐานอาตมาว่าอาตมามักน้อยได้ขนาดนี้อาตมาว่าอาตมาสันโดษได้ขนาดนี้
เป็นเสาเดียว
ขนาดนี้ อาตมาว่าอาตมาจะใช้ไปได้จนตายนะ
แม้มันจะผุ
อันนั้นไม่นี่ อาตมาก็ว่ามันจะซ่อมแซมได้
อ้าว
ซี่มันหัก เกิดอะไรขึ้น อาตมาก็คิดว่าจะซ่อมได้
ซ่อมได้นะ อาตมามั่นใจว่าซ่อมได้ จะดาม จะต่ออะไร อาตมาก็ว่า
มันจะมีความจําเป็น จะต้อง
ใช้อันนี้ไป ไม่มีใครอนุเคราะห์อีก
เราจะต้องเอาเวลา
หาวิธีการมา หาวัสดุมาซ่อม มาแซมใช้
อาตมาว่าอาตมา
no problem
ไม่มีปัญหา
อาตมาว่าอาตมาไม่มีปัญหา
อาตมาใจพอ
สบายได้
เครื่องนุ่งห่มเหมือนกันถ้ามันไม่มีอะไรก็ปะก็ชุนไปผืนนี้ก็ปะชุนไป
ไม่รู้ล่ะเก็บไม่มีโอ้โหตลาดเดี๋ยวนี้มีภาพบังสุกุลที่จะเอามาปะมาชุนเยอะ
อุดมสมบูรณ์อาตมาว่าอุดมสมบูรณ์กว่าสมัยพระพุทธเจ้าเยอะแยะ อาตมาว่าอาตมาจะปะมันเป็นศิลปะอย่างใหม่
อย่างชีวิตนี้อีก
10 ปี 20
ปี ผ้าผืนนี้ ก็ต้องปะ ต้องชุนก็ปะไป
ปะไป ชุนไป
จนกว่ามันจะเป็นผ้าผืนใหม่ มันจะเป็นผ้าผืนใหม่ได้นะ คือปะชุนไปจนกระทั่งของเก่า มันต้องหมดไปสักวันนึง มันก็จะเป็นผ้าผืนใหม่
แต่มันก็จะอยู่ในรูปนี้แหละ ในรูปที่เรา
สภาพนี้แน่ๆ อยู่ใน
เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนอย่างนี้
แต่เรา
อ่าเรียกว่ากระทงมันคงมากกระทงกว่านี้แหละตอนเนี้ย
กระทงมันไม่ไม่ก็เป็นกระทงแบบคันคันนาอย่างงี้แล้วถ้าเผื่อว่าอย่างงั้นไป อาตมาก็จะว่าเออถ้ามันจะเป็นอย่างงั้นอาตมาก็จะพอใจเหมือนกันนะ เออเราก็จะเป็นพระพระ
พระ อย่างงั้นแหละดูดูแล้วก็เออ
ไม่มีใครสงเคราะห์นะ
ผ้าบังสุกุลจริงๆ
อาตมากลับคิดว่ามันจะดูขลัง มันจะดู
น่าเลื่อมใสจริงหนอยิ่งกว่านะ ทุกวันนี้มานุ่งผ้าห่มผ้าใหม่ใหม่ อ้าวพอยังเก๋ายังไม่เก๋าเท่าไหร่แล้วผ้าใหม่มาแล้ว
อาตมาว่ามันไม่ขลังมันไม่น่าเลื่อมใส
มันไม่ปาสาทิโกมันไม่มีอาการที่น่าเลื่อมใสเท่าอย่างนั้นด้วยซ้ําทว่าไป
บางคนพวกเราจะเห็นนะ
มีพระรูปนึงเนี่ยชอบนุ่งผ้าปะปะมา
พระอานนท์
แล้วพวกเราก็เลยเดี๋ยวนี้ก็ดีเหมือนกัน
พวกเรามีก็มีจีวรปะปะกันพอสมควรบางคน
ระวังมันปะมันหนาเกินไปแล้วมันหนัก
ถ้ามันไม่จําเป็นก็ไม่ต้องถึงขนาดนั้นก็ได้
เดี๋ยวก็จะหาว่าพวกเรายากจนเกินไปไม่ดูแลกันเลย
อ้อนี่ไม่มีอุปัฏฐากอุปถัมภ์ซะเลยนะ
ผ่าโดยที่ปะจนหนักจนแบกไป
มันก็เกินไปมันก็ถึงขนาดต้องไปปะมันแบกอะไรขนาดนั้นหรอก
มันปะพอเป็นพอไปแล้วระวังอะ
บางทีมันปะปะไปขนาดนึง แล้วมันก็
ผ้ามันก็เปื่อยแล้ว
นั่งก็แขวะ ลุกก็แขวก
แล้วมันก็โป๊ตาย
มันเก่าแล้วมันก็ไม่ ไม่ทนไม่ทาน
ก็เอาขนาดนึง เรามีที่จบ
พอเหมาะพอควร
ให้ดูว่าไม่ดูสุรุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือย
มันมีมากก็เลยสุรุ่ยสุร่ายเกินไปก็ไม่
อาตมายังยินดีบอกเลยว่าผ้าแต่ละผืนเนี่ยอาตมาขอต้องนุ่งจนถึงปะบ้าง
ต้องปะไปพอสมควรมันไม่ถึงขนาดที่จะควรจะทิ้งก็จะขอปะนุ่งผ้าปะ
อาตมาจะนุ่งผ้าปะ
ขณะนี้สบงอาตมาก็ปะอยู่หลายแห่ง
น่ะมีจีวรผืนนี้มันใหม่ก็ยังไม่ได้ปะ
เขาก็เอามาเปลี่ยนไปแล้วกับพื้นก่อนก็ปะพอสมควร
แล้วก็เขาก็พยายามอยากให้เปลี่ยนอยู่เรื่อยแหละอาตมาน่ะ
น่ะเป็นคนมีบุญน่ะเขาไม่อยากให้นุ่งผ้าปะเปาะเปรอะ
ทั้งทั้งที่เราว่าผ้าปะมันขลังดีนะมันอับบิชะมันดูมักน้อยมันดูสันโดษดี
เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่าเราเข้าใจอาการที่น่าเลื่อมใส
เราจะหันกลับมามองเห็นอีกสภาพนึง
สภาพโลกเรามอง ต้องผ้าใหม่
ยิ่งเก่าๆหน่อย
ไม่ใช่สีไม่สดแล้ว ซีดๆหน่อยแล้ว
ก็ต้องทิ้งเป็นผ้าขี้ริ้ว
ทั้งๆที่มันยังไม่ขาด
คุณก็คงจะเคยมาในผู้ที่มีฐานะพอปานกลาง
หรือใช้ได้
ไม่จนเกินไป
ใช่ไหม เรารีบทิ้งรีบขว้าง
สุรุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือย
แต่ก่อนเราไม่เป็นคนมัธยัสถ์
ไม่เป็นคนที่มักน้อย
ไม่เป็นคนที่รู้จักประหยัดมั่ง
สุรุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือยอย่างนั้น
เราก็มักน้อยลงดู
แล้วความรู้สึกที่อาตมากําลังพูดเนี่ย
ความรู้สึกของเรามักน้อยจริงๆ นะ
เราเห็นว่าเป็นอาการที่น่าเลื่อมใส
แทนที่จะไปเห็นอาการว่า
เป็นคนนุ่งผ้าใหม่
ใหม่อยู่เรื่อย
สีสดใสอยู่เรื่อย
เหมือนหมึกแบบโลกๆ แต่ก่อนนี้
เป็นสิ่งที่น่าเลื่อมใส
เป็นสิ่งที่น่าชื่นชมยินดี
แต่ก่อนนี้เรารู้สึกอย่างนั้นใช่ไหม
โลกๆ ผ้าใหม่ สวย
สีสดใสสวย
นุ่งผ้าเก่า
คนเขาจะมองว่าเป็นคนจน
เป็นคนยาก
นั่นคือค่านิยมแบบโลกธรรม
แบบลบหลู่กันเชิงโน้น
แล้วก็นิยมยกย่องกันเชิง
เป็นคนร่ํารวย
มีของใหม่อยู่เรื่อย แหม
ใส่ไม่ซ้ําเลยนะ ผ้าเสื้อ
แหม สีสวย
เก่าหน่อย ใช้ไม่ได้
อย่าว่าแต่เก่าเลยทีนี้
ยิ่งขาดยิ่งใช้ไม่ได้
น่าอาย ปะชุนยิ่งใช้ไม่ได้
แต่เรากลับกัน
อาการที่น่าเลื่อมใส เราเลื่อมใส
โอ้ พระองค์นี้นิยมผ้าสีหมอง
นิยมผ้าปะ ผ้าชุน ผ้าบังสุกุล
ใช้
เออ เรากลับมาเห็นมรรคน้อย
กลับมาเห็นสันโดษกว่า
ดีกว่า แต่ไม่ต้องแกล้งนะ
พอดีไปถึงก็เลย
มันไม่ค่อยขาดกะปะมัน
ที่นี่โก้แล้ววะ
กลับกลายเป็นมานะอีกชนิดนึง
เป็นมานะ
ในใจเป็นมา ในเนื้อเราเรียนทุกมุม
กายเป็นมานะ
อวดอ้าง
อวดโอ เป็นสาเทยยะ
จิตลามก
นี่อยากทําเพื่ออวดใช่ไหม
นี่ฉันมีอาการที่หน้าเลื่อมใสแล้วนะ
ฉันนุ่งผ้าปะ
มักน้อย สันโดษ
มันก็กลับกลายเป็นเรื่องของโรคจิตได้อีกเหมือนกัน
เพราะฉะนั้นอย่าให้มันเป็นโรคจิต
ให้มันเป็นความจริงว่าเรายินดี
เราพอใจในสิ่งที่มักน้อยสันโดษ
พอเป็นพอไป
มันไม่เกินควร ไม่เกินการ
ผ้านุ่ง ผ้าห่ม ก็แม้จะปะจะชุน
ขอให้สะอาดสะอ้าน จะสีเก่าสีหมอง
ไม่เป็นไร
มีสีย้อมก็ย้อมไม่ถึงขวนขวาย
มีสีย้อมก็ย้อมขึ้น ถ้าไม่ย้อมก็เก่า ก็หมองอยู่บ้าง ก็อ้าว
ไม่เป็นไร เราไม่ได้มีความเสียหายอะไร ไม่ต้องสีใสสีสด
ก็ได้อย่างนี้เป็นต้น
นะ ที่อยู่มีกรดผ่านุ่งก็รู้จักมักน้อยแล้วก็พอเป็นไปแล้วก็เลื่อมใสอาการที่น่าเลื่อมใสมาในอย่างนี้ ขัดเกลาตนปฏิบัติตนด้วยความรู้ปัญญาแล้วก็จนกระทั่งจิตใจเรา เรายินดีแล้วเราก็แถมไม่มีมานะหรือไม่มีสาธริยะ
ไม่มีกิจลามกที่ย่อง
หลงใหลได้ ปลื้มว่า เอ้ย
ฉันเป็นคน
มีความมักน้อย
ฉันนุ่งผ้าน้อย
ผ้าอย่างจนจนยากยากแล้วเราก็อวดอ้างใจมันก็นึกครึ้มข่มคนอื่นน่ะ ใจมันก็ข่มข่มเขาอยู่ในที
แกมานุ่งห่มฟุ่มเฟือยหรูหรา
ไม่รู้อะไร
มันมีอาการใจต้องรู้ว่าอาการนี้กิเลสเราแล้วนะ
อาการสาเทยยะ อาการลามกไปโอ้อวดข่มเขา ทั้ง ๆ ที่ไม่ได้พูดสักคํานะว่าฉันนุ่งผ้า
ม 2 นี้ ฉันโก้กว่าแกนะ ไม่ได้พูดสักคําหรอก แต่ใจมัน
สาธุยะ ใจมันโอ้อวด
ใจมันข่ม
ใจมันข่มผู้อื่น
มันเป็นมรรค
ข่มขี่คนอื่น ดูถูกคนอื่น
ที่จริงเป็นจริง มันดี
มันดีที่เรามักน้อยสันโดษ และพอเป็นไปไม่ดูทุเรศทุรังการอะไรเกินไปนัก
ดี
มักน้อยมามันเข้าหลักของกถาวัตถุ
มักน้อยสันโดษ ดี
แต่ระวังกิเลสเห็นมั้ย มันมีกิเลสซ้อน
มันมีอาการที่ดี
ปารสาธิกะ พาอาการที่น่าเลื่อมใส ดี
เพราะเราเข้าใจในความหมายของ อภิชฌะ สันตุฏฐิ ปะวิเวกะ
ต้องรักษาจิตให้สงบปะวิเวกะ
ไม่ใช่ว่าสงบจะต้องไปนั่งอยู่ในป่าเขาถ้ํา
ปะวิเวกะคือจิตของเราสงบลง
ก็เพราะเราเข้าใจอภิชฌะเข้าใจความมักน้อยเข้าใจความสันโดษและเข้าใจตัวปวีเวกะให้ได้
เราทําตัวเราเองมักน้อยลงได้ ใจพอได้แล้ว
ทีนี้ความสงบปวิเวกะ จิตวิเวก จิตสงบ
สงบอย่างไร สงบจากกิเลส
สงบจากกิเลสที่เราเองเราพอใจเราพอนี่เป็นดีแล้วล่ะ
แล้วเราอย่าไปมีมานะ
อย่าไปมีสายมานะ อย่าไปมีมักขะข่มขู่ อย่าไปมีสาเถยะ ไปดูถูกดูแคลนคนอื่น
โอ้อวดในตัว
อะไรต่างๆนาๆพวกนี้ หยิ่งผยองสารําพะในตัว
พวกนี้เป็นอาการของกิเลส แม้น้อย แม้ละเอียด จะต้องรู้สึกตัว
เป็นไปตามธรรมดาธรรมชาติ ของเราเป็นอย่างงี้ก็เป็นงี้ ใครจะดูถูกดูแคลนเราก็เข้าใจ
ตัวเรายินดีในตัวเรา
จิตเราสงบ ปวิเวกกะ นะ
ถ้าเราได้สมใจมันก็เป็นอสังสักคะ
ไม่ใช่เป็นอสัง มันเป็นสักคะเป็นสวรรค์
เพราะฉะนั้นเราไม่เป็นสวรรค์อสังสักคะ เราไม่ไปคลุกคลีกับกิเลส
อสังสักคะบอกแล้วว่าไม่คลุกคลีเกี่ยวข้องกับกิเลส
ไม่ใช่ว่าอสังสักคะคือไม่คลุกคลีเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ไม่ใช่โลกุตระไม่ใช่อย่างงั้นเลย ขอยืนยันเด็ดขาด อาตมายืนยันว่าเขาแปลมาผิด
เขาแปลมาเป็นเป็นบุคคลาธิฐานเป็นตัวตนบุคคลเราเขาไม่ใช่ปรมัตถธรรม
ไม่คลุกคลีนี่มันเป็นเรื่องของภาษาลึก ภาษาของธรรมะ
ไม่คลุกคลีกิเลส
ไม่ใช่ไม่คลุกคลีไม่
ไม่คลุกคลีหรือไม่เกี่ยวข้องกับคน
ไม่เกี่ยวข้องกับคนได้
ศาสนาพุทธเจ้าไม่เคยสอน ไม่เกี่ยวข้องกับคน
หรือไม่คลุกคลีกับคน
ต้องให้คบบัณฑิต
ต้องให้อยู่มีมิตรดี สหายดี
สังคมสิ่งแวดล้อมดีด้วยซ้ํา
มันขัดแย้งกับคําสอนของพระพุทธองค์เอง
เนี่ยเป็นเรื่องที่มันไม่รู้ความจริง
เขาก็เลยได้แปลแต่ไม่คลุกคลีเกี่ยวข้อง
เขากลายเป็นแปลไปแล้วมันก็เข้าแบบฤาษี
เขาก็แปลเข้าปากเข้าใจเขาเข้าความเห็นเขา
ความเห็นของเขาก็ชอบใจว่าเขาจะอยู่เปลี่ยวอย่างฤาษี
เขาก็เลยแปลเข้าแบบฤาษีเขาก็เข้าล็อกของเขาไปเลย
ก็เลยเข้าป่าใหญ่เลย
ในป่ากันดารเลยรกใหญ่เลย
มันก็ผิดเพี้ยน
ไม่สอดคล้อง
เอาอาตมาเอาเหตุผลต่างต่าง
แม้แต่ในพยัญชนะ
แม้แต่ในหลักฐานพวกนี้ก็มาบรรยายแล้วจะเห็นชัดเจนนะ
เพราะฉะนั้น
ความสงบ
หรือปะวิเวกะ
อสังสักคะ อสังสักคะก็
สงบจากกิเลส
อสังสักคะ
ไม่หลงสวรรค์
อาตมาแปรตัวตามพยัญชนะ
นะ ไม่ติดสวรรค์ ไม่หลงสวรรค์
ก็คือ
เราได้ยินดี
เราได้พอใจที่เราได้สิ่งที่เราได้ทรงไว้
ทรงไว้ซึ่งความมักน้อย
ทรงไว้ซึ่งความสันโดษ
แม้เราจะสันโดษได้มักน้อยได้
เราก็เห็นเป็น
เป็นของดีแต่เราไม่เริงใจเป็นสวรรค์
นี่เรียกว่าไม่คลุกคลี
ไม่มีอาการของจิต
ไปคลุกคลีกับรสสวรรค์
รสที่มันยินดีปรีดาปีเปรม
ตื่นเต้น
จนกระทั่งไปข่มไปแบ่งคนอื่น
ไปถือดีอะไรนั่นน่ะ
แม้แต่ไม่ถือดี
ไม่มีอุปกิเลสในเชิงที่จะไปเป็นมานะ
ไปเป็นการข่มขี่คนอื่นดูถูกคนอื่น
หรือเรามีสภาพหยิ่งผยองอะไรก็แล้วแต่
เป็นมานะอติมานะถือดีถือตัวเมาในรถอย่างนั้นแล้ว
ไม่เมาอย่างนั้นแล้วเราก็รู้ว่าอันนี้มันเป็นของดีเป็นสวรรค์อย่างดีชั้นหนึ่ง
วางได้ ปะวิเวกะ สงบได้ ก็ไม่ติด
สงบนี้เป็นสวรรค์
ไม่ใช่อิ่มเอม
แล้วก็เสพติด
จะต้องเอาแต่อารมณ์อย่างนี้
ไม่ใช่
อันนี้ลึกซึ้ง แล้วซ้อนลงไปอีกว่า
แม้มีอารมณ์สงบ
ก็ไม่หลงอารมณ์สงบ ว่าเป็นสวรรค์
เรียกว่า อสังสังขะ นี่ชั้นสูงนะ
เพราะฉะนั้นสวรรค์น้อยๆ
สวรรค์น้อยๆก็หมายความว่าสวรรค์หยาบนั่นเอง
สวรรค์เล็กๆน้อยๆ
สวรรค์อื่นๆนี่เราก็ไม่ติด
ไม่ไม่ไปเสรี
เสพติดอยู่ในสวรรค์อย่างโน้นอย่างนี้แหละ
อาสังสักคะ
ได้สวรรค์ว่าเบาว่างมาขนาดนี้
ก็มาหลงติดเสพ
สงบ ได้มาสงบ
แค่เลิกกามมา
ก็มานั่งพบรูปปรีดี หลับๆ
ขี้เกียจขี้คร้าน
ความเจริญมีกว่านี้มากมาย
แต่เราก็ไป
ไม่สร้างความเจริญให้แก่ตน
ก็อีกแหละ
นั่นเป็นสวรรค์ หยาบ
สวรรค์น้อยๆ
แม้เราจะได้สวรรค์ลึกซึ้งสวรรค์ที่ใหญ่
เป็นวิมานหรือว่าเป็นวิหารใหญ่
อย่างที่กําลังพูดเนี่ย
ซับซ้อนไปมานะ
สวรรค์ใหญ่ก็คือมันได้ลึกซึ้งถึงขั้น
ถึงแม้ว่าอุปกิเลสก็ไม่มี
เป็นความสงบความว่างจากกิเลส
ไม่คลุกคลีเกี่ยวข้องกับกิเลสแล้ว
ปานนั้นก็ตาม
ใจเราก็ไม่มาหลงแช่
หลงอิ่ม หลงติดอยู่อย่างนี้หรอก
ได้แล้วก็ได้กัน เอาให้มันมั่นคง
ให้มันแน่นอน
แน่นอนแล้วมันก็เป็นอัตโนมัติ
เป็นตัวของมันเอง
เราได้อารมณ์ดี เราได้สภาพดี นี่ก็เป็นของเรา
เราก็ไม่ติดสวรรค์นี้ อสังสักคะ
ไม่คลุกคลีอยู่แม้แต่สวรรค์ กลายเป็นคนติดสวรรค์ เป็นเทวดา ติดนิกาย
เป็นเทพติดอารมณ์
เป็นเทพติดเทพติดภูมิติดภพ
เราก็ไม่เป็นเทพหรือเป็นเทวดา
ที่ติดภูมิติดภพ
แม้ภพปวิเวกกะภพ สงบ ภพวิเวก
เราก็จะเป็นคนวิริยะรําพะ เป็นคนขยันหมั่นเพียร
ไม่ใช่ขยันหยุด
ไอ้หยุดน่ะมันไม่ขยันหรอกมันได้แล้ว มันไม่ต้องขยันแล้วมันง่าย
ต้องไปเพียรต้องไม่ขยันอะไรเราได้แล้วน่ะนั่งสงบหยุดสงบ มันต้องไปเพียรอะไรมันมากมันง่ายแล้ว ต้องเพียรวิริยะรําพะต้องเป็นคนพากเพียรเป็นคนปรารภความเพียรปรารภความขยัน
ขยันอะไรจะดีอยู่ จะดีอีกกายกรรมวจีกรรม
อ่าเราไม่พัก
เราจะทํายังไงเราจะเป็นคนไม่พักได้ ก็คือเพียร
แล้วเราก็จะไม่ ไม่เพียร เมื่อเราไม่เพียรก็คือ ถึงเวลาควรพักก็พักตามควร
ก็จะกลายเป็นคนที่มีวันเวลา
แรงงาน
ที่สร้างสัญญากุศลให้ถึงพร้อมได้มาก
เป็นคนประเสริฐ
นี่คาถาวัตถุ
ทั้ง 5 คาถาวัตถุ แปลว่า
คําพูดน่ะ คาถาเรื่องของคําพูดเรื่องของภาษา
จะแสดงธรรมะหรือจะได้แสดงภาษากล่าวถึงความอภิชฌะก็มีอภิชฌะ
กล่าวถึงเป็นการกล่าวถึงอภิชฌะเรามีไหม ทุกวันนี้สิบหกปีแห่งความหลังมา
อาตมาเห็นรูปร่างของอภิชฌะพวกเรา เป็นคนมักน้อย
ดูรูปได้
แม้แต่เป็นคฤหัสถ์ยิ่งเห็นชัด พระเนี่ยไม่มีปัญหา
พระมักน้อยอยู่แล้วมี
ปัจจัยสี่
มีที่อยู่มี
มีมีอาหารหรือบิณฑบาตไม่สะสมพวกเราเนี่ยมากน้อย ไม่สะสมพระเราไม่ได้สะสมแม้แต่ข้าวสารสักเม็ดนึง
อ่าเครื่องกระป๋องสักกระป๋องนึงก็ไม่สะสมแล้ว
เราทําได้เราดีอยู่แล้ว
ไม่สะสมอาหารไม่สะสมเสื้อผ้า ไม่สะสมจีวร
ไม่สะสมที่อยู่
มีกุฏิแถวนี้หลังเท่านั้นหลังมีที่อยู่นู่นนี่อะไรนักหนาสากรรจ์มากมายไม่ได้สะสม
อาหารเสื้อผ้าที่อยู่ไม่ได้สะสมอยู่ยา
ไม่ได้สะสมบริขารที่ไม่เข้าเรื่อง
เครื่องใช้เครื่องสอยอะไรไม่ได้หลงสะสมอะไรมากมาย
นะ เป็นคนไม่สะสมเป็นคนมักน้อย
อ่าเป็นคนไม่มีอะไรมากมีเครื่องอาศัยพอสมควร
พระไม่ต้องพูดเพราะว่าชัดอยู่แล้ว แม้ฆราวาสตอนนี้ยิ่งมีปริมาณมากคน
พวกเรานี่ยิ่งอยู่วัดนี่ยิ่งเห็นในรูปร่างเป็นคนมักน้อยมาอยู่ที่นี่ก็พยายามนั่นแหละคุณอยู่ตึกขาวคุณนั่นแหละระวังอะประเดี๋ยวก็พ่อขึ้นข้างข้างก็กองขึ้นไอ้นี่ก็กองขึ้นกองขึ้นระวังไอ้นั่นมันความไม่เจริญ
มันกลับกันกับทางโลก
ทางโลกเขาจะต้องมีอะไรกองเพิ่มขึ้น มีอะไรมากขึ้น มีอะไรอลังการขึ้น ใหญ่โตขึ้น
นั่นมันโลก
แต่ของเรานี่ยิ่งน้อยลงน้อยลง ยิ่งเบายิ่งว่าง
ยิ่งไม่มีอะไรมาเป็นเรื่องภาระหนักหนา
ยิ่งน้อยยิ่งเล็ก
ยิ่งอยู่ยิ่งสะอาด
อาศัยอะไรลงน้อยลงได้
เรื่อย ๆ ปรับไปเรื่อย ๆ
นั่นเป็นรูปร่าง
เป็นสภาพที่เห็นได้ด้วยตาเปล่า
เป็นรูปธรรม
เรามีรูปธรรมอย่างนั้น อยู่ด้วยกันตั้งเป็นเยอะเป็นแยะ
ไม่ต้องไปสะสมอะไรให้สุรุ่ยสุร่าย วุ่นวายมากมาย
กอบกองหอบหลามอะไร ไม่เป็นเช่นนั้น อภิชชะ
เพราะใจพอเพราะสันโดษ
มักน้อยได้เพราะใจพอ ก็พอแล้ว
โอ้นี่ยังไม่รู้ว่าใครเพิ่มเสื้อผ้าหน้า
แพ้ขนาดเสื้อผ้าหน้าแพ้ยังมาออกได้อีก
หลายๆชุดหน้าชุดนั้นชุดนี้ชุดนี้ชุดนี้ มันก็ดูใส่ดีชุดนี้ก็ดูใส่ดีชุดนี้ก็ดู ใส่ดีหวงก็มีมัดอัดมีมีมัจฉริยะอ่ะ
ตระหนี่เป็นอุปกิเลส
มัจฉริยะ
ขี้เหนียว
ยังตระหนี่อยู่ แม้แค่วัตถุ
เราตระหนี่วัตถุนี่คือเราตระหนี่กิเลสด้วย
เพราะว่าไอ้ที่มันจะไปตระหนี่วัตถุนั้นก็คือ กิเลสเรานี่แหละมันไปตระหนี่
มันมันไม่อื่นหรอก เพราะฉะนั้นเราล้างกิเลสด้วย แล้วก็หัดเอากิเลส
เอ้า หัดเอาวัตถุออกซิ
กิเลสมันจะดิ้นมั้ย
กิเลสมันยังเหนียวอยู่ มันยังขี้เหนียวอยู่ มันก็หวงแหน
โหยหา ต้องการคืน
ฆ่ามันดูซิ
แล้วมันพอมั้ย เราไม่ได้ทรมานตน เสื้อผ้าหน้าแผล เท่านี้เราก็พอ
ข้าวของอื่นเหมือนกัน
ที่เราควรจะมักน้อยได้ มักน้อยลงไปอีก
ในฆราวาสพวกเราก็มีรูปร่างอภิชฌะมักน้อย มีรูปร่างของความสันโดษ
ความใจพอ
เรามีชีวิตอยู่อย่างนี้ ใจพอแล้ว สบายใจไหม
ถ้าคุณเองคุณวางใจได้แล้ว
ปล่อยกิเลสได้แล้วจริง
ก็สบายไม่ได้เป็นปมด้อย ไม่ได้เป็นปมเด่น ระวังเรื่องปมเด่น อาตมาก็ย้ําเสมอ
คุณได้ดีอย่างนี้แล้ว
คุณก็เอาไปข่มเขา
ถึงบอกว่าพวกเราเนี่ย
ทําเป็นเถอะไอ้พวกอโศกเนี่ย
แต่มันกินมังสวิรัติมากินมื้อเดียวได้มันก็
คนคนกิน 5 มื้อ 8
มื้อก็เงินของกูกูจะ
กิน 5 มื้อ 8
มื้อช่างแก่ช่างแก่บรรลัยเออ
เขาก็นึกของเขาอย่างงี้เลยเพราะเราไปข่มเขาเข้ามันก็โกรธโกรธกันมันก็ไม่ชอบใจ
เพราะฉะนั้นเราไม่ต้องไปข่มเขาหรอกเราได้ก็ไปของเราตามควร
ให้เขามายินดีเออเขากินมื้อเดียวอยู่ยากยังไงนะทําไมเราถึงเปลืองถึงผลาญ
ถ้าเขาไม่มีจิตต่อต้านนะเขาก็จะมองออกเหมือนกัน
เขาก็แข็งแรงขวนขวายนะมีลักษณะยืนยันได้เป็นคน
ไม่ได้หมายความว่ากินมื้อเดียวก็เลยกลายเป็นคนก็เหงา
ทําอะไรก็ไม่ได้
ไม่มีเรี่ยวมีแรงอย่างกับคนจะตาย
โอ้
นี่เขากระปรี้กระเปร่าเบากายเบาใจสร้างสรรค์แข็งแรง
ทํางานไม่เหน็ดไม่เหนื่อย
มียังไงกันกินมื้อเดียวมันได้ยังไง
สิ่งเหล่านี้เป็นปาฏิหาริย์
สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่น่ามหัศจรรย์
และมันก็เป็นได้
นี่เป็นความมักน้อยที่มีลักษณะจริงพิสูจน์ยืนยันได้คนวรรณะเก้าพิสูจน์ได้คาถาวัตถุไม่ใช่มีแต่คําพูดคาถาแปลว่าคําพูดไม่ใช่มีแต่คําพูดวัตถุแปลว่าเรื่องราวไม่ได้มีแต่เรื่องราวคําพูดที่พูดว่าอภิชฌะอย่างไรมักน้อยอย่างไรไม่ใช่พูดเท่านั้นพิสูจน์ได้
มีสภาพ
พิสูจน์ได้
เพราะฉะนั้นการกล่าววัตถุเรื่องราวใดๆ
คาถาวัตถุ 10
นี่หมายความว่า
การกล่าวเรื่องราวใดๆ
ต้องกล่าวเรื่องราวให้เป็นไป
เพื่อความมักน้อย
อาตมาจะพูดอยู่เสมอ
ว่าพวกเรานี่ต้องเป็นไปเพื่อความมักน้อย
กล่าวเรื่องใดต้องเป็นไปเพื่อความสันโดษให้ใจพอ
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อความสงบ
วิเวก ปะวิเวกะ
กล่าวเรื่องใด
ให้เป็นไปเพื่อความไม่หลงสวรรค์ไม่คลุกคลีเกี่ยวข้องกับกิเลส
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อความปรารภความเพียร
ขยัน วิริยะรําพะ
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อความเป็นศีล
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อสมาธิ
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อปัญญา
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อวิมุตติ
กล่าวเรื่องใดให้เป็นไปเพื่อวิมุตติญาณทัศนะ
นี่คือคาถาวัตถุสิบ
เพราะฉะนั้นผู้ที่จะสอนผู้ที่จะกล่าวคํากล่าวพูด
เรื่องราวที่จะกล่าวจะพูดดี
ก็จะต้องเป็นไปเพื่อกถาวัตถุ 10
เหล่านี้
เพราะเราพูดอยู่เสมอว่าเป็นไปเพื่อความมักน้อยนะ
ท่านติระจิตโตขึ้นมาแต่เช้า
เทศน์ให้เราฟัง
ก็เท่เตือนเรา
มีอะไรที่เรายังจะฟุ่มฟุ่มฟุ่มเฟือยรุ่มร่าม
ลดลง ปลงลง
เป็นไปเพื่อความมากน้อยสันโดษวิเวก
สงบ สงบระงับ
ไม่ติดสวรรค์ยิ่งสวรรค์โลกีย์
โลกโลกหยาบหยาบ
ไม่ติด แม้แต่สวรรค์ชั้นสูง
นะเป็นอุบัติเทพได้เราก็สูงขึ้น
มีเทวดามีสวรรค์อาศัยสูงขึ้นเรื่อยเรื่อย
สูงขึ้นเราก็ไม่ติดสวรรค์เหล่านั้น
อสังสักคะ
ไม่คลุกคลีเกี่ยวข้อง
ไม่คลุกคลีเกี่ยวข้องกับกิเลสส่วนเหลือ
มันติดเนี่ยมันเป็นกิเลส
ถึงแม้จะเป็นที่อาศัยฐานอาศัยก็ตาม
เราก็ไม่หลงที่อาศัยฐานอาศัย
ไม่งั้นคุณติดมันละเอียดลึกซึ้งตัวเนี้ย
จิตติดอะไรมันอยู่ที่นั่น
มันไม่มีตัวตน
มันไม่มีที่อยู่
มันไม่มีเครื่องกินที่กินทางอะไรนะ
จิตวิญญาณ
คุณนึกไม่ออกง่าย ๆ หรอก
มันติดภพ
ภพมันไม่มี ไปเป็นที่
ไม่เป็นสถานที่
ไม่กินที่ ไม่กินเวลา
ไม่กินอะไร
มันติดจึ๊กอยู่ตรงไหน
มันก็ติดจึ๊กอยู่ตรงนั้น
มันแสบสันจริงจริงนะติดภพสงบติดจึ๊กตายแล้วก็ยังติดเอ๊ะมันมีได้ยังไงจิตมันมีได้
มันเล็กมันน้อยมันละเอียดเหลือเกินมันก็ติดจึ๊กอยู่ที่สงบตายแล้วเหรอ
สบายแล้วตอนนี้ไม่ต้องเป่าแตรนอนฉันก็อยู่ตรงนี้แหละ
จึ๊กอยู่ที่สงบนี่ระวังนะคุณ
มันน่ากลัวมากนะ แสบสันจริงจริง
จิตวิญญาณนี่คุณคิดไม่ถึงหรอก
รัฐบาลเน้นนี้คนมีปฏิภาณก็อาจจะพอรู้แล้ว
คนไม่มีปฏิภาณนี่
ฟังไม่ออกอาตมาเชื่อ
เชื่อว่าฟังไม่ออก
อะไรไปติดภพสงบยังไง
มันเป็นยังไง ไปติดภพสงบ
ติดจริง ๆ
คุณจะทําเป็นเล่น ๆ ไปนะ
ทําเป็นเล่นไปไม่ได้
มันจึ๊กอยู่ตรงนั้นน่ะ
มันคลุกคลีเกี่ยวข้อง มันติด
ไม่เอา
มันจะเป็นสวรรค์หอฮ่อขนาดไหนก็ช่าง
หลงสวรรค์อยู่ มันก็จะเป็นสวรรค์
เป็นภพเป็นภูมิ เป็นภวตัณหา
เพราะฉะนั้นรูปฌาน
อรูปฌานฤาษีนั่นหรือ เออ
ถ้าออกไปนั่งจึ๊ก อยู่เงี้ยแหละ
ก็เป็นรูปธรรม
ไม่ต้องไปเอานามธรรมลึกซึ้งอะไรหรอก
เราพยายามสลัด
สลัดอยู่ทุกวันนี้ก็จะแย่
แล้วฤาษีไปนั่งป๊อป ๆ
อย่างนั้นน่ะเหรอ
ไม่ต้องพยากรณ์
อาตมานี่
เข้าใจฤาษีดีจริง ๆ เป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้า
ไม่ต้องพยากรณ์หรอก พวกสายนั่งหลับตา ไม่ต้องพยากรณ์หรอก
ถ้าเอาแค่กล้องอินฟราเรดมาถ่ายเท่านั้น ก็นั่งอยู่งั้นแหละ
ไม่ต้องถึงขนาดให้มันละเอียดลออถึงไหน ก็นั่งแช่
จมอยู่งั้นแหละ อยู่ที่ไหนก็อยู่กับที่ เคลื่อนย้ายยาก
อีกหน่อยซื้อรถเครนให้พวกนี้
ดื้อทึม
แข็งตั้งอยู่ตรงไหน ก็อยู่
แล้วมันไม่ค่อยเคลื่อน มันกระปรี้กระเปร่า ไม่คล่องแคล่ว
เป็นอย่างนั้นน่ะ ของเขาเป็นอย่างนั้น ประเภทฤๅษีอืดๆ
บุรุษถืดอยู่อย่างนั้น
เพราะฉะนั้นเราไม่เอาอย่างนี้ เป็นคนคล่องแคล่ว แววไว เป็นคนที่ขยันหมั่นเพียรปราดเปรียว
กระปรี้กระเปร่า
ระหุทะนัง
ระหุถานัง เป็นฐานะแห่งความเบา
แปลโดยพยัญชนะระหุถานัง นะ
เป็นฐานะแห่งความเบา ก็คือเรามีฐาน
เรามีตําแหน่ง เรามีหลักแหล่ง เรามีความเป็น ฐานคือความตั้งอยู่
เราตั้งอยู่ด้วยความคล่อง ไม่ใช่ตั้งอยู่ด้วยความตั้งเด่น
ภาษามันยอมๆซ้อน ฐานคือตั้งอยู่
แล้วมันตั้งอยู่ คือตั้งอยู่อย่างเคลื่อนยาก
เป็นพวกน้ําหนัก มีน้ําหนักแยะ
รากงอก
เคลื่อนไปไหนก็ไม่กระปรี้กระเปร่า ก็ถึงแปลว่ากระปรี้กระเปร่าคล่องแคล่ว ระหุถานัง เบาคล่อง
แววไว
คิดว่าพูดอย่างนี้คนไม่โง่เกินไปเข้าใจแล้วเหรอ มันหมายความว่าอะไร
เข้าใจแล้ว เป็นคน
คล่องแคล่ว แว่วไว
ปราดเปรียว สร้างสรรค์
อย่างนี้มันซ้อมให้เราเอง เป็นคนไม่อึดอัด
เป็นคนไม่เทเล ติดซึม ติดหยุด ติดทื่อ มะรื้อซื่อ อะไร
มันประกอบกันนะ
นี่ขยายตัวนี้ เพราะเราพวกเราเองเนี่ย มันจะมาหลง
มาหลงตัวหยุดว่าง
ติดซื่อ มะรืนทื่อ
แล้วมันก็ขาดทั้งจิตวิญญาณ
ขาดทั้งประโยชน์
จิตวิญญาณก็ล้มเหลว
คือติดยึดอยู่ทั้งนั้น
ทั้งขาดประโยชน์
แทนที่คุณจะได้เป็นคนสร้างสรรค์ เป็นคนกระปรี้กระเปร่า แต่ไม่ใช่กระปรี้กระเปร่าลูกลิก
หยุดจับจด ไม่เป็นเรื่อง เดี๋ยวเดินพล่านตรงนี้ เดินพล่านตรงนั้น เดี๋ยวเอาไปแข่งกับชะมดเลย
สมมุติติดกรงเคยเห็นไหม
เดินพล่านอย่างงั้นไม่เป็นอันทําอะไรจับจดร่อยร่อยล่องล่องวุ่นวุ่นวุ่นวายไม่เข้าเรื่อง
ก็ไม่ใช่อย่างนั้น แหมพูดมุมไหนรู้สึกว่ามันมีไอ้ตัวย้อนแย้งไปทุกมุมเลยนะ
จะพูดมุมนี้อ้าวมีมุมนี้แย้ง พูดมุมนี้มีมุมนี้แย้งอยู่ตลอดเวลา
พอเรารู้จุดจบว่า มันหมายเอาตรงไหน จุดจบ
มันหมายเอาแม้แต่เราจะเป็นคนขยัน
ก็ขยันจริงๆ
กระปรี้กระเปร่า เบากาย เบาใจ ไม่ติดภพ
ไม่ติดอะไร
อสังสักคะ
ไม่ติดสวรรค์
แม้ที่จะไปสวรรค์ที่
หยุด ที่สงบ
ก็เป็นตัวสงบ
เราสงบได้ทั้ง ๆ
ที่เราไม่ต้องลําบากลําบนอะไร
สงบ
พวกที่จิตว่างนี่คือพวกไม่ว่าง
พวกที่ไม่ว่างนี่คือพวกที่ว่าง
คือมันอยู่ว่าง ๆ
นั่นแหละ
พวกจิตไม่ว่าง แล้วมันก็นั่งวุ่น
ฟุ้งซ่านไป
เดี๋ยวลองถามเจ้ากรมวุ่นๆ
ดู เจ้ากรมท่านสมณะลักขโน
เดี๋ยวนี้ดีขึ้นเยอะ
เป็นไง ใช่ไหม
คือมันว่าง มันไม่เอางานเอาการ
ใครมาอยู่ในภพเรา
คนนั้นคนนี้ เขาทําโน่นทํานี่อะไร
ไม่เอา เป็นคนว่าง ๆ ลอย
แต่มันไม่ว่าง
จิตมันวุ่น เพราะฉะนั้น จําไว้
คนที่จิตว่างนั้น คือคนไม่ว่าง
มีงาน มีการสร้างสรรค์
เห็นเลย เป็นคนจิตว่าง
เบาสบาย
โปร่ง
มีฐานอาศัย
เพราะทํางานยังไง มันก็เป็น
อะหารปริยัติ
ทุกข์
มันก็ทํางานสร้างสรรค์ไป สบาย
จิตมันว่าง
ไม่ทุกข์
ส่วนคนจิตไม่ว่างนั้นน่ะ
เป็นคนว่างๆ
แต่ภายในจิตนั้นวุ่น
นี่ท่านชาตวโรโน้ตไว้แล้ว
อันนี้โน้ตไว้แล้ว คงจะซาบซึ้งดี
ก็ท่านชาตวโรคงจะซาบซึ้งดี
อาตมาพูดขึ้นในวันหนึ่งกําลังทานข้าว
ฉันข้าวอยู่ก็
ระลึกได้ถึงพยัญชนะนี้ก็พูดออกมา
คนที่จิตว่างคือคนไม่ว่าง
คนที่จิตไม่ว่างนั้น
คือคนว่างๆ
แต่ภายในจิตนั้นวุ่น
ก็ต้องขยายความหน่อยอันหลัง
แล้วมันจะได้ชัดเจน
ไม่งั้นถ้าไม่ขยายความ ก็งง ๆ
ดีเหมือนกัน
เอาแต่แค่
คนที่จิตว่าง คือคนไม่ว่าง
คนที่จิตไม่ว่าง คือคนว่าง ๆ
เอาแต่แค่นี้ก็ งง ๆ ดีเหมือนกัน
แล้วมันยังไง
คนจิตไม่ว่างคือคนว่างๆ
คือมันว่างๆลอยๆ
มันไม่ได้สาระอะไร
ไม่ได้แก่นสารอะไร
ไม่ได้มีคุณค่าอะไร
เป็นคนว่างๆลอยๆ
ว่างตัวนี้เป็นตัวว่างเลว
แต่คนจิตว่าง
จิตของเขาว่างจากกิเลสจิตนั้น
เขาเป็นคนไม่ว่างหรอก
เป็นคนขวนขวาย เป็นคนรู้กาลเทศะ
เป็นคนมีประโยชน์คุณค่า
แล้วสบาย ๆ ตลอด
สร้างสรรค์ก็ตลอด
ขยันหมั่นเพียรก็ตลอด
ทํางานกับใครก็ตลอดเพราะเราไม่มีกิเลสแล้ว
จะเป็นใครเป็นยังไงแม้แต่ทํางานกับศัตรูก็ไม่ทุกข์
คนที่เป็นพระอรหันต์เจ้า
ทํางานกับศัตรูก็ไม่ทุกข์
แต่ยังไม่เป็นพระอรหันต์
เราก็ต้องพยายามพากเพียร
คนนั้นเป็นศัตรู
คนนี้เราไม่ชอบหน้า
คนจะมีวิบาก
มันเป็นศัตรูกันมาตั้งแต่ปางไหนก็ช่าง
เราต้องล้าง ถ้าไม่ล้างจะไม่ล้างเมื่อรู้นี่มันจะไปล้างเมื่อไหร่
เรารู้อยู่แล้วขนาดนี้เออเรารู้แล้วว่าเรามันมีจิตไม่ดีมาหัดวางใจ
ปล่อยใจให้ดีสัมพันธ์ให้หมด
สร้างสัมพันธ์เป็นมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันได้เป็นสามัคคี
เป็นคนที่ไม่มีตัวจิตร้ายเลย
เนี่ย เป็นเรื่องดีอย่าง งี้ นะ
เพราะฉะนั้นเรามาศึกษา
พยายามศึกษาสิบหกปีไปนี้ พวกอาตมา
ไม่ใช่พวกอาตมา พวกเราน่ะทั้งหมด อาตมาแหละเป็นตัวแกนนํามา
16 ปีนี่เห็นชัดเจนในรูปที่ว่า วิริยะัมภะ
ตัวคุณแต่ละคนคุณจะเห็นได้ว่า แต่ละคนนี่แต่ก่อนนี้เรา
แหมถ้าไม่มาเจออาตมานี่มันก็คงจะขี้เกียจกว่านี้
เพราะเราเคยขี้เกียจแล้ว แล้วก็เคยสร้างความขี้เกียจได้หนาขึ้นหนาขึ้น
มันก็เชยเชยเชยเชย บางคนมีฐานะดีด้วยก็เอาแต่กินแต่อยู่อะที
พ่อแม่ก็มีให้กิน
อยู่ไปไม่ขวนขวายไม่สร้างสรรค์ ไม่เป็นคุณค่าของชีวิต
ตายไปก็ได้แต่หนี้แต่สิน
คุณเข้าใจนะ หนี้สินคืออะไร
ไม่ใช่หนี้สินทั้งโลกหรอก แม้พ่อแม่คุณจะร่ํารวย
ไม่ได้ไปขอกู้หนี้เงินทองของใครหรอก
แต่มันก็เป็นหนี้บาปหนี้เวรหนี้ชีวิตไป ไม่เข้าท่า
เอาเปรียบเอารัดเขาแล้วลอยชาย เปลืองเปล่า
หนักแผ่นดิน
หนักโลก
แต่ตอนนี้เรามานี่ เออ เรามาฝึกฝน ไม่นึกว่าเราจะเป็นคนขยันขึ้นได้กว่า
แต่ก่อน
ถึงแม้คุณจะขยันขนาดนี้ก็ดีขึ้น
แต่ก็อย่าพอล่ะ อย่าสันโดษซะล่ะ
โอ๊ย นี่ขยันนี่หรอก แต่ก่อนขี้เกียจกว่านี้ เดี๋ยวนี้ขยันมากแล้ว
มากกว่านี้ได้อีกน่ะ
เห็นว่าพวกเราขยันหมั่นเพียร เป็นคนขวนขวาย เป็นคนไม่ดูดายได้ชัด
ทั้งๆที่ไม่ได้เอาลาภมาล่อคุณ ไม่ได้เอายศมาล่อคุณ ไม่ได้เอาสรรเสริญมาล่อ
ทํางานไปบางทีทํามากๆเข้าก็
ทําไปทํามา ไอ้นู่นผิดไอ้นี่พลาด โดนว่าโดนกล่าว
โดนตําหนิ
ไม่ใช่ว่ายิ่งทํางานก็จะได้รับคําสรรเสริญ
สรรเสริญน้อยพวกเราสรรเสริญกันบ้าง เออดีนะขยันดีอันนั้นนี่ทํา เราก็สรรเสริญกันบ้าง แต่ไม่เหมือนโลกโลกเขาหรอก โลกโลกเขาป้อยอกันเหลือเกินตั้งแต่เด็กมันเลย พอทํางานเดี๋ยวนี้น่ะ อุ๊ยไอ้หนูเก่ง
แม่หนูเก่ง อ่า
น้องไรล่ะน้อง
ต้อย น้องติ่ง เก่ง
ยอกันมา สรรเสริญติดมาตั้งแต่เด็กๆ โน่น
พอโตมาไม่ได้รับยอหน่อย มูแล้ว
มูทูๆ
เนี่ยมันสอนกันมาซับซ้อนใส่จิต
เป็นสัญญาณ
เป็นตัวอะไร
เป็นตัวอย่างงั้นแหละ เป็นค่านิยมอะไรอยู่ในจิต
เป็นตัวติดตัวยึดอย่างนั้นมา
พอยิ่งเข้ามาโตโตแล้วก็ต้องทํางานดีดีต้องได้เหรียญตราโน่นน่ะใหญ่แล้วทีนี้ไม่ใช่คํายออย่างเดียว
ต้องได้เหรียญตราต้องได้รางวัลเป็นอะไรก็ตามแต่ พูดไปก็คงเข้าใจกันแล้วล่ะ
แต่นี่เราทํางานไม่มีสิ่งเหล่านี้มาล่อ
ไม่มีอามิสเหล่านี้
คุณก็ขยันได้เอง
โดยเป็นความขยันรู้ในปัญญาว่าเราเป็นคนขยันหมั่นเพียรสร้างสรรค์ก็เป็นคุณค่า
มันจริงไหมอาตมาหลอกคุณหรือเปล่า คุณค่าเป็นของใคร
กรรมเป็นของใคร
พระพุทธเจ้าก็สอนไว้กามสุโกมหิ กัมมทายาโท
กรรมเป็นของใครคุณเป็นคนทํากรรมเป็นของคุณเป็นกุศลกรรมก็ของคุณ
คุณทําดีดีนี้ไปไม่ต้องลบล้างค่าด้วย
ไม่ต้องไปเอาแลกเปลี่ยนมาก็จะจะเข้าใจว่าโอ้โหคําสอนของพระพุทธเจ้าเนี่ยเอามาขยายกันแล้วมันชัด
เป็นอาชีพที่ไม่มีลาภาเพนะ ลาภัง ณิชฌะคิง สุนัตตา
ไม่ต้องมามีลาภแลกอะไรให้มันหมดค่าไป
มันก็เป็นค่าในตัวมัน มันก็เป็นตัว
ตัวคุณค่า
เป็นตัวคุณค่าประโยชน์เป็นตัวบุญที่แท้
เป็นตัวทานที่แท้สละอยู่เป็นตัวจาคะที่แท้
ทําแล้วก็สละให้แก่มนุษยโลก มนุษยโลกก็ได้ประโยชน์จากแรงงานจากแรงผลิตหรือผลผลิตของเรา
เขาก็ได้รับไปใช้สอยกินอยู่อาศัย
เราก็เป็นคนมีค่า ไม่ใช่ขึ้นมาหนักโลกอะไร
เราก็เข้าใจ เข้าใจว่า เออ เกิดมาเป็นมนุษย์นี่ มันมีความหมายอย่างนี้ มีที่จบอย่างนี้นะ
สําคัญอย่างนี้เอง
คุณยังสงสัยอะไร
ใครยังโง่อยู่
ไม่มีเหรอ
โอ้โห คนฉลาดทั้งนั้นนั่งอยู่นี่
คนฉลาดทั้งนั้น นั่งอยู่นี่
แต่อาตมาก็คิดว่า
มันไม่ใช่เรื่องลึกลับอะไรที่จะรู้ไม่ได้
พูดอย่างนี้
มันไม่เห็นจะยากตรงไหน
แต่มันเป็นความลึกซึ้งนะ
ที่อาตมาว่าอาตมาที่พูดให้คุณฟัง
เป็นความลึกซึ้งนะ
ไม่ใช่เข้าใจได้ง่าย ๆ
นะ เข้าใจได้เขาก็ไม่ยอม
อย่างคนโลกอาจจะมีคนมีปัญญาดี ๆ
มาฟังก็เข้าใจ
เพราะมันไม่ใช่เรื่องยากอะไร
แต่เขาจะยอมเป็นอย่างนี้ไหม
คุณเข้าใจแล้วคุณเป็นไหมล่ะ
นี่ ตรงนี้สําคัญ
เข้าใจแล้ว แต่เป็นหรือยังล่ะ
เป็นได้หรือยัง
ยัง มันเป็นได้บ้าง
ยังไม่ช่ําชอง ยังไม่ยิ่งใหญ่
เป็นได้บ้าง
เห็นไหม
เพราะเรามาฝึกปรือเข้ามาพากเพียรเข้าแล้วจะได้เห็นได้
อาตมาเห็นถึงบอกสิบหกปีมานี้นี่อบอุ่น
อาตมาอบอุ่นพวกเรา
ขยันเพียรเอ้อดีดีบางทีอาตมาไม่เคย
หลายคนนะ
จะอยู่ในพุทธสถานบางพุทธสถาน
ไม่ค่อยเจอหน้าอาตมาหรอก
เขาก็ทําของเขาไป
แต่อยู่นี่บางคนนี่
เนื้อหาจะต้องเจอหน้าจะต้องมาให้กําลังใจ
ยังอ่อนแอต้องมาอัดฉีดไม่เทศน์ให้ฟังมั่ง
ไม่มีแรงแล้ว
ไม่มายืนยันย้ําสัจจะให้ฟังไม่ได้ฟังเทศน์
ไม่ได้ยืนยันอะไรหมดแรงนะเอ๊ะไม่เป็นของ
ตัวหรือยังไงมันไม่ชัดยังไงมันวิจิกิจฉา
อะไรอยู่อีก
เราทําดีเราก็ต้องมั่นใจในกุศลกรรมเราทําดี
เอ้าทําดีแล้วจะไป
ต้องมาวุ่นวายอะไรอาตมามากมาย
เดี๋ยวอาตมาตายไปแล้วเลยไม่มีใครอัดฉีดเลยหมดแรง
ทํางานไม่ได้แล้วเลยไม่ต้องพึ่งใครไม่ต้องพึ่งตนไม่ต้องสร้างสรรค์กันพอดี
อาตมาตายแล้วก็เลยจบ
หมดน้ํายา หมดแรงแล้ว
คุณทํางานเพื่ออาตมาเหรอ
เปล่า
อาตมาตายแล้วก็ไม่มีปัญหา
บางคนไม่ได้ทํางานเพื่ออาตมา
คุณทํางานเพื่อความดี
ทํางานเพื่อสิ่งที่เป็นความประเสริฐ
เป็นลักษณะของมนุษย์ประเสริฐ
ทํางานให้ตัวเราเองเป็นผู้ที่มีลักษณะประเสริฐ
จริงจริงด้วยความจริงใจ
ด้วยความรู้ด้วยความเป็น
มันรู้แล้วมันก็เป็นอย่างงี้
แล้วชาตินี้เราก็ดีอย่างงี้ไปตายแล้วก็เลิกกัน
คุณจะปรินิพพานก็ปรินิพพานไป
ถ้าไม่ปรินิพพานจะตั้งจิตเป็นโพธิสัตว์มา
ยินดีต้อนรับเวลคัม
ผู้น้อง
ใครจะไปเป็นโพธิสัตว์ผู้น้องอีกเชิญเข้าคิวมา
อาตมาไม่มีปัญหาโลกได้ประโยชน์จากโพธิสัตว์
คุณจะไม่ยอมดับขันธ์เป็นพระอรหันต์
แต่อย่าเพิ่งลัดนะเอาอรหันต์ก่อน
เพราะผู้นี้เลยเกิดโพธิสัตว์ขึ้นมากมาย
โดยลัดเดี๋ยวก็ฟาร์มพอดี
เรียนจบปี 1 ปี 2 ปี
3 ปี 4 ให้มันเป็นขั้น ๆ
ไปก่อน เอาอรหันต์แน่ ๆ
เพราะในอรหันต์มี โพธิกิจ
คุณอาตมาไม่ยอมให้คุณมานั่งขี้เกียจ
เชยๆ แบบเข้าใจผิด
อรหันต์ก็ต้องไปแบบเถรวาท
ถอยเอาประโยชน์ตน
แล้วก็ไปไม่อาจไม่ได้
อรหันต์หรือโพธิสัตว์เนี่ยเถรวาทและมหายานอยู่ด้วยกันเนี่ยมานั่งสังฆเภทอาตมาไม่ยอมคุณหรอกเพราะอาตมาเองอาตมาเข้าใจดีอย่างนี้เพราะฉะนั้นในความเป็นอรหันต์ต้องเป็นความขยันไม่ใช่อรหันต์เห็นแก่ตัวลอยช้าและติดภพติดภูมิติดอะไรไปอย่างที่อธิบายแล้วอธิบายเล่าไม่ใช่
อรหันต์เป็นคนที่ระวังได้ไม่ติด
ไม่ติดภพเป็นคนขยันหมั่นเพียรเป็นคนสร้างสรรค์
มีวิริยะรําพะ
อสังสักคะ
ปะวิเวกะ สงบแท้
สงบชนิดที่คล่องแคล่ว
สงบอย่างจิตว่างแล้วไม่ว่าง
ผู้มีจิตว่าง แล้วไม่ว่างจริงๆเลย
แล้วก็สบาย
เรารู้มันว่าเป็นทุกข์ เป็นอาหาร
และปริยัติทุกคน
เป็นทุกข์ธรรมดา
ทุกข์ที่เลี่ยงไม่ได้ของอริยะ
ยิ่งเป็นอริยะแล้วยิ่งไม่ต้องเลี่ยง
ไม่เลี่ยงเลย
ทุกข์นี้หรือ รู้
เพราะทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น
ทุกข์เท่านั้นตั้งอยู่
ทุกข์เท่านั้นดับไป
พระเถระเถรีทั้งหลายท่านก็
กล่าวเมื่อท่านแจ้งสว่างแล้ว
อาตมานึกไม่สงสัย
คํากล่าวของพระเถระเถรี
ก็ทุกข์แหละ แต่ทุกข์อย่างใด
มันมีรายละเอียด
ถึงเราก็เรียนมาแล้ว
ทุกข์อย่างนี้
ไม่ต้องกลัว
ทุกข์อย่างอาหาราปริยา ที่ทุกข์
ก็ทุกข์ธรรมดา
สร้างสรรค์ไป แสวงหาไป เป็นไป
เมื่อคุณเข้าใจด้วยปัญญา
ไม่งง ไม่สงสัย
มันก็ไม่มีปัญหาเลย สบาย
สร้างสรรค์ก็สร้างสรรค์ไป
แล้วมันไม่อุดมสมบูรณ์ให้มันรู้ไป
เรามาพิสูจน์กันว่าเราไม่เป็นนักสะสม
เราเป็นมนุษย์วรรณะเก้า
ไม่สะสมนี่แหละ
สร้างสรรค์แล้วก็สะพัดเป็นนักเศรษฐกิจเป็นนักเศรษฐศาสตร์ชั้นสูง สร้างสรรค์สะพัดสะพัดสะพัด
ให้มันดูสิว่า พวกเราจะป่วย ป่วยพร้อมกันหมดเลย ตาย ไม่มีจะกิน ไม่มีใครทํางาน
ต้องมาคอยประคบประหงม คอยดูแลกัน ป่วยหมดเลย เลยจะตาย
เพราะเราไม่ได้สะสมอะไร
ให้มันดูสิ อาตมาไม่เชื่อ
แล้วพวกเรานี่จะแข็งแรง ไม่ป่วยง่าย
เพราะจิต
มันก็แข็งแรง จิตมันมีปัญญา
สุขภาพเราก็ทํางานสร้างสรรค์อะไรอยู่ แข็งแรง
แล้วเราก็ไม่ทรมานตน ทําจนเกินไป
ทํางานจนป่วย
ระวังอันนี้ก็กําชับกําชา
1 เราไม่แกล้งป่วยอะไรนิดอะไรหน่อย ออเซาะไม่
นอกจากเราไม่แกล้งป่วย ไม่ออเซาะแล้ว เราก็ไม่ทรมานตนมันป่วย ควรจะรักษาดูแล
ควรจะพัก ควรจะหยุด
ควรจะต้อง
ทําให้มันดีขึ้น
เราอย่าไปได้อวดดิบอวดดี มันเป็นมานะอีกชนิดนึงนะ
ป่วยแล้วก็ไม่ยอมรักษา แล้วก็ไม่อะไรดันทุรัง ทรุดโทรมไปอีก
นั่นก็เป็นความไม่เข้าใจด้วยปัญญา
ไม่เอา
ซึ่งสิ่งเหล่านี้เรารู้ทุกมุมแล้วเรียบร้อย เรามาปรับปรุง
เพราะอาตมามั่นใจในพวกเรานี่แหละ เป็นคนที่จะไม่ป่วยอะไรนักหนา
เป็นคนจะแข็งแรง
ปราดเปรียว
จะเป็นคนที่ไม่
มันจะไปรับอะไรเชื้อโรคเราก็ไม่ได้รับมันดึงแบบโลกๆมาแล้ว
แล้วเราก็จิตใจเราก็แข็งแรงขึ้น รู้อะไรดีขึ้น
จะเป็นคนที่แข็งแรงปราดเปรียวแล้วเราจะไม่ป่วยพร้อมกันมากๆ
เมื่อไม่ป่วยพร้อมกันมาก ๆ
แล้ว พวกเรามันจะจนได้ยังไงแม้เราไม่สะสม
อาตมากําลังพูดอธิบายความหมายคุณรู้ไหม
หมายความว่าเรามาอยู่กันอย่างหมู่อย่างงี้เราไม่ได้เป็นคนสะสมข้าวก็ไม่มีสะสมเก็บประเดี๋ยวเธอป่วยป่วยกันแล้วไม่มีใครทํางานแล้วจะเอาที่ไหนหมุนเวียนมากินมาอยู่มาใช้ มีพออาตมามั่นใจหมุนเวียนอยู่ได้โดยลักษณะเป็นมนุษย์ที่ไม่สะสมนี่แหละอภิชฌะ
เอ้ยไม่ใช่
อะปัจจยะ
อะปัจจะยะเนี่ย
เป็นมนุษย์ที่ไม่สะสมวรรณะเก้านี่แหละ วรรณะที่แปดนี่ไม่สะสม
มนุษย์ไม่สะสมนี่เป็นมนุษย์ตัวอย่างที่ทันสมัยที่สุดในโลก
โลกทุกวันนี้ยังไม่เข้าใจเลยว่ามนุษย์ไม่สะสมนี่มันเป็นมนุษย์เลิศ
มนุษย์ประเสริฐนะ มนุษย์สะสมน่ะโอ้โห
พวกคุณไปพูดกับเขาได้ เขารู้มาตั้งนานแล้วล่ะลุงพวกอโศก
แต่พวกอื่นยังไม่รู้
พ่ออโศกรู้มาตั้งนานแล้วล่ะลุงไอ้การไม่สะสมน่ะเจริญ
การสะสมนั่นน่ะมันแบบเจริญแบบโลกโลกนั่นน่ะ เขารู้มาตั้งนานแล้วใครใครก็รู้ว่าการสะสมเขาว่าเป็นมนุษย์ร่ํารวยเป็นมนุษย์กระดุมพีเป็นมนุษย์เจริญ
เขารู้ตั้งนานแล้วล่ะลุงเขาเลิกแล้ว
มนุษย์ทันสมัยมนุษย์สมัยใหม่นี่เขาไม่สะสมเจริญกว่า
คนโลกใหม่ก็ไม่สะสมเจริญกว่า
เพราะอโศกรู้มาตั้งนานแล้วแต่ยังทําไม่ได้
บางคนก็สะสมโน่น
สะสมผ้า สะสมน้ํา สะสมยาน
สะสมอะไรบ้าง
ลดน้อยๆ สะสมหรือเปล่า
สะสมรถน้อยๆ สะสมธนูน้อยๆ
ฟังดูแล้วมันหนําใจดีนะ
สะสมธนูน้อย ๆ ไอ้พวกเครื่องเล่นน่ะ ของเล่นอะไรเงี้ย
มันดูแล้วมันเหมือนเด็ก ๆ
เอ๊ะ สะสมไปทําไมล่ะ สะสมธนู
สะสมญาณสะสม
อะไรแล้วแต่เถอะ คุณไปอ่านดูเถอะพวกนี้คําพวกนี้อ่านแล้วทราบซึ้งดีดีแล้วคุณจะเห็นชัดเจนเออไอ้เรานี่
โอ้นี่ก็ของน้อยน้อยของเราเหมือนกันนะเนี่ย
สะสม
อ่าไอ้นั่นน้อยน้อย
ไอ้ไอ้นี่ก็น่าเก็บไว้ใช้ไอ้นั่นก็เด็กเก็บไว้ใช้
นั่นแหละมันมีมากมากนั่นแหละเหมือนกับเด็กเล่นของเล่นมีมากมาก
วันนั้น
ในหิน
เขาบอก
ปราจีนเขามีนาฬิกาเยอะนะ
คุณอยู่ได้เปล่า
โห เดี๋ยวนี้มีตั้ง
โอ้โห
ในตัวนี่
อย่างน้อยสองเรือน
เขาโชว์จริงจริงนะ
เขาผูกมานี่
เป็นไง เขาแกะให้ดูด้วยนะ
โชว์ให้ในหินดูด้วย
สวยไหม สวยไหม
หินก็ดูใหญ่เลย สวย
พี่ปราจีนเขามีเยอะ
เขาสะสมนาฬิกา
ตัวเขาเองอย่างน้อยก็ 2 เรือน
เขาก็เลยควักอีกเรือนออกมาจากกระเป๋า
เรือนนี้ต้องเก็บมันไว้หน่อย
คอมพิวเตอร์มันเก็บ
เบอร์โทรศัพท์ก็ได้ตั้งห้าสิบเบอร์
ต้องต้องใช้เป็นประจํานะ ก็ควักมา
นาฬิกามีสะสม
คอมพิวเตอร์สะสมตัวเลข
กดพับกับตัวเลขของ
โทรศัพท์ตั้งได้ตั้ง 50 เบอร์ ไม่
เดี๋ยวนี้มันทําเหลือเกินนะ ipad
นิดเดียวแค่นี้
นาฬิกาแค่นี้
มันใช้อะไรตั้งเยอะตั้งแยะ
เครื่องคอมพิวเตอร์สมัยนี้
เขาก็มีนาฬิกา เขาก็คุยกับเขาได้
นี่แหละนาฬิกาน้อยๆ
สะสมเหมือนเด็กเล่น
ไม่อะไรกันนักกันหนา
มันหลงไอ้ดวงงาม ๆ
คุณไปดูพวกที่สะสมทั้งหลายแหล่
สะสมแสตมป์สะสม
โอ๊ยหวงหวงนะ
เหมือนเด็กเล่นขายของ
ขายหม้อข้าวหม้อแกง
นี่แหละฟังดูเนี่ย
สะสมธนูน้อยๆ
สะสมอะไรลดน้อยๆ
อะไรน้อยๆ
เนี่ย ในศีลของพระเจ้าธันวาคม
มันก็หนําใจดีนะ
มันเหมือนเด็กจริง ๆ
นะพวกสะสมเครื่องไร้คราบ
สะสมไม่สะสมอะไรสะสม
แต่ก่อนอาตมาก็โง่
แต่จึงไม่ได้ติดใจอะไรหรอก
นึกว่าค่านิยมตามเขา
สะสมขวดเหล้า
แต่ก่อนอาตมาก็สะสมเอามาโชว์
สร้างไซด์บอร์ดให้มันด้วยนะ
สร้างคามิเนตเอามาตั้ง
แล้วก็โชว์นี่เรามีขวดเหล้าสะสมขวดเหล้าตัวอย่างขวดเหล้าอะไรมั่ง
เอามาไปซื้อเขามานะ
ไอ้ขวดเหล้าจริงจริงเหล้าขนาดนี้ขวดนึงก็ได้ร้อยนึงสองร้อย
ไอ้นี่ก็ร้อยนึงสองร้อยขวดน้อยน้อย
ไอ้ตัวอย่างโง่ไปซื้อมาเอามาตั้งโชว์
อ่าสะสม
มันเรื่องพวกเนี้ยถ้าไม่พูดก็ไม่รู้ถ้าไม่เข้าใจลึกซึ้งก็ไม่รู้
เราเหมือนกันเรายังเป็นประเภทสะสมน้อยน้อยพวกนี้มันมีหลายอย่างหรือเปล่า
เพราะงั้นบางอันเราสละออก
มันมีมากชินก็เหมือนกับพวกป้าหอบฟาง
อ่าก็เลยเรียกไอ้นี่น้อยน้อย
เอ่อ
แม้เราเองเราน้อยมาแล้วมันยังมีละเอียดที่เราจะเข้าใจสิ่งเหล่านี้ให้ได้
นะ
ภาษาผู้พระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้อย่างงั้นน่ะ
มันลึกซึ้ง
นะ
เพราะงั้นเราอ่านดูมันเหมือนเรื่องเอ๊ะอะไรนะสะสมรสน้อยน้อยยาน้อยน้อยธนูน้อยน้อย
เนี่ยความหมายมันเนี่ยเหมือนเด็กเล่น
ที่จริงไม่ใช่น้อย ๆ สะสมมาก ๆ
อัน
เป็นของเล่นเล็ก ๆ
น้อย ๆ น่าเอ็นดูอะไรไปงี้
มันเลยกลายเป็นเรื่องเหลวไหล
เพราะเราเป็นผู้ไม่สะสม
เป็นผู้สันโดษ
เป็นผู้ที่มั่นใจยืนยันได้
เราอยู่กันอย่างอบอุ่น
เราพึ่งอะไร
พึ่งความดี
พึ่งความขยัน
พึ่งสมรรถภาพ
เรามีความสามารถ
เป็นที่พึ่ง
เราไม่ต้องไปสะสมเงินทอง
เป็นที่พึ่ง
เราไม่มีแม้แต่ที่อยู่เราก็ไม่กลัวตาย
เราไม่ต้องมีข้าวสักเม็ดนึงเราก็ไม่กลัวตาย
อาตมาไม่กลัวตายนะ
ให้อาตมานี่อายุแก่สักประมาณหกสิบเจ็ดสิบ
แล้วอาตมาก็ว่าอาตมาไม่กลัวตาย
ไม่ได้สะสมอะไรเนี่ยอาตมาว่าไม่มีใครแล้วนะ
สมมุติอาตมาต้องเป็นฆราวาสคนนึงเดิน
อายุหกสิบเจ็ดสิบ
แปดสิบเดินแก่พอสมควร
เอ๊ะอาตมาไม่กลัว
ไม่กลัวจริงจริงหรือไม่กลัวเดี๋ยวนี้ก็ยังไม่กลัว
ถ้ามันจะอยู่ไม่ได้อาตมาก็จะตาย
มันไม่มีแรงทํางานมันหมดแรง
คิดว่าอาตมาว่าคิดว่าไม่หมดสมรรถภาพ
ที่จะสร้างสรรค์ทํางานอะไรได้บ้าง
แม้จะแก่พอที่จะทํางาน
เลี้ยงตน
อ่า
เป็นวัวแก่แก่ตัวหนึ่งมันก็ยังไม่อดอยากตาย
ในเมื่อมันเองมันมันเป็นวัวป่านี่นะ
วัวป่าตัวหนึ่งแก่แก่อยู่ในป่าแล้วนี่
มันก็ลูกมันก็ไม่มาเลี้ยงหรอกนะ
วัวแก่นี่นะ
ลูกมันก็ไม่ได้มาเลี้ยงหลานมันก็ไม่ได้มาเลี้ยง
เป็นวัวแก่ๆในป่า
มันไม่ตาย
มันไม่กลัวตาย มันไม่อดตาย มันก็ภาคภูมิของมัน
แล้วมันก็จะตายเมื่อสมควรตายของมัน
เอ๊ะทําไมเราเป็นคนแล้วแม้แก่แก่เราก็จะต้องกลัว
ลูกมันไม่มาเลี้ยงหลานมันไม่มาเลี้ยง กลัวนี่ทางโลกเขากลัวมาก เพราะระบบของเขาเป็นอย่างงั้นระบบคน
แต่ในทางธรรมเนี่ยเราจะมีอัตตาหิอัตตโนนาโถ
ไม่ด้อยไปกว่าวัวแก่แก่ช้างแก่แก่ตัวหนึ่ง
ไม่ด้อยไม่น้อยใจ เราจะมั่นใจว่าเราเองเราอยู่ด้วยสมรรถภาพที่พอเป็นไป
แต่ของเราก็มีวัฒนธรรม
แม้คนแก่แล้วเราก็ควรจะกตัญญูกตเวที เอาล่ะ
ไม่ต้องฝืนสังขาร
มันปวด มันเจ็บ มันป่วย มันอะไรต่ออะไรก็ไม่ต้องฝืนสังขาร
ลําบากลําบนจะต้องทํางานอยู่
ยกขาก็โอย ยกแข้งก็โอย มันเป็นจริงๆนะคุณ
มันเป็น มันแก่แล้ว
สังขารมันไม่ให้หรอก
มันเจ็บมันป่วยง่าย
ก็ต้องพักไป ไม่ต้องมาเจ็บมาปวด คนอื่นก็ช่วยดูแล
สงเคราะห์กัน เลี้ยงดูกัน
หาข้าวหาน้ํา อาบน้ําอาบท่า อันนู้นอันนี้อันไหน ช่วยตนไม่ได้ ช่วยกัน
อย่างนี้เป็นวัฒนธรรม สัตว์ประเสริฐ มนุษย์เป็นได้
เพราะฉะนั้นยิ่งกว่างูแก่ๆ ช้างแก่ๆ
วัฒนธรรมอันนี้ต้องประเสริฐกว่าสัตว์
แล้วเราก็เป็นได้
แม้ตัวเราเองผู้นั้นก็ไม่ออเซาะ
เป็นคนแก่ที่ไม่ออเซาะ เป็นคนแก่ที่ไม่หลงตัว ช่วยตัวเองอะไรได้ก็พอประมาณ
และก็ไม่หยิ่งผยองจนกระทั่งมีมานะ
ไม่เป็นไรฉันช่วยตัวเองจะตายยังจะช่วยตัวเองยังจะดื้ออีก ก็ไม่เป็นคนแก่ดื้อด้านมานะเกินไป
อันที่พอสมควรที่จะช่วยได้ก็ช่วยตน อันใดที่พอที่เขาจะช่วยเราบ้าง
อย่างอาตมานี่ช่วยตนได้ แม้ยังไม่แก่ขนาดนี้ แต่อาตมาให้คนอื่นทําให้ ให้คนอื่นทําช่วย
มันก็เป็นลักษณะ
มันเป็นรูปร่าง หรือมันเป็น
พฤติกรรม
ที่เป็นของมนุษย์
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพราะฉะนั้นคนแก่บางคนจะหยิ่งเกินไปนัก
ใครเขาจะช่วยก็ไม่เอา ใครเขาจะช่วยไม่ให้ช่วย
เลยไม่มีพฤติกรรมการช่วยเหลือกัน
ตามฐานะอันสมควร
เพราะฉะนั้นเราไม่นะ ไม่หยิ่งเกินไป ไม่มีมานะเกินไป อันนี้ก็ต้องเข้าใจ
ประเดี๋ยวบอกว่า
เป็นคนที่ไม่พึ่งพาอื่นๆ
เลยไปมีมานะกิเลสอย่างนี้ ไม่เอานะ
อย่างนี้เป็นต้น
เอาล่ะ
อาตมาคิดว่าได้ขยายความให้พวกเราเข้าใจ
ในความมีชีวิต
จนมีความมั่นใจไม่วิจิกิจฉาว่าชีวิตเราจะอยู่ยังไง ไม่มีสะสมเงินทอง
หรือว่าเราเป็นคนดีอย่างไร
แล้วเป็นคนที่มีความสุขอย่างไรปะวิเวกะ
แม้แต่สวรรค์เราก็ไม่หลงสวรรค์อย่างไร
ไม่ติดแม้แต่ภพที่ว่างเบาสบายอะไรเราก็ไม่ติดไม่ยึด
มีแต่วันคืนที่รู้ว่าอะไรควร อะไรไม่ควร กรรมกิริยาอะไร การงานอะไร การสร้างสรรค์อะไร
สังสรรค์กันไป สร้างสรรค์กันไป
ทําอะไรเป็น
หมู่กลุ่มที่มีวัฒนธรรมมีจารีตประเพณีมีสิ่งที่ดีของมนุษย์อยู่ในสังคมนี้
แม้เรากลุ่มน้อยนี่เราก็ต้องสร้างสิ่งเหล่านี้เป็นวัฒนธรรมจะแข็งแรงต่อไปต่อไปในอนาคตในขณะนี้มากมายพอสมควร นั่งฟังธรรมขนาดนี้ก็โอ้โหวันวัน
อบอุ่น
อบอุ่นจริง ๆ อาตมาไม่ได้กล่าวเล่น เมื่อกี้ไม่ได้พูด
เอาใจไม่ได้เป็นเล่ห์เหลี่ยมอะไร
เป็นเรื่องจริง
มันอบอุ่น มันรู้สึก อืม
นับวันนับคืน
16 ปีขณะนี้อาตมาพอใจนะ
สําหรับอาตมา
คนอื่นแล้วแต่
แต่สําหรับอาตมาแล้วอาตมาภาคภูมิแล้ว
อาตมาว่าไม่ใช่คนยิ่งใหญ่อะไรนักหนา
ทําได้ขนาดนี้แล้วไม่ได้ทําเล่น ๆ
ด้วย คุณมาขนาดนี้แล้วเนี่ย
อาตมาว่าอาตมาพอใจ
คุณเก่งคุณทําอย่างอาตมามั่งสิ
สิบหกปีทําไม่ได้อย่างงี้สิมีหมู่มวลแล้วก็มีคุณภาพขนาดนี้ลองทําดูสิ
อาตมาว่าไม่ง่ายนะไหวไหม
ไม่ไหวขนาดเจ้าอาวาสยังว่าไม่ไหวไม่ง่าย
อาตมาว่าไม่ง่ายนะแต่ได้ขณะนี้มันน่าภาค
ภูมิโลกเขาไม่รู้ไม่ไหวจริงๆแต่เราทําได้
แล้วก็ภาคภูมิแล้วก็ทําไปรักษาสิ่งดีเหล่า
นี้ต่อไปให้เจริญเจริญยิ่งๆอยู่ทุกๆคนนะ
พอวันนี้อ่ะ

 

ที่มา ที่ไป

การอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 16 ปีแห่งความอบอุ่น โดยพ่อท่านพระโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พุทธศักราช 2529 ณ พุทธสถานสันติอโศก


เวลาบันทึก 11 พฤศจิกายน 2567 ( 21:09:52 )

17 ปีผ่านไปหรือคนไทยยังก้าวข้ามทักษิณไม่ได้

รายละเอียด

เรื่องจริงนะ เรื่องพวกนี้อยู่ในวงการ เขาจะเข้าใจเลยวิธีการทำยังไงให้ผิดหรือให้ไม่ผิดอะไรต่ออะไร จริงๆเลย แล้วคนทั่วไปไม่ได้รู้วิชาการพวกนี้ไม่ได้เข้าใจ เขาก็อธิบายได้เพราะทำสำนวนอ่อนไป ทำสำนวนให้อ่อนหรือไม่เต็มที่ คนทั่วไปไม่ได้รู้รายละเอียดอย่างชัดเจน แล้วก็เป็นอยู่เป็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้น อาตมาถึงบอกว่าวิธีการพวกนี้ ทักษิณก็คงกลับมาวันที่ 22 พรุ่งนี้ เพราะว่าถ้ายึดรัฐบาลได้ ทุกอย่างก็เป็นไปตามที่ว่านี้พอเข้าไปก็ไปเป็นนายกไปคุมรัฐมนตรี แม้ที่สุดคุมรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมอะไรอย่างนี้ เพราะฉะนั้นอิทธิพลของสิ่งที่คนเรายังไม่หมดกิเลส ลาภ ยศ สรรเสริญ โลกียสุข มันไม่สะอาด ไม่ตรงทีเดียว มันจะกลัวเสียลาภ ยศ สรรเสริญ โลกียสุขของตนเอง นี่อาตมาก็พูดผ่านๆอย่างนี้ เพราะฉะนั้นก็พยายามเถอะ ตัวคนใดๆที่ฟังอาตมาพูดแล้วสามารถที่จะรู้จักกิเลสเรา แล้วไม่ลำเอียงจริงๆ ประเสริฐ คนนั้นแหละเป็นคนที่ปฏิบัติธรรมที่มีมรรคมีผล 

เรื่องนี้อาตมาว่าพยากรณ์ไปทีเดียวคงไม่ดี แต่ขอพูดว่าตามความเห็นของอาตมา อาตมาเชื่อว่าทักษิณนี่เขาได้ทดสอบตัวเองมาแล้ว 17 ปี ทุกวันนี้ไม่มีใครข้ามพ้นเขาในประเทศไทย 17 ปีเขาทดสอบแล้ว ไม่มีใครข้ามพ้นทักษิณ ยังติดในอำนาจในอิทธิพลเขาอยู่ เพราะฉะนั้นเขาก็เชื่อมั่นว่าเขากลับมาแม้เขาจะเข้าคุก เขาก็มีอิทธิพลพอ แล้วก็มีเหตุปัจจัยพอ 1.แก่แล้ว 2. มีโรคอะไรก็แล้วแต่ อ้างอิงต่างๆนานา เป็นแต่เพียงว่าอาตมาจะรอดูว่าจริงๆแล้วสุดท้าย ทักษิณกลับมาว่าจะติดคุก แต่แกก็จะเดินลอยตัวอยู่ในประเทศไทยสบายๆหรือไม่ อาตมาก็จะดูว่า ประเทศไทยจะถึงขนาดนั้นไหม 

อาตมาเชื่อว่าทักษิณเขามั่นใจว่า 17 ปีคนข้ามไม่พ้นเขา แสดงว่าเขามีอิทธิพล เพราะฉะนั้นเขาเข้ามานี่ เขาก็ต้องมีอิทธิพล อย่างน้อย ฟังดูสิ พร้อมแล้วพวกแดงจะไปรับที่สนามบินเต็มพรึบเลย อะไรอย่างนี้ แล้วดูซินี่ทักษิณมา แดงจะพรึบไปรับมากกว่าไปประท้วงให้แก่พิธา หรือไม่ คอยดูเถอะ ขณะที่แดงจะไปร่วมต้อนรับทักษิณจำนวนมากกว่าไปร่วมชุมนุมประท้วงที่พิธาหรือไม่ ก็ได้ 100-200 คนหรือไม่ถึง แต่ทักษิณอาตมาว่าจะมากกว่า 200 คนแน่  เอ๊า! ดูไป พวกเราพวกดูไป พวกเราไม่ใช่พวกดูไบ 

 

ที่มา ที่ไป

รายการปรับทุกข์ ปลุกธรรม ครั้งที่ 37 ฌานเป็นพลังงานปัญญาล้านองศาเผากิเลส วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม 2566 ขึ้น 5 ค่ำเดือน 9 ปีเถาะ ที่บวรราชธานีอโศก 


เวลาบันทึก 26 สิงหาคม 2566 ( 18:19:50 )

2 ธรรมิกราชผู้มาประกาศ วรรณะ 9

รายละเอียด

อาตมาทำงานมา 50 กว่าปีนี้ยิ่งเป็นรูปร่างของสัจธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วอาตมาเอามาทำในยุคนี้ซึ่งเป็นยุคที่ศาสนาพุทธเสื่อมมาก เสื่อมมากยิ่งๆเลย ไม่ใช่เสื่อมน้อยแต่เสื่อมมากยิ่งๆเลย อาตมาต้องมากอบกู้ ขออภัยที่พูดใหญ่ พูดนี้ขอยืนยันว่า เป็นความจริง ก็ต้องมากอบกู้ กอบกู้ได้เท่านี้แหละ ได้เท่าที่มันมีคนที่มีธุลีในดวงตาน้อย เป็นคนที่ยังพอมีภูมิปัญญารับโลกุตรธรรมหรือรับธรรมะของพระพุทธเจ้าได้ จึงมาได้ ก็เท่าที่มันเห็น แต่มันเป็นรูปร่างที่ชัดเจนแล้ว เป็นสาราณียธรรม 6 ดังกล่าว แล้วก็จิตวิญญาณเป็นวรรณะ 9 

ที่อาตมาพูดพวกนี้ เพราะว่าอาตมายืนยัน ที่อาตมาพูด อาตมาสอน อาตมาเอามาอธิบายให้พวกเราศึกษาเรียนรู้จนกระทั่งพวกเราปฏิบัติได้ จนมีพฤติกรรมที่จริง ไม่ใช่มีแต่ไอเดียลิซึ่ม เป็นพวกที่มีการปฏิบัติจริง ประพฤติจริง ฝึกฝนจริง แล้วก็ได้ผลจริงขึ้นมา จนมีผลสำเร็จของชีวิต เกิดสาธารณโภคี ในสาราณียธรรม 6 แล้วก็มีทฤษฎีของวรรณะ 9 เป็นคนเลี้ยงง่าย การเลี้ยงง่ายนี่แหละคือการบริหาร ที่สบายมาก บริหารโดยไม่ต้องบริหาร เลี้ยงง่าย ทำให้เจริญง่าย สุโปสะ นี่ก็คือการบริหาร เลี้ยงให้เป็นอยู่ง่าย กินอยู่ง่าย แล้วก็ให้เป็นคนมีความเจริญ ความเจริญคำนี้ไม่ใช่เจริญไปแย่งความรวย ฟู่ฟ่า หรูหรา อย่างที่ในหลวงตรัส ไม่ใช่นะ ความเจริญไม่ใช่อย่างนั้นแต่นี่คือความเจริญแบบพวกเรา เจริญที่มีพฤติกรรมกายกรรม วจีกรรมมโนกรรม มีเมตตา ทั้งกาย วาจา มโน สงบ อบอุ่น สามัคคี ซื่อสัตย์ 

ถ้าจะหากลุ่มชนที่ซื่อสัตย์แล้ว อโศกนี้เป็นกลุ่มชนที่ซื่อสัตย์ที่สุด ขออภัยที่พูดความจริง แหม โลกนี้จะพูดความจริง ต้องขออภัยนะ ไม่งั้นจะหมั่นไส้กัน จริงนะ หมั่นไส้จริงๆ คนสุภาพเรียบร้อย จะพูดความจริงต้องขออนุญาต คิดดูก็แล้วกัน ทำอย่างไรได้ 

ที่มา ที่ไป

รายการปรับทุกข์ ปลุกธรรม ครั้งที่ 5 พ่อครูพบ อ.ยักษ์​ วิวัฒน์ ศัลยกำธร วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม 2565 ขึ้น 12 ค่ำ เดือนอ้าย ปีขาล ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 06 ธันวาคม 2565 ( 12:33:13 )

2,500 กว่าปี สัจธรรมจึงผิดเพี้ยนไปมาก!

รายละเอียด

อาตมาบอกได้จากใจจริงเลยว่า อาตมาพยายามจริงๆ ซึ่งมันเป็น“ปณิธาน”แท้ๆ ที่มุ่งมาดปรารถนาจะเห็นท่านหลุดพ้นอำนาจ“โลกียะ”ที่ผูกท่านไว้จริงๆ อาตมาสงสารท่านจริงๆ และก็รู้อยู่จริงๆ ว่า มันไม่ใช่เรื่องง่าย ศาสนาพุทธเกิดมาเกิน 2,500 ปี ความเสื่อมมันก็เป็นไปตามสัจจะแห่งไตรลักษณ์ และยุคนี้พ.ศ. 2,500 กว่า ความผิดเพี้ยนมันได้เกิดได้เป็นจริงแล้ว ยืนยัน“ความจริง”อยู่ในปัจจุบันนี้เห็นโทนโท่ ซึ่งจะนำ“โลกุตรธรรม”สถาปนาลงไปในกลุ่มกองผู้คนที่ได้ หลงผิดเพี้ยนไปแล้วจริง มันจึงลำบากยากเข็ญจริงๆ ก็ยิ่งเห็น“ความจริง”นี้อยู่หลัดๆโทนโท่ ที่เป็นอยู่จริงก็มี โต้งๆเห็นๆ ในสังคมศาสนาพุทธ แม้ประเทศไทยปัจจุบันนี้ที่เป็นอยู่กัน นี่ไง! แค่ที่พูดกันในคนไทยนี่แหละ ที่เป็นคำเดิมคำเดียวกันแท้ๆ แต่ได้หลงผิดไปจากพุทธธรรมกันจริงๆ แล้ว และยึดมั่นถือมั่นเอาความผิดนั้น จึงเป็นความเสื่อมแล้วดังที่เห็นและเป็นอยู่ 

 

หนังสืออ้างอิง

หนังสือ รวมเปิดยุคบุญนืยม เล่ม 2 ข้อ 154 หน้า 137


เวลาบันทึก 22 มิถุนายน 2564 ( 10:41:20 )

25 ปีของชาวอโศก

รายละเอียด

ต่อจากนี้ไปเป็นการอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 25 ปีของชาวอโศก
โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2538
ณ พุทธสถานสันติอโศก ขอเชิญท่านรับฟังได้ ณ บัดนี้

 

ในวาระที่ครบรอบ 25 ปีของชาวอโศกเรา ณ วันนี้ทุกคน
ที่ได้ศึกษาธรรมะของพระพุทธเจ้า เมื่อได้เข้าใจ ได้ศรัทธาเลื่อมใส เชื่อถือ
จนกระทั่งได้นําไปประพฤติปฏิบัติได้รับมรรครับผลจากการประพฤติปฏิบัตินั้นแล้ว
ชีวิตของเราเจริญขึ้นหรือเสื่อมลงเราย่อมรู้ เราย่อมประจักษ์เฉพาะตน ๆ
ผู้ใดก็ตามที่ได้เข้ามารับรู้และได้เข้ามาทดลองพิสูจน์จนกระทั่งมีการประจักษ์ดังกล่าวแล้ว
จนกระทั่งถึงวันนี้ผู้มาก่อนก็ดี มากลางมาหลังก็ตาม
ต่างก็ได้ศึกษาตามแนวทางที่อาตมาเป็นต้นเค้าที่มั่นใจว่าธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น
มีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งที่ประเสริฐสูงสุดสําหรับมนุษย์ในโลกด้วยความเชื่อมั่น
ด้วยความจริงใจดังกล่าวแล้วอาตมาได้นําพา ได้แนะนําอธิบายชี้แจง
ทําความเข้าใจอย่างพยายามอุตสาหะที่สุด ที่จะให้พวกเราได้รับรู้ได้เข้าใจได้เห็นจริง
ไม่ใช้เชิงบังคับ ใช้เชิงปัญญา ผู้ใดเห็น ผู้ใดรู้ ผู้ใดจะเอาหรือไม่เอา
จะเชื่อหรือไม่เชื่อก็เป็นสิทธิของแต่ละบุคคล เมื่อเด็กนําพากันมาจนกระทั่ง
25 ปี เป็นกลุ่มหมู่ เป็นผู้ที่มีทิฏฐิ สัมมาญตา มีศีลสามัญญตาและมีชีวิต
อันเป็นสามัญญตาอีกจนเป็นกลุ่มเป็นก้อนถึงขณะนี้แล้ว ผู้ใดเห็นดีเห็นจริง
ก็จงพยายามเพิ่มอิทธิบาท เพิ่มความเพียร เพื่อความเจริญยิ่งๆ ขึ้น
ความเจริญจริง สัจจะที่เกิดจริง เป็นจริงเท่านั้นที่จะนําพาไปสู่ความชนะทุกสิ่งทุกอย่าง ทุกประการอันพึงจะเป็นได้ เพราะถ้าผู้ได้เรียนรู้สัจธรรม ไม่รู้ว่าอะไรคือทุกข์
ที่เป็นอริยสัจ ข้อที่ 1 อะไรก็แล้วแต่ที่มันเป็นองค์ประกอบ
เป็นองค์ประกอบของชีวิตที่จะใช้สอยขึ้นมาแล้ว หากไม่เข้าใจ มันดี
นํามาใช้ให้เป็นโทษมันก็จะเป็นโทษ ถ้าเข้าใจมันดีจริงๆแล้ว เราไม่ให้มัน
มาเกิดบทบาทฤทธิ์แรง ในเรื่องของการเป็นโทษ แต่ให้มันเกิดบทบาท
ฤทธิ์แรง ในทางที่มันเป็นคุณค่า เป็นประโยชน์มันก็จะเกิด เกิดได้ดี
เช่น ปรมณูเพื่อสันติเพื่อการสร้างสรรค์มันก็เกิดได้ ถ้าเราใช้มันเป็น
แต่ปรมณู เอาไปใช้ในทางทําลาย ไปในทางที่จะพลางพราก
มันก็ผลาญผ้าได้อย่างร้ายกาจที่สุด
จนกระทั่งเกรงกลัว หวั่นไหวกันทั่วอยู่ทุกวันนี้ ก็เพราะอํานาจของปรมาณูนั่นเอง อย่างนี้เป็นต้น
สื่อสารก็ฉันเดียวกัน สื่อสารเนี่ยถ้าไม่รู้ก็มาใช้ไปทางทําลาย เป็นไปในทางทําลาย
อย่างทุกวันนี้เนี่ย การโฆษณาใช้สื่อสารเป็นเครื่องมือในการโฆษณา
โฆษณาสิ่งที่มันไม่ถูกต้อง ฝ่ายที่เขาจะพยายามเอาชนะ โดยการใช้สิ่งที่ไม่ถูกต้อง
ของตนเองนั่นน่ะ มากลบเกลื่อนหาแง่หาเชิง หากลวิธี เพื่อที่จะเอามา
โชว์ในจุดที่ตัวเองได้เปรียบ จะนําให้คนอื่นเขาเชื่อถือ เข้าใจว่าตนเองถูกต้อง หรือดีงาม
เอามุมดีของตนเอง ออกมาโฆษณา ออกมาเผยแพร่ ออกมาทําให้คนเชื่อตาม
จนคนเชื่อตามและ ชนะ นี่ก็เป็นสงครามของสื่อสาร
ทุกวันนี้ใช้กันมาก ไม่ว่าคนในระดับไหนที่สามารถใช้สื่อดังกล่าวนี้ ใช้กันอยู่ถ้วนทั่วเลย
เราเอง เราอยู่ในยุคเดียวกันกับเขา เราไม่ใช้ก็ไม่ได้
เพราะฉะนั้นยิ่งสื่อสาร ต้องเป็นเครื่องไม้เครื่องมือ เครื่องเทคโนโลยี
ที่ราคาแพงเราก็ต้องกระเสือกกระสนกระเบียดเกษียณเผยอขึ้นไปตามเขาเหมือนกัน
แต่เราก็เอานํามาใช้ เพื่อที่จะต้องเผยแพร่ กล่าวแก้ หรือว่าแจ้ง สิ่งที่เราควรแจ้ง
ความจริงที่เราเป็น เรามีเหมือนกัน ไม่เช่นนั้นก็ถูกกลบ ถูกลบหลู่
ถูกย่ํา ถูกถล่ม ถูกดูถูกนั่นเอง หรือถูกพยายามบิดเบือน ถูกบิดเบือนให้
เขาเข้าใจผิดกัน คนที่ไม่มีข้อมูล ไม่ได้รู้ความจริง รับแต่ข่าวสารกัน มันก็เยอะ
เพราะว่าเขาเข้ามาไม่ถึงกันหรอก เขาจะมาสัมผัสความจริงกันไม่ได้
มันไกลบ้าง เขามายังไม่ถึงบ้าง
เขาไม่ได้แสวงหา เขายังไม่กระตือรือร้นอะไร ที่จะเห็นว่าคนได้ควรมีคนเป็น
เขาก็ไม่มาเอาก็ไม่รู้กัน อย่างนี้เป็นต้น
เพราะฉะนั้น ในเรื่องของสิ่งที่เกิด ที่เป็น ที่มีเนี่ยมันสําคัญ อาตมาเคย
ไม่ใช่เคยล่ะ ก็คนก็รู้รู้ๆ กันอยู่แล้ว อาตมาตั้งคําภาษา
หรือจะเรียกว่าเป็น ไม่รู้จะเรียกอะไรดีจะเรียกคําขวัญจะเรียกเป็นตลก
จะเรียกว่าเป็นปรัชญานําอะไรก็ตามใจที่อาตมาตั้งขึ้นว่า 3 อาชีพกู้ชาติ
มีกสิกรรมธรรมชาติ ปุ๋ยสะอาด ขยะวิทยา สามคํานี้
อาตมาใช้ถึงคําว่า กู้ชาติทีเดียว แล้วพวกเราก็ได้พิสูจน์กันมาใน เรื่องเหล่านี้
มาพอสมควร ซึ่งอาตมายังไม่มีตั้งแต่กล่าวอันนี้ ยังไม่มีคําว่า จุลินทรีย์
เข้ามาร่วมประกอบเลยตอนนั้น อาตมาก็ยังไม่ได้เห็น
เรื่องของจุลินทรีย์นี้เข้ามามากนัก ก็ยังไม่ได้พูดยังไรไม่ได้
แต่ว่า ก็รู้ว่าในเรื่องของปฏิกิริยาของชีวะ หรือปฏิกิริยาของการสังเคราะห์
ปุ๋ยคําว่า ปุ๋ย คํานี้เนี่ยมันหมายถึงองค์ประกอบที่เชื่อมต่อระหว่างกสิกรรม กับ ขยะ
เพราะในโลกนี้มันก็จะมีสภาพที่เป็น
เนื้อหา
ที่จะต้องอาศัย
เสร็จแล้วก็แปลตัวไป เสื่อม
เมื่อเสื่อมแล้ว เสียหาย หรือว่า
ไร้ค่า ลดค่าลงไป ก็กลายเป็นขยะ
ถ้าเผื่อว่า
กลายเป็นขยะ
เราไม่รู้ทัน
ขยะนั้น ก็จะกลายเป็นมลพิษ
ขยะนั้น จะกลายเป็นสิ่งทําลาย
แต่เราจะไม่ให้ 3 อันนี้
กลายเป็นวงจรทําลาย
แต่จะให้มันเป็นวงจรที่
สนับสนุนเกื้อกูลกัน
จะให้สนับสนุนเกื้อกูลกัน
เพราะนั้น กสิกรรมธรรมชาติ
จะเป็นรากเหง้า
เป็นรากเหง้าของมนุษย์
ทุกวันนี้เนี่ย เราพิสูจน์กันมา
พอสมควรแล้ว
ถ้าเผื่อว่า เราเอง
เราเป็นเจ้าของ
หรือเป็นผู้ผลิต
ผลิตพืช พันธุ์ธัญญาหาร
เราจะต้องเป็นชาวไร่ ชาวนา
อาตมาย้ํามามากเลย
สําหรับชาวอโศกเรา
หลายผู้หลายคนก็ไม่มีนิสัย
เพราะว่าถูกครอบงํา
ถูกจูงดึงไปเป็นพวกหอคอยงาช้าง
พวกตีนลอย
ตีนลอยเนี่ย
ไม่ใช่ ไม่ใช่ชมนะ
ตีนไม่ติดดิน
พวกตีนลอย
กลายเป็นคนตีนลอยไปหมดแล้ว
คือมัน มันรู้สึกในตัวเอง
พวกเราจะรู้สึกเองจริงๆ เลย
แต่ละคน
แต่ละคนว่า
มันไม่ชอบ
มันไม่อยากทํา
มันหนัก
มันลําบาก
มันเปื้อน
นะ
มัน ทําแล้วก็ แหม มัน
รู้สึกว่ามันไม่เหมือนกับ
ไปทําอะไรที่เป็นชิ้นเป็นอัน
ที่เราเองเรา
ไปติด ไปยึด หรือไปชอบแล้ว
ไอ้ความชอบเนี่ยมันเป็นกิเลส
ความชอบเนี่ย
ความชอบความชังเนี่ยมันเป็นกิเลส
เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดไปเป็นทาสความชอบอยู่เนี่ย
แก้ไขตนเอง
เปลี่ยนแปลงตนเองไม่ได้ง่ายง่าย
เปลี่ยนแปลงตนเองไปได้ง่ายๆ
เพราะงั้นเราจะต้องสํานึกเสมอ
อย่าให้ความชอบมาเป็นเจ้าเรือน
อย่าไปเป็นทาสความชอบของตนเอง
เราต้องใช้ปัญญาวินิจฉัย
วินิจฉัยให้ชัดว่า
อันนี้มันดีหรือไม่ดี
ควรหรือไม่ควร
แล้วเราก็ใช้อิทธิบาท
จะต้องสร้างความยินดี ฉันทะ
ในสิ่งที่ดี
สิ่งที่ควร
ตามปัญญา
ไม่จะเอากิเลสชอบ
จึงยินดี
ก็เลยเพียร
วิริยะ เป็นอิทธิบาท
อิทธิบาท คือ ฉันทะ วิริยะจิตตะ
ก็เอาใจใส่ แต่เฉพาะสิ่งที่ชอบ
แล้วก็ใส่ใจสนใจ
ไตร่ตรอง พากเพียร ฝึกฝน ศึกษา
อยู่แต่สิ่งที่ตัวชอบ
ถ้าอย่างนี้แล้ว ก็รับรองดักดาน
มีอัตตามานะ ไม่มีทางหลุดพ้น
เมื่อใดก็ไม่หลุดพ้น
ขอยืนยันเด็ดขาด ไม่หลุดพ้น
ตัวนี้แหละเป็นตัวร้ายสําคัญมาก
เพราะฉะนั้น ถ้าบอกว่า ผู้ใดไม่พยายามแก้กลับ
ในสิ่งที่ตนเอง
ไปติดชอบเนี่ย
ไม่แก้กลับ
ที่ตัวเองไปติดชอบ
นั่นแหละ อัตตา
นั่นแหละ คือ อัตนียา
นั่นแหละ คือ กิเลส
กิเลสตัวแท้
ถ้าจะโยงใยกลับไปหาตั้งแต่ขั้นหยาบหยาบ มันก็ชอบตั้งแต่ของที่มันเสียหาย อบายมุขมันก็คือชอบนั่นแหละ
แม้จะรู้ว่ามันชอบอย่างพวกที่มันชอบฝิ่น ชอบเฮโรอีน
มันชอบแล้วมันรู้ว่าชั่วนั่นน่ะมันก็ตัดใจไม่ได้
มันตัดไม่ขาด
นะมันเป็นสุขอะไรมันก็แล้วแต่เถอะ มันจะเอร็ดอร่อยจะเพลิดเพลินจะ
เป็นปฏิกิริยาชนิดนึงที่เขาเรียกว่าสุขนั่นแหละ
เสพสมสุขสม สมใจชอบ
สมใจที่ตนเองชอบ
สมใจที่ตัวเอง
มัน ปรารถนาอยากได้
ให้มันสมใจ ให้ได้รับสิ่งนั้น
ต้องเกิด ต้องเป็น ต้องมี
ต้องมีปฏิกิริยา ผัสสะ
จนถึงขั้นไคลแมกซ์
จนถึงขั้นว่าอย่างนี้ ด่าอย่างนี้ แหม ได้สัมผัส
เกี่ยวข้อง มันจนกระทั่ง ถึงที่สุดของตนเอง
พอใจ แล้วมันก็จะจบไป
ชั่วระยะหนึ่ง
ถ้าเผื่อติดอยู่อย่างนั้น มันก็จะ
เดี๋ยวก็ใหม่
วนเวียนอยู่อย่างนั้น ก็ความชอบ อันนั้นไม่ปล่อย ไม่คลาย
ผูกมัด รัดตรึง
กิเลสไม่ลดหน่ายคลาย ไม่มีวิราคะ
ไม่มีวิสังโยชน์ ไม่มีปลดปล่อย ไม่มีผูกมัดรัดคลึงกันอยู่
เสร็จแล้วก็จะต้องสะสม
จะสะสม
ไม่มีแล้ว จะมักน้อย มีแต่มรรคมาก
ไม่มีวันพอ
ใจไม่มีพอ
ไม่มีสงบ
ทานแย้งกับหลัก
8 ประการ ของพระพุทธเจ้าหมด
แล้วมีวิทยารัมภะมั้ย มีเพียร
แต่เพียรบ้า เพียรสะสม
เพียรกอบโกย เพียรมีวิราคะ
ไม่ใช่วิราคะ มีราคะมี
สังโยชน์
มีสิ่งที่ตัวเองต้องติด ต้องยึด นั่นแหละ
ยิ่งหนาขึ้น จึงเป็นปุถุชน
ความเพียรมีนะ
ความขยันมีนะ
แต่ขยันเพื่อที่จะติดตัง
คนเหล่านี้ เป็นคนเลี้ยงยาก
ไม่ใช่คนเลี้ยงง่าย
คานแยงกับหลักตรวจสอบ
ธรรมะของพระพุทธเจ้า ธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า
8 ประการหมด
เพราะงั้น
เราจะต้องแก้
แก้จริงๆ อย่าตามใจเลย ไอ้ตามใจนี่แหละ คือ ตามกิเลส
ไม่ใช่ตามอะไรหรอก
เพราะฉะนั้นในใจนี่แบ่งให้เป็นความรู้
เป็นปัญญาญาณที่วินิจฉัยว่าอันนี้ รู้อันนี้ รู้ว่าอะไร อะไรที่มันดี
อะไรดีกว่าอะไรที่ต้องรู้ยุคสมัย รู้องค์ประกอบ
รู้สังคมกลุ่ม
รู้ว่าหมู่เรา
กําลังสําคัญในอะไรตอนนี้
หมู่เรากําลังที่จะ
ร่วมกันทําอะไร
ถ้าเรามีพลังรวมอย่างนี้นะ
มันจะเป็นพลังยิ่งใหญ่
เพราะงั้นผู้ใดหมั่นมาประชุม
ผู้ใดไม่พลาดในการที่จะ
ไม่ตกเรื่องจากข่าวสาร
ไม่ตกเรื่องจาก
มีเนื้อหาอะไร
มีข่าวคราวสําคัญอะไร
ของกลุ่มหมู่
มันจะมีแกน มีแก่น มียอด มีปลาย
มีกลาง มันจะมีอยู่อย่างนั้นแหละ
เพราะฉะนั้น
ส่วนกลางของเราอโศก
เราก็รู้อยู่ว่า
ส่วนกลางของอโศกคือ อะไร
ที่ไหน อย่างไร
จะมีอะไรกันเป็นเรื่องเป็นราวเป็นอะไร
เราไม่ตกข่าว
เราไม่ตกข่าว
เราเป็นคนที่ตื่น
ไม่ใช่เป็นคนนั่งหลบ นั่งหลับ
ไม่ใช่เป็นคนที่
เค้าทิ้งเราแล้ว
แต่ที่จริงเรานั่นแหละ
ทําตัวเองให้มันหลุดออกจากหมู่
ออกจากกลุ่ม
ออกจากโลก ออกจากจักรวาล
ฟังธรรมให้เป็นนะ นี่หมายไปถึงไหน
เราก็คือ
อุกกาบาตอันนึง ที่ถูกสลัดออกจาก
จักรวาลนั้น
หรือ วงโคจรอันนั้น
หรือ กาแล็กซีอันนั้น
หรือหมู่กลุ่มอันนั้น
ถ้าถูกสลัดออกแล้ว
กลับคืนยาก
ถ้าถูกสลัดออก
อุกกาบาตชิ้นนึงถูกสลัดออกจาก
เอ่อ
วงโคจรหรือถูกสลัดออกจากกาแล็กซีนั้นนั้นไปแล้วเนี่ยนะ
จะวนกลับเข้าไปในกาแล็กซีนั้นอีกนั้น
ปนกลับเข้าไปในวงโคจรนั้นอีกนั้นยากมาก
ถ้าผู้ใด
ใส่ใจอยู่เสมอแล้ว
เราก็จะเลื่อนเข้าไป
จนกระทั่งไปเป็นแกนกลาง
สุดท้ายก็จะเป็น
แกนใหญ่ อย่างกาแล็กซีหนึ่ง
มุ่ง
ก็ไม่ใช่ galaxy
ถึง galaxy หรอก มูล
จักรวาลน้อย
อย่างโลกเราอยู่เนี่ย
เรียกอะไร
ดาวเก้าดวงนี่เขาเรียกอะไรอ่ะ
เอ้า ไม่ใช่ดาว 9 ดวง
หมู่ เรียกหมู่เนี่ย
ดาวนพเคราะห์เนี่ย ไปเรียกดวง
ไม่ใช่เรียกหมู่
เออ สุริยะจักรวาลเนี่ย
ที่เราอยู่กันใน สุริยะจักรวาล
นี่ดาว 9 ดวงอยู่เนี่ย
ก็มีพระอาทิตย์ดวงเดียว
พระอาทิตย์ก็ถือว่า
ยิ่งใหญ่ที่สุดในหมู่นี้
จะเป็นแกนกลาง
ดูดดึง หรือว่าอยู่อะไร
รวมกันอยู่ได้
ด้วยอํานาจ
ด้วยฤทธิ์ ด้วยแรง นี่เป็นเรื่องธรรมชาติ ธรรมดา
คนก็เหมือนกัน
มีลักษณะเหมือนกัน
ลอกเลียนกัน
มันจะมีแกน
มีตัวเด่น มีตัวหมู่ มีสิ่งที่มีคุณค่าประโยชน์ที่จะเฉลี่ย
เกื้อกูลกัน
มีสัมพันธ์แก่กันและกัน มี relative
มีแรงสัมพัทธ์ที่สูงอยู่โดย
ไม่กระจัดกระจายง่าย
ในสุริยะจักรวาลเพียง 9 ดวงนี้ อยู่กันเป็นหลายล้านปี จะอยู่กันอีกหลายล้านปี
ถ้าดวงดาว ดวงไหน ดวงใด ดวงหนึ่ง หลุดออกไป
แตกออกไป หลุดออกไปแล้ว
ไม่มีทิศทางจะเข้ามา
แต่ถ้าเผื่อว่าอยู่ไปแล้ว มันก็จะค่อยๆ
เข้าไปใกล้
เข้าไปหาสิ่งที่
ไปหาสิ่งที่เป็นแกนกลางเสมอ
เรามีจุดศูนย์กลาง
ขณะนี้ที่เรานั่งอยู่ตรงนี้เนี่ยนะ จะเป็นจุดศูนย์กลาง อาตมาว่ามันก็เกิดขึ้นมาตามลําดับตามลําดับ
อะไรอะไรมันเกิดขึ้นมาเอง อาตมาไม่ได้กําหนดไม่ได้วางผังวางแผนไว้
โดยรูปวัตถุก็ตาม
อย่างเดียวเป็นกลางเป็นจุดกลาง
พระวิหารพันปี
เจตนาจะสร้างพระวิหารพันปี ให้เป็นจุดกลางทางวัตถุ
โดยเราจะมีสิ่งที่เคารพบูชาสุดยอด
เหมือนกับอะไร
ศาสนาเขาจะมีหน่วยกลาง
ของคริสต์ เขาก็มี
วังวาติกันอยู่
ของอิสลาม เค้าก็มี
พระวิหารดํา
เค้าเรียก พระวิหารดํา
ซึ่งมีอุกกาบาต
ขออภัย
กาบะ หินกาบะ
ขออภัย ไปเรียกคําว่า อุกกาบาต
มีหินกาบะ
อยู่ในพระวิหารอันดับนั้น
อยู่ที่เมกกะ
อยู่ที่ เมกกะ เป็นจุดศูนย์กลาง
ของ บาไฮ เขาก็มี อาตมาจําไม่ได้
ของ บาไฮ เขาก็มี พระวิหาร
เขาสร้างใหญ่มาก
วิหารเขา
วิหารใหญ่
เขามี
สิ่งเหล่านี้ เป็นวัตถุ เป็นรูป
ในโลกนี้ จะต้องเข้าใจทั้งวัตถุ หรือรูปกับนาม
วัตถุกับจิตวิญญาณ
เราไม่ทิ้ง
แต่จิตวิญญาณเป็นประธาน
จิตวิญญาณเป็นปัฏฐาน เราจะต้องเข้าใจ
สภาพที่จะอยู่ร่วมกัน จะต้องสังเคราะห์กัน สัมพันธ์กัน
เกื้อกูลกัน
มีประโยชน์แก่กันและกัน เหมือนร่างกายเป็นวัตถุ
จิตวิญญาณ
เป็นนาม
ต้องเกื้อกูลกัน
เราจะบอกว่า จิตวิญญาณเป็นประธาน
ก็จริง
แต่เราจะทิ้งขว้าง
ร่างกายเรา ไม่ดูไม่แล ไม่เอาใจใส่ สุขภาพ
มันจะเป็นยังไง ช่างหัวมัน ไม่ได้
แต่ไม่ใช่ประคบประหงม
ไม่ถึงขั้นประคบประหงม แหม เข้าใจผิด
มีถูกเค้าหลอก
มีความโง่
เค้าหลอกให้
ประดับประดา
ไปตบไปแต่ง เอาเกินกาล จนกระทั่งเกินเลย
เอาไอ้นั่นมาพอก เอาไอ้นี่มาทา
เอาไอ้นั่น มาสวม มาใส่
มาอะไรต่ออะไร มันเกินกาล
จนทุกวันนี้เป็นภาระ
และเป็นเรื่องแย่งชิง เป็นเรื่องอวดอ้าง เป็นเรื่องข่มเหง่ง
เป็นอะไรๆ ขึ้นไปในสังคมมนุษย์ชาติขึ้นอีก
แล้วเขาก็อยู่กับสิ่งเหล่านั้นกัน จนกระทั่งถือรูปนอกกัน
วัดค่าของความเป็นมนุษย์
ซึ่งเราก็ได้มาเรียนรู้ และพยายามที่จะมาเข้าถึง เนื้อหาแก่นสาร
เราไม่วัดค่ากันด้วยสิ่งเหล่านั้น
เพราะทุกวันนี้ ชาวอโศกเราเนี่ย
ใครเห็นแต่รูปนอก
มองเห็นชาวอโศกเดี๋ยวนี้
เขาไม่เหมือนก่อนแล้ว
เข้าใจเพิ่มขึ้นแล้ว
แต่ยังมีอยู่อีกเยอะเหมือนกัน
พวกไกรปืนเที่ยง
หรือพวกยังหูป่า
ตาเถื่อนอยู่
ยังไม่รู้อิโหน่อิเหน่ว่า
มีอะไรเกิดขึ้นแล้ว ในสังคมไทย
อโศกนี่เป็นสิ่งหนึ่ง
ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
เกิดขึ้นจริงๆ
อาตมาเองเกรงใจ
ที่จะขลุ่ยโม้
บรรยายธรรมทีใด
หรือแม้แต่พูดกับพวกเรานี่
ก็ พูดอย่างพยายามที่จะ
ไม่คุยโม้
แต่ขนาดไม่คุยโม้นี่
คนก็จะอาเจียน
เป็นโลหิตก็เยอะ
จริงๆนะ
อาตมาบอกว่า อาตมามีเพชร 10
เม็ดนี่
ชักเข้ามาทีละเม็ด
2 เม็ดออกมาอยู่เรื่อย
ด้วยความพยายาม
คือรู้ตัวเสมอ
รู้ตัวอยู่ตลอดเวลาเลย โอ้
พูดไปนะ
มันก็คุยเคืองอย่างนั้นแหละ
แล้วพูดไปก็เหมือนอวดดีอวดดี
มันเหมือนอะไรต่ออะไร
จะพูดอะไร ใหญ่ก็พูดไม่ได้สักที
พูดได้แต่ เล็กๆ
ขนาดเล็กๆ นี่เขายังว่าใหญ่
แหม มัน
ยากจริงๆ
ฟังธรรมะให้เป็นนะ
ที่อาตมาพูดอยู่เนี่ย
สังคมมนุษย์ชาติเนี่ย
ถ้าเผื่อว่าจิตวิญญาณ
ไม่เข้าใจสัจจะความจริง
ไม่รู้ว่าชีวิตคืออะไร
ไม่รู้ว่าชีวิตมันเป็นสุข
คืออะไรจริงๆ
หรือว่า พ้นทุกข์
ไม่รู้ทุกข์อริยสัจ
ไม่รู้เหตุแห่งทุกข์ ไม่รู้วิธี
ที่จะหาทางดับทุกข์
จนกระทั่งดับทุกข์
และเมื่อดับทุกข์ได้แล้วคนจะเป็นยังไง
คนก็เป็นอริยะ
อริยะแปลว่าอะไร อริยะแปลว่าฤาษี
เปล่า อริยะแปลว่าคนประเสริฐ
อริยะแปลว่าผู้ที่มีคุณค่าประโยชน์
เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว
เป็นคนมีประสิทธิภาพ
อาตมาตราภาษา คําว่าอิสระเสรีภาพ
ภราดรภาพ
สันติภาพ
สมรรถภาพ
บูรณภาพ
5 ตัวนี้ขึ้นมา
ด้วยการเจตนาตั้งเป็นหลัก
ประมวลสิ่งที่ควรจะเป็น
ในความประเสริฐและความเจริญ
ศิวิไลเซชั่นสูงสุด
ในความเป็นมนุษย์ชาติ
อยู่ใน 5 ตัวนี้
ขอยืนยัน
อาตมาก็ค่อยอธิบายไปเรื่อยๆ
อธิบายหมดทีเดียว
อธิบายอย่างใหญ่
ยิ่งเคือง รู้
อวดอ้าง
ไอ้เราก็ยังเป็นไม่ครบ
ก็ยังพูดไม่ได้เต็มปาก
แต่เราต้องเป็นให้ได้
อิสระเสรีภาพ
นั่นคือ ความหมดกิเลส
ไม่เป็นทาสตัวเราเอง
อย่าไปพูดเลยว่า ไปเป็นทาสอบายมุข
ไปเป็นทาสโลกธรรม
ไปเป็นทาสลาภ ทาสยศ
เป็นทาสสรรเสริญ
เป็นทาสโลกียสุข
ที่มันหลอกล่อสารพัดสารเพ
อย่าไปพูดเลย แค่นั้นแหละ มันเล็กน้อย
แม้แต่เป็นธาตุตัวเอง
เป็นธาตุความชอบ
เป็นธาตุความยิ่งใหญ่
มีมานะอัตตา แล้วมันก็มาเป็นธาตุตัว
ความเป็นกิเลสมานะอัตตา ของตัวเอง อีกซ้อน
จริงๆ เราดีจริงๆ นะ
แต่เราก็ยังไปเป็นทาสความดี ที่เรายึดถือดี
ถือตัว
ค่าเนรดี
ค่าเนรมิตใหญ่
แล้วคุณใหญ่จริงๆ ด้วยนะ
แต่ก็ยังไปหลงตัวซ้อนอยู่ในตัวนั่นน่ะ
ติด หลง
โดยไม่รู้ตัว
เอาอํานาจ เอาฤทธิ์เดชอันนั้นน่ะ
ไปทําร้าย
หรือไปทําความเสียหาย
ไปเบียดเบียน
ผู้อื่น
นั่นก็ยังถือว่าเป็นทาส
แต่ถ้าเผื่อว่าไม่ได้ไปทําให้เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ได้ไปทําร้าย ไม่ได้ทําให้เสียหายแก่ผู้อื่น
แต่เป็นวิธีการอย่างเข้าใจจริงจริงเลยว่า
นี่เป็นวิธีการที่ประมาณนะ แล้วก็ต้องเกรงใจเขาด้วย
ประมาณธรรม
ถ้าจะขัดเกลาเขา
หรือว่าให้เขาได้รับการอดทน ได้รับผลถูกเฆี่ยน
ถูกตีบ้าง
ก็เป็นครูผู้ที่รู้จักประมาณ
คุยกับนายเลี้ยงม้า
นายคนเลี้ยงม้า
เกสีสูท
ที่เลี้ยง ที่นายเลี้ยงม้า
ว่าฝึกม้าเลี้ยงม้านี่ทําอย่างไร
นั่นเขาก็บอก เขาก็บอก
ก็สอน ก็แนะนํา
เสร็จแล้วก็ต้องเฆี่ยน ต้องตี
ไปตามลําดับ ถ้าไม่ได้ ทํายังไงก็ถึงเฆี่ยนถึงตี
เมื่อตีกับอะไร มันก็ยังดื้อ ยังดึง ยังพยศ ยังตุน ยังแรงอยู่ ทํายังไง สุดท้าย
เขาบอกฆ่าทิ้ง
สุดท้ายก็ฆ่าทิ้ง
พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เออ
เราก็เหมือนกัน
คือนายเกษีนี่ เขาก็ถามต่อพระพุทธเจ้า
แล้วท่าน
ท่านทํายังไง
ท่านสอนคน ท่านทํายังไง
ท่านพัฒนาคนเลี้ยงคนทําให้มันเจริญเนี่ย ให้คนเจริญทําไง
ท่านก็เหมือนกันครับบอกก็ค่อยค่อยสอนค่อยค่อยแนะนําค่อยพาปฏิบัติ
ให้เจริญทําให้ดีขึ้นมา
มีการบอกทั้งดีส่วนดีส่วนไม่ดีดุตีว่า
เมื่อถึงขั้นตีมั่งด้วย
แล้วถ้าเผื่อว่าลูกศรไม่ได้เลย ทําไง
ก็ฆ่าทิ้งเหมือนกัน
ตาเกษีก็ตกใจว่า ไอ้หยาดเป็นสมณะแล้วไปฆ่าคนยังไง
เขาพาซื่อ
เป็นสมณะแล้วจะไปฆ่าคนยังไง
พระพุทธเจ้าก็บอก การฆ่าของเรานั้น
ไม่ใช่อย่างนั้น คือพรหมธรรม
การฆ่าของเรา คือการเลิก
คือการทิ้ง
ปล่อยวาง
ไม่เอาภาระคนนั้นอีกแล้ว เลิกไปเลย
นั่นคือการฆ่าของท่าน
เพราะฉะนั้น
ในการเฆี่ยน การตี การดุ การว่าอะไร
มีเป็นธรรมดา
ของการพัฒนา
แล้วต้องประมาณ
ไม่ใช่ด้วยอารมณ์โกรธ อารมณ์ชัง
ถ้าอย่างนั้น แล้วก็ไม่ดี เพราะฉะนั้น คนไหนก็แล้วแต่ ที่จะ
รู้สึกว่าจะเบียดเบียนคนอื่น
จะลงโทษคนอื่น
จะให้คนอื่นได้รับการ
กระทบที่แรง
เหมือนเฆี่ยน เหมือนตีเนี่ย
เราจะต้องนใจของเราเลยว่า
เรามีอารมณ์ชัง อารมณ์ไม่ชอบ อารมณ์โกรธไหม
ถ้ามี หยุด
อย่าทํา
ถ้ามี อย่าทํา
นจริงๆ ขอบอกไว้เลย
เมื่อรู้สึกว่า
อันนี้มันจะเป็น เบียดเบียนเขาแล้วเนี่ย จะต้องข่มเขาแล้ว
จะต้องข่ม จะต้องเบียดเบียน
จะต้องทําอะไร เหมือนเฆี่ยน
เหมือนตีเขาแล้ว
ให้นใจเราทันที
ถ้าใจเรามี
โกรธ
มีชัง
หยุด คุณลําเอียงแล้ว
ถ้าคุณมีอารมณ์ร่วมอันนั้น
มีกิเลสร่วมอันนั้น
คุณจะลําเอียง
คุณจะทําการเฆี่ยน การตี
การดุด่าว่า
หรือการให้อะไรออกไปก็ตามใจ
มันจะเป็นความลําเอียง
ไม่สวยไม่ดี
ผิดพลาด
จําไว้เลย
นี่เราจะสร้างสภาพ
เราจะต้องมีประโยชน์ต่อผู้อื่นด้วยวิธีอย่างนี้ด้วย
เราจะต้องแนะนํากันสอนกันบอกกันนี่เป็นเรื่องธรรมดาเลย
คนเนี่ย เป็นผู้ที่มีสื่อ
สื่อในการบอก ในการอธิบาย
ในการดุด่าว่า
ในการชมเชย อะไรก็แล้วแต่ คน
ทําได้เก่ง
สัตว์โลกอะไรอื่นๆ
ทําไม่ได้เท่าหรอก
เพราะฉะนั้นจะต้องใช้อันนี้
ชื่อภาษาที่เป็นการทําได้ดี
ทําได้อย่างชาญฉลาด
ท่านเรียกว่าเป็นฝีมือ
หรือเป็นศิลปวิทยา
มีศิลปวิทยาในการทํา
แล้วจะเกิดผลเจริญขึ้นมา
พัฒนาคนขึ้นมาได้
อาตมาพยายามบอกสังคม บอกโลก
ตะโกนบอกด้วย
อธิบายไป ก็บอก บ่อย
ว่าทุกวันนี้ คนเราเนี่ยนะ
มันฉลาดซ้อน
เขาช่วยเหลือคน
การช่วยเหลือคนเนี่ย
ได้ประโยชน์
ตนได้เปรียบเยอะ เรียกว่าสร้างภาพ
ช่วยเหลือคนอื่น เพื่อตัวเองจะได้
ความยอมรับนับถือ
ได้หาเสียงให้แก่ตัวเอง
ได้กัดรับการยอมรับจากคนอื่น
นี่เป็นการช่วยเหลือผู้อื่น
เอาประโยชน์ตน
ไม่ใช่ธรรมะนะ เป็นอธรรม
เป็นกิเลส
เดี๋ยวนี้ทํากันมากในสังคม
ทุกคนทําเป็น แม้เป็นเด็ก
ยังทําเป็นเลย
ด้วยสัญชาตญาณ เด็กก็ทําเป็น
พระอัญญา
ใครอย่าปฏิเสธเลย
ไม่มีการปฏิเสธได้ แม้แต่คนเดียว
วิธีหาเสียงให้ตัวเอง
ทําคะแนนให้ตัวเองเนี่ย
มีทุกคน
ตั้งเป็นเด็กจนโต จนแก่ จนเฒ่า
นะ วิธีการนี้
อ้างว่า ช่วยเหลือผู้อื่น
หรือสงเคราะห์ผู้อื่น
แล้วคุยโตไปยิ่งกว่านั้น
ไม่ใช่คุยว่าสงเคราะห์ผู้อื่นเท่านั้น
สงเคราะห์สังคม
ช่วยเหลือสังคม
นู่นแน่ะ ใหญ่
แล้วเค้าก็ทํา
รูปเรื่องให้มันเป็นการสงเคราะห์สังคม
จะได้ดูเหมือนเรานี่ใหญ่เหลือเกิน
ในระดับประเทศ
ในระดับโลก
ในระดับเหมันต์สหประชาชาติ
ฉันจะช่วยประเทศนั้น
ประเทศนี้ อะไรก็ตามแต่
การช่วยสังคมก็ดี
การช่วยผู้อื่นก็ตาม
ช่วยให้เขาสบายขึ้นบ้าง จริง
ช่วยให้เขาได้รับการคลายทุกข์
คลายความเดือดร้อนขึ้นบ้าง จริง
แต่ไม่ได้สร้างเขา
คําว่าช่วย กับคําว่าสร้างนี่
สองคํานี้
ทุกวันนี้ นี่ยังไม่ลึก
ในสองคํานี้
ช่วยคนอื่น ช่วยให้เขาพอบรรเทา
ช่วยให้เขาพอ
พ้นทุกข์ผิวเผิน
พ้นทุกข์ทางวัตถุ
หรือแม้จิตใจก็ตาม
คลายใจไปนิดหน่อย
แต่ไม่ได้สร้างเขา
ฟังคําว่าช่วยกับซากนี่ชัดๆ
ทุกวันนี้อวดอ้างในเรื่องช่วยทั้งนั้น
แต่ไม่ได้ปฏิบัติถึงขั้นสร้าง
สร้างคนเนี่ย
ได้ทั้งช่วยเขา และบางทีไม่ได้ช่วยด้วย
บางทีดูเหมือนจะลงโทษ
แต่กายคือการสร้างชนิดหนึ่ง
บางทีดูเหมือนกับ
เคี่ยวเข็ญ
บีบบังคับ
แล้วไม่ใช่บางทีหรอก ที่อาตมาพาทําอยู่นี่ เคี่ยวเข็ญแล้วก็พยายามให้
ขัดเกลา
ให้ฝืนใจ
ให้ฟื้นใจ ให้ขัดเกลา
นี่เป็นแก่น ๆ เลยนะ
เพราะฉะนั้น พวกเราได้ฝืนใจ ได้ขัดเกลากันแล้วก็มาได้ดี
พวกคุณถูกสร้าง
ให้ทําเอง
ให้ลงมือหนัก หนักก็เอา
ขัดฝืนใจเข้าไป
นี่คือการสร้าง
ถ้าการช่วยเราก็ เออ
คุณทําไม่ได้เราก็ช่วย คุณทําไม่ได้เราก็เป็นคนอุ้มชู
ให้ทั้งวัตถุ ให้ทั้งแรงงาน
ให้ทั้งอะไรต่ออะไรอยู่ตลอดเวลา
เสร็จแล้วก็เลยกลายเป็นคน
รับ
เป็นคนอยากได้
ไม่รู้จักพอ
ก็ได้รับการช่วยเหลือ
โดยพฤติกรรมของมนุษย์
มันก็ดูดีนะ มีการช่วยเหลือกันนี่มันดี
เราก็ไม่ได้ทิ้งสิ่งเหล่านี้นะ
การช่วยเหลือกันนี่ เราไม่ได้ทิ้ง
แต่ว่าเราจะประมาณอย่างไรว่า
ช่วยเหลือนี้ มีการสร้างกันในตัว
มีการให้กําเนิด
ให้เกิดการพัฒนาตนเองในตัว อันนี้แหละยาก
ทุกวันนี้เนี่ย สังคม
แม้แต่จะไปเรียน
มหาลัย
เรียนเป็นดอกเตอร์ เรียนเป็นอะไรๆ
ไม่ได้สร้างคน
เรียนมาเพื่อที่จะให้คนเหล่านั้น
ไปสงเคราะห์ ไปช่วยเหลือ เท่านั้นเอง
เพราะฉะนั้นคนไหนมีความรู้ความสามารถมาแล้ว ก็เป็นแต่เพียงไปช่วยเหลือคน
ไม่ได้ไปสร้างคน
สองคํานี้อาตมาพูดแล้วก็ยังรู้สึกว่ายังไม่
ไม่กระจ่างพอ
มันลึกนะรู้ไหมว่ารู้สึกไม่ได้เข้าใจ ฟังแล้วรู้สึกว่าลึกลึกไหม คําว่าช่วยกับคําว่าสร้างเนี่ย
ช่วยคนก็สร้างคนเนี่ย
เพราะคนที่จะมีฝีมือสร้างคนเนี่ย ก็คือพระเจ้า
เป็นพระผู้สร้าง
พระเจ้านี่สร้างอาดัม สร้างอีฟ
อาตมาก็พยายามสร้างให้เป็น
ปุริส ปุริสภาวะ
ให้เป็นสัปปุริส เป็นสัตบุรุษ
แต่ก็ยังเป็นตัวเมียอยู่เรื่อย
ฟังธรรมะให้ออก
ยังไม่เต็มเต็ง ยังไม่เป็น
ปุริสสภาวะ
ยังไม่เป็นสัปปุริสธรรม
ยังไม่เป็นสัตบุรุษได้
สมบูรณ์สักที
นี่คือซาก
ขัดเกลา
ทําให้เกิดการฝืน การพัฒนา
การเจริญขึ้นของตนเอง
โดยตนเองเนี่ย แข็งแรงขึ้น
ไม่ว่าจะกลายเป็นคนที่แบมือรับ แบมือขอ ต้องอุ้มชู ต้องแบกหาม
เป็นลูกแหง่ อยู่ตลอดกาลนาน
ถ้าการช่วยแล้วจะเกิดลูกแหง่ขึ้นมา
เกิดเป็นคนแบเบาะ
เกิดทารกเยอะขึ้นทุกที
สังคม เป็นสังคมทารกอย่างนี้
ทุกวันนี้ทั้งโลกเลย
กลายเป็นคนขี้ขอ กลายเป็นคนที่จะเอา
จะได้
ไม่แข็งแรง ไม่พยายามที่จะพัฒนาตนเอง
ไม่ปฏิเสธสิ่งที่จะ
คนอื่นจะช่วยเหลือก็ไม่เป็น ไม่ ไม่ค่อยปฏิเสธกัน
กลายเป็นเรา จะต้องเป็นผู้ได้
ได้เปรียบ
จะต้องเป็นคนมาให้แก่เรา
อะไรก็จะต้องเป็นผู้ที่จะได้รับ อะไร เป็นต้น
นี่แหละเป็นจุดสําคัญ
ที่มันไม่ค่อยได้
ตอนนี้อะไรๆ
ก็เป็นรูป เป็นร่าง เกิด
คนเก่าๆ อาตมาก็สงสาร
คือ ติดอยู่
อาตมาสอนแต่เริ่มแรกเลยนะ
สอนมักน้อยสันโดษมาก
แล้วเราก็อยู่น้อยๆ เล็กๆ
ยังไม่มีอาณาจักรที่กว้าง
ยังไม่มีจักรวาลที่โตอะไร
อยู่กันเล็กๆ อะไรมันก็พอ
ไม่ต้องสะสมอะไรเลย
สิ่งก่อสร้างก็ไม่ต้องมี
นอนโคนไม้โคนไร่ ไปได้กันจริงๆ
เลย แม้แต่จะเป็นฆราวาส
ก็ไปไหนมาไหน
มีกรดกันประจําตัว
นอนโคนไม้ โคนไร่ได้หมด
ที่ทํางานไม่ต้องมีที่ทํางานก็ได้
ทํางานใต้ร่มไม้ก็ได้
เมื่อนั้น ก็คือ เมื่อนั้น
แต่ตอนนี้ มันโตขึ้นมาแล้ว
เราต้องมีถิ่น มีที่
มีหลัก มีแหล่ง
ต้องมีอาคาร
ต้องมีสถานที่
ต้องมีอุปกรณ์
ต้องมีเครื่องไม้ เครื่องมือ
ต้องมีอะไรต่ออะไรขึ้นมา
ตามลําดับฐานะที่มันขยายขึ้นมา
คนที่ติดยุคสมัยโบราณก็
ติดคําว่าน้อยว่าเล็ก
โดยที่ไม่เข้าใจว่า
ไอ้ที่โตไปนี่น่ะ
มันโตเกินตัวหรือเปล่า
หรือว่ามันยังไม่โตเกินตัวหรอก
มันจะต้อง
โตขึ้นมารองรับให้พอเหมาะ
พอดีกันจริงๆ
ให้มัน โต ได้ เนี่ย
อย่าง ขณะ
นี้ เนี่ย
ก็ นี่ ก็มา
กัน พอ สม ควร
ก็ ยังไม่ได้ มา
หมดหรอก นะ ที่ จริง
ก็มา แค่นี้ ก็ ดู แน่น
ดูแน่นดูเต็ม
นี่เต็มแล้วเนี่ย
ไม่ได้หลวมๆอะไร ก็ดูแน่นหนา
อบอุ่นดี
สัมพันธ์กันไปหมด
ซึ่งอาตมาก็พูดถึงมาบ้างแล้ว
อาชีพนักผลิตเนี่ย
เป็นคนรวยที่สุด
มีฐานะรวย ตามทางวัตถุ
ถ้าอินทรีย์ภาระ ก็อ่อนกว่าเพื่อน
นักผลิต
นักบริการสูงขึ้นมา กับนักผลิต
จะเป็นคนไม่ไป
กอบโกยรวยกว่านักผลิต
ต้องรู้ฐานะ
พ่อค้าอย่าไปรวย
กว่าชาวไร่ ชาวนา หรือผู้ผลิต
ถ้าไม่
ถ้าพ่อค้าไปรวยกว่านี่ผิดสภาพ
ผิดสัจจะผิดฐานะ
นักบริหาร
มีฐานะภูมิสูงกว่าอีกสองฐานะนี้อีก อาชีพที่สูงขึ้นไปอีก
ยิ่งจนกว่า
จนกว่า 2 ฐานะนี้อีก
อย่าไปรวยกว่า ถ้ารวยกว่าผิด
โบราณเขารู้นะ
โบราณเนี่ย
โดยเฉพาะจะต้องหนักมาในทางความเป็นผู้ ตัวอย่าง เรียกว่า ครู
เพราะฉะนั้น ครูนี่ต้องจน
ครูนี่ต้องเชย
ครูต้องมักน้อยสันโดษ
นี่เป็นความจริงในสมัยโบราณ เขารู้ดี
สมัยนี้เพี้ยนหมดแล้ว
เนี่ย
เพราะงั้นผู้ที่จะเป็นนักบริหารนี่ก็ต้องจน ต้องรู้เลยว่าจะไปรวยกว่าเขา
ต้องจนอย่างจริงใจและเราก็ทําความดีงามให้มากมากมาก เขาจะเอานุเคราะห์เกื้อกูล เขาจะไว้ใจ
เขาจะช่วยเหลือเอาไว้
อยากได้อะไรเขาก็จะ
ซึ่งไม่ลดความโลภในจิตจริงจริง ลดความเห็นแก่ตัว ลดความสะสม
เข้าหลักแปดประการของพระพุทธเจ้านั่นแหละ
จะเป็นคนมีฐานะสูงขึ้น เจริญขึ้นตามนั้นจริงจริง
ยิ่งอาชีพผู้บรรลุความจริง
อาชีพนักบวชปุโรหิตตัวอย่างใหญ่แล้ว
ยิ่งไม่ต้องพูดถึงเลย นี่ยิ่งชัดเจน
เป็นคนที่ต้องไม่มีทรัพย์สินขา
ตั้งแต่ฐานนักบริหารแล้ว จะต้องเข้าอนาคามี
โสดาบัน สกิทาคามี อนาคา อรหันต์
4 ฐานง่าย ๆ อาชีพ 4
แล้วมันจะเป็นสัจจะของมนุษย์
เดี๋ยวนี้ขยายออกไปได้ ขยายอาชีพ
1 ก็ขยายไปเยอะแยะ
แยกย่อยเลย อาชีพ 2
พ่อค้า นักธุรกิจ
อะไรก็แล้วแต่ แยกย่อยไปหมด
นักบริหาร ข้าราชการ
อะไรต่ออะไรต่างๆ นานา จนกระทั่ง แม้แต่นักธุรกิจ
ก็แบ่งออกเป็น 2
ธุรกิจในภาคบริหาร ธุรกิจในภาค
เดี๋ยวนี้มีบริหารธุรกิจใช่ไหม
นักธุรกิจในภาคบริหาร
กับนักธุรกิจในภาคบริการ
เป็นนักธุรกิจในฐานะ
อยู่ในฐานะของคนระดับบริการเท่านั้น กับนักธุรกิจในฐานะนักบริหาร
มันก็แบ่งย่อยกันไปอีก
เชื่อมโยงกันไปอีกเยอะแยะ
อาชีพหลัก ๆ ก็มีเท่านี้แหละ
เพราะฉะนั้นเมื่อเรามาเรียนรู้กัน อาตมาอธิบายบรรยายหัวข้อ
ธรรมะต่าง ๆ ที่อาตมาใช้ภาษา
ที่อาตมาตั้งขึ้นเอง
ให้มันทันยุคทันสมัย
พูดกันเข้าใจในยุคนี้
หลาย ๆ อย่างก็
ไม่ได้เอามาจากพระบาลี ไม่ได้เอามาจากตําราของพระพุทธเจ้ามาทั้งหมด แต่ขอยืนยันว่าไม่ได้แปลก
ไม่ได้ผิดเพี้ยน
ไม่ได้ออกนอกเรื่องนอกราวอะไร
ถ้าจะไป
เอาไปตรวจสอบกับหลักแปดประการของพระพุทธเจ้า และอาตมาแน่ใจที่สุด ยืนยันได้ว่า
ที่สอนที่แนะนํา ที่นําพากันมาจนทุกวันนี้ ไม่ได้ออกนอกทางพระพุทธเจ้า
ไม่ได้ออกนอกขอบเขตพุทธ
ยังอยู่ในขอบเขตพุทธทุกประการ
เนี่ย
คนเก่าที่พูดถึงเมื่อกี้ว่า จึงติดยึดในเรื่องของความมักน้อยสันโดษ ก็ไม่รู้จักกาลเทศะ ไม่รู้จักยุคสมัย ไม่รู้จักความเจริญ
ไม่รู้จักการอนุโลม ปฏิโลม
เรื่องเหล่านี้ไม่ใช่เรา
แต่เป็นเรื่องเผื่อผู้อื่น
อาตมาเอง
อาตมาไม่มานั่งติดยึดอะไรหรอก พวกนี้
ซึ่งทุกคนก็คงเห็น
ก็คงเข้าใจอยู่ แต่ว่าเราจะต้องทํา ต้องมี ต้องเป็นไปตามลําดับตามอัน สร้างขึ้นมาเพื่ออะไร
มันอธิบายทั้งหมดไม่ไหว มันเยอะมันแยะ
นะ ทางด้านจิตวิญญาณเนี่ย มนุษย์มีมาก ไม่รู้กี่ระดับ ต่อกี่ระดับ มากมาย
แล้วเราก็จะต้องพยายามกระทําให้มันสอดคล้องไปตามกาล
เวลาด้วย
แล้วก็องค์ประกอบจริงด้วย
ว่าตอนนี้มันมีมวลเท่าไหร่ มันมีน้ําหนักอะไรต่ออะไรอย่างไร
มีองค์ประกอบอะไรต่างต่างเป็นยังไง
ต้อง
ตรวจสอบต้องดูข้อมูลของจริง
อะไรอยู่ตลอดเวลาเลย
ทั้งที่ไกลและที่ใกล้
แล้วก็มาประมวล ประเมินค่า
บวกลบคูณหาร อยู่ตลอดเวลา
เหมือนนักบริหารเนี่ย
บริหารบ้านเมือง
บริหารหมู่กลุ่ม
บริหารประเทศชาติ
หรือยิ่งบริหารเนี่ย
คนนักบริหารในระดับสัมพันธ์กันทั่วโลก
ทุกวันนี้
ต้องรู้ข้อมูลเหล่านี้จริงๆ
แล้วก็ต้องประเมินประมาณ
เพื่อให้เกิดความเป็นอยู่อันดี
เมื่อมีจิตใจที่เข้าใจเรา
ว่าเราจะทําเพื่อประโยชน์
มนุษย์ชาติ
เราก็ทําเพื่อมนุษย์ชาติ
อาตมาเมื่อวานนี้
ที่เทกระบอกตัวเองว่า
อาตมาเองจริงๆนะ
อาตมาว่า
อาตมามันไม่มีปัญหากับตัวเองหรอก
ทุกวันนี้อาตมาจะอยู่
อาตมาก็ไม่รู้จะอยู่ไปทําไม
ถ้าเผื่อว่าไม่อยู่ไปเพื่อที่จะทํางาน
เพื่อให้มนุษย์ชาตินี่เจริญดีจริงๆ
ตัวเองจริงๆ
นะ จะกิน
จะอยู่ จะมีชีวิต
อาตมาก็ว่า อาตมาไม่ได้
เป็นภาระ
หรือว่า ติดยึด
หรือว่า เอร็ดอร่อย
หรือ
ต้องการอะไรมาเสพให้แก่ตัวเอง
ถ้าอยู่ก็อยู่เพื่อที่จะ
คิดนยังไง
จะเสนออะไร
จะทําอะไร ขณะนี้เราควรจะทําอะไร
แต่มันเยอะเหลือเกินที่จะต้องทําเนี่ยนะ
มันเยอะเหลือเกิน
อันนั้นก็น่าทํา
อันนี้ก็น่าทํา
แต่ก็ต้องมาเปรียบ มาวัด
มาไตร่ตรองว่า
แล้วเราจะทําอะไร
อันนี้คนอื่นทําแทนได้
อันนั้นต้องให้คนอื่นช่วย
อันนี้เราต้องทําอันนี้
และก็ต้องขอบอกให้ย้ําอีกนะว่า
ไม่ใช่ว่าเราจะเลือกงานนั้นๆ
เพราะเราชอบ
ตรงนี้แหละให้ไปนึกถึง ให้ดี ๆ
ให้ทุกคนเลย
อย่าไปที่ได้ทํางานอะไร
เพราะนี่เราชอบอันนี้
มันอร่อยดี
มันทําแล้วสบายดี มันส์ดี
ที่สําคัญก็คือ อันนี้เรา
เรารักเราชอบนี่แหละ
เอาล่ะคนที่ถนัด
ทําได้มีฝีมือเชี่ยวชาญในงานนั้นนั้นนั้นนั้น
และมีความจําเป็นที่จะต้องใช้คนเชี่ยวชาญหรือคนถนัดนั้นทําอยู่
เราก็ถนัดเราก็
จะบอกว่าชอบหรือว่าจะว่า
เราก็เออมันมันมัน
มันกินเส้นกันนะ
มันถูกกับจริตนิสัย
ก็ได้ ก็เอาเถอะ
เราจะเป็นอย่างนั้นอยู่
เราระมัดระวัง
จิตของเราจะไปติดยึดผูกพัน
จนกลายเป็นกิเลสเกิน
แล้วมันก็เลยเป็นการกระทบ
ต่อผู้อื่น
ที่มันไม่ได้สัดส่วนที่ดี
ระหว่างอันนั้น ก็แล้วกัน
แต่มันก็ต้องทําอยู่บ้าง
สําหรับงานที่เราถนัด
เชี่ยวชาญ
และก็มีความต้องการ
คนอื่นมาทดแทนยังไม่ได้
แต่ถ้าเผื่อว่าคนอื่นมาทดแทนได้
ก็ควรให้เขาได้ทดแทน
แม้มันจะไม่ได้คุณภาพ
เท่ากับเราทํา
แล้วก็ติดจึ๊ดเลยบอก
ไม่ได้ คนที่ทําแล้วเสีย
โอ้โหจะเอาดีอยู่ตลอดกาลนานแล้วก็ไม่ถ่ายทอด
ไม่ปล่อยมือให้คนอื่นเขาทําเลย
ก็คนอื่นเขามาทํา ก็ยังไม่ได้ฝึก
มันก็ต้องไม่ได้สมบูรณ์นักล่ะ
มันก็ต้องบกพร่องบ้างอะไรบ้างก็ต้องยอม
มันไม่ได้ดีดังใจเรา แหม
บกพร่องนิด
บกพร่องหน่อยไม่ได้
จะต้องเอาเต็มร้อย
เอาเต็มร้อยเต็มร้อย
มันไม่ได้หรอก
ต้องทําใจตรงนี้
แต่อย่าเอาตรงนี้ไปแก้ตัว
เราบอกปล่อยให้คนอื่นเขาทําเละไปหมดเลย
เสียหายแล้วก็
ตัวเองก็ไม่เอาถ่าน
เลยแก้ตัวเลี่ยง
ต้องให้คนอื่นฝึกคนอื่นสิ
เราไม่เอา
ไม่ทํา ขี้เกียจ
ก็ไม่ได้
นี่มันซ้อนไปหมดเลย มันอะไรๆ พูดไปแล้ว มันก็ซับซ้อนตลอดเวลา
เพราะฉะนั้น จะต้องถ่ายทอด จะต้องสร้างสรรค์
จะต้องทําให้คนเนี่ย รับช่วง มีอะไรต่ออะไร ขยายกันไป
ทุกวันนี้งานก็ดี อะไรๆก็ดี ของเราเนี่ย
มันเจริญทุกอย่างเลย ที่เราทํามา
มันเจริญ
มันเป็น
เป็นงานที่มีดีมานด์
เป็นงานที่มีความต้องการ
เพราะสังคมเขารับ สังคมเขาเรียกร้อง
สังคมเขาต้องการ
เราทําอะไรขึ้นมาตอนนี้ก็
อยู่ในฐานะที่เขามองแล้ว
จะผลิต
พืชพันธุ์ธัญญาหาร
เขาก็ไว้ใจ
เขาก็เชื่อว่า พวกเราเนี่ย
จะทําบริสุทธิ์ สะอาด
ไร้สารพิษ
จะทําหยูกทํายา
เขาก็เชื่อ
ยาเนี่ย
ตอนนี้มีตลาดต้องการ แม้แต่สาธารณสุข จังหวัด
ก็จะต้องสั่งออเดอร์ มาที่เรา
นี่ต้องเพิ่มเครื่องมือ
นี่ซื้อเครื่องมือเพิ่มเติมอีก
ซึ่งก็กระเบียดเกษียณเต็มที
ไม่ค่อยมีทุนรอนัก
ผลิตทั้งทั้งที่หน่วยยาผลิตยาเนี่ย ผลิตออกมาได้เยอะได้รายได้เข้ามาเลี้ยงหมู่ชุมชนอยู่ตั้งเยอะอะนะ
คือเงินของเรามารวมกันกลางหมดใช่ไหม
บางคนก็เอาไปใช้
ส่วนที่มันต้องจ่ายอยู่ ไม่ต้องมีรายได้เลย มันก็มี
ส่วนที่ไม่มีรายได้
อย่างมาก
ขณะนี้ ก็คือ
นักเรียน
กองโรงเรียน
เพราะกองโรงเรียนมันไม่มีรายได้อะไร
กองสัมมาสิกขานี่ แต่พวกเรานี่
ทําเป็นไม่รู้นะ
ฮะ
รู้ซะบ้างนะว่า กองโรงเรียนนี่มีค่าใช้จ่าย
ยิ่งตอนนี้เปิดเทอม
ซื้อหนังสือหนังหาแล้วก็ต้องซื้อมาให้เด็ก เพราะว่าโรงเรียนเรานี่ให้หาหนังสือหนังหาให้ด้วยนะ
เสื้อผ้าหน้าแพ้ก็ตัดให้เหมือนลูกเหมือนหลาน
ลองดูดูบ้าง
ไอ้ดูดูนี่ก็คงรู้นะว่าหมายถึงอะไร
อย่าให้พูดมากเลยอาตมาเหนียม
ก็บอกให้รู้ว่า ในหมู่ชุมชน ในหมู่พวกชาวอโศกเรานี่
มีกอง
สัมมาสิกขา หรือ กองโรงเรียนอยู่
ทั้งสันติอโศก
ทั้งศีรษะ
ทั้งทุกแห่งเลยตอนนี้ มีหมด แต่ สาลี
ศีรษะ สามสี สีมา มีหมดนะ
มีทุกแห่งแหละ
แล้วต้องใช้จ่ายนะ
อืม
บอกให้รู้นะว่ามันต้องใช้จ่ายนะ
แม้แต่เด็กก็ไม่ให้เอาเงินมาใช้สอยของตนเอง
จะต้องฝึกเด็กให้เขาใช้สอยอย่างประหยัด
มีความจําเป็นอะไรเราก็ให้จริงจริง ให้ไปซื้อไปหาความจําเป็นนั่นนั่นนี่นี่เราให้ ไม่ให้ฟุ่มเฟือย

บางทีก็ให้ใช้บ้างเหมือนกัน อย่างมีงานไม่งั้นก็แบ่งให้ใช้
ไปคนละสามสิบห้าสิบแปดสิบอะไรก็ว่าไป เดี๋ยวนี้เงินสามสิบห้าสิบแปดสิบเด็กเด็กมันไม่เคยจะแรง
แบงค์ร้อยมันยังเฉยเลย
ก็แจกไปเหมือนลูกเหมือนหลาน แล้วมันลูกหลานเยอะก็แจกน้อยหน่อยสิ
แจกไปทีละพันได้ไง
นะ แต่ถ้าเผื่อว่ากองทุนมันมีไม่ดีมากมากก็อาจจะแจกทีละพันก็ได้นะ แต่ตอนนี้แจกทีละพันไม่ได้
แจกเด็กไปบอกว่าวันนี้งานนะ อ้าวอ้าวเด็กเด็ก อ้าวรับไป
พ่อแม่จ่าย
ให้ไปใช้ไปจ่ายเลย ใช้ หัดใช้เงินเป็นบ้างอะไร ให้ไปคนละพัน
เออ
ตอนนี้ได้หัวละ
อาตมาเพิ่งจําได้ว่าปีที่แล้วหรือปีก่อนเนี่ย
ศีรษะเขาให้มาหัวละสามสิบบาท
อาตมาก็เอามาน้อยไป
อาตมาก็เลยแถมให้
อุตส่าห์เจียดหาอื่นมาให้
มาเอาไปแจก แถมให้
หัวละเท่าไหร่
จําได้ไหม
ห้าสิบหรือไงเพิ่มเป็นห้าสิบ
ให้เด็กจ่ายห้าสิบ งานปีใหม่อะ
งานปีใหม่ให้เด็กใช้
ปีนี้ก็จะเดี๋ยวก็ปีใหม่แล้วนี่จะต้องให้เด็กอีกเหมือนกัน
แจกเด็กไปใช้มั่ง
ปีใหม่ทีเหมือนเหมือนกับ
เอ่อ ตรุษจีนอะเนาะ แตะเอี๊ยะ
ปีใหม่ก็ให้เงินเด็กไปใช้มันก็คล้ายคล้ายกันน่ะอะไรอะไรก็คล้ายคล้ายกันน่ะ
มันก็เป็นเรื่องจิตวิญญาณความสัมพันธ์อันดีมันเป็นเรื่องของอะไรต่ออะไรต่างต่างนานามันอย่างงั้น
มันก็ต้องเตรียมแล้วเนี่ยเป็นก้อนก้อนนี่ต้องจ่ายแล้วตอนนี้เด็กตั้งโอ้โหขี่โรงเรียนแล้วนี่
สระสาลีก็มีสีมาก็มี
พระราชทาน
มีเด็กกี่คนแล้ว
นักเรียน
แต่มีครู 14 คนแล้ว
แต่เด็กนักเรียนยังไม่รู้
มีกี่คนแล้ว
มีกี่คนแล้ว
เตรียมไว้สี่ห้าคนแล้ว เอาล่ะ
ครูคงสอนไหวนะ
สิบสี่ สอนเด็กสี่ห้าคนเนี่ย
ราชธานีมีครูละสิบสี่คน
แล้วก็มีนักเรียนสี่ห้าคนแล้ว
คงสอนไหวเนาะ
นี่คือเรื่องของพวกเรานะ
เรื่องของอโศกนี่
มันประหลาด
ตอนนี้ก็กําลังจะเกิดมหาลัย
ก็กําลังทํากันอย่างยิ่ง
กําลังทํากันอย่าง
ให้มันเป็นกิจจะลักษณะจริง ๆ
ไม่ใช่ทําเล่น
เจริญกว่านี้ให้มันเป็นเนื้อแท้
แก่นแน่น
ดียิ่งกว่านี้ให้ได้ก่อน
อาตมาไม่กังวลหรอก
มนุษย์ชาติที่มีในโลก
มนุษย์ชาติที่มีในโลกก็เหมือนกันหมดนั่นแหละ
เพราะฉะนั้นถ้าเราจะไปสอนคนอื่นก่อน
เพื่อที่จะเอากว้างกว้างกว้างกว้าง
เอาแต่มวลเนี่ย
ไอ้มวลประมาท
มวลที่ปริมาณที่มันเยอะเยอะแล้วมันฆ่า
ฆ่ากิจการ
ค่าอุดมการณ์
มันฆ่ามาแล้ว
ข้านี่ ตะคอระฆัง นะ
คอระฆังสระอาไม้เอกนะ
มันฆ่ามันทําลายมามากแล้ว
ฆ่ากิจการฆ่าอุดมการณ์ของมนุษย์มามากแล้ว
เรื่องปริมาณหลงปริมาณมากเนี่ย
กว้างเนี่ย
อาตมาคํานึงอันนี้มาแต่ต้นใครใครติดตามมาฟังจะเข้าใจจะรู้
อาตมาพยายามระมัดระวังมากเลย
ไอ้เรื่องปริมาณที่จะมาทําลายเนื้อ
มาทําลายอุดมการณ์เนี่ย
มาทําลายเนื้อของกิจการ
มันทําลายมามากแล้วจริงจริง
คุณระลึกถึงประวัติศาสตร์ทั้งหลายเถอะ
มันทําลายมามากแล้ว
ในกิจการของโลกนี่ก็ตาม
เนี่ย โลกๆ นี้จะเห็นชัดเลย
หลงปริมาณเนี่ย
ประเดี๋ยวเดียวก็เสื่อมแล้ว
ไม่นานหรอก
เพราะฉะนั้นเนี่ย
การสร้างแก่นแกนที่จะได้ถาวร
ยืนนานเนี่ย
เขาต้องการนะ
แม้แต่จะพัฒนาสังคมพัฒนาการเมืองพัฒนากิจการอะไรโดยเฉพาะพัฒนาการเมืองเนี่ย
เขาต้องการพัฒนาการเมืองแม้แต่จะพัฒนาอาชีพเขาก็จะต้องการให้มันยั่งยืน
sustainable
พยายามที่จะพัฒนาให้มัน
sustainable
ให้มันยั่งยืน ให้มันถาวร
ให้มันยืนนาน
แต่เค้าไม่มีวิธี
หรือเค้าไม่เข้าใจแนวลึกว่า
จะทํายังไงถึงจะยั่งยืน
กสิกรรมก็จะให้มันยั่งยืนอยู่ถาวร
แล้วมันก็เลี้ยงตัวมันเอง
มันพัฒนาตัวมันเองอยู่ได้ยืนยาว
เค้าก็ยังไม่เชื่อว่า
กสิกรรมที่เราทําอยู่นี่
กิจกรรมธรรมชาติ
มันจะยืนยาวมั้ย
กิจกรรม
กสิกรรมที่เค้าทํามา
เค้ารู้แล้วว่ามันไม่ยืนยาวแล้ว
มันมี
อัตราการเสื่อมมา
จนกระทั่งถึงวันนี้
มันเสื่อมมาขนาดไหน กสิกรรม
มันทําให้ดินเสื่อม มันทําให้อะไรเสื่อม มันทําให้
องค์ประกอบสิ่งแวดล้อมเสื่อม มันทําให้
ธรรมชาติเสื่อม
ธรรมชาติที่มีทุกอย่างเลย ทั้ง
พืช สัตว์
ดิน น้ํา อากาศ
อะไรก็แล้วแต่ มันเสื่อม
การเมืองเนี่ยมันไม่เกิด sustainable
มันไม่เกิดการลงตัว
มันไม่เกิดระบบที่
ใช้ไปแล้วมันจะเกิดการเจริญถาวร
ขึ้นไป
อาตมามองจุดนี้ของพวกชาวอโศกเรา แล้วก็พยายามที่จะให้เกิดจุดนี้จริงๆด้วย ให้เป็น
sustainable development
ให้มีการเกิด เจริญ
วิวัฒนาขึ้นไป พัฒนาขึ้นไปสู่ความเจริญที่ยั่งยืน
ซึ่งเขาต้องการอยู่ นักวิชาการ
นักรู้
ปัญญาชนในสังคม
เขาต้องการจุดนี้กันอยู่
เขารู้ว่ามันฉาบฉวย นี่มันได้
แต่ว่ามันไม่ยั่งยืน
เพราะมันจะยั่งยืน ก็ต้องถึงแก่นถึงเนื้อ
อะไรเราจะเป็นแก่น เป็นเนื้อจิตวิญญาณ
เพราะฉะนั้น มนุษย์นี่ เราจะรวมกลุ่มกันสร้าง
เราจะต้องบรรลุธรรมเป็นทีม
เราจะต้องเป็นมวลที่จะไปพร้อมๆกัน
ใครตกหล่นอย่ามาโทษหมู่
จงโทษตัวเองที่ตกหล่น เพราะฉะนั้นใครที่จะต้องออกจากหมู่
อย่าโทษหมู่
แต่ใครที่จะต้องถูกขจัดออกจากหมู่นั่นน่ะ มาโทษหมู่ไม่ได้หรอก
ถูกขจัดออกจากหมู่นะ
มันมีวิธีการของมัน มันมี
มันมีเนื้อแท้ของมันเองในหมู่
ปูมันขจัดออกไปใน
ซึ่งไม่ได้ดูรุนแรงหรอก
บางคนนี่ดูเรียบๆ ง่ายๆ
แต่ถูกขจัดออกไปอย่างสนิท
ถ้าถูกขจัดออกไปอย่างสนิท และระวัง
โดยเฉพาะอย่างพระนี่ ถูกขจัดออกไปอย่างสนิท
ก็คือ
ปาราชิก
อย่างพระหรือสมณะเนี่ย ถูกขจัดออกไปอย่างสนิท
ก็คือระดับปราชญ์
ระดับรองลงมาก็คือพรหมทัณฑ์
ระดับรองลงไปอีกก็คือ ประภาชนียกรรม
นี่สําหรับสมณะ
ถูกขจัดออกจากหมู่ ไปตามลําดับอย่างนั้น
ระวัง
ฆราวาสก็เหมือนกัน
มีลักษณะ
ปาราชิก มีลักษณะ
พรหมทัณฑ์ มีลักษณะ
ปภาชนียกรรม เหมือนกัน
ประภาชนียกรรม มีลักษณะหมาหัวเน่าแล้ว
ไล่ออกเหมือนหมาหัวเน่า
ถ้ารักษาแผลเน่าแล้วยังกลับเข้าหมู่ได้
แต่ถ้าถึงขั้นปราชญ์ชิตแล้วเนี่ย กลับเข้าหมู่ไม่ได้เลย
เป็นแต่เพียงสัตว์โลกร่วมกัน อยู่ในโลกไปเท่านั้นเอง ตลอดชีพ
ชีวิตชาตินึง
นี่ต้องพยายามศึกษาดีดี
วิธีการของสังคมมนุษย์ชาติเนี่ย จะพัฒนา
มันต้องมีความเด็ดขาด มีความจริงจัง
ในอะไรที่ควรจริงจัง
ถ้าไม่เช่นนั้น มันก็ล้มเหลว เละเละไปมา ไม่ได้หลัก ไม่ได้เกณฑ์ ไม่ได้ความยั่งยืน
ที่เราพูดมาถึงความยั่งยืน
เพราะฉะนั้น สิ่งที่ได้ทํามา 25
ปีนี้
อาตมาก็
เห็นว่า
อาตมาอบอุ่นนะ อบอุ่นที่พวกเราไม่ได้ไปเคี่ยวเข็ญอะไรกันมากมาย แล้วพวกเราก็ต้องวิ่งเต้น วิ่งหนัก
ต้องต้องหนัก
เพราะว่าเรามันรุ่นบุกเบิก
รุ่นบุกเบิก รุ่นหัวเจาะ ต้องร้อน
ต้องชน
ต้องปะทะ
หัวบีบ หัวแบน อะไรก็ต้องเป็นไปแหละ
มันเป็นอย่างงั้น จริงๆ
โดยธรรมชาติ
เพราะรุ่นบุกเบิกหัวเจาะเนี่ย
มันจะต้องเอาตัวเข้าไปเป็น
เป็นสแตนแมน เป็นตัวชน
มันต้องเป็นอย่างนั้น
เพราะเราหลีกไม่ได้ เราหนีไม่ได้
แต่ก็เป็นบุญมาก
เป็นกุศลมาก
เพราะว่าเราต้องลงทุนลงแรง
ต้องอุตสาหะวิริยะ
ต้องมีกําลังใจอันสูงยิ่ง
เพราะฉะนั้นคนจะเป็นเช่นนี้
ก็คือ คนที่มีกําลังใจอันสูงยิ่ง
มีความอุตสาหะอุริยะ ทนทาน
มีปัญญา
รู้ความจริงว่า
เราต้องทนไม่ทน แล้วใครจะทน
ถ้าเราไม่ทนแล้วใครจะทน
ถ้าอาตมาไม่ทนสักคนเดียว
นี่เป็นไงเนี่ย
นะ
มันก็ยุบหมดนะ
แต่ไม่ใช่อาตมาทนคนเดียวหรอกนะ
อาตมาทน
แล้วมีคนอื่นช่วยทนอีก
เสริมศาล
นี่เป็นเสริมขั้นตอน มีหลายเป็น
มันเป็น
เหมือนปิรามิด
มันเสริมฐานกันขึ้นมาเรื้อขึ้นมา
เป็นเรื่องธรรมชาติ
เป็นเรื่องของสัจจะ
อาตมาอยากจะให้พวกเราได้สํานึกใน
ความเจริญเพิ่มเติมขึ้น
ที่อาตมาเห็นว่าพวกเราไม่เจริญ
นี่ก็คือตัวที่ว่ามันพอสบาย
มันเข้าข่ายสุขาสุขขัง
ยถาสุขัง โค เม วิหระโต
อะไรเจริญยิ่ง
อกุศลธรรมเจริญยิ่ง
มันรู้ยากนะ มันเหมือนเราเป็น
เป็นสุข
มันเหมือนเรา
ก็ได้ทําแล้วนี่
แล้วมันมีข้อแก้ตัวเยอะ
ก็เราก็ขยันแล้วนี่
ก็เราจะไปมักมากอะไรมากนักล่ะ
มันโมโห
มันซ้อน มันแก้ตัวได้หมด
เพราะฉะนั้นตัวนี้
เราอยากจะให้สํานึก ให้ระลึกว่า
เราเองยังมีความขยันได้มากกว่านี้หรือไม่
เรายังจะมีเวลา
มีแรงงาน
มีความประณีต
มีการเอาใจใส่
มีการดูวงกว้างในหมู่ฝูงเรา
ก็ต้องเสียสละ
ต้องฟื้น
บอกแล้วธรรมะนี่ต้องขัดเกลาใจ
ฝืนใจ ต้องมีธรรมะขันติทั้งนั้น
ถ้าไม่มีธรรมะมีขันติ
ไม่มีทางเจริญหรอก
ไม่มีทางเจริญต้องอดทน
ต้องตั้งตนอยู่บนความลําบาก
ต้องรู้ว่าเออเรานี้เรา
ได้ลําบากหรือว่าเรากําลัง
สบายสบายไอกําลังสบายสบาย
นั่นแหละคือกําลังไม่สบาย
กําลังจะอบาย
อบาย
กําลังจะอบาย
เพราะฉะนั้นธรรมะของพระพุทธเจ้านี่
ลึกซึ้ง
ต้องตั้งตนอยู่บนความลําบากทุกขายะ
อัตตานัง
ปัตตา หะติ
ตามฐานะ
ตามความเหมาะสมของเรา
แต่ไม่ใช่หาเรื่องให้ไม่สบาย
อย่างประเภทที่แฝงๆอีกล่ะ
หาความไม่สบายที่ไม่ใช่แก่นเช่นเนื้อ
เลี่ยง แล้วก็ฉันจะไม่สบาย
ฉันจะทํา
ฉันอย่างนั้นอย่างนี้
อะไรก็ไม่รู้
แต่ไม่เป็นโลภเป็นภัย
ไอ้อย่างนั้นก็โง่ ตาย
ไม่เจริญหรอก ต้องรู้จักสาระ
ผู้รู้สาระคือสาระ
ผู้รู้ความสําคัญคือสําคัญ
ผู้นั้นแหละจะเป็นผู้เจริญ
ผู้ที่เอาความที่ไร้สาระ
ไม่เป็นสาระ มาเป็นสาระ
ไม่สําคัญ มันเป็นความสําคัญ
ผู้นั้นมันไม่เจริญหรอก
นี่ต้องมีปัญญา
อาตมาบังคับปัญญาตัวนี้ของใครไม่ได้หรอก
ของใครของมัน
จะต้องพยายามเรียนรู้พากเพียรเอา
สําหรับเรื่องที่จะพูดนี่มันเยอะแยะ
ยกหัวข้อขึ้นมาก็ต้องพูดได้
หัวข้อ
2 หัวข้อที่มันมีสัก 2 ตัว
5 ตัว 4 ตัว
ก็พูดได้ตัวเดียวก็ต้องไปเรื่อยแล้ว
ไปเรื่องอื่นหมดแล้ว
ไม่ได้ครบ
กี่หัวข้อ
ยกหัวข้อนั้นขึ้นมา มี 5 ตัวก็พูดได้ตัวเดียว 2 ตัว ก็ไปไหนๆ ล่ะ
มันมาก ยิ่งทุกวันนี้มันก็มากขึ้น
อะไรๆ มันมากขึ้น
เวลาเราก็มีเป็นช่วงเป็นตอนขนาดนี้
พวกเรานี่อีกอันหนึ่งก็คือว่า
พยายามลดตัว ลดตน
และสร้างศรัทธาในผู้ที่น่าศรัทธาขึ้นบ้าง
ร้ายคนศรัทธา แต่อาตมาอยู่คนเดียว
เอาอาตมาเป็นหลัก
ถ้าอาตมาไม่สั่ง ไม่บอก ไม่พูด
ไม่เชื่อ
เชื่อแต่อาตมาคนเดียว แบบนี้ก็ตายกันพอดี
ช้า
เราต้องเห็นความจริงว่าผู้ที่เชื่อควรเชื่อถือต่อต่อลงไปรองลงไปอะไรลงไป มันมี
ไอ้ตัวพวกเราเนี่ย
ตั้งแต่สมณะไปจนกระทั่งถึงแม้จะเป็นฆราวาสด้วยกันเอง
พระพุทธเจ้าท่านก็เคยตรัสเคยสอนไว้ในความเสื่อมเจ็ดประการ
เรามาวัดฟังธรรม
เรานึกว่าเรา เจริญอภิศีลนะ
นี่ยกให้ดีนะ
หมายความว่า กลับกันกับความเสื่อมนะ
มาวัดนี่ไม่เสื่อม ทําไมมาวัด ไม่หมั่น มาวัดนี่เสื่อมแล้ว
มาวัดแต่ไม่ฟังธรรม มากลาง
มาวัดก็มาเป็น มัคนายกฯ
หรือว่ามาบงการ มาบริหาร
มาอะไรก็แล้วแต่ มากล่าว
แทนที่จะมาเป็นผู้รับ
มาเป็นผู้ใหญ่ อะไรก็แล้วแต่
ในวัดไม่ต้องมาใหญ่หรอก เขาใหญ่อยู่แล้ว มีคนใหญ่อยู่แล้ว อย่างน้อยอาตมา
อยู่ในวัดน่ะ เข้ามา อย่างน้อย
ท่านติดขะก็ใหญ่ ท่านสันตะก็ใหญ่ ไม่ใช่เล่นๆ
มีใหญ่อยู่แล้วเยอะแยะไป
ขนาดระดับเณรยังใหญ่เลย
ที่นี่ทําเป็นเล่น
เพราะงั้นมาวัดก็ไม่ต้องมาใหญ่หรอก
ถ้าเผื่อมาใหญ่แล้ว มันจะไม่เกิดการเจริญในข้อที่สี่
คือไม่สัตว์ ไม่มากไปด้วยศรัทธา
ในพระผู้
นว ในพระผู้แก่
ไม่ต้องเอานวกะก่อน
ขนาดผู้เถระก่อนเลยนะ ท่านตรัส
ในพระบาลีเนี่ย
ก็ขนาดเถระแล้วก็มันยังไม่ได้มากไปด้วยศรัทธาแล้วจะไปทําพูดทําไมกับพระนวกะ
พระผู้แก่ พระผู้กลาง พระผู้นวกะ
ไม่มากไปด้วยศรัทธา
สํานวนของท่านลึกซึ้ง
ไม่มากไปด้วยศรัทธา ฟังให้ชัดนะ
ไม่ใช่ว่าไม่ศรัทธาเท่านั้นนะ
ต้องมากด้วย
ต้องมากไปด้วยศรัทธาในพระ
ท่านเหมือนกับจะบังคับนะ ท่านบอกไว้เป็นภาษาเนี่ย บอกเป็นความเสื่อม
เราเป็นฆราวาสคือฆราวาส
ต่อให้เรามีคุณธรรมถึงระดับเป็นพระอรหันต์
มีอรหัตมรรค
สูงกว่าอนาคามีผลนู่นแน่ะ
ต่อให้คุณมีถึงขั้นอรหัตตมรรค
เป็นฆราวาส
คุณก็ต้องรู้ว่านี่คือฐานะผู้จะต้องกราบ ต้องไหว้ ต้องเป็นอาหุเนยบุคคล
แม้แต่อาหุเนยบุคคล 9
คนที่เป็นโคตะระภูบุคคล คือยังไม่ได้เป็นอริยะ
บุคคลหน้าอาตมา ไม่ได้พูดถึงโคตะระภูจิต
มีนักอภิธรรมบางคนแย่งอาตมา
โคตระภูมิ หมายถึงขั้นกําลังจะเป็นอนาคามี กับ
เอ้ย ไม่ใช่ กําลังจะเป็นโสดาบัน กับกําลังจะเป็นปุถุชน นี่ตัดโคตรตรงนี้
นั่นจิต ใช่
แต่นี่บุคคล
โคตรภูมิ บุคคล
กําลังจะตัดรูปไม่ใช่น้ําไม่ใช่จิต
เพราะฉะนั้นผู้ใดได้รูปของความเป็นบุคคลอาหุโดยบุคคลคือเป็นนักบวช
ได้รูปนักบวชและปฏิบัติอยู่ในหลักธรรมวินัย
ปฏิบัติธรรมถึงขนาดหน้านองน้ําตาอยู่
น้ําตานี่ไม่ใช่จิตนะ
ปฏิบัติธรรมอย่างเอาเป็นเอาตาย
ไม่ขอเลื่อน
ไม่ขอสึก ไม่ขอต่ํา
ไม่ขอเป็นหิณเพศ
จะทน อยู่ในวินัยนี้ พยายามไม่ให้
บกพร่องในวินัย
ในศีล ในวินัย พากเพียร
หนัก ยาก ฟื้น
ถึงขนาดหน้านองน้ําตาอยู่ก็ตาม
คนนี้เป็นอาหุเนย บุคคลควรกราบ
ควรเคารพ
ควรให้ ควรให้ของทาน
ควรเลี้ยงดูท่านไว้
ยังไม่ใช่อริยะนะ
แต่ท่านเป็นพระ
พูดง่ายๆ
ท่านเป็นสมณะ ท่านบวชแล้ว
ยังต้องถือเป็นอาหุเนย
อย่างพวกคุณ
เป็นคนที่ควรเคารพ
เคารพกราบไหว้
เพราะท่านอยู่ในหลักเกณฑ์
แม้จะเป็นหลักเกณฑ์
ยังไม่เข้าขัดเกลาถึงจิตวิญญาณก็ตาม
คือยังไม่ได้เป็นอริยะ
เพราะจิตวิญญาณนั่นเป็น
แต่ในรูปแบบ
ในหลักวินัย
ในหลักธรรม
ท่านเป็นแล้ว
ท่านได้แล้ว
ท่านก็สํารวมสังวรไป
อาตมาก็สอนอยู่
นี่ลึกซึ้ง ธรรมะของพระพุทธเจ้า
เพราะงั้นเรามาเนี่ย
ต้องเคารพกราบไหว้
หรือว่าเราไม่ใช่มาก็ตาม
ไม่มาก็ต้องเคารพนับถือ
บูชาต้องรู้จักฐานะในฐานะ
อันเป็นสมมติสัจจะ ก็เป็นสัจจะ
ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว มันลักลั่น
แล้วมันก็สลับสับไป
สับสนกลับกลอก
เอ๊ะ
มันจะเอายังไงมันก็ไม่รู้เรื่อง
เพราะฉะนั้นให้รู้
รูป ให้รู้นามให้ชัดๆ
เพราะในรูปนี่เป็นแล้ว
แล้วท่านก็ไม่ได้บกพร่อง
เป็นผู้ที่เคารพคารวะได้
แม้ท่าน
จะไม่เป็นอริยะ ตามปรมัตถ์ก็ตาม
เนี่ย ในความเสื่อมข้อที่ 4 เนี่ย
4 หรือเปล่า หรือ 5
มาฟัง มาแล้วไม่ฟังธรรม นี่มันก็
ข้อ 5 ใช่
ไม่ฟังธรรม
ข้อ 4 นี่แหละ ไม่มาก
ไม่มากไปด้วยศรัทธาในผู้เถระ
ผู้นวกะ ผู้อะไรเนี่ย
แม่เหล็กอยากจะให้พวกเราได้
สํานึกตัวนี้
มันซ้อน มันเป็นอัตตามานะ
เป็นกิเลสซ้อน อาตมาทุกวันนี้เนี่ย อาตมาเคี่ยวเข็ญเรื่องอัตตามานะนี้มาก
ธาตุตามานะของพวกเราลดลงได้ อ่อนน้อมถ่อมตน เป็น
อปัจจัยญาณมัย
มีความขวนขวาย
ขณะนี้นี่ ทานมัย สีลมัย
ภาวนามัย
เราเข้าใจหลักปฏิบัติพอสมควรแล้ว
แต่ความเจริญด้วย อัปจายนมมัย กับ
อิริยาวะจําไม 2 ตัวนี้ อาตมาเคี่ยวเข็ญอยู่หนัง
ถ้าสองสภาพนี้ บุญกิริยาวัตถุ
สี่ กับ ห้า นี้ไม่เจริญ
ปัตติทานมัยกับ ปัตตานุโมทนามัย
จะยังไม่เกิด
เพราะฉะนั้นจะกลายไปเป็นผู้ที่แสดงธรรม เป็นผู้ฟังธรรม เป็นผู้แสดงธรรม อีกสอง
ได้บุญกิริยาวัตถุอีก
ตัวแปดตัวเก้า
ยังไม่จริง
เทศนาก็เทศน์ไปงั้น ฟังธรรมก็ฟังไปงั้น
มันจะไม่ขึ้นถึงภูมิสูง
เพราะฉะนั้น ปัตตานุโมตปัตตทานมัย กับ ปัตตานุโมทนามัย
จะเกิดเพราะ อปัจจัยญาณมัย กับ เวยาวัจจมัย
จึงจะเกิด
ปัตติทานมัย เข้าถึงการ
ทาน ทางจิต วิญญาณ ปรมัตตสัจจะ
ไม่ใช่ทานแต่แค่ว่า ทานวัตถุ ทาน
วัตถุทาน
มันจะเป็นตัวประพฤติ
ประพฤติ อปัจจัยยานนามัย กับ เวยยาวัจจมัย
จึงจะถึงขั้น
ขั้นประพฤติ และถึงเกิดผล
เกิดผลตัว ปฏิธานนามัย
เพราะฉะนั้นคุณจะโปรดพ่อแม่
ไม่ใช่พ่อแม่อย่างโน้นหรอก
กิเลสของคุณนั่นแหละ
ถ้าให้คุณมีตัวแม่
ในจิต แล้วแม่นั้นก็ทําคลอดจิตของคุณเอง
จิตของคุณเองก็เกิดออกมาได้
คือจาคะได้ ทานได้
เข้าถึงการทานขั้นปรมัตถ์
ทานอย่างไร
อาตมาอธิบาย
มิจฉาทิฏฐิสูตร สักกายทิฏฐิสูตร อัตตานุทิฏฐิสูตร
ทานถึงขั้น
ล้มล้างอนิจจัง
เป็นการวิราคะ
ทุกข์เป็นการดับเหตุแห่งทุกข์
ฆ่าเหตุแห่งทุกข์ได้
นั่นคือการเปลี่ยนจิตคลอด
ทําคลอดจิต จิตเกิดใหม่ เกิดเป็นอริยบุคคลขึ้นมา
มีแม่ในตัว
ให้แม่รู้ ให้แม่ก็คือเรา
คลอดก็คือเรา
เกิดออกมาเป็นตัวตนวิญญาณใหม่ก็คือเรา
นี่ต้องเข้าใจปรมัตถ์ให้ได้
มันอยู่ในร่างกายขันธ์ห้าของเรานี่ทั้งสิ้น
ปฏิทานมัยตัวเนี้ย
เพราะฉะนั้นจะเอาแต่แค่วัตถุบอกว่า ไปช่วยให้พ่อแม่
เขาพูดกันเป็นถึง 3 ชั้น
เนี่ยอาตมาพูดถึงชั้นปรมัตถ์
ชั้นที่สองก็แค่ว่า โปรดแม่เอา ตกลงแม่เป็นมารดา
ถ้าจะบอกว่าแม่ตาย
แล้วก็ทําบุญให้แม่ ให้แม่ได้รับ
อานิสงส์ในการทาน
ปัตติทานมัย
แม่เป็นบุคคลก็ทําให้แม่เกิดศรัทธาศีลจาคะปัญญาเนี่ยเป็นเป็นเหมือนพระสารีบุตรไปโปรดแม่
พระสารีบุตรก็บอกว่ายังไม่ได้ช่วยแม่
ยังไม่ได้โปรดแม่ ยังไม่ได้ให้แม่เกิดใหม่
ยังไม่ได้แบ่งบุญให้แม่
ก็ต้องไปแบ่งบุญให้แม่
ในภาษาตรงนั้นอาตมายังไม่ได้ เอามาอธิบายเป็นธรรมะ
พระสารีบุตรจะต้องไปโปรดแม่
แล้วจะต้องไปนอนที่ห้อง ที่ตัวเองเกิดตัวเองคลอด เป็นภาษาธรรมะทั้งนั้น
ทําไมพระสารีบุตรจะต้อง
ทําไมต้องอธิบายไว้ถึงขนาดนั้น
พระสารีบุตรก็ นี่เป็นนามธรรมทั้งนั้น คําว่า พระสารีบุตร ก็เป็นนามธรรม คําว่า แม่ ก็เป็นนามธรรม
ไปอยู่ที่ห้องตัวเอง เกิด
คลอด เลย
ท่านบรรยายไม่หมด
ก็เป็นภาษาธรรมะทั้งนั้น
ต้องอยู่ในคันธโพ
ให้คันตะโพ
กล่อมเกลา จนกระทั่ง เกิดครบเดือนคลอด
มันต้องคลอดจริงๆ
เพราะแม่ของพระสารีบุตร
ได้เป็นพระโสดาบันก่อนตาย
นั่นคือ การเกิดปฏิธานนามัย
เกิดก่อนตายเป็นสัมปรายุทธประโยชน์ก่อนเลย
ได้รับศรัทธาศีลจาคะปัญญาตั้งแต่ก่อนตาย
ก็ได้ด้วยอะไร
ด้วยการโปรดสอนให้รู้จนกระทั่งเกิดการเกิดจิตของแม่
แม่น่ะเกิดจิต
จิตเจริญ จิตเกิดเป็นอริยโสดา
นั่นได้รับสัมปรายาเกียรติประโยชน์
นั่นแหละคือได้
ตายไปแล้วไปสอนกันไม่ได้หรอก
ส่วนพระสารีบุตรไปทําให้ไม่ได้นะ
แม่ต้องเกิดเอง
ได้แต่แค่สุตมยปัญญา
ได้แต่แค่ฟัง ได้แต่แค่รู้
แล้วจะเกิดหรือไม่เกิดก็ต้องแม่เป็นคนทําเอง
จิตวิญญาณของแม่ต้องเกิดเป็นโสดาบันเอง
ด้วยการทําของตัวแม่ของพระสารีบุตรเอง
อย่างงี้เป็นต้น
นั่นก็เกิดปฏิทานมัย
ส่วนทุกวันนี้ เป็นอีกอย่างที่ 3
อย่างที่ 1 ปรมัตถ์
อย่างที่ 2 นี่ แม่เป็นตัวตน
ไปโปรดให้เกิด
ปฏิธานนามัย
แม่ที่ตายไปแล้ว ไม่ได้
เพราะฉะนั้น
เขาก็เลยอธิบายกัน บอกว่า
ปฏิธานนามัย ก็เลย
ส่งไปถึงผู้ตาย
นี่ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง
ในปฏิธานนามัย
ที่ออกนอกทางแล้ว
มีประโยชน์ไหม
มีประโยชน์ในทาง
ยิปถัง
ในทางพิธีกรรม
ญาณีพิธี
ญาณีพิธีมีประโยชน์อะไร
ไม่ใช่ประโยชน์
เกิดศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา
แต่เกิดประโยชน์
ให้รู้จักบุญคุณของพ่อแม่
เป็นกตัญญูกตเวทีเท่านั้น
เพราะฉะนั้นวิธีการนะว่าเออนี่ทําบุญไปถึงพ่อแม่
ระลึกถึงพ่อแม่
ก็เป็นการเชื่อมโยงพราดรภาพ
เชื่อมโยงให้รู้จักแม่นี่เป็นผู้มีพระคุณ
มีกตัญญูกตเวทีก็เป็นวัฒนธรรม
เป็นวัฒนธรรมของสังคม
ก็เป็นประโยชน์
แต่มาพูดถึง
หลักของปรมัตถ์
หรือหลักของศาสนาแล้ว
ไม่มีปรมัตถ์
ไม่มีการ
เกิดจริงทางวิญญาณ
เพราะฉะนั้นอย่างที่สองก็อย่างที่หนึ่ง
ที่อาตมาอธิบายไปแล้วนั้นเกิดทางวิญญาณ
เป็นปรมัตถ์
เป็นศาสนาพุทธแท้
ในเรื่องของยึดถังแค่นั้นก็เป็นประโยชน์แค่นั้น
แต่อาตมาพยายามตัดเรื่องนั้นซะก่อนเพราะว่าไม่ต้องห่วงหรอก
เรื่องนั้นอาตมาว่าเข้าใจกันถ้วนๆ
อยู่แล้ว
ว่าจะไปพัฒนาให้มีกตัญญูกตเวที
ไม่มีปัญหาอะไร
เอาล่ะ อาตมาอธิบายไปอีก
ถึงเย็นก็ได้
ไม่มีปัญหาอะไรหรอก ธรรมะ
มีให้อธิบายไปมากมาย
มองไปดู เวลาแล้วก็จะ
6 โมงแล้ว ว่าจะเลิก ตี 5 ครึ่ง
เอาไว้เจอกันตอนก่อน ชั้น 9 โมง

 

ที่มา ที่ไป

การอบรมทําวัตรเช้าเรื่อง 25 ปีของชาวอโศก โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2538 ณ พุทธสถานสันติอโศก


เวลาบันทึก 20 สิงหาคม 2567 ( 07:06:21 )

3 ข้อแรกในวิโมกข์ 8 เป็นไฉน

รายละเอียด

บูชาด้วยน้ำด้วยไฟ โอ๊ยไปกันใหญ่เลย บูชาด้วยเดรัจฉานวิธี เดรัจฉานกถา ต่างๆ เพราะไม่รู้ความเป็นสัตตาวาส 9 ไม่รู้จักกาย ไม่รู้จักสัญญา ไม่รู้จักเวลาปฏิบัติ เวลาปฏิบัติก็ต้องมี วิญญาณเป็นฐีติ มีวิญญาณตั้งอยู่ ดับวิญญาณอีก ไม่รู้เรื่อง วิญญาณต้องมีครบรูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นี่ดับรูป จะต้องมีรูปี จะต้องมีรูป แล้วเราจะเป็นรูปานิ เป็นผู้จะต้องรู้รูป ก็ไม่มีวิโมกข์แล้ว

วิโมกข์ 2 จะต้องรู้ภายนอกภายใน อัชฌัตตัง พหิทธา ต้องรู้ต้องเห็น ต้องกำหนดรู้ทั้งภายนอกจนกระทั่งไปถึงภายในเป็นรูปจนกระทั่งถึงภายในเป็นอรูป  ก็ไปเข้าใจผิด เป็นอสัญญี จะต้องไม่มีสัญญา ทั้งๆที่อรูปสัญญี อรูปไม่ควรจะเขียนต่อกับสัญญี อรูปก็คือจาก รูปมาเป็นอรูป สัญญีคือผู้มีสัญญา รูปีคือผู้มีรูปสัญญีคือผู้มีสัญญา

ผู้มีสัญญาต้องกำหนดรู้ตั้งแต่ภายนอก เห็นปัสสติ อัชฌัตตัง อรูปสัญญี เอกโก พหิทธา รูปาณิปัสสะติ ไม่มีวิโมกข์ ผิดหมด สุพรรณเตวะ อธิมุตโตโหติ สิ่งที่น่าได้น่ามี น่าทำเป็นที่สุด

สุภอัณตะ เอวะ ที่น่ารักน่าได้น่ามีน่าเป็น เป็นที่สุด อัณตะ คือภาวะอย่างนั้นทำอันนั้นให้มันถูกต้อง

ให้มันเป็นอธิโมกข์ จิตจะได้ไปถูกทาง จิตจะได้โน้มน้อมเข้าหาทิศทางนิพพาน อธิมุตโต หรืออธิโมกข์ไม่มีเลย วิโมกข์ 3 ล้มเหลวหมด เพราะฉะนั้น ไม่ต้องไปหวังวิโมกข์อีก 4 อีก 5  4 คืออรูป 5 คือสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็เลยกลายเป็นผิดตั้งแต่วิโมกข์ 3 ก็ไม่มี ก็หลับหูหลับตาอะไรไป เสร็จแล้วก็ปั้นอากาศปั้นวิญญาณ อยู่ในภพ อรูปฌาน ไปกันใหญ่ ฌานของพระพุทธเจ้าเป็นฌานลืมตา ฌานของพระพุทธเจ้าเป็นพลังงานไฟเผาผลาญราคะ

กายจะต้องมีรูปนาม ทั้งภายนอกภายใน มีธรรมะ 2 ไม่เป็นสักอย่าง กลายเป็นรูปภายนอก ตัดนามธรรมทิ้งเลย ไม่เกี่ยวกัน อ้าว เจ๊งเลย ธรรมะหนึ่งคือไปตัดตอนเค้าทิ้ง ไปหั่นธาตุรู้ไปหั่นชีวะ มันเลยกลายเป็น กายก็ส่วนนึงเลย จิตก็ส่วนนึงเลย ทำงานร่วมกันไม่ได้

ปฏิบัติก็ส่วนนึงเลย ปฏิบัติข้างนอกก็ส่วนนึงเลย คนละพวกเลย คนละหน้าที่คนละเวลา

รูปีความเป็นรูป รูปานิผู้มีรูป ผู้ที่จะต้องเห็นรูป รูปานิ รูปีสภาพที่เห็นรูป มีรูปอันนั้นเป็นอันนั้น สัญญีมีสัญญาณอันนั้นมีการกำหนดรู้อย่างนั้น รูปคือสภาพนี้ สัญญีคือสัญญานี้  รูปานิคือผู้มีสัญญา ผู้ที่จะต้องรู้รูปนี้ เพราะฉะนั้นพอมา วิโมกข์ที่ 2 อัชฌัตตังคือภายใน อรูปสัญญี

ต้องรู้อรูปภายใน สัญญีคือผู้มีสัญญา มีความเป็นรูป ผู้มีสัญญามากำหนดรู้ ตั้งแต่รูปภายนอก พหิทธา รูปานิ จะต้องรู้รูป กับรูปภายนอก ด้วยปัสสติ ด้วยการเห็น แล้วก็ค่อยๆเห็นลึกเข้าไปหารูป แล้วก็เข้าไปหาอรูป สัญญาต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา ไม่ใช่ไปดับสัญญา

ต้องรู้ทั้งรูป 24 เป็นรูป 28 ไม่ขาดจากกันจากรูปภายนอก 4 และรูปภายใน 24 ไม่ขาดจากกัน เป็น อิทัปปัจจยตา ปฏิสัมพัทธ์กันตลอดเวลา รูป 24 ภายนอกเขาไม่พูดกันเลย ถ้าไม่รู้จักรูป 24 แล้วจะปฏิบัติยังไง ไปหลับตาก็มีนามอยู่ในภพ รูปคุณทิ้งหมดเลย อย่างอภิธรรมก็ไปท่องกัน ไปเน้นเจตสิก จิต 89 กับ 121  อันนี้ไม่ศึกษาไม่เอาเป็นตัวอย่าง ไม่มีทางที่จะไปรู้นาม จิต 89 จิต 121 คุณไม่มีสิทธิ์ที่จะไปรู้เลย เพราะคุณเองมันขาดตอนแล้ว

    

ที่มา ที่ไป

พ่อครูสนทนาธรรมยามเช้ากับปัจฉาฯ สื่อธรรมะพ่อครู(วิโมกข์ 8 สัตตาวาส 9) ตอน วิโมกข์ 8 อธิบาย 3 ข้อแรก วันที่ 13 มิถุนายน 2561

    


เวลาบันทึก 15 กุมภาพันธ์ 2564 ( 15:30:33 )

3 ญาณสุดท้ายของวิชชา 8 คือเตวิชโช

รายละเอียด

ข้อที่ 5 คือ เจโตปริยญาณ 16 ข้อที่ 6, 7, 8 อีก 3 ญาณ คือ บุพเพนิวาสานุสติญาณ, จุตูปปาตญาณ, อาสวักขยญาณก็เป็น “เตวิชโช” ใช้เป็นการทบทวน ของเก่า บุพเพนิวาสานุสติญาณ เมื่อวานนี้ เราไปทำอะไรอะไรเกิดกิเลสเกิด เกิดจากเหตุอย่างไรมากหรือน้อยรู้ทันไหม รู้ทัน ทำให้กิเลสลดได้หรือไม่หรือลดไม่ได้คุณก็ตรวจสอบกิเลสมันกินเรา เจาะลึกย้อนไป 2 วัน 3 วันก็ระลึกไปมันเกิดหรือดับอย่างไร จุตูปปาตญาณ ดับได้หรือไม่ ดับสนิทหรือไม่ เกิดมากกว่าดับอย่างไร “จุตูปปาต” คือเกิดกับดับ “จุติ” แปลว่าตาย “อุบัติ” แปลว่าเกิด อันไหนตายได้ อันไหนเกิดอยู่ เหตุและปัจจัยเกิดและตาย คุณทำได้หรือไม่ ถึงขั้น อาสวะขยะ สิ้นอาสวะได้หรือไม่ นี่คือ “เตวิชโช"

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ วิถีอาริยธรรม ดับชาติ 5 ด้วยวิชชา 8 วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม 2564 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 20 กุมภาพันธ์ 2564 ( 17:59:54 )

3 ตระกูลใหญ่ ปัญญา ศรัทธา วิตกจริต

รายละเอียด

พวกวิตกจริตจึงวนเวียนซ้ำซากกว่าจะจบ 80 อสงไขย ศรัทธาก็ยังยาวนาน ไม่มีปัญญารู้ละเอียดลออ ถ้ามีปัญญารู้ละเอียดลออก็เร็วที่สุด ไม่ใช่พระพุทธเจ้ามาชมเชยตัวเอง แต่มันเป็นสัจธรรม แม้เราจะเป็นตระกูลศรัทธา เราก็ต้องมาใช้ตระกูลปัญญา จนกระทั่งคุณจะเปลี่ยนตระกูลจากศรัทธามาเป็นปัญญาก็ได้ เปลี่ยนได้แต่นานหน่อย ถ้าอยากเปลี่ยนก็เปลี่ยน คุณก็เอาที่เปลี่ยนตระกูลก่อนจะจบปรินิพพานเป็นปริโยสาน แต่คุณจะไม่เปลี่ยนตระกูลคุณเป็นศรัทธาตระกูล คุณก็ปรินิพพานได้มันก็จบเหมือนกัน หรือเป็นผู้หญิง อยากจะเปลี่ยนตระกูลมาเป็นผู้ชายก็ได้ แต่ถ้าคุณไม่เปลี่ยนก็ปรินิพพานปริโยสานได้ อย่างนี้เป็นต้น ก็ไม่ใช่เรื่องประหลาดอะไร แต่โพธิสัตว์นี้ต้องเรียนรู้หมด เป็นผู้หญิง เป็นผู้ชาย เป็นพีชะ เป็นสัตว์ เป็นจิตเรียนหมด โพธิสัตว์เรียนรู้ครบรอบหมดจึงจะมาบอกคนอื่นได้ครบ ที่พูดนี้เป็นโพธิสัตว์จริงไม่ได้เอาคำคนอื่นมาพูด เอาความรู้ของตัวเองเอามาอธิบาย อาตมาจะอธิบายโดยไม่มีอะไรมาอธิบายมันก็เละเทะ เลอะเทอะ คนฟังก็จะรู้เองว่าเป็นการสับสนวนเวียนวุ่นวาย แต่นี้มันเป็นระบบมันเป็นระเบียบ หมุนรอบเชิงซ้อนที่ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ ที่พูดนี่ไม่อยากชมตัวเอง พูดไปเดี๋ยวกลายเป็นชมตัวเองมากไป 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ วิธีจบนิยาม 5 จบนิยายของตนอย่างนิรันดร วันจันทร์ที่ 26 เมษายน 2564 ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 20 พฤษภาคม 2564 ( 05:31:16 )

3 ลัทธินอกพุทธคืออะไร

รายละเอียด

ทีนี้พวกมิจฉาทิฐิไม่มีเหตุปัจจัย มิจฉาทิฏฐิ ลัทธิ 3 ของท่าน ซึ่งเป็นลัทธินอกรีต

1. ปุพเพกตเหตุวาท (ลัทธิเชื่อว่า..กรรมเก่าเที่ยงแท้) หรือลัทธิคำสอน สอนกันว่า กรรมเก่าเที่ยงแท้ ศาสนาพุทธมีส่วนเห็นว่าอันนี้ถูกอยู่ด้วย 

2. อิสสรนิมมานเหตุวาท (ลัทธิเชื่อว่าพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่หรือเทพเจ้าเป็นผู้เนรมิตสร้างบันดาลให้) ตามเทวนิยมที่เขาเป็นอยู่อย่างส่วนใหญ่

3. อเหตุอปัจจัยวาท (ลัทธิเชื่อในสิ่งเหนือเหตุปัจจัย) ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัย ลัทธิอย่างนี้เดี๋ยวนี้มีอีกเยอะขึ้น พวกเทวนิยมเป็นต้น เขาไม่ถือว่ากรรมวิบากมีผลอย่างไร ไม่รู้รายละเอียดของกรรมกิริยากายวาจาใจ ไม่ได้เรียนรายละเอียดของคำว่าได้ฝึกหัดควบคุมให้กายวาจาใจของเราทำอย่างที่มีผลดีที่สุด ไม่ได้ศึกษา 

ท่านย่นย่อไว้เพียง 3 ลัทธินอกพุทธก็สมบูรณ์แบบแล้ว เดี๋ยวนี้มีหมดทั้ง 3 แบบเต็มไปหมด แล้วผู้มีศาสนาก็เป็นแบบ 2 เยอะ แบบ 1 มีน้อยแม้แต่ในพุทธเอง ไม่กลัวกรรมเก่า สั่งสมไปแล้วก็ไม่เคยแคร์ว่ากรรมเก่าที่เราสั่งสมไปแล้วมันจะมีฤทธิ์เดชกับเราบ้างนะ มีอำนาจมีผลสั่งสมเป็นต้นทุนเอาไว้มันก็มีพลัง static พลังตัวตั้ง นำพาให้เกิดพลังใหม่มีอิทธิพล ตามพลังตัวตั้ง สะสม อวิชชามาก เป็นต้น มันก็เป็นอย่างนี้ตามที่คุณถูกความเชื่อสั่งสมเป็นน้ำหนักให้ยิ่งมากยิ่งแรง ก็ยิ่งผลักดันให้คุณทำ ถ้าเป็นมิจฉาทิฏฐิก็เป็นมิจฉาทิฏฐิมากแรงตามที่คุณมีต้นทุน 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ พุทธศาสนาตามภูมิ เปิดยุคบุญนิยม เล่ม 2 ตอน 1 วันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน 2564 ขึ้น 2 ค่ำเดือน 8 ปีฉลู ที่บวรราชธานีอโศก


เวลาบันทึก 05 สิงหาคม 2564 ( 19:31:17 )

3 อาชีพกู้ชาติ

รายละเอียด

ต่อจากนี้ไปเป็นการแสดงปาฐกถาธรรมเรื่อง 3 อาชีพกู้ชาติ
โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เนื่องในงานธรรมชาติเพื่อชีวิต
รามบูชาอาสาฬหปีที่ 13 เมื่อวันพฤหัสบดี
ที่ 29 กรกฎาคม พุทธศักราช 2536
ณ หอประชุมใหญ่ เอดี 1 มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ขอเชิญท่านรับฟังได้ ณ บัดนี้

 

ก็อยากจะเล่าอะไรต่ออะไรสู่ฟัง
ก็กําหนดเรื่องมาให้พูดเหมือนกันวันนี้จะให้พูดเรื่อง 3 อาชีพกู้ชาติ
หลายคนฟังแล้วอาจจะคิดว่ามันไม่เกี่ยวข้องกับตัวเอง
อาตมาขอยืนยันว่า 3 อาชีพ เรื่องที่จะพูดในขณะนี้เนี่ย
เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตัวคุณทุกๆคน
และเป็นเรื่องสําคัญด้วยมีนายแพทย์คนหนึ่ง
ตอนแรก ฟังๆที่อาตมาพูดว่า 3 อาชีพกู้ชาติเนี่ย
คิดว่ามันก็คงเป็นคําชูเพื่อให้สนใจธรรมดา
คิดว่าคงไม่มีความสําคัญอะไร
ที่น่าจะทําความเข้าใจอะไรมากมายนักว่างั้นแต่พอได้
มีประสบการณ์มาเรื่อยเรื่อยจนกระทั่งพบข้อมูลข่าวคราวเรื่องราว
หลักฐานวิจัยอะไรต่างต่างนานาที่ทั้งต่างประเทศในโลกทั้งหลักวิทยาศาสตร์อะไร
เขาเสนอออกมาแล้วยืนยันว่า
สามอาชีพนี้ไม่ควรจะพูดว่าสามอาชีพกู้ชาติแต่ควรจะบอกว่า 3 อาชีพกู้โลก
ว่างั้นนะซึ่งอาตมาก็รับฟังเหมือนกันที่อาตมาเอง
ได้พยายามชี้ยืนยันว่า 3 อาชีพที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้
นี่เป็นอาชีพที่จะกู้ชาติจริงๆก็เพราะว่าทุกวันนี้พวกเราคน
คนทุกคนนี่แหละในโลกเอาแต่ในเมืองไทยก็ได้
เมืองไทยเป็นเมืองกสิกรรมเป็นเมืองเกษตร
อยู่ในโซนอบอุ่นมีแดดลม ฝน มีน้ํา มีดิน
ที่สมบูรณ์บริบูรณ์ไม่มีหิมะไม่มีฤดูที่จะมีหิมะหนักซึ่งเป็นพิษ
เป็นภัยต่อกสิกรรมหรือเกษตรมากทีเดียว
ในประเทศ หรือในโซนที่มีหิมะเนี่ย
หิมะหลายเดือน
จะทําอะไรไม่ได้เลย
และช่วงใกล้เคียงก็ทําไม่ได้
แต่เมืองไทยนี่ ถ้าขยันนะ
ทํากสิกรรมทําเกษตร
ได้ตลอดทั้งปี
ตาปีตาชาติเลย
ซึ่งเป็นงานที่วิเศษที่สุด
และการกสิกรรม หรือการเกษตรเนี่ย
ก็เป็นงานที่จะสร้างผลผลิต
สร้างสิ่งที่จําเป็นกับชีวิต
สิ่งที่มนุษย์จะใช้อาศัยเลี้ยงชีวิต
ยังชีวิต
คนเราลองคิดดูง่ายๆนะ
ถ้าเผื่อว่าเรามีค่า
มีพืชผักผลไม้
มีอาหารสรุปง่ายๆ
อาหารที่เรารับประทานเข้าไปใน
ชีวิตนี่แหละ
เพียงพอตื่นเช้ามา
อยู่ที่ของเรามีเรียบร้อยในที่ของเรา
ในสิทธิของเรา
เราปลูกเราฝัง
เราสร้างมันขึ้นมาเอง
วันๆคืนๆ
เราก็เก็บเกี่ยวกินวันๆคืนๆไป และ
พืชผักผลไม้
ซึ่งเป็นชีวิต เป็นธรรมชาติเนี่ย
ถ้าเราได้สร้างขึ้นมาให้เค้ามีอายุโต
โตพอสมควร
เขาก็จะหมุนเวียนขึ้นมา
ออกดอก ออกใบ
ออกผล หมุนเวียนกัน ถ้าเรามี
กสิกรรมหรือว่ามีกระแสของเราเนี่ย
มากอย่าง
มากชนิด
ครบสันที่เราจะเอาไว้สําหรับเลี้ยงยังชีพได้
เราไม่ต้องไปพึ่งพาอาศัยจากที่ไหนเลย
ชีวิตเรามีกินมีใช้ ชีวิตเรามีอาศัยได้ตลอดชีวิตเลย
พระพุทธเจ้าตรัสว่า อาหารเป็นหนึ่งในโลก
หรือเป็นเอก
ถ้าจะแปลทับศัพท์เลย ก็แปลว่าเป็นเอก
เอกธรรม
เป็นหนึ่ง เป็นสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวที่สําคัญที่สุดในโลกอาหาร
แม้จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าตรัสรู้เป็นพระอรหันต์แล้วก็ตาม
ประสบผลสําเร็จของชีวิตสูงสุด ถือว่าผู้ปฏิบัติตนจนกระทั่งบรรลุความเป็นพระอรหันต์ได้แล้วเนี่ย
ถือว่าเป็นผู้ที่บรรลุผลสําเร็จสูงสุดของมนุษย์ชาติ
ถึงกระนั้นก็ตามก็ยังจะต้องรับประทานอาหาร
ขาดไม่ได้ ห่างไม่ได้
เป็นเรื่องสําคัญมาก
แต่ทุกวันนี้เนี่ย
ที่อาตมาต้องเรียกร้อง
เรียกร้องให้มาสนใจในเรื่อง
กสิกรรม
และโดยเฉพาะคําว่า กสิกรรม ที่อาตมาหมายว่า
กสิกรรมธรรมชาติด้วยเนี่ย
มันจะสําคัญขนาดไหน
ก็ลอง เดี๋ยวคง ลองฟังๆดูนะ
3 อาชีพที่อาตมากล่าวนี้ ก็ขอบอกก่อนว่า มีอะไรบ้าง
1 กสิกรรมธรรมชาติ
2 ขยะ
ถ้าใครเดี๋ยวนี้ จะไปประกอบอาชีพหากินกับขยะ
ซึ่งจะต้องมีความรู้ในเรื่องของขยะ
อาตมาเคยพูดมานานแล้วว่า เมื่อไหร่มหาวิทยาลัยเนี่ย
จะได้ตั้งคณะ
กาโบโลจี
นะ คณะขยะวิทยาขึ้นมา
เพื่อสอนคนให้มีความรู้ จะมีเรื่องที่ต้องเรียนมากเลย
นะเรื่องชีววิทยา เรื่องเคมี เรื่องฟิสิกส์
จะต้องเรียนทางวิทยาศาสตร์เยอะเลยประกอบ
ในคณะขยะวิทยานี่
แล้วเราจะได้ไปแยกสารต่างต่างพวกนี้แล้วก็จะได้ไปจัดสรรแปร
นะ
จะหมุนเวียนจะรีไซเคิล จะรีแจ็คจะอะไรก็แล้วแต่ที่จะจัดการกับมัน อะไรที่ควรทําลายก็ทําลาย
อะไรที่ควรจะหมุนเวียนอะไรที่ควรจะต้องไปใช้สอยต่อ
อะไรที่จะเอาไปสังเคราะห์ใหม่ อะไรต่างๆนานาพวกนี้
เราจะต้องเรียนอย่างจริงจังเลย
เพราะคนทุกวันนี้เนี่ย
ขอกล่าวคําหนักหน่อยว่า
เลวมากในเรื่องที่
สร้างขยะ
ขอกล่าวคําหนักๆ
เลวมาก
เห็นแก่ตัว มักง่าย
และไม่มีความรู้
สิ่งที่ไม่น่าจะเป็นขยะ
ก็ทําให้มันเป็นขยะ โดยเฉพาะคนร่ํารวย
คนที่ร่ํารวยเนี่ย
ทําอะไรให้มันเศษขยะกันไปโดยที่เรียกว่า สิ่งเหล่านั้นบางอย่างของคนร่ํารวยเนี่ย
คนในฐานะรองลงไป เขา
ยังถือว่าเป็นของดีมากเลย
จะต้องใช้สอย
มันไม่ได้เป็นขยะเลย
แต่ก็ฟุ่มเฟือย สุรุ่ยสุร่ายทําลาย
ทําลายทิ้งด้วยนะ มันยังไม่เสียก็ทําให้มันเสียแล้วก็ทิ้งไป
ให้เสียเศรษฐกิจ
อย่างนี้เป็นต้น
หรือว่าทิ้งขว้าง
ทําให้มันเกิดมลพิษต่อ
ขยะเนี่ยไปทําร้าย สังคมทําร้าย
สิ่งแวดล้อม ทําร้ายอะไรต่ออะไรอีกเยอะแยะหมด
ถ้าเราไม่ศึกษาในเรื่องของขยะและมีอาชีพ
ทํางานอย่างเอาจริงเอาจังกับขยะอีกต่อไป
โลกจะตาย
โลกจะต้องระเบิด โลกจะต้องมี
มีเชื้อโรค
มีพยาธิ มี
มีพิษต่างๆ มลพิษต่างๆ หรือมลภาวะต่างๆ
ที่มันจะทําลายคน
ยังคิดไม่ถึงเลย
อาตมาว่าคงจะไม่นานเกินรอ
คงจะต้องเจอเรื่องของขยะหรือเรื่องของมลพิษมลภาวะ
เนี่ยอาตมาไม่มีเวลาแน่วันนี้ชั่วโมงกว่ากว่านี้ ขออธิบายไปถึงมลพิษทางจิตวิญญาณ
ซึ่งเป็นขยะร้าย
มลพิษทางจิตวิญญาณ
พระเจ้าขอกล่าวเกริ่นๆไว้ก่อน
คงจะอธิบายไปถึงในรายละเอียดของมลพิษทางวิญญาณ หรือทางจิต ไม่ได้
แต่นั่นก็ตัวร้ายที่สุด
ไม่ถึงขนาดมลพิษหรือว่าขยะทางวิญญาณหรอก ขยะทางวัตถุนี่เถอะ
ก็เลวร้ายมากแล้วทุกวันนี้
ซึ่งเราไม่คํานึงและรู้สึกว่ามันเฉยๆ
รู้สึกว่ามันไม่มี
ไม่มีความสํานึกไม่มีความรู้สึกอะไร
โดยเฉพาะเมืองไทย
ต่างประเทศเขาหลายประเทศ
เขาจะไม่เลวร้ายเหมือนคนไทย
นี่ไม่ใช่อาตมาดูถูกคนไทย
อาตมาพูดตามความจริง
ไม่ได้หมายความว่า อาตมาดูถูก
อาตมาพูดตามความเป็นจริง
มีจริง ที่มันเกิดอยู่
ต่างประเทศ
คนชาวต่างชาติเขาบางชาติ
เขาจะสํานึกในการทิ้งขว้าง
ในการที่จะรู้จัก
จัดแจงได้รับผิดชอบในเรื่องของขยะ
ในเรื่องของสิ่งจะทิ้ง
จะขว้าง
อะไรต่างๆ นานา
เขายังรับผิดชอบและมีสํานึกมาก
แต่คนไทยเรานี่ยังไม่รู้สึกสํานึกอะไรกันเลย
และรู้สึกจะไม่มีการศึกษาด้วย
จะไม่มีการเตือนด้วยการสอน
ไม่มีการอะไรต่ออะไรกัน
จะมีองค์กร มีกลุ่มที่พยายามออกมา
เผยแพร่ออกมาชักชวน
ออกมาเตือนสติพวกเรา
ให้สํานึกกันบ้าง
ก็ยังไม่มีฤทธิ์
ยังไม่ปรากฏว่าจะ
ต้าน
ให้คนเกิดสํานึกได้สักเท่าไหร่
เพราะฉะนั้น
ในเรื่องขยะเนี่ย
ก็กําลังทําลายมนุษย์ชาติ
ทําลายสังคม ทําลายประเทศชาติ
อยู่อย่างเร็ว
และแรง
อีกอาชีพหนึ่งคืออาชีพปุ๋ย
อาตมาเรียกขยะนี้ว่า
ขยะเอ๋ยหรือขยะวิทยา
ส่วนปุ๋ยนั่นก็เรียกปุ๋ยสะอาด
ปุ๋ยสะอาดนี่คือเราจะสืบทอดมาจากขยะ
แล้วก็มาสืบต่อมาให้มาหมักเป็นปุ๋ยหมัก
มาสร้างปุ๋ยมาทําเป็นปุ๋ย
เพื่อหมุนเวียนกลับไปสู่กสิกรรม
มันจะเป็นวงจร
กสิกรรม ขยะ ปุ๋ย
จะเป็นวงจร
ที่จะเอื้อ
สัมพันธ์แก่กันและกัน
เป็นปฏิสัมพันธ์
ในโลกนี้ก็จะ มีสภาพ
ความหมุนเวียนเป็น
เป็นวงจรสมบูรณ์
เป็นไซคริกออเดอร์
ในเรื่องของสามอาชีพนี้
นะเนี่ยอาตมาเกริ่นให้ฟังซะก่อนว่า
สามอาชีพนี้จะกู้ชาติ
จะกู้ชาติอย่างไร
เริ่มที่กสิกรรมก่อนหรือเกษตร
กสิกรรมหรือเกษตร
ก็คงไม่ต้องขยายความว่าคืออาชีพอะไร
อาชีพทํานา ทําไร่ ทําสวน
โดยเฉพาะทํานา
ที่จะปลูกข้าว
ข้าวเป็นอาหารหลักของมนุษย์ชาติ
โดยเฉพาะคนไทยนี่กินข้าว
แต่ปรากฏว่า
ลูกชาวไร่ชาวนา
โดยเฉพาะลูกชาวนา
ทุกวันนี้ลูกชาวนามาเรียนหนังสือ
พยายามที่จะเล่าเรียน
แสวงหางานทํา ไม่กลับไปทํานาต่อ
เพราะอะไร
เพราะชาวนาถูกดูถูก
ถูกดูถูกว่าเป็นคนชั้นต่ํา
เป็นคนที่ไม่มีเกียรติ
อาตมาขอพูด
ถ้าใครจะช่วยตะโกน
ก็ช่วยกันตะโกนด้วยว่า
ชาวนาเป็นคนที่มีเกียรติที่สุดในโลก
เพราะเป็นคนที่ทํางานหนัก
และทํางานด้วยยาก
ข้าวแต่ละเมล็ดนี่ เมล็ดนิดเดียว
คนเรากินข้าว
มื้อหนึ่งมื้อหนึ่งนี่ กี่ร้อย
กี่พันเมล็ด
กว่าเค้าจะเก็บเมล็ดต่างๆมารวมกันแล้วก็หุงมากิน
ให้คุณกินได้อิ่มๆ
หนึ่งมื้อนึงเนี่ย
แล้วคุณกินทุกวันๆ
คุณกินข้าวกี่ร้อยกี่พันกี่หมื่นกี่แสน
กี่ล้านเมล็ด
คนเหล่านี้จะต้องเก็บเกี่ยว
แล้วเก็บเป็นเมล็ดต่างๆ
นี่มาให้พวกเรากิน
เพื่อยังชีวิต
งานหนัก
ไม่ใช่งานเบา
และข้าวก็ดี
พืชผักผลไม้ที่เป็นอาหารก็ตาม
โดยเฉพาะข้าว
ต้องขายราคาถูก
ข้าวขายแพงไม่ได้
เพราะถ้าข้าวขายแพง
คนรวยน่ะเขาไม่เดือดร้อนหรอก
เขามีสตางค์ซื้อกินเขาไม่ตาย
แต่ถ้าขายข้าวแพง
คนตายคือคนจน
ซึ่งเป็นคนจํานวนมากของประเทศ
เพราะฉะนั้นการขายข้าวรัฐบาลต้องควบคุมราคาข้าว
ขายข้าวแพงไม่ได้
คืนข้าวแพงเดือดร้อนแน่ๆ
เกิดกลียุคตีรันฟันแทง
ฆ่าแกงกันตายเลย
ขายไม่ได้ ขายแพงไม่ได้
เพราะฉะนั้นข้าวต้องขายราคาถูก
แล้วทํายาก
และถูกดูถูกเหยียดหยามว่าเป็นคนทํางานชั้นต่ํา ทําอาชีพต่ําด้วย
ซึ่งใครก็ไม่ทราบ
ไปสร้างคอนเซ็ปต์นี้ ไปสร้างค่านิยมอันนี้เอาไว้
ว่าคนชาวไร่ชาวนาเป็นคนชั้นต่ํา
คนนั้นเลวมากเลย
ใครก็ตามที่แสดงออกเหยียดหยามชาวไร่ชาวนา ขอตราไว้ตรงนี้ว่าเป็นคนเลว
ใครที่เหยียดหยามชาวนา
ขอกล่าวซ้ํา
ขอตราไว้ ณ ที่นี้ ว่าคนนั้นเป็นคนเลว
เลวกว่าคน ที่ตัวเองกําลังไปดูถูก
คือ ชาวนา
เพราะเขาทําข้าว ทําอาหารมา
ให้เรากิน ถ้าเราไม่ได้กินข้าว เราตายแล้ว
แล้วเขาต้องขายถูกดังกล่าวแล้ว
ซ้ํามินําถูกดูถูกเหยียดหยาม
ถูกย่ํายีด้วยว่าเป็นคนชั้นต่ํา
อาตมากําลังมาบอกความจริงกับพวกเรา โดยเฉพาะพวกเราที่มาปฏิบัติธรรมกับพวกเราชาวอโศกเนี่ย
ว่าเราจะต้องรับผิดชอบในเรื่องไร่เรื่องนา
เราจะต้องทํา
เราจะต้องแบกหามเราจะต้องทําจริงๆ และจะต้องขายให้ถูกจนกระทั่งถึงแจกฟรี
เพราะทุกวันนี้เราพยายามที่จะ
หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน
ตีนติดดิน
แล้วจะต้องเข้าไปทําจริงจริงไม่ใช่เป็นนัก
นักคิด
แล้วก็นักพูด
ได้แต่พูดได้แต่เขียน
เหยียบย่ําคนอื่นเหยียบย่ําชาวไร่ชาวนา แต่ตัวเองมีชีวิตอยู่บนหอคอยงาช้าง
คิดแล้วก็ได้เงินทางคิด มาอยู่มากิน ตัวเองไม่ได้ทําเลย
ขี้เกียจ
รังเกียจด้วย
ไม่เคยลงมือทํานาเลย
แต่แหมรู้สึกว่าตัวเองมีค่านิยมมีปรัชญา
มีความคิดสูงส่ง เดี๋ยวนี้มีเยอะคนแฝงแฝงอยู่อย่างนี้อะ ชอบแสดงความคิดเห็นตัวเองเหมือนเป็นคนคิดดีคิดถูก แสดงออกทางโน้นทางนี้ แสดงออกทางอะไรก็แล้วแต่ แม้แต่เป็นนักร้อง
ร้องแหม ช่วยชาวนาแต่ตัวเอง
ขี่รถเบนซ์
ถึงยามดึกยามเย็นในค่ํา ท้องสุรา
อยู่ห้องแอร์
แต่ร้องเพลงเพื่อชีวิต
ร้องเพลงช่วยชาวนา
แต่ตัวเองไม่เคยไป
ช่วยเหลือชาวนาจริง ๆ
ไม่ใกล้ชาวนาเลย คนชนิดนี้มีเยอะ
ไม่ใช่แต่นักร้อง นักคิด นักเขียน
นักใช้การแสดงออกทางสังคม แล้วก็ได้เงินแลกเปลี่ยนมา เขานิยมอะไร แสดงออกไปเท่านั้นเอง
จริงก็เป็นข้อคิดที่ดี
แต่ตัวเองเหมือนคนหลอกลวง
ไม่ได้ทําจริง ไม่ได้เป็นจริงเลย
คนเหล่านี้แฝงอยู่ในสังคมมีเยอะ
โดยเฉพาะเขาชื่อว่านักวิชาการ
หรือปัญญาชน
คิด เขียน พูด
ออกโฆษณาสื่อ โฆษณาทางนั้นทางนี้ แต่ตัวเองมีชีวิตอยู่อีกอย่างหนึ่ง
เป็นนายทุนดีๆนั่นเอง
และเป็นไม้เป็นมือของนายทุนด้วย
เป็นลูกไม้ลูกมือของนายทุน จนกระทั่งถึงเป็นตัวนายทุนเองด้วย
คนอย่างนี้มีอยู่ในสังคมอีกเยอะ
เพราะฉะนั้นถ้าเราจะเป็นคนที่รู้จริง
แล้วก็เห็นจริง จิตใจมีความจริงใจ
จงพากันเข้ามารักษาสิ่งที่ดี
บอกแล้วว่าเมืองไทยเป็นเมืองกสิกรรม
เป็นเมืองที่มีภูมิประเทศ
อยู่ในโซนที่ได้
แดด น้ํา ลม ฝน ได้
บรรยากาศที่เหมาะสมที่สุดที่จะทํากสิกรรม
ทําเกษตร
จะทําได้อย่างดีมากเลย
ถ้าเมืองเรามีกสิกรรมนี่อย่างสมบูรณ์
ไม่ต้องกลัวตายหรอก เพราะแต่ละประเทศขณะนี้กําลังเดือดร้อนไปหมด
เดือดร้อนเรื่องของที่จะ กินนี่แหละ
เรื่องอาหารการกินนี่แหละ
และถ้าเผื่อว่าได้มาศึกษาธรรมะด้วย
เป็นคนมักน้อยสันโดษ รู้ว่าถ้าเผื่อว่าเราสร้าง
สร้างสิ่งที่สําคัญ
สิ่งที่จําเป็นอย่างนี้แหละของชีวิตมนุษย์
สร้างขึ้นมาแล้วก็แจกจ่ายเจือจาน
ขายอย่าง
ทฤษฎีกําไรขาดทุนของอริยะชน
คือขายในระบบ
ขายในระบบบุญนิยม
ไม่ใช่ทุนนิยมนะ ระบบบุญนิยม
ขายในราคาถูก
ระบบบุญนิยมนี่
การค้าในระบบบุญนิยมนี่มีหลักการค้าอยู่อย่างนี้
ผู้ที่ค้าขายระบบบุญนิยม
ชนิดที่แย่ที่สุดก็คือ
จะต้องขายให้ต่ํากว่าราคาตลาด
ด้วยความจริงใจ
ที่จะเสียสละ
ไม่ใช่ใช้เล่ห์เล่ห์ขายต่ํากว่าราคาตลาดเป็นวิธีการชั่วครั้งชั่วคราวหรือว่าผสมผสานมีการสอดแทรกอันนี้ต่ําแต่อันนี้สูงเพื่อขูดรีดเอาเปรียบเอาเปรียบเอารัดไม่ใช่เจตนาเลยว่าขายต่ํากว่าราคาตลาดด้วยความจริงใจเพื่อจะเสียสละ
ไม่เอาเปรียบ ไม่ขูดรีดใคร
ตั้งใจเสียสละ
แต่มันต้องขายได้แค่นั้น
ขายได้แค่ต่ํากว่าราคาตลาด
เราก็ต้องทํา
มันยังไม่เก่ง
ยังไม่มีองค์ประกอบที่สมบูรณ์
ก็เป็นการค้าขาย
เป็นพ่อค้า
นักธุรกิจ
ที่ทํางานกับสังคมในแบบค้าขาย
ให้ยังไงยังไงก็ต้องพยายามให้ต่ํากว่าราคาตลาดมากเท่าใดก็คือกําไรเท่านั้นต่ํากว่าราคาตลาดมากนะมากเท่าใดกําไรเท่านั้นฟังให้ดีนะกําไรของทางบุญนิยมเนี่ยจะไม่เหมือนกําไรทางทุนนิยมทุนนิยมนี่ถ้าเพิ่มได้เกินทุนไปมากเท่าไหร่ก็ถือว่านั่นกําไร
แต่ของบุญนิยมเนี่ย
เรียกว่าได้ต่ํากว่าทุนลงไปมากเท่าไหร่
นั่นคือกําไร
กําไรจริงๆ
ไม่ได้พูดเล่น
หลักหนึ่งที่ 1
แย่กว่าเพื่อนก็คือ
ให้ขายต่ํากว่าราคาตลาด
ระดับที่ 2 ขายเท่าทุน
พวกบุญนิยมนี่การพาณิชย์ด้านธุรกิจทาง
พาณิชย์ทางการค้าขายของ
พวกบุญนิยมเนี่ยจะขายลงไปอย่างงี้
เมื่อต่ํากว่าราคาตลาดได้จนกระทั่งเจริญดีเจริญดีแสดงว่าเราขายเท่าทุนได้
เจริญไปกว่านั้นขายต่ํากว่าทุน
คุณอาจจะฟังแล้วหัวเราะในใจ
ฟังดีดีถ้าเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเพ้อพก
ไม่ใช่เรื่องพูดเล่นลิ้น
แต่เป็นเรื่องที่ทําได้เป็นได้
อยู่ได้ด้วย
ระดับที่สองเท่าทุน
ระดับที่สามต่ํากว่าทุน
ระดับที่สี่แจกฟรี
มีผลผลิตแจกฟรี มีแรงงานแจกฟรี
แรงงานนี่มีแบ่งเป็น
แรงงานทางสมองคือแรง
แรงงานทางความรู้
และแรงงานทางกายทางฝีมือ
เสียสละได้
แจกฟรีได้ หรือคิดค่าแรง
คิดค่าตัวถูกลง
นั่นคือ คนประเสริฐ คนเจริญ
คนคิดราคา
ค่าแรง หรือค่าวิชา
ค่าฝีมือ
ค่าฝีมือของตนเอง
แพงขึ้นแพงขึ้น
คือคนทําลายสังคม
คิดค่าตัวแพงขึ้น แพงขึ้น
คือคนทําลายสังคม
ทุกวันนี้ระบบทุนนิยมนี่แหละ
ระบบอย่างนี้แหละ
ที่คิดค่าตัวค่าแรง
ค่าเอาเปรียบเอารัด
หรือว่าเรียกว่ากําไรโดยการได้เกินจากทุนมามากๆ
เป็นการเจริญทางเศรษฐกิจ
คนคิดอย่างนี้
หลักคิดแบบทุนนิยมอย่างนี้
คือการผลาญสังคม ทําลายสังคม
สังคมไปไม่รอด
ทุนนิยมนี่แหละเป็นระบบที่เลวร้ายที่สุด
แล้วไปไม่รอด
ระบบที่อาตมากําลังกล่าวถึงอยู่นี้เนี่ย
เป็นระบบที่คนจะต้องมาศึกษาธรรมะ
มาศึกษาสัจธรรม
ให้เห็นว่าการได้เสียสละนี่เป็นคุณค่าของมนุษย์
เป็นคุณค่าจริงๆนะ
เพราะฉะนั้นเราจะผลิตข้าวมาได้
ผลิตข้าวมาเกวียนนึง
สมมุติว่าทุนของมัน
คิดทุนอย่างไร
พวกที่เรียนเศรษฐศาสตร์มา
เรียนการพาณิชย์มา
แม้แต่ธุรกิจก็ตาม
ก็คงจะรู้แล้วว่า
ทุนเค้าคิดอย่างไร
ทุนนี่คิดทั้งค่าวัสดุ
ค่าความเสื่อม ค่าแรงงาน
ค่าอะไรแม้แต่ error เค้าก็บวกเอาไว้เป็นทุน
สมมุติว่าทุนมันลงไปจริงๆ พันนึง
ถ้าเราลงทุนไปจริงๆพันนึง เราจะให้
ข้าวเกวียนนึง
นี่อาตมาสมมุติเท่านั้นนะ ไม่ใช่ว่าข้าวราคาเกวียนละพัน
สมมุติว่าข้าวเกวียนนึง สมมุติว่าทุนมันพันนึง
เราจะให้คนอื่นไปเนี่ย
แล้วเราก็เอาพันนึงแรกคืนมา
เป็นธนบัตร
พันนึงคืนมาเป็นค่าของสิ่งนี้เป็นทุนของสิ่งนี้ คุณให้ข้าวเขาไปแล้วคุณก็เอาพัน
พันบาทนั้นมา
คุณก็คือคนไม่มีคุณค่าอะไรแล้วในสังคม
เพราะคุณให้ของเขาไปคุณก็เอาค่ามันพันบาทคืนมาหมดแล้ว
คุณเป็นคนไม่มีประโยชน์อะไร
อย่าไปขี้ตู่ว่าคนมีคุณประโยชน์ในสังคม
ค่าแรงงาน ค่าอะไรคุณคิดหมดแล้ว คุณเอาคืนมาหมดแล้ว
ยิ่งขายมากกว่าพัน
นั่นคือคุณขูดรีดจากสังคมมา
มันไม่มีค่าอะไรหรอก คุณเรียกมันว่ากําไรนั่นแหละ เกินพันนั่นน่ะ เกินพันไปเท่าไหร่ ก็ยิ่งไปขูดรีดจากสังคมมาเท่านั้น เอาเปรียบเค้ามาเท่านั้น
เอามาดื้อๆ คุณจะโฆษณา
คุณจะหลอกล่อ คุณจะหาวิธีให้เค้าเอามาให้มากกว่านี้ยังไงก็ตามแต่
หลักของทุนนิยมอย่างนี้ ทุกวันนี้ต้องขายเกินกว่าทุน
จึงเป็นหลักที่
มนุษย์ไม่มีค่า
ก็เท่าทุนมันยังหมดแล้วเอาค่า
แล้วก็เอาเกินทุนไปอีก มันมีค่าตรงไหนในสังคม
เช่น เอาคนเอาง่ายๆ เอาชัดๆ
คนออกแรงเลย
คนที่ไปทํางานให้แก่สังคม เป็นข้าราชการก็ดี
เป็นนักอะไรก็แล้วแต่ ใช้ความรู้ความสามารถทางสมองก็ตาม ความรู้ทางแรงงานกับทางกายก็ตาม
แสดงไปแล้วสมมุติว่าค่าแรงงานของคุณนี่นะ
วันนึงประมาณร้อยบาท
เดือนนึงสามพันบาทเป็นต้น
คิดอย่างสุจริตควรจะราคาเท่านี้
จริงจริงอะค่าของราคาค่าแรงงานของคุณควรจะ
สักสามพันบาทต่อเดือน คุณก็เอาเงินเดือนนั้นคืนมาหมดแล้ว
จะเป็นข้าราชการเป็นนักการเมืองอะไรก็ตาม
คุณไม่มีค่าแล้วนะ
คุณเอาคืนมาหมดแล้ว 3 000
คุณทํางานไป
อะไรไป แล้วคุณก็เอาข้ามมา
ถ้าคุณทํางานหรือทําอะไร
ไม่คุ้มก็ 3
000 เนี่ย คุณก็เป็นหนี้แล้ว
เบียดเบียนสังคมละ
ยิ่งคุณไปคิดค่าตัวเกินสามพัน
ตั้งราคาเงินเดือนตั้งอะไรขึ้นไปมากกว่านั้นก็ยิ่งเป็นคนที่เอาเปรียบเอารัดสังคม
แค่เอาเถ้าทุนมาคุณยังเป็นคนไม่มีค่า
อย่าไปเอาเกินมันจะเป็นคนมีค่าอะไร มีประโยชน์อะไรในสังคม
เอาเปรียบสังคมอยู่
แต่คนไม่คิดข้อนี้
เขานึกว่าเขาเจริญ
แต่ถ้าเขาลดนะ
ค่าตัวของเขา 3 000
เขาเอาคืนมา เขาเอาเงินเดือนเป็นเงินเดือนคืนมาแค่
2 000
เขาจะมีค่าให้แก่สังคม เหลือ
1 000
เขาจะเป็นคนที่มีคุณค่าต่อสังคมอยู่หนึ่งพัน
ถ้าเอาเขาเงินเดือนสมมุติว่าค่าเขาเนี่ยราคาของเขาค่าความรู้ความสามารถของเขาประมาณสามพันดังที่กําลังยกตัวอย่างอยู่เนี่ย
เขายิ่งเอาคืนเอาราคานั้นมาสักพันเดียว แล้วชีวิตคุณก็อยู่ได้พันนึงคุณก็อยู่ได้ ขอเงินเดือนหรือรายได้สักเดือนละพันเดียว
ถ้าค่าด้วยราคาของคุณประมาณสามพัน
คุณก็จะได้ช่วยสังคมถึงสองพัน
เพราะสิ่งนั้นคุณไม่เอามา ไม่ได้ลบราคา ไม่ได้ลบค่าเอามา
เป็นของตัวเรา เอาคืนมา
เราก็ยังให้อยู่แก่สังคมไปอีกสองพัน
คุณจะมีคุณค่าถึง 2 000
ยิ่งทํางานฟรีเลย มีคุณค่าเต็ม
ฟังแนวคิดบุญนิยมนี้ไว้บ้าง
เรากําลังพยายามที่จะพิสูจน์ความจริงนี้ คนเดี๋ยวนี้ทางชาวอโศกเนี่ย
มีคนทํางานอย่างนี้ ทํางานถึงขั้นฟรี
ทํางานเอาเงินเดือนราคาถูก
และพยายามที่จะพัฒนาให้ตนเองรับเงินเดือนถูกลงถูกลงเรื่อยเรื่อย
เดี๋ยวนี้เรามีเป็นกลุ่มเป็นก้อน ชาวอโศกทําอยู่ทั่วไป
ทุกจังหวัดขณะนี้มีหมด
อ่า ทําได้ถึงที่ถึงขนาดทํางานฟรีบ้าง
ทํางานเอาต่ํากว่าทุนบ้าง ทํางานเท่าทุนบ้าง ทํางานเอาคืนมาในราคาอัตรา
ต่ํากว่าราคาตลาดบ้าง
มีอยู่ทุกขนาด ขณะนี้ชาวอโศกเราทําอยู่
รวมแล้วมันก็จะเป็นความจริงในหลักการนี้ทั้งสิ้น
และเราก็มีชีวิตอยู่ได้
แม้แต่ทํางานฟรี
ก็มีกลุ่มสังคมของชาวอโศก ที่ตื่นเช้ามาก็ทํางานแต่เช้า
ตกเย็นก็นอนสบาย
ไม่ต้องไปกังวลเลยว่า ดอกเบี้ยจะต้องเสีย จะต้องคิดไปใช้หนี้นั่นนี่ ไม่ต้องเลย เรื่องเงินทองวางได้สบาย
มีผู้จะดูแลเงินทองก็ดูไป
มีส่วนกลางส่วนรวมอะไรต่างๆนานา
ซึ่งเป็นระบบ
ระบบของสังคมชาวบุญนิยม
อยู่ในสังคมทุกวันเนี้ย มีอยู่
นะ นี่อาตมาเล่าสู่ฟัง
ถ้าใครสนใจก็ศึกษาดูบ้าง
สังคมทุกวันนี้ ระบบอย่างบุญนิยม
ยังไม่เคยเกิดอย่างสมบูรณ์แบบ
ทีนี้ สังคมสมัยนี้ ยุคนี้
มันไม่เหมือนสมัยยุคพระพุทธเจ้า
สมัยพระพุทธเจ้า
คนที่ไม่มีเงินทอง
ไม่มีรายได้เลย
ก็มีเหมือนกัน แต่ว่า
การเป็นอยู่ของสังคมการสะพัด
เงินทองทุนรอนรายได้รายจ่ายการยังฉีกยังชีพ
มันต่างกัน
ยุคสมัยเมื่อสองพันกว่าปีกับสมัยนี้มันต่างกันมาก
เพราะฉะนั้นการยังชีพจะต้องมี
ระบบ จะต้องมีสัมมาอาชีพ
จะต้องมีกลุ่มบุคคล
จะต้องมี
วิธีการมาตรการต่างต่าง
ที่จะต้องให้สังคมนี้อยู่ได้อย่างไรอย่างไร
ซึ่งเรากําลังดําเนิน
อาตมาคงไม่มีเวลาที่จะมาขยายความเรื่องนี้
สู่ฟังในวันนี้
ในรายละเอียดคงไม่ ขยายไม่ได้
ถ้าใครสนใจศึกษาก็ติดตาม นะ
กลับมาถึงเกษตรหรือกสิกรรมที่เป็น
ทําไมอาตมาถึง
กล่าวว่า
เป็นอาชีพที่จะกู้ชาติ
ก็คงจะได้ยินมาแล้วว่า
เมืองไทยพยายามที่จะดิ้นรนให้เป็นนิค
งานอุตสาหกรรม
นิค
นะ งานอุตสาหกรรม
ไม่ต้องไปพูดถึงภาษาฝรั่งมากมายหรอก
อาตมาก็ไม่คล่อง
ภาษาฝรั่งเท่าไหร่
พูดกันเป็นไทยๆ
นี่พอรู้เรื่องกันก็พอนะ
สรุปแล้วก็คือ นิกซ์ นี่ก็คือจะ
สร้างอาชีพ
หรือสร้างงานที่เป็นอุตสาหกรรมขึ้นมาในสังคม
ให้มนุษย์ชาติมาสนใจ
และมาบูม
หรือมาพยายามที่จะให้คนที่ทํางานอุตสาหกรรม
แล้วเราจะมีรายได้ จะมีเงินทอง
งานอุตสาหกรรมนี่ค่ะ
อาตมาขอแจ้งให้ทราบเลยว่า
ประเทศที่เขาทํางานอุตสาหกรรมคือประเทศที่มันซวย
ทั่วโลกันกันดาโฆษณายั่วยุยั่วยวน
จนกลายเป็นของฟุ่มเฟือยเป็นของเกินเฟ้อ
เป็นเศษขยะมลพิษ
งานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดมลพิษที่เลวร้ายที่สุด
ประเทศที่เขาเคยทําอุตสาหกรรมนั้น
เขารู้ตัวแล้ว
เขาก็จึงเคลื่อนย้ายจากประเทศของเขา
ไปทํา ไปลงทุนในประเทศด้อย
พัฒนาที่ยังโง่ๆ
อย่าหาว่าอาตมาดูถูกประเทศไทยเลย
เช่น ประเทศไทย เป็นต้น
อาตมารู้สึกสะท้อนใจเมื่อผู้บริหารประเทศ
เรียกร้องให้คนมาสร้างอุตสาหกรรม
มาลงทุนในประเทศไทย
อาตมาสะท้อนใจทุกทีที่รัฐบาลพูดอย่างนั้น
และก็ยังคิดไม่ออก
ว่าทําไมคนถึงคิดไม่ออก
ทําไมคนไม่คิดเหมือนอย่างอาตมาคิด
อาตมาคงจะโง่
คงจะโง่ที่อาตมาคิดว่า
อย่าไปเรียกร้องคนต่างประเทศมาลงทุนในประเทศไทยเลย
ประเทศไทยมีอะไรดี
ไทยลงทุนเองเถอะ
แล้วช่วยขุดคุ้ยขึ้นมาทํา
จะทําอุตสาหกรรมอะไรก็เรียนรู้เอง
ทําเอง ทําไมต้องไปเอาคนอื่นมา
มาลงทุนในนี้
เสร็จแล้วเราก็ถูกเค้าดูดเอาส่วนเกิน
เอาทรัพยากรมลพิษตกค้างไว้ในที่นี่
ใช้พวกเราเป็นทาสแรงงานในที่นี้
ข่มขู่ดูถูกเขาเป็นเจ้าเป็นนาย
อะไรต่างๆ
นานาสารพัดเลย
ถ้าคนต่างชาติเข้ามา
เป็นเจ้าอุตสาหกรรมมาลงทุน
เป็นนายทุนอยู่ในเมืองไทย
อาตมามองไม่ออกเลยว่ามันเป็นความดิบดี
อะไรที่จะต้องไปเรียกร้องให้คนอื่นมาลงทุน
จนก็อดอย่างเสือสงวนศักดิ์ไม่ได้หรือ
ฟังไว้บ้างเถอะ
อาตมามองไม่ออก คิดไม่ถึงจริงๆ
เลยว่า ทําไมคนเราถึงด้อยศักดิ์
ด้อยเกียรติ
ทั้งขี้เกียจ
ทั้งโง่ หรืออย่างไรคนไทย
จึงไม่สามารถที่จะลงทุนเอง
สร้างเอง
ทําเอง ลงไปในประเทศไทยนี้ให้ได้
ทําไมจะต้องไปอาศัยหยิบยืม
แม้แต่ทุนรอน
ความสามารถ
อะไรต่ออะไร
ต่าง ๆ จากคนอื่นเขา
ให้เขามาลงทุนในประเทศไทย
เสร็จแล้วเราก็คือ
รับเศษเบี้ยบ้านของเขา
เมื่อเขามาเป็นนายทุน
เขาจะต้องได้ส่วนใหญ่
เราจะได้ส่วนเสพ
แม้เขาได้กําไรแล้ว เขาก็หอบเงินออกไปต่างประเทศใช่หรือไม่
ให้เขามากอบโกยอะไรออกไปนักหนา
อาตมามองไม่ออกว่าทําไมคนเราถึงคิดตื้นนัก
ง่ายง่าย
คิดมันง่ายง่าย
อาตมาแอนตี้อยู่สองอย่าง หนึ่งประกาศให้คน
ประกาศให้คนมาลงทุนในประเทศไทยเอาคนต่างประเทศมา
เนี่ยอาตมาแอนตี้อยู่ในใจมานานแล้ว สองการส่งเสริมการท่องเที่ยว
เรียกคนมาเที่ยวแล้วก็จะเอาเงินเขา มอมเมาเขายังไงก็เอา
ขี้โกงเขายังไงก็เอา
อย่างทุกวันนี้ พวกร้านจิวเวลรี่ต่างๆ
รวย
ชาวต่างประเทศมาทัวร์เลี้ยงเค้า ขี้โกงเค้า
อาตมานี่เห็นใจนะ
เห็นใจว่าพวกนี้ถูกโกง ถูกขูด ถูกรีด แล้วคนที่
คนไทยนี่แหละ ที่เป็นเจ้าของร้านจิวเวลรี่เนี่ยแหละ
ขูดรีดเอาเงินเค้าบาปนะ
ถ้าเข้าใจกําไรขาดทุนด้วย
แบบอริยชน
ที่อาตมาบอกว่า ทฤษฎีดี
คนเราเสียสละ มันถึงจะเป็นบุญ ขูดรีดเอาเปรียบคนอื่น ได้เงินมา มันบาป
ไปเอาเปรียบเค้ามา มันโง่
เขาว่าเขาฉลาด
เขาฉลาดที่ว่าเขาเอาเปรียบคนได้มาก
แต่อาตมาถือว่าโง่ด้วยหลักธรรม โง่โดยสัจธรรม โง่ตรงที่ตัวเองทําชั่ว
โง่ที่ตัวเองเอาเปรียบ โง่ที่ตัวเองทําบาป
โง่ที่ตัวเองสร้างหนี้โดยสัจธรรม
เป็นหนี้โดยสัจธรรมคือไปเอาเปรียบมานี่เป็นหนี้นะ
แต่ถ้าได้เสียสละนี่เป็นบุญ
เป็นกุศลเป็นทรัพย์ของเรา ตอนได้เสียสละนี่เป็นทรัพย์ของเรา ฟังสัจธรรม
จุดนี้ให้ดี
เรื่องท่องเที่ยวนี่เป็นเรื่องหยําเป
เราอย่าไปเรียกร้องคนมาท่องเที่ยว
เราจะดีอย่างไร
คนที่เขาเสาะแสวงหาจุดดี
เขาจะพยายามแสวงหา ตามมาเอาสิ่งดี
เราจะได้คนดีคนนั้น เข้ามาเที่ยวบ้านเรา
แต่ถ้าเราต้องการแต่เงิน
ต้องการเรียกร้องแต่คนมาเที่ยว แล้วก็เอาของฉาบฉวยโชว์
มาชมอันนั้น มาดูอันนี้
แม้ที่สุดก็มาเสพกาม
ความสนุกเพลิดเพลินอะไรก็ไม่รู้
ต่อไอ้เค้ามาแล้วก็มาเลียเค้า
มาล้วงตับกินไส้เค้า
มาปอกลอกเค้า จะต้องให้เค้าเอาเงินมาทิ้ง ในบ้านเมืองเรา
หลงแต่เงิน อยากได้แต่เงิน
เค้ามาท่องเที่ยวแล้วก็ได้เงิน
อาตมาจะหัวร่อสอน
ไมเคิล แจ็กสันมามันจะได้โฆษณาเมืองไทยไป เค้าเอาเงินมาทิ้งในประเทศไทย
อาตมาเอง เศร้าจริงๆ
ทําไมเราจะไม่ทําตนเองให้ดี
ด้วยคุณค่าของตนเอง
ไปแฝงทําไม ก็ต้องอาศัย
ไมเคิล แจ็กสัน โฆษณาให้ประเทศไทย
ไปแฝงอะไรก็ไม่รู้ ไปชกมวยทีนึงก็ดังแค่นั้น
คนไทยมันเก่งได้แค่ชกมวย
ดังเก่ง
ทําไมไม่เอาเนื้อหาคุณค่าสาระ
สัจจะเป็นคนที่มีความคิดดี มีสมรรถภาพสูง จะคิดสร้างสรรค์อะไรก็ดีดี
ทําบ้านเมืองให้สงบ
มันเป็นสุข มีสุจริต
มีความสามารถฝีมือ
พวกเราไม่ต้องไปเป็นหนี้ใคร
เกื้อกูลกัน รักกันอย่างพี่อย่างน้อง
เป็นเชื้อชาติเดียวกันจริงๆ
เป็นอิสระเสรีภาพ ภราดรภาพ สันติภาพ
สมรรถภาพ
บูรณภาพที่สมบูรณ์
ทําไมคนไทยไม่สร้างอันนี้
มันจะดังหรือไม่ดัง
ให้มันมีเนื้อเถอะ แล้วมันจะดังเนื้อๆ
สาระสัจจะอย่างนี้ออกไปเอง
ไม่ต้องไปป่าวประกาศโฆษณา
ผิวๆ เผินๆ คนมายินดี
มารู้จักประเทศไทย
โดยเป็นแต่เพียงชื่อมันดังเฉยๆ
แต่ในเมืองไทยใครเข้ามา
คนที่มีปัญญา
มาเมืองไทย
มีแต่ของเน่าๆ
ไม่เห็นมีของดีอะไร
ความสามารถ ความดีงามอะไรก็ไม่มี
คุณค่าอะไรก็ไม่มี
จะให้เขาเข้ามาทําไมเมืองไทย
สร้างเมืองไทยให้ดี
สร้างประเทศไทยให้ดี
สร้างเนื้อหาให้ดี
ใครเข้ามาแล้วอยากจะไม่เป็นคนไทยเลย
อยากจะตายที่นี่ อยู่ที่นี่
กินที่นี่เลย
เพราะมันเป็นเมืองที่สุข
เป็นเมืองสันติภาพ
เป็นเมืองภราดรภาพ
เป็นเมืองอิสระเสรีภาพ
เป็นเมืองที่มีสมรรถภาพดี
เป็นเมืองที่มีบูรณภาพสมบูรณ์
ทําไมไม่สร้างเมืองไทยเป็นอย่างนั้น
มันจะดังหรือไม่ดังไม่ต้องไปอยากได้หรอกความดัง
ถ้าเราดีจริงจริงแล้วมันจะดังไปด้วยเนื้อหาอย่างนี้
นี่ผิวเผินเต็มที
ความคิดผิวเผินเผินเผินนี่มี
มีง่ายและมีมากเหลือเกิน
แล้วไปลงทุนซะด้วยนะ
ลงทุนอย่างผิวเผิน
ไมเคิล แจ็คสัน มาเล่นทีนึง
หอบเงินออกไปนอกประเทศเท่าไหร่
ที่นั่นก็บอกว่าเราได้กําไร
จะได้เป็นการโฆษณาทางท่องเที่ยว
คนมาท่องเที่ยวก็เอาขี้มารด
เอาวัฒนธรรมเลวๆ มาลง
แล้วก็มา
อะไรก็ไม่รู้
อย่างที่อาตมาสาธยายไปบ้างแล้ว
คนที่จะมาเที่ยวควรเป็นคนดี
ควรเป็นคนที่มีความรู้
เค้ามาเที่ยวเมื่อเรา
เค้าต้องมีเป้าหมาย
เพื่อที่จะมาเอาคุณค่าอะไรจากเรา
เออ
อย่างนี้เค้ามาเที่ยวแถวบ้านเรา
บ้านเราจะได้ต้อนรับคนที่มีคุณค่า
น่าคบ น่าคุย
น่าคุยด้วยน่าคบด้วย
ไอ้นี่มามันจะมาเสพสุข
มันจะมาระเริงอะไรก็ไม่รู้
ดีไม่ดีมันก็อยากจะไปเที่ยวสาวไทย
อยากจะมาได้สมสู่
อยากจะมาได้ไอ้ของฉาบๆ ฉวยๆ
อะไรต่างๆ
นานา ผิวเผินเป็นเรื่องระเริง
เป็นเรื่องบําเรอ
เรื่องกามมั่ง
เรื่องอะไรที่มันผิวๆ
มันไม่ใช่เนื้อแท้
มันไม่ใช่สาระสัจจะอะไรเนี่ย
แล้วคนเข้ามาอย่างนั้น
เขาก็ได้รับไปแค่อย่างนั้นไป
แต่ถ้าเขาเข้ามาเมือง
เข้ามาเมืองไทยแล้วเขาได้สิ่งที่เป็นเนื้อหาคุณค่าแท้แท้ไป
เอออย่างนี้น่าโชว์
ตราบใดที่เมืองไทยแม้แต่การเมืองก็ยังเละเละแท้แท้อย่างนี้
อย่าไปชวนเขาเข้ามาเลยขายขี้หน้า
วัฒนธรรมไทยก็ถูกปู้ยี่ปู้ยําอย่างนี้
อย่าไปชวนเขาเข้ามาเลย
เศรษฐกิจก็ตาม
สังคมก็ตาม ปัญหาสังคมมากมาย
ถ้าคนต่างประเทศมาเมืองไทยอ่านหนังสือไทยออก
ข่าวคราวในหน้าหนังสือพิมพ์นี่น่าชื่นชมนักเหรอแต่ละเรื่อง
ทุกวัน
คราวหน้าหนังสือพิมพ์
คุณตั้งใจคิดดีๆซิ
เสนอออกมาในหน้าหนังสือพิมพ์ทุกวันๆ
ข่าวต่างๆ
มันน่าชื่นชมเลย
เหลวไหลทั้งนั้นเลย มีแต่เรื่อง
น่าตําหนิ ไม่ใช่น่าชื่นชม
นาน ๆ จะมีข่าวดี ๆ ขึ้นหน้าหนึ่ง
หรือว่าเป็นคอลัมนั่นนี่
หรือว่าเป็นข่าวหน้าในก็ตามดี ๆ
บ้าง
มีแต่ข่าวเลวๆ ร้ายๆ
น่าเศร้าอกเศร้าใจทั้งนั้น
ถ้าอย่างนี้จะไปเรียกคนเข้ามารับทราบๆ
ไปทําไม
ทําเมืองไทยให้ดีก่อนได้ไหม
ในเรื่องของอาชีพ
กสิกรรมนี่
ที่อาตมาเห็นว่ามันสําคัญเนี่ย
อาตมาก็ขยายความไปจนกระทั่งกลายเป็น
ขยายความพิสดารออกไปมากแล้ว
ใครบางคนอาจจะตามไม่ทัน
อาตมาวิจัยอะไรออกไป
มันก็เกิดจากคนเราไม่ได้รักความจริง
ไม่ได้รู้ความจริงว่า
เมืองไทยเป็นเมืองกสิกรรม
เป็นเมืองโซนอบอุ่น
ที่มีดิน น้ํา ลม ฝนอะไรดีมาก
พัฒนาสิ่งนี้เถอะ
กสิกรรมหรือเกษตรเกษตรเนี่ย
ควรจะนําโลก ไม่ใช่ควรจะไปที่ใด
ไปเอาผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศซึ่งเขาอยู่เมืองหนาว
ไม่ได้เก่งกสิกรรมเราและกสิกรรมเมืองหนาวกับกสิกรรมเมืองร้อนก็ไม่เหมือนกันอีกด้วย
เอาเข้ามา
เขาเคยเล่านะ
ไปเอาผู้เชี่ยวชาญของ
ต่างชาติมา
ขึ้นเครื่องบินมา
เสร็จแล้วเขามองมาจากเครื่องบิน
พอเข้ามาพื้นที่เมืองไทย
มันก็จะเห็นแปลงนาเขียวๆ
เยอะเลยนะ
เจ้าผู้เชี่ยวชาญนี่ก็ถามคนของเราว่า
อะไรๆ นั่น
อาตมาว่า
มันไม่รู้แม้กระทั่งว่า
ไอ้นาเนี่ยนะ
ต้นข้าวเนี่ยนะ
แล้วจะเอามันมาเป็นผู้เชี่ยวชาญ
เศร้าซะไม่มี
เป็นจริงนะ นี่ไม่ใช่เรื่องเล่าเรื่องเล่นนะ เรื่องจริง
เขาทํากันมาแล้ว
แล้วก็หลงใหลเขานักหนาว่า เขาเชี่ยวชาญ
เขาชํานาญ เขาเลิศ เขายอด
อาตมาไม่ได้ดูถูกคนต่างชาตินะ
คนที่เขามีความรู้จริง เขาก็มีจริงในหลายๆเรื่อง
แต่เราเองนี่ควรจะเป็นคนเชี่ยวชาญในเรื่องของกสิกรรม
และต้องลงมือทําจริง
คนมาเรียนกสิกรรม จบด็อกเตอร์กสิกรรมทุกวันนี้
ทํานาไม่เป็นมีเยอะ
ทําสวนทําไร่ไม่เป็น มีเยอะ
แต่ได้รายได้เงินเดือน จากคุย จากฝอย
จากสอน จากอะไรเนี่ย
ซึ่งถูกมั่ง ผิดมั่ง แล้วไม่เป็นล้อเป็นพาย แล้วไม่รู้จักจุดที่สําคัญ
ที่ควรไปรณรงค์
ควรจะไปปลูกฝังกับชาวนา
ให้พัฒนาอย่างนี้ โดยเฉพาะให้เป็นกสิกรรมธรรมชาติ
ไม่มีความรู้
ทําแต่เรื่องเอาของอย่างต่างประเทศ ต่างอะไรก็ได้มาจนกระทั่งสุดท้าย
ระบบนายทุนเข้ามาแฝงก็เลยกลายเป็นกสิกรรมที่จะต้อง
สร้างอย่างอุตสาหกรรม
สร้างกสิกรรมให้มันเป็นแบบอุตสาหกรรมเพื่อที่จะสร้างปริมาณมาก แล้วเอาไปไหนขายออกต่างประเทศ
คนไทยจะเดือดร้อนต้องแย่งต้องชิงต้องไม่มีอยู่ไม่มีกินยังไง
โชคดีอยู่ที่เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยกสิกรรม
หรือทํายังไงมันก็มีอยู่มีกิน แต่ขนาดนั้นมันก็ร่อยหรอลงไปมากแล้วเมืองไทย
ร่อยหรอจริงจริง
แล้วก็รับความรู้จากข้างนอกเข้ามาใส่ปุ๋ย
ใส่ยา
ผลไม้ทุกวันนี้อาตมาจะรับประทานอยู่ 2
อย่างเป็นหลัก คือกล้วยน้ําว้ากับมะละกอ
นอกนั้นอาตมา
ไม่มีความจําเป็นจะไม่รับประทาน
อย่าฉีดสารเคมีทั้งสิ้น
พวกเราตายผ่อนส่งไปกับสิ่งเหล่านี้อยู่ตลอดเวลา เพราะฉะนั้นไม่ต้องสงสัยหรอก
ที่พวกเราจะต้องมีโรคอย่างงู้น โรคอย่างงี้ โรคอย่างงั้น อะไรกันมากกันมาย ไม่ต้องสงสัยเป็นเรื่องธรรมดา
คุณหนีไม่พ้นหรอกเพราะคุณกินสิ่งเหล่านั้น
เป็นมลพิษอยู่ทั้งสิ้น
อาหารที่กินทุกวันนี้แหละ
แม้แต่ข้าวเนี่ย
ข้าวสิงห์บุรีเนี่ย
นี่ไม่ใช่เรื่องลอยลมนะ ที่สิงห์บุรีเจอมาแล้ว
ไก่จิกกินนี่ตาย ข้าวเปลือกเนี่ย
ที่เขารู้ว่าตายเพราะข้าวก็เพราะเขาผ่ากระเพาะมันดู
เสร็จแล้วเขาก็รีบล้างไอ้เหนียงมันเนี่ยกระเพาะไก่
ล้างเอาไอ้นี่ออกรอดมาก็มีแต่ตายไปก็หลายตัว
จึงรู้ว่าข้าวเปลือกเนี่ยมันกินตาย มันกินตั้งแต่เป็นข้าวเปลือกเนี่ยเพราะฉีดยา
จังหวัดสิงห์บุรีนี่มีตัวอย่างจริง อาตมาอ้างจังหวัดเพราะว่าเรื่องนี้เรื่องจริง
ข้าวก็ดี
พืชผักอะไรก็ดี ทุกวันนี้เนี่ย
ใช้ความรู้แบบ
ไม่ใช่ธรรมชาติ แบบทางสังคม
ทางไหนก็ไม่รู้ มาประยุกต์กัน
มันไปกันใหญ่แล้ว
เพราะตอนนี้เรากําลังพยายาม
เดินทางเข้าไปสู่สภาพที่จะเป็นธรรมชาติอย่างใด ซึ่งกําลังจับ
หลักวิชา
ที่จะทํากสิกรรมธรรมชาติเข้ามา ให้มันเป็น
ธรรมชาติของพืชพันธุ์ธัญญาหาร
ที่มันจะพึ่งตัวมันเองอยู่รวมกัน เพราะทุกอย่างมันจะเกิดสมดุลธรรมชาติของมัน
ไม่ต้องไปฆ่าสัตว์แมลง มันก็จะเป็นธรรมชาติของมัน มันจะช่วยเราทุกอย่างเลย
จริงๆ
ทีนี้เราต้องศึกษาด้วยว่าทําไมมันถึงอยู่ได้
มันอยู่ได้เพราะมันจะมีการผสมผสานกัน
แล้วสัตว์ต่างๆพวกนี้มันก็จะอยู่กินกัน
ลดจํานวนอะไรต่างๆนานา
อาตมาไม่มีเวลาพูดรายละเอียดนะ
เพราะฉะนั้นเรายังไม่รู้
แม้แต่ดินทุกวันนี้ก็ไม่เป็นธรรมชาติ
ดินเน่า ดินเสีย ดินตาย
ตายหมดแล้ว
ถ้าดินมันเป็น
เหมือนอย่างป่าลึกๆ
นี่เรียกว่าดินเป็นดินธรรมชาติ
ดินที่ไม่ต้องไขไปให้ปุ๋ย
ไม่ต้องไขไปรดน้ํา
เพราะถ้าเผื่อว่าทําได้สมบูรณ์แล้ว
ไม่ต้องคนก็ไม่ต้องไปเสียเวลารดน้ํา
ไม่ต้องเสียเวลาใส่ปุ๋ย
นั่งกิน
กระดิกเท้า
นอนเก็บ กินธรรมชาติ
แต่ละอย่าง แต่ละอย่าง ฤดูนี้
เดือนนี้
พืชอันนี้ออก
เดือนนี้พืชนี้ออก
เดือนนี้พืชนี้ออก
เดือนนี้ผลนี้ออก
เดือนนี้ผลนี้ออก
เดือนนี้ผลนี้ออก
12 เดือนหมุนเวียน
มันจะมีอะไรกินทุกวัน ทุกๆเดือน
ทุกๆวัน
ธรรมชาติจะช่วยเรามากเลย
เมื่อกี้อาตมาวิเคราะห์ไปแล้วว่าระบบบุญนิยม
ก็ขอขยายความนิดนึง
เพราะหลายคนอาจจะฟังแล้วก็บอกว่าอาตมาเพ้อเจ้อ
ว่าทําไมจะอยู่ด้วยวิธีที่จะมีชีวิตอยู่อย่าง
ระบบบุญนิยม
จะขายต่ํากว่าทุนหรือขายต่ํากว่า
หรือจ่ายฟรี ขายฟรี
แจกฟรี มันจะเป็นไปได้หรือ
ระบบบุญนิยมของเราทําอยู่ทุกวันนี้
มีหลักเกณฑ์อยู่
3 อย่างที่จะ
อธิบายให้ฟังบ้าง
แล้วคุณจะเข้าใจว่ามันอยู่ได้
มันเป็นไปได้
คือถ้าเราจะผลิตอะไรแล้ว
คนนี่แหละสําคัญ
1 เราจะต้องมีกองบุญ
กองบุญนิยม
กองบุญนี้หมายความว่า
เป็นกองเงินรวมส่วนกลาง
ที่จะเป็นกองหน่วยทุนอุดหนุน
กองบุญนี้เป็นกองที่คนเสียสละบริจาคเข้ามา
เพราะฉะนั้นคุณจะมีสมาชิกกันก็ตาม
หรือคุณจะรับกว้างก็ตามใจเถอะ
อย่างทุกวันนี้ก็มีเหมือนกัน
หน่วยมูลนิธิหน่วยกองกลาง
ที่เป็นหน่วยกรการกุศลอะไรเขาก็อาศัยการทําบุญ
จากคนอื่นเข้ามารวมกองนี้แล้วก็เอาทุนอันนี้ไปทํา
กิจการค้าขายนี้ก็เหมือนกันจะมีกองบุญไว้
เพราะฉะนั้นถ้าตัวเราเอง
เราไม่อยากจะต้องไปให้คนอื่นเขาว่าได้
เราก็รับเฉพาะสมาชิกหรือคนที่
เข้าใจเราจริงๆ แล้วมาเสียสละ
คุณมีส่วนเกินส่วนเหลือ
คุณมารวมทุน
เพื่อที่จะเอาทุนนี้มาอุดหนุนสินค้า
จะได้ขายต่ํากว่าทุน หรือเท่าทุน
หรือถูกต่ํากว่าทุน
เท่าทุนต่ํากว่าทุน
หรือต่ํากว่าราคาตลาด
หรือแจกฟรี
จะทําได้ นี่เป็นอันที่ 1 กองบุญ
2
จากคน
คนจะต้องเป็นคนกินน้อยใช้น้อย
วันๆนึงเนี่ย ชีวิตนี้มันถูก
กินข้าววันละมื้อ
ก็ได้ แล้วไม่แพงอะไรหรอก
ไม่ต้องไปกินโก้กินเก๊
กินฟรุ้งกินเฟ้อ
กินอวดกินอ้าง
กินประดับประดาอะไรไม่ต้อง
ศึกษาดีดีแล้วกินเพื่อที่จะให้มันเป็นพลังงานสังเคราะห์ร่างกายชีวิตไว้วันวันนึง
ได้อาหารเข้าไปก็เหมือนกับเชื้อเพลิง
เสร็จแล้วเราก็ทํางานได้ทั้งวัน
การใช้จ่ายแม้แต่เครื่องนุ่งห่มเครื่องใช้ไม้สอยสําหรับตัวเราเอง
เราไม่บําเรออะไรแล้ววันหนึ่งถูก
เพราะฉะนั้นคนไหนที่ปฏิบัติธรรมดี

เป็นคนมากน้อยเป็นคนสันโดษได้ดีแล้ว
คนนี้ค่าใช้จ่ายส่วนตัว วันนึง
วันนึงเนี่ย
ทํางานได้ทั้งวัน
ขยันหมั่นเพียรได้
ผลผลิตหรือแรงงานของเค้าเนี่ย
จะเกินสิ่งที่เค้าใช้
วันนึงอาจจะวันนึงให้มากมากสักวันนึงร้อยนึง
ส่วนตัวอาตมาว่าอาตมาวันนึงใช้สตางค์ใช้จริงจริง
คิดราคาแล้วคงใช้ไม่เกินร้อยบาท
สําหรับตัวอาตมาทุกวันเนี้ยมันวันนึง
แต่วันนึงเราทํางานได้เกินร้อย
ถ้าตีราคาอย่าง
ตั้งค่าตีราคาคํานวณให้ดีดีนะว่าค่าของเรานี่ควรจะได้ราคาเท่าไหร่
คิดตามสังคมนี่นะ
ถ้าสมมุติว่าเรากินวันนึงแล้วเราใช้วันนึงสัดส่วนของเรานี่วันนึงพัน
วันนึงร้อยนึง
แต่ค่าของเราวันนึงถึงห้าพันเป็นได้นะ
ค่าของคนเนี่ยวันนึงวันนึงที่มีค่าสูงสูงนี่นะ
มีสิ่งที่ดีดีนี่ค่าของมันสูงนะ
เพราะฉะนั้น คนที่ตัวเอง
ใช้จ่ายน้อย แต่ตัวเอง
สร้างสมรรถภาพ ในวันหนึ่ง
คุ้มเหลือเกิน
มันก็เป็นส่วนที่จะเอาไปแจกจ่ายเจือจานที่จะไปขายต่ํากว่าทุนหรือว่าไปแจกฟรีนั่นแหละ เพราะว่ามันจะหมุนเข้าไปเป็นผลผลิตของสินค้า
เป็นผลผลิตของสินค้าที่จะสะพัดไปสู่มนุษย์
นี่เป็นหลักที่สอง หนึ่งกองบุญสองคน
สมรรถภาพของคน สาม
ธรรมชาติ
ทุนธรรมชาติ
3 ทุนธรรมชาติ
ทุนธรรมชาตินี้
ก็คือสิ่งที่เราจะมีกิจการอะไรก็แล้วแต่ เราก็ลงทุนทําอะไรๆไป มีเครื่องไม้เครื่องมือ มีโน่นมีนี่อะไร
ถ้าพร้อมแล้วเนี่ย
มันจะสร้างสรรค์เสร็จจะคุ้มทุนเพราะฉะนั้นจะไม่ต้องลงทุนอีก
แต่กลไกระบบเครื่องมือหรืออะไรก็แล้วแต่มันก็จะทํางานได้ผลิตเหลือเป็นการคุ้มทุนแล้ว เกินทุนแล้วนิดนึงในเรื่องของ
โรงงานหรือว่าระบบ
มันจะสมบูรณ์ในวาระนึง เมื่อสมบูรณ์แล้ว
ต่อจากนั้นมีแต่
อุดหนุนจุนเจือเสริมหนุน
ที่
ส่วนกําไรทั้งนั้น
กําไรภาษาโลกคือว่ามันจะ ผลิตให้เราเกินผลิตให้เรามาก
ทุนมันหมดไปแล้วไม่ต้องลงทุนแต่พวกนี้ส่วนเกินเพราะฉะนั้นไอ้ตัวผลิตนี้จะเป็นตัวผลิตสินค้าหรือผลิตผลผลิตขึ้นมาให้คุณต้องขายถูกได้โรงงานก็ตามหรือแม้แต่ธรรมชาติเนี่ยต้นหมากรากไม้ปลูกมาได้เต็มที่แล้วมีสวนองุ่นพันธุ์ถนัด
มันก็เกิดของมัน มันหมุนเวียน มันจะออกดอก
ออกผล ออกไป
เก็บเข้ามาขายทุนรอน มันคุ้มเป็นไหน ๆ
แล้ว มันก็เดินชีวิตของมันอยู่
มันอยู่ได้ถึงเป็นร้อยปีด้วย
มันก็เสริมหนุนเรา
เป็นทุนอีกอย่างนึง
เพราะฉะนั้น 1
กองบุญ 2 คน
ที่ทําสมรรถภาพสร้างสรรค์ได้เกินตัว
3
ธรรมชาติ
3 มุม 3 อย่างนี้
ถ้าครบสมบูรณ์แล้ว
ขอยืนยันว่าระบบบุญนิยมสําเร็จ
จะจําหน่ายจ่ายแจกหรือขายหรือสะพัดเพื่อผู้อื่น โดยหลักการของบุญนิยมคือต่ํากว่าทุนหรือแจกฟรีได้และมีชีวิตอยู่ได้อย่างสง่าผ่าเผยด้วย
หลักการ 3 ข้อนี้
อาตมาพยายามเขียนเป็นคําที่จะเข้าใจง่ายๆ ก็คือ
1
คนมีคุณ
2 กองบุญมีค้ํา
3 กิจกรรมเจริญผล
ที่อธิบายไป 3
หลักเมื่อกี้นี้ 1
คนมีคุณ
ถ้าคนที่มีคุณค่าแล้วอย่างที่ว่าแล้วเมื่อกี้นี้คนกินน้อยใช้น้อยวันนึงไม่เท่าไหร่แต่สมรรถภาพสูงคุณค่าสูงกว่าเนี้ยแล้วก็สะพัดอยู่ไม่โลภไม่โลภไม่กอบโกยอะไรไม่ให้ตัวเองตัวเองจะมีแค่นั้นก็หมุนเวียนมันมีระบบของมันอย่างชาวอโศกเนี่ยศึกษาดีดีมีระบบหมุนเวียนอยู่แล้วก็อยู่ได้ด้วย
อยู่ได้ด้วยไม่ต้องห่วง ไม่ต้องกลัวเจ็บกบ
ไม่ต้องกลัวว่าเจ็บป่วยจะไม่มีคนรักษา ไม่ต้องกลัวว่าตายจะไม่มีคนเผา
พวกเรามีคนเลี้ยงดูกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้
1 คนมีคุณ 2
กองบุญมีค้ํา
คือระบบมีกองบุญนิยมนั่นเอง มีไว้สําหรับค้ําชู มีเกื้อกูล
หนึ่งคนมีคุณ สองกองบุญมีค้ํา
สามกิจกรรมเจริญผล
กิจกรรมเจริญผลก็คือที่อธิบายไปแล้วว่าเนี่ยมันกิจการระบบของมันอยู่ตัวแล้วก็หมดทุนก็ใช้หมดแล้วเหลือแต่กําไรที่จะผลิตหรือแม้แต่ธรรมชาติสร้างแล้วธรรมชาติก็อยู่ตัวธรรมชาติก็อุดมสมบูรณ์เจริญงอกงามจะอยู่อาศัยไปได้อีกเป็นร้อยปีพันปีไปเลย
ถ้าทําสวน ทํานา ทําไร่ ทํากสิกรรม ที่สมบูรณ์แบบนะ
จะเป็นอย่างนั้น
อย่างนี้เป็นต้น
นี่เป็นหลักการที่สําคัญที่มนุษย์ชาติเอาไปฝึกเอาไปทําเถอะ อาตมายืนยันท้าทายได้ว่าอยู่ได้ ทุกวันนี้ยังไม่สมบูรณ์แบบพวกชาวอโศกเราทําก็ยังไม่สมบูรณ์แบบ
แต่ก็สามารถที่จะยังเห็นรูปร่าง
เห็นรูปรอยที่มันพอเป็นไปได้แล้ว
เพราะงานกสิกรรมนี่ก็ดี
อาตมามีเวลาอีกนิดเดียว
ก็คงจะสรุปลงไปไม่ได้ หรือว่าขยายลงไปไม่ได้ เพราะว่ามันยังอีกมากที่จะพูด ทําอย่างไรดินจะดี
ทําอย่างไรต้นไม้มันจะพึ่งพาอาศัยกัน มีธรรมชาติหมุนเวียน มีทั้งสัตว์แมลงอะไรต่างๆ
ที่จะอาศัยกันและกัน
ยังไม่ใช่ทําลาย
แล้วไม่ต้องไปใช้ยาพิษ
นี่รายละเอียดมันมีมาก
และอาตมาก็สรุปไม่ลง
ขยายก็ไม่ได้
ก็ขอพูดทิ้งค้างๆเอาไว้ว่า
กสิกรรมธรรมชาติ
เป็นอาชีพที่คนจะต้องศึกษาอย่างแท้จริง
โดยเฉพาะคนไทย
บอกแล้วว่าเป็นคนที่มีบุญ
อยู่ในโซนอบอุ่น
พรั่งพร้อมไปด้วยแดด น้ํา ลม ฝน
ที่สมบูรณ์มาก
และถูกเค้าหลอก
ถูกเค้ามอมเมา
จนกระทั่งมาทําให้ดินเสียมลพิษเกิด
จะฟื้นดินขึ้นมาให้สมบูรณ์เป็นดินดี
ให้เป็นดินงาม น้ําใสไม้
ร่ม ลมพริ้ว
วิวสวย รวยน้ําใจ
ไม่ได้แล้วเดี๋ยวนี้
แต่เราก็ต้องทําให้ได้
ต้องฝึกฟื้นขึ้นมาให้ได้
เป็นกสิกรรมธรรมชาติมีทุกอย่างเป็นธรรมชาติที่สมบูรณ์แบบขึ้นมาให้ได้
จะกี่วันก็ต้องทํา
เราทําไม่สําเร็จ
ผู้สืบทอดต่อมารุ่นลูกรุ่นหลานสืบทอดให้สมบูรณ์ให้ได้
เสร็จแล้วถ้าเผื่อว่าเราทํากสิกรรมพวกนี้ได้ดี
และเรามีส่วนเสพ
และไปหมุนเวียนทําเป็นปุ๋ยหมัก
ทุกวันนี้ต้องอาศัยปุ๋ยหมักก่อน
ที่ว่าจะกอบกู้ชาติเนี่ย
เพราะเราต้องมีวงจรพวกนี้เข้ามา
ให้มันสมบูรณ์
เราทําปุ๋ยหมักก็เพราะว่าขยะมันจะเยอะ
ต่อไปในอนาคตเมื่อเราฝึกตัวเอง
เป็นคนที่รู้จักขยะ
ไม่ทิ้งขยะ
ไม่สร้างขยะที่เป็นมลพิษ
หรือเป็นส่วนเฟ้อส่วนเกิน
รู้จักจัดแจงหมุนเวียนเข้าไป
ให้มันหมุนเวียนไปในที่ดี เอามา
เอามาใช้ซ้ํา
เอามาสังเคราะห์ใหม่
เอามา
อันไหนที่จะทําลาย
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ
ให้มันไปเปลี่ยนแปรรูปไปเลย
ให้กลายเป็นด่าง
ให้กลายเป็นกรด ให้กลายเป็นปุ๋ย
ชนิดอย่างนั้นอย่างนี้
ที่ลึกไปอีก
ก็ทํา
จะต้องศึกษาจริงๆ
เพราะฉะนั้น จากขยะ
มาเป็นปุ๋ย
หรือจากการหมุนเวียน
ที่จะเกิดการสังเคราะห์พวกนี้
เป็นสภาพที่หมุนเวียน สนับสนุน
ส่งเสริม
เพื่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์
และความไม่เกิดมลพิษ
ถ้าไม่เกิดมลพิษ 1
ชีวิตก็ปลอดภัย
และเกิดความอุดมสมบูรณ์อีกหนึ่ง
ชีวิตก็อยู่กันอย่างไม่ต้องแก่งแย่ง
ไม่ต้องเบียดเบียน
ไม่ต้องขี้โกง ลักฉ้อ อะไรกัน
ยิ่งศึกษาลงไปถึงมลพิษทางจิตวิญญาณ
เป็นคนไม่เห็นแก่ตัว ไม่หวงแหน
ไม่ขี้โกง ไม่เอาเปรียบ
รู้จักคุณค่าของมนุษย์
คือได้เสียสละ ได้ให้
สามอาชีพกู้ชาติที่อาตมาได้สาธยายมา
เท่าที่เวลามี
ก็บอกรายละเอียดบ้าง
สรุปสรุปบ้างลัดลัดบ้าง
ก็ได้เนื้อหาสาระขนาดนี้ล่ะ นะ
เพราะฉะนั้นถ้าผู้ใดใส่ใจสนใจ
ก็ลองศึกษาทางด้าน
ขอฝากคําว่าระบบบุญนิยม
เอาไว้แก่พวกเราบ้าง
หรือจะเรียกกันยาวยาวก็ได้
อาตมามีชื่อตั้งขึ้นเล่นเล่นยาวยาวเหมือนกันว่า
ระบบสห
สหะสังคมเสรีบุญนิยม
สหสังคมเสรีบุญนิยม
ถ้าเรียกเต็มๆ นะ
แต่มันยาวยืดยาก
เราเรียกระบบบุญนิยมอันเดียว
ก็ได้
มันมีอะไรต่ออะไรมาก
เรื่องของมนุษย์ชาติแท้ๆ
ไม่ใช่สิ่งเพ้อฝัน
เป็นสิ่งที่เป็นความเป็นจริงได้
เดี๋ยวนี้ก็มีคนที่ศึกษาแบบนี้
แล้วก็พยายามที่จะ
พิสูจน์ความจริง
ทําตนให้เป็นอยู่ได้จริง
มีความสุขจริงๆ
ที่เราได้เอื้อเฟื้อ เจือจาน
แจกจ่าย ช่วยเหลือเกื้อกูล
ไม่เอาเปรียบเอารัด
ได้เสียสละที่แท้
แล้วก็เป็นคนมีสมรรถภาพ
โดยอาศัยหลักมรรคองค์แปดของพระพุทธเจ้าที่เป็นทางเอกอันวิเศษ
ทางเอกทางเดียวไม่มีทางอื่น
หลักนี้เป็นหลักของอริยสัจข้อที่สี่ของพระพุทธเจ้า
เป็นทางปฏิบัติของมนุษย์ทุกผู้ทุกคน
ไม่ละเว้นแม้แต่นักบวชหรือคฤหัสถ์
ปฏิบัติถูกทาง ปฏิบัติได้แล้ว
จะได้อาศัย
ความพ้นทุกข์ ความเป็นอยู่สุข
แล้วสุขพิเศษด้วย
ไม่ใช่สุขอย่างโลกียสุขต้องได้ลาภ มาซึ่งชื่นใจ ยศได้ยศ มาสูง ๆ
ดีใจไม่ใช่ ไม่ใช่
แต่จะเป็นผู้เบิกบาน
เป็นผู้แจ่มใส เป็นผู้ร่าเริง เป็นผู้เป็นสุข
อย่าง วู ปุ สโม สุข
คือสุขพิเศษ
สุขพิเศษ
สุขวิเศษ
สิ่งนี้ไม่ใช่เรื่อง
ที่จะพูดรู้เรื่องง่ายๆ ต้องมีของจริงตัวเองแล้วถึงจะรู้รส
เสพรสอันนี้ได้
เป็นรสธรรมรสหรือวิมุตติรส
ศาสนาพุทธเจ้านี้สอนให้มนุษย์ในสังคมไม่ใช่ปลีกเดียว ไม่ใช่หนีเอาตัวรอดแต่ฝ่ายเดียวแต่เป็นสังคมมนุษย์ที่อยู่รวมกันอย่างดีมีผลดี สังคมมนุษย์จะอยู่เย็นเป็นสุขมีอิสระเสรีภาพ
มีภราดรภาพมีสันติภาพมีสมรรถภาพ
ขอยืนยันว่ามีสมรรถภาพ
มีบูรณภาพสมบูรณ์
สําหรับวันนี้เวลาหมดลงแล้ว ก็ขอเอวังแต่เพียงเท่านี้
เฮีย

 

ที่มา ที่ไป

การแสดงปาฐกถาธรรมเรื่อง 3 อาชีพกู้ชาติ โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ เนื่องในงานธรรมชาติเพื่อชีวิต
รามบูชาอาสาฬหปีที่ 13 เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 29 กรกฎาคม พุทธศักราช 2536 ณ หอประชุมใหญ่ เอดี 1 มหาวิทยาลัยรามคําแหง


เวลาบันทึก 19 ตุลาคม 2567 ( 11:16:08 )

3 อาชีพของคนจนกู้ชาติได้

รายละเอียด

เรามาเป็นคนจน ชีวิตคนจนที่มี 3 อาชีพนี้แหละ เพื่อมนุษยชาติ 3 อาชีพนี้กู้ชาติได้ด้วย เพื่อมนุษยชาติได้ด้วยซึ่งคนยังเข้าใจยากอยู่ อย่างเดียวที่เขาเห็นว่ามันจะเป็นไปได้อย่างไรคือขยะ ขยะนี้มันจะกู้ชาติและเพื่อมนุษยชาติด้วย เชื่อไหม? ว่าขยะนี้จะทำลายมนุษยชาติต่อไปในอนาคต… เชื่อ(เสียงญาติธรรม) เดี๋ยวนี้มีก๊าซเป็นพิษ ซึ่งมันแก้ได้ยากเพราะมันเป็นขยะ ก๊าซที่เป็นพิษคือขยะแท้ๆทำร้ายมนุษย์ ขยะพวกนี้จะก่อโทษ ก่อพิษ ก่อโรคระบาดอีกเยอะแยะ ไอ้ที่แห้งก็มีพิษอีกชนิดหนึ่ง ไอ้ที่เปียกก็มีพิษอีกชนิดหนึ่ง มันฟักตัวก่อตัวทั้งนั้น 

ที่มา ที่ไป

พ่อครูแสดงธรรมรายการ ตุ้ม ตะลุ่ม ตุ้ม ม้ง ครั้งที่ 49 ตอบไทยรัฐทีวีเรื่องสมุนไพรกับการพึ่งพาตนเอง วันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม 2565 ที่บวรราชธานีอโศก 


เวลาบันทึก 10 กันยายน 2565 ( 14:07:10 )

30 ปีแห่งการงานโพธิสัตว์

รายละเอียด

ต่อจากนี้ไปเป็นการให้โอวาทในวาระพิเศษแก่หมู่สมณะ
ในงานมหาปวารนาครั้งที่ 19 เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543
ที่พุทธสถานปฐมอโศก โดยพ่อท่านสมณะโพธิรักษ์ในชุด

30 ปีแห่งการงานโพธิสัตว์
ขอเชิญท่านลือกเฟ้นเอาสาระธรรมได้ ณ บัดนี้

 

ผมบวชมา 30 ปีตามที่รู้รู้กัน
อีกไม่กี่วันสองสามวันก็จะครบสามสิบปีตามกำหนดหมายเลข
30 ปีนี้จริงๆก็ไม่น้อยนะ
กลุ่มของเราได้รวมกลุ่มกันตั้งขึ้นเป็นกลุ่มที่มีกลุ่มหมู่สงฆ์
เรียกว่าเป็นกลุ่มชาวโศกหมู่สงฆ์ที่มารวมกันเริ่มต้นก่อวอร์ดจริงจริงในเดือนกุมภา
พ.ศ 2516 ที่เราได้รวมกลุ่มกันจริงๆเลย เริ่มต้นเป็นคณะเป็นหมู่กลุ่มสงฆ์
โดยตรงเลย เดือนกุมภา พ.ศ 2516แล้วไปก่อตั้งลูกที่แดนอโศกนั่น
พระองค์สงฆ์ของเราได้เกิดจริงๆเนี่ยก็ยังไม่ครบ 30 ปีดีทีเดียว

ถ้าประวัติจะพูดกันถึงโดย
โดยจริงโดยพฤติในนะเราไปร่วมกันเราตั้งใจร่วมกันจริงๆ

เป็นกลุ่มหมู่แล้วก็ทำตามประสาของพวกเรามาเริ่มแรก

อย่างไรก็เป็นไปมาเป็นมาอย่างนั้นอย่างนั้นน่ะจนกระทั่ง

ค่อยๆประยุกต์ค่อยๆปรับปรุง
จนมาถึงวันนี้ถ้านับโดยปีตั้งสิบหกมามาถึงปีนี้เท่าไหร่ล่ะ

27 ปีนะยังไม่ถึง 30 ก็ตามแต่หมูสงฆ์ได้เกิด
หมูสงฆ์ชาวโสกเกิดมายี่สิบเจ็ดปี สำหรับการบวชของผมมัน 30 ปี
ก็ถือว่าตอนต้นสามปีก่อนที่จะได้มีหมู่ทรงนั้นก็เป็นการ
ทำงานเหมือนกันเป็นการทำงานที่คัดเลือกหรือว่ารวบรวม

โดยธรรมไม่ได้มีเจตนาผมไม่ได้มีเจตนาว่าจะมาตั้งหมู่สงฆ์

ชาวอโศกไม่มีเจตนาผมไม่รู้ล่วงหน้า
ไม่ได้รู้ด้วยนะรู้แต่ว่าตัวเองจะมาทำงานรู้แต่ว่าตัวเองจะต้อง

มาทำอะไรแต่ผมไม่รู้ว่าจะต้องเป็นอย่างไรไม่ได้เจตนาที่จะค้นสอบ
ตรวจนหรือว่าหยั่งยานอะไรเพื่อไปรู้ว่าล่วงหน้าว่าจะต้องมี

อย่างงั้นเกิดอย่างนี้เกิดเป็นเชิงพยากรณ์อันนี้ผมตั้งใจว่าผมจะไม่ทำ
พยากรณ์แล้วก็รู้ก่อนบางอย่างมันพอรู้เหมือนกันมันรู้มาเอง

ไม่ไม่เจตนามันก็พอรู้แต่ว่าพยายามที่จะไม่รู้ก็ไม่ไม่ไม่นับ

ไม่นับขึ้นมาไม่หยิบขึ้นมาไม่เอาไม่ชูหรือไม่เอามาประกาศ
มันอาจจะมีเปลือยเปลือยปลายปลายไปบ้างบางครั้ง

บางคราวบางเรื่องเล็กเล็กน้อยน้อยอะไรน่ะแต่พยายามไม่ทำอย่างนั้น
เมื่อสงฆ์เกิดมาเป็นรูปแล้วก็ตงกระทั่งอย่าว่าแต่สงฆ์เลย

อุบาสกอุบาสิกาก็เกิดมาเป็นพุทธบริษัทอย่างที่เป็นเนี่ย
มาถึงวันนี้แล้วผมยิ่งเห็นว่าธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นวิเศษ

ยิ่งนักโลกยุคนี้นี่เป็นโลกที่เลวร้ายด้วยอำนาจกิเลสตนาอุปทาน
ตกต่ำมากจริงจริงแล้วก็จะตกต่ำไปยิ่งกว่านี้เพราะมันไม่หยุดยั้ง

ในเรื่องการปรุงแต่งเพื่อที่จะให้กิเลสหยาบหยาบเนี่ยมันหยาบยิ่งขึ้น
ทุกวันนี้เขายังไม่พอที่เขาจะสร้างกิเลสก่อมันขึ้นไปเรื่อยเขาไม่หยุดแล้วเขาก็ไม่รู้
คนที่ทำเขาไม่รู้
คนที่หลงโลกียปุถุชนหลงลาภยศสรรเสริญโลกียสุขเนี่ย

นั่นแหละเป็นเครื่องล่อเป็นอามิด
รอให้เขาที่จะต้องปรุงแต่งให้มันหยาบให้มันจัดจ้านให้

มันเลวร้ายหนักหนาสาหัสติดยึดจมจมลงไปยิ่งยิ่งขึ้น
เขาไม่รู้เขาหลงจริงจริงเขาหลงว่ามันเป็นโมหะเป็นความหลง

และอวิชชาในอวิชชานั่นแหละมีโมหะมันหลงผิดเป็นถูกหลงดีเป็นชั่ว
เขานึกว่านั่นแหละมันเป็นสิ่งที่มนุษย์จะต้องแสวงหาและ

ก็จะต้องได้ต้องมีต้องเป็นเขาไม่รู้โดยบริสุทธิ์ใจจะว่าแล้วเป็นบาปบริสุทธิ์
เนี่ยแล้วเขาก็ทำด้วยเจตนาเข้าใจจริงจริงเลยว่าเป็นสุดยอด

แห่งมนุษย์จะต้องได้ต้องมีต้องเป็นตนเองก็บำเรอตน

หลอกให้คนอื่นบำเรอบำเรอด้วย
มาถึงยุคอย่างที่เป็นอย่างนี้ที่ผมได้ผมรู้ในสัจธรรมพวกนี้

แล้วก็เห็นชัดเจนว่ามันมันมันมากมันหนัก
แต่กระนั้นกระดีก็สามารถที่จะนำมาประกาศให้หมู่ชนพวกเรา

ในประดามนุษย์ทั้งหลายรับรู้แล้วก็เกิดความเข้าใจเกิดความศรัทธา
เกิดปรารถนาใคร่อยากจะได้ความเป็นมนุษย์อย่างนี้ก็มากัน
มากันอย่างที่ใช้ปัญญานำมาไม่ได้ล่อ
ไม่ได้ปรับประคองโฆษณาเหมือนอย่างกะทางโลกเขา
ซึ่งลักษณะโฆษณากับลักษณะประกาศเนี่ยต่างกัน
เพียงประกาศเรียกว่าบอกบุญบอกให้รู้ไม่ได้มีเชิงปลุกเร้าแล้วก็มีอะไรฉาบพอกล่อเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยน
มาแล้วจะได้สิ่งที่มันโดยเฉพาะยิ่งเป็นความยอกยอนเป็นโลกธรรมมาแล้วจะได้ลาภมาแล้วจะได้ยศได้สรรเสริญได้โลกียสุขบำเรอ
ใช้โลกธรรมอย่างนี้แหละล่อเป็นเครื่องล่อมาแล้วจะเป็นสุขสุขก็ไม่ประกาศให้ชัดเจนสุขอย่างไรสุขโลกีย์แล้วก็เอาสุขโลกีย์เนี่ยล่อกันอยู่ทั่วทั่วไปไม่มีอะไรเลยก็เอาคำภาษาว่าบุญ
เอาบุญเนี่ยล่อแล้วบุญเป็นยังไงก็ไม่รู้แต่มันก็เป็นการเสพอามิต
สุขอย่างโลกีเขาก็ไม่เข้าใจแยกโลกีโรกุตระไม่ออกล่อกันตั้งแต่ภาษาแล้วก็คลุมเครืออยู่งั้นอำพรางคำว่าบุญเนี่ยจริงจริงแล้วก็คือภพชาติแบบโลกี
แม้แต่จะบอกว่าจะได้ความสงบก็สงบกฎข่มสมุทรสงบสมถะสงบโลกีย์ไม่ใช่สงบจากกิเลส
ไปสร้างภพสร้างชาติสงบแล้วก็ไปจบอยู่ในภพในชาติหาวิธีที่จะไปจบในภพในชาติสะกดจิตทำจิตไปอย่างงั้นนะ
หนังสืออีคิวนี่พยายามอธิบายถึงเรื่องภพเรื่องชาติ
อธิบายถึงเรื่องโลกุตระโลกิยะ
คิดว่าได้ดีพอสมควรนหลายหลายเที่ยวนะอีคิวนี่ก็คงจะพอเข้าใจคิดว่าเป็นสื่อที่พยายามที่จะเอาหลักฐานอะไรใดใดที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ด้วยความเข้าใจของผมเองด้วย
มาขยายให้เป็นภาษาพอที่จะเข้าใจได้วิเคราะห์วิจัยเอาไว้ให้ให้ฟังให้นที่จะเป็นประโยชน์มากผมว่าจะเป็นประโยชน์มากถ้าเราใส่ใจที่จะไปอย่างนี้ก็ต้องพยายามศึกษาแล้วก็ฝึกฝนพิสูจน์
สมณะเราถึงวันนี้ยังเป็นสมณะถึงร้อยแล้วซึ่งจะขึ้นถึงร้อยยากเย็นจริงจริงถึงสามสิบปีนี้หรือยี่สิบเจ็ดปีเข้ามานี้มีสมณะได้ถึงร้อยกันก็
ก็รู้รู้กันอยู่อย่างพวกที่เราทำเพราะว่ามันไม่ได้มาอยู่ได้ง่ายง่ายเมื่ออยู่แล้วแต่ละคนก็ตั้งใจจริงผมเห็นจริงจริงแล้วพวกเรามาตั้งใจบวชเนี่ยไม่เหมือนกับทั้งโลกเขาบวช
บวชเล่นบวชหัวบวชแกล้งบวชรู้ทั้งรู้เลวทั้งเลวก็ยังอุตส่าห์มาบวชมาแสวงไม่ใช่มาแสวงเรามามาหากินมาใช้มาใช้สภาพนี้เป็นทางหากินแล้วก็หลบเลี่ยงหลอกล่อบาปกรรมไม่รู้เรื่อง
อยู่อย่างนั้นสร้างนรกเวรภัยซึ่งในบาปในบุญมีราคาของบาปของบุญผมก็เคยสาธยายบ่อยบ่อยราคาของบาปของบุญเป็นเรื่องสัจจะของโลกสัจจะของมนุษย์ชาติ
แล้วมันก็เป็นวัฏสงสารด้วยพลังงานบาปบุญนี่แหละอยู่กันวนเวียนนี่เขาไม่เข้าใจเขาไม่เชื่อบาปไม่เชื่อบุญไม่เชื่อกรรมไม่เชื่อวิบากไม่เชื่อว่าวัฏสงสารนี้มีความเปลี่ยนแปลงมีความ
เอ่อสั่งสมสิ่งที่เป็นกุศลก็ดีอกุศลก็ดีเป็นการสั่งสมแล้วก็เป็นพลังพลังวิบากเป็นพลังเป็นกรอบเป็นกองแล้วก็มีฤทธิ์มีแรงมีอำนาจจริงจริง
ที่จะผลักดันให้
การหมุนเวียน
หมุนเวียนแห่งชีวิต
หมุนเวียนเป็นพลังงานที่จะหมุนเวียนพลังงานในแห่งชีวิตเนี่ยสิ่งในโลกนี้ที่สูงสุดก็ชีวิตมนุษย์นี่แหละสัตว์โลกที่ในระดับมนุษย์นี่แหละเป็นสิ่งที่สูงสุดในโลก
เกิดตามธรรมชาติที่มันเป็นมันมีไม่ใช่มีพระเจ้าที่ไหนมาบันดลบันดาลหรอกเป็นพลังงานพลังงานอันนึง
รวมแล้วเป็นพลังจะเรียกว่าพลังงานนั้นคือพระเจ้าพลังงานยิ่งใหญ่ก็เรียกได้แต่ไม่ใช่มีพระเจ้าตามที่เขาเข้าใจว่าเป็นพลังพิเศษอะไรอันนึงที่เป็นอำนาจอิสระไม่มีอะไรยิ่งใหญ่กว่าแล้วก็ไปบันดาลอยู่ทั่วโลกไม่ใช่
พระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นมาก็อุบัติขึ้นมาท่ามกลางศาสนามีพระเจ้านับถือพระเจ้าก็มีความเข้าใจเหมือนกันยุคนู้นก็เดี๋ยวนี้ก็เข้าใจพระเจ้าคือสิ่งที่เป็นพลังงานพิเศษที่สร้างโลกสร้างอะไรยิ่งใหญ่เข้าใจเหมือนกันทั้งนั้นแหละตั้งแต่ยุคนู้นถึงยุคนี้ก็เข้าใจเหมือนกันว่าพระเจ้าเป็นอย่างนั้น
พระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นมาในยุคโน้นสองพันกว่าปีเนี่ยก็มีพระเจ้าพระพุทธเจ้าก็ตรัสรู้แล้ว
อย่าว่าแต่ขนาดพระเจ้าเข้าใจพระเจ้าอย่าอย่าเข้าใจอย่าว่าพระพุทธเจ้าอย่าว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเข้าใจในเรื่องของพระเจ้าเลยผมก็เข้าใจในเรื่องของพระเจ้า
ขนาดผมเนี่ยยังไม่ถึงขั้นเป็นพระพุทธเจ้าผมก็เข้าใจแล้วรู้ดีแล้วสาธยายพระคุณฟังหลายคนในพวกเราก็คงจะเข้าใจที่ดีแล้วว่าพระเจ้าคืออะไรจะปฏิเสธว่าพระเจ้าไม่มีก็ไม่ได้ว่าเป็นพลังงานพิเศษจริงจริงไม่มีตัวไม่มีตนหรอก
แต่เป็นพลังงานมีฤทธิ์มีอำนาจ

จะว่าบันดลบันดาลก็บันดลบันดาล
บันดลบันดาลให้เราเป็นอย่างนั้นเป็นอย่างนี้ได้
เป็นพลังจริงจริง
พลังอันนี้สั่งสมเป็นพลังกรรมวิบากพลังของใครของมันพระเจ้าไม่ใช่พระเจ้ากลางกลางแล้วก็สั่งแล้วก็บันดาลอะไรทั้งหมดไม่ใช่นะ
แต่มันก็มีซ้อนพลังงานรวมเนี่ยคล้ายพระเจ้าดังที่เขาเข้าใจแต่ไม่ได้หมายความว่าไม่มีการเกี่ยวข้องฟังตรงนี้ดีดี
พลังงานที่บอกว่าเป็นพลังงานพิเศษพระเจ้านี่ควบคุมบรรดาอะไรอยู่ทั้งหมดในประตูในมหาจักรวาลนี้
พระเจ้าอันนี้จริงจริงโดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับบุคคลบุคคลใดจะอ้อนวอนร้องขอบุคคลใดจะอะไรต่างต่างนานาแล้วพระเจ้านี้มีสิทธิ์ที่จะทำให้ได้อันนั้นไม่จริงแต่พลังงานรวมกลางกลางเนี่ยแล้วทุกคนเอ่อทุกคน
ก็มีส่วนที่จะเข้าไปเกี่ยวไปข้องได้
พระเจ้าคือพลังงานที่เป็นกุศล
เป็นพลังงานที่เป็นกุศล
ส่วนพลังงานที่ไม่ใช่กุศลนั่นคือพลังงานซาตาน
ไปมีฤทธิ์มีอำนาจเกี่ยวข้องกันก็คือพลังงานอกุศล
เพราะนั้นเราจะเกี่ยวเจ้าข้องกับพลังงานซาตานก็ดี
เกี่ยวข้องกับพลังงานพระเจ้าก็ดี
เราเป็นตัวหลัก
พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่าจิตวิญญาณเป็นประธานสิ่งทั้งปวง
เราจิตวิญญาณของเราเป็นตัวหลัก
ถ้าเราไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในทางที่จะเป็นค่าบวกกับพระเจ้า
เราก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะมีพลังงานพระเจ้านั้นบันดาลเราเลย
ขออย่างไรอ้อนวอนอย่างไรไม่มีทางเพราะด้วยสัจจะมันไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกันค่าบวกไม่มีกับพระเจ้าแต่กลับไปมีค่าบวกกับซาตาน
ค่าบวกกับซาตานั้นแน่นอนทุกคนไม่ดักไม่อยากได้ไม่ขอและไม่อยากได้ให้ก็จะไม่เอา
แต่พลังงานลบพลังงานร้ายพลังงานเลวอย่างนั้นไม่เอาก็ยังไม่ได้
ไม่อยากได้ก็ไม่ได้ต้องได้ถ้าถึงขีดถึงขนาดที่จะต้องมาถึงเราแล้ววาระนี้พลังงานชั่วพลังงานเลวนั้นเราเองเป็นผู้เกี่ยวข้องเราเองเป็นส่วนไปมีไปเป็น
สร้างไว้
เพราะเป็นพลังงานซาตานไม่อยากได้ก็ต้องได้
พลังงานของพระเจ้าก็เหมือนกัน
ถ้าเรามีมากพอไม่อยากได้ถึงวาระที่จะต้องมาถึงแล้วจะต้องปรากฏจะต้องแสดงตัวแสดงสภาพแล้ว
ไม่ได้ไม่อยากได้ก็ยังไม่ได้เลยเหมือนกันนะจะมีพลังบ้างพลังเราว่าไม่อยากได้มาถึงเราแล้วแม้พลังพลังดีสิ่งดีแต่เราจะคืนไปได้
ถ้าเป็นค่าบวกค่าดีคืนไปนะมันเป็นดีเสริมดี
แต่ค่าลบของซาตานี่ให้มาแล้วเราไม่เอาเราคืนอันนี้ไม่ได้นี่มันกลับกันทำไมไม่ได้เพราะคืนไปแล้วไม่มีใครยินดีรับไม่มีอะไรจะรับสิ่งที่เสียหายเขาไม่มีใครอยากได้โดยสามัญทุกคนรู้
เพราะฉะนั้นคืนไปไม่ได้ในข้ารบหรือในสิ่งเลวสิ่งร้ายถ้ามาถึงแล้วเลี่ยงเลวเลี่ยงร้ายจึงเลี่ยงยากนะเลี่ยงวิบากบาปเนี่ยเลี่ยงยาก
วิบากบุญนั้นเราไม่รับบุญแต่เราจะทำบุญซ้อนก็คือไม่เอานั่นเองที่จริงแล้วบุญก็คือให้หรือไม่เอา
บุญก็คือให้คือไม่เอานี่เอง
เพราะมันมาถึงวาระที่เราจะได้แล้ว
ให้มาแล้ว
แต่เราไม่เอาก็คือเรารับแล้วเราก็คืน
การคืนก็ยิ่งเป็นบุญเสริมเข้าไปอีกเป็นสิ่งดีงามเข้าไปอีกเป็นคุณค่าอีกจริงจริงแล้วบุญนี่ทำง่ายนะ
จะบาปที่ทำยาก
ด้วยสัจจะแล้วเนี่ยบาปนี่ทำยากบุญนี่ทำง่าย
แต่มันก็เป็นสภาเป็นเป็นเป็นเป็นสัจธรรมที่ย้อนแย้งนะเพราะคนชั่วเนี่ยฝืนใจตนเองหรือฝืนใจกิเลส
มันไม่ได้ง่าย
มันหนักหนาสาหัสตรงที่ฝืนใจกิเลสนี่มันยาก
นั่นแหละมันมันยากตรงนั้น
แต่จริงจริงแล้วบุญนี่ทำง่ายเพราะโดยสามัญสำนึกก็รู้ว่าโหมันดีสิ่งที่ดีทำชั่วทำบาปนี่ต้องตั้งใจมากเลยต้องโอ้โหคนที่มีความรู้สึกดีนี่จะรู้ว่าตั้งใจทำชั่วนี่มันยากจริงจริงแต่ดีตั้งใจทำดีเนี่ย
คนอื่นเขาก็สนับสนุนเราเองก็รู้ว่าดีเพราะงั้นพลังงานที่จะมารวมให้ไปทำดีเนี่ยฟังดูแล้วจะเข้าใจมันง่ายกว่า
แต่ด้วยอำนาจซาตานหรืออำนาจกิเลสนี่แหละมันเป็นตัวต้านตัวเลวที่ทำให้ยากเพราะมันจะเห็นได้ว่าคนที่ดีแล้วทำดีได้ดีถ้ามีพลังพลังงานดีหรือมีส่วนดีที่ดีข้ามขีดแล้วคนดีนี่ทำดีได้ง่ายขึ้น
น่ะ
ส่วนคนชั่วนั้นเขาต้องลอบทำหรือแอบทำหรือว่ามีสิ่งต้านมากน่ะ
ในโลกไม่มีใครอยากให้ใครทำชั่วหรอกน้อยนอกจากความหลงผิดอย่างมากน่ะน่ะยินดีให้คนทำชั่วหรือไม่รู้ว่ามันชั่วเขาก็เต็มใจทำชั่วเท่านั้นเอง
นั่นเป็นเรื่องสาระของสัจธรรมที่จะพูดถึงเรื่องส่วนตัวสำหรับวันนี้ของผมเนี่ยนะผมทำงานมาขนาดนี้ก่อนอื่นก็
ขอขอบคุณจริงจริงนะขอบคุณจริงจริงในพลังงานที่พวกเราได้ร่วมมือกันกรอบกรอบมายากงานนี้เป็นงานที่ยากมาก
มาถึงวันนี้หลายคนก็คงจะติดใจว่าทำไมผมล่ะพยายามหรือว่าเปิดเปิดงานไปถึงระดับการเมือง
หลายคนคงติดใจ
ฆราวาสนั่นไม่ต้องห่วงเลยเขาติดใจอยู่แน่
หลายผู้หลายคนแต่ผู้ที่เข้าใจทำตามแล้วก็ตามกิเลสเขาอีก
ผมเปิดเขาก็ชอบไปเลยเขาไม่เกี่ยงก็มี
ส่วนที่คนยังติดใจอยู่บ้างเป็นฆราวาสก็มี
สมณะเราก็ยังคงจะมีติดใจบ้างทำไมผมเปิดถึงขนาดนั้นผมอายุป่านนี้แล้วนะมันจะใกล้เจ็ดสิบแล้ว
จริงจริงแล้วผมอายุไม่ยาวไม่ยืนเท่าไหร่หรอกเจ็ดสิบกว่าเท่านั้นแหละตามอายุขัยของผมแต่ผมก็ใช้อิทธิบาทพยายามจริงจริงใช้ความใช้ความพยายามว่าอยากจะให้อายุมันยาวหน่อยก็ยังไม่รู้ได้เลยว่ามันจะยาว
ได้เท่าไหร่ตอบไม่ได้ตรงนั้นแต่ได้ใช้ความพยายามจริงจริง
นะถ้าไม่พยายามแล้วโถมไปนี่มันก็ดีไม่ดีมันก็สั้นก็ควรได้เหมือนกันเพราะว่าเราเองเราไม่มันประมาทมากเนี่ยจะสั้นก็ควรได้
แต่ถ้าใช้อิทธิบาทจริงจริงก็
ก็พอจะได้เกินแต่จะไม่เท่าไหร่ก็ไม่รู้ล่ะ
อายุมาขนาดนี้แล้วผมก็คิดว่าผมต้องทำงาน
ให้วงจรนี่มันครบในเรื่องการเมืองนี่สังคมมนุษย์เนี่ยในยุคสมัยพระพุทธเจ้าเป็นการเมืองในระดับสมบูรณายาสิทธิราชมันไม่ยุ่งอะไรมันเผด็จการใครมีอำนาจใหญ่ก็เป็นกฎหมายทุกอย่าง
เพื่อเป็นอำนาจบาตรใหญ่ทุกอย่าง
ทุกคนก็เป็นระบบธาตุ
ระบบบุรุณสมบูรณายาสิทธิราช
ก็ไม่มีอะไรมาก
การเมืองไม่ซับซ้อน
แต่ก็มีการเมืองเหมือนกัน
จะไม่ซับซ้อนหรอก
ยกพระพุทธเจ้าไม่ต้องมีอะไรมากหรอกเรื่องการเมือง
ไม่ทำเลยก็ไม่มีปัญหาอะไร
แต่ท่านก็ยังเกี่ยวข้องอยู่บ้างนะท่านก็ยังมีคนยืนยันว่าพระพุทธเจ้ามายุ่งการเมืองได้ไงเข้ามาทำอย่างงี้อะแสดงบทบาทโดยเฉพาะเข้าไปอะไรตัดสินเรื่องน้ำแม่น้ำเรื่องแย่งน้ำแย่งแม่น้ำกันซึ่งเป็นเรื่องของสังคม
เป็นเรื่องของในการบริหารของบ้านเมืองถึงขั้นเจ้าถึงขั้นผู้ที่ปกครองบ้านเมืองท่านก็เข้าไปตัดสินไปลาภล้วงวุ่นวายตัดสินอะไรต่างต่างพวกนี้ก็ถือว่าเราพฤติกรรมอันนั้นเป็นเรื่องของการเมืองโดยตรง
ซึ่งก็อย่างงั้นแหละไม่ซับซ้อนแล้วท่านก็มีอำนาจได้พอจริงในยุคนู้น
ยุคนี้ผมไม่มีสิทธิ์ที่จะไปทำอย่างพระพุทธเจ้าแล้วเข้าไปถึงขั้นเข้าไปมีบทบาทในสภาแล้วก็ไปมีอำนาจทางด้านบริหารถึงขั้นอย่างงั้นอย่างงั้นจัดการเงินผมไม่มีไม่มีสิทธิ์ไม่ไม่ไม่มีโอกาสแล้วก็ไม่ไม่ไม่ไม่คิดจะทำไปถึงขั้นนั้น
ก็จะทำในรูปของสภาพที่เป็นงานเป็นอาชีพหรือเป็นบทบาทเป็นลีลาของความเป็นมนุษย์ในสังคมการเมืองเนี่ยมันก็เป็นอาชีพ
คือชีวิตจะต้องสำคัญต้องร่วมใครจะไม่ร่วมการเมืองการเมืองก็มาร่วมเราอยู่ทั้งนั้นแหละการเมืองการเมืองก็มาถึงเราทุกคนน่ะในสังคมมนุษย์ทุกวันนี้ขนาดผีตองเหลืองการเมืองยังตามไปยุ่งเขาเลย
ทุกวันเนี้ย
มนุษย์ในป่านั่นน่ะ
ถึงเขาไม่อยากยุ่งเกี่ยวอะไรกับใครทั้งนั้นน่ะ
การเมืองก็ยังตามไปยุ่งอยู่เลย
เพราะงั้นเรายังไม่ได้เป็นถึงขนาดผีตองเหลืองไม่มีทางพ้นไปได้เมื่อไม่พ้นเราต้องรู้แล้วเราต้องจัดระบบแล้วต้องทำให้มันเกิดคุณค่าเกิดประโยชน์

ผมต้องทำถึงเวลาถึงวาระที่มันก็ต้องทำผมก็ไม่คิดว่ามันจะต้องทำหรอกแต่ที่มันก็เป็นไปเหตุปัจจัยของมันเองผมก็
ไม่ได้เจตนาจะว่ามันจะต้องเกิดมันก็มันมันก็พวกมันก็พวกเราก็คงจะรู้มันก็มามาถึงแล้วผมก็มานั่งไตร่ตรองอีกคำนวณทั้งกาลเวลาพฤติกรรมทั้งกิจทั้งการทั้งอะไรทุกอย่างคำนวณประเมินประมาณดูแล้วอืม
มันก็ต้องเริ่มทำแล้วล่ะ
อืม
ถ้าไม่ทำมันก็ต้องแหว่งต้องขาด
แล้วยิ่งจะไม่รู้เรื่อง
ถ้าผมตายไปแล้ว
สิ่งเหล่านี้มันยิ่งจะหนักหน้าไปในเรื่องการเมืองเนี่ย
จนกว่าจะหมด
ในยุคภัตตากลับนี้
ผมได้ทำงานวันนี้ก็ขอขอบคุณอย่างที่กล่าวแล้วก็อยากจะให้พวกเราเนี่ยสังวรสำรวมสโลกในปีนี้ผมก็ไม่คิดสโลกใหม่หรอกจะใช้สโลกเก่า
นะสโลกเก่าก็คือรู้สึกสำนึกฝึกตนขวนขวายอะมุ่งหมายพัฒนาอานิสงส์สมบูรณ์นี่แหละจะไม่ใช้สโลกใหม่หรอกสโลกนี้แหละถ้าจะเติมก็ขอเติมอีกคำนึง
ก็คือเติมคำว่าสัจจะลงไปข้างหน้าขอให้คำนึงคำว่าสัจจะเนี่ยให้สำคัญ
สัจจะคือความจริงเอาจริงตั้งใจจริงแล้วรู้สึกตัวว่าจริงนะจริงสัจจะคือจริงเติมเข้าไปข้างหน้าอีกตัวนึงเท่านั้นน่ะ
จริงและรู้สึก
คำว่าจริงคำนี้ขอให้คุณเข้าใจโดยปริยายเลยว่ามันหมายถึงสัจจะทุกอย่างทั้งสมมุติและปรมัติ
โดยเฉพาะคนที่ยังไม่จบยังไม่เป็นอรหันต์จะต้องสำนึกในปรมาตรสัจจะให้มากว่าเรายังบกพร่องอย่างไรแค่ไหนอันเป็นประโยชน์ตน
ประโยชน์ตนคือจะต้องทำปรมาตรสัจจะเนี่ยให้สมบูรณ์ให้ถึงอรหัตผลสมบูรณ์นั่นคือหน้าที่เฉพาะตนเพราะเราจะไม่พลาดประโยชน์ตนเพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
คำสอนอันนี้ก็ชัดเจนแต่อย่าสับสนว่าเราประโยชน์ตนคือไม่ทำอะไรประโยชน์ตนคือทำอะไรต่างหากประโยชน์ตนคือทำงานมีกรรมกิริยาต่างหาก
ถ้านั่งนิ่งนิ่งแล้วนั่นมันมันไม่ใช่กรรมกิริยาที่จะไปขัดเกลาหรือกรรมกิริยาที่จะเกิดกรรม
เกิดกิริยาไม่เกิดกิริยาอะไรมันหยุดกิริยาซึ่งการหยุดกิริยามันมันไม่ใช่กรรมมันเป็นกรรมเหมือนกันถ้าพูดซ้อนมันคือกรรมหยุด
หยุดกิริยาหยุดเฉยเฉยหยุดผ่าซื่อหยุดดื้อดื้อศาสนาพุทธไม่ใช่หยุดดื้อดื้อศาสนาพุทธคือศาสนาที่หยุดกิเลสหยุดกิเลสอาการพลังงานกิเลสตัณหาอุปทานให้มันหมดเรี่ยวแรงตายสนิทไม่ฟื้นไม่กลับกำเริบ
จนมั่นคงเที่ยงแท้ในหนังสือเล่มนี้ได้คัดโค้ชไอ้คำที่พระพุทธเจ้าท่านย้ำยืนยันลงสุดท้ายแล้วจบเนี่ยที่เยอะเถียงกันอยู่ทุกวันเนี้ยนิพพานเป็นนิจจังทุกข์นิจจังทุวังสัตว์สตางค์ด้วย
เพราะว่าคำพวกนี้เป็นคำที่ยืนยันเหล่านี้
ผมโค้ชออกมาจากพระไตรปิฎกนะครับ
ตอนหลังหลังจะเห็นหน้าหน้าสองร้อยกว่าไปแล้วนี่จะ
จะจบจะบรรยายแล้วเมื่อได้สิ่งเหล่านี้ต้องได้อย่างนิจจังทุวังสัตตังอวิปรินามธัมมังอสังฆ์ฮิรังอากุปปัง
อาสังกุปังก็ได้ อาสังกุปัง
อาสังกุปังก็ได้ อาสังกุปังก็ได้
กุปปาหรืออาสังกุปปาก็ได้
อาสังกุปังก็ได้
นะฮะ
มันเป็นความหมายคล้ายกันทั้งนั้นน่ะนะเที่ยงแท้ยั่งยืนถาวรคงที่ความหมายคล้ายกันน่ะนะ
นิจจังก็เหมือนกันทุวังก็เหมือนกันยั่งยืนถาวรมั่นคง
นะ
สัตว์สตางค์ก็เหมือนกันเที่ยงแท้มั่นคงยั่งยืน
อวิปรินามัทธมังก็เหมือนกัน
ไม่ ไม่แปรเปลี่ยนเป็นธรรมดา
ท่านแปลความว่างั้น
อวิปรินามัทธมัง
ไม่แปรเปลี่ยนไปเป็นธรรมดา

คือไม่มีไม่แปรเปลี่ยนอะไรแล้ว
มันก็คงที่นั่นแหละ
แล้วก็ไม่แปรเปลี่ยนเป็นธรรมดาเลยเป็นปกติเลยเป็นอย่างงั้นไปเรื่อยเรื่อย
อสังหิรังก็ไม่มีอะไรจะมาเอาชนะหรือไม่มีอะไรจะมาหักล้างไม่มีอะไรมาเอาชนะหรือไม่มีอะไรจะมาหักล้างได้อสังหิรัง
อะกุปังหรืออสังกุปังก็ไม่กลับกำเริบปล่อยวางได้เด็ดขาดเด็ดขาดไปอย่างงั้นเลยไม่กลับกำเริบอีกไม่มีกำเริบเนี่ยมันมี
มันมีภาวะที่เวียนไปสู่ความต่ำ
กำเริบเนี่ยการเวียนกลับมันมีสองภาษากุปะกับประตินิสะคะ
น่ะกุปะกับปณิธิสักขะแปลว่ากลับการกลับไปอย่างกุปะหรือกุปังเนี่ยเวียนกลับไปกุปังเนี่ยเป็นการเวียนกลับลงต่ำกำเริบเลวลง
ส่วนประตินิสักคะเนี่ยเวียนกลับย้อนกลับแต่กลับไปอย่างไม่ได้ใช้กำเริบแต่กลับไปอย่างอยู่เหนือกลับไปอย่างมีค่าสูงขึ้นอยู่เหนืออย่างพิสูจน์ได้
เพราะถ้าเผื่อว่าเรายังไม่ถึงขีดถึงขั้นที่จะเป็นอย่างนั้นอย่างจะเป็นสุดท้ายเที่ยงแท้มั่นคงยั่งยืนถาวรเด็ดเดี่ยวได้แล้วได้เลยสรุปแล้วภาษาไทยได้แล้วได้เลยซึ่งเป็นคุณธรรมพวกนี้แล้วมันจะ
มันก็หลอกกันหรือว่ามันก็ไม่สมบูรณ์นั่นแหละนะ
ผมมั่นใจในจุดที่เที่ยงแท้หรือมั่นคงนี่
ผมพิสูจน์พวกคุณด้วยพิสูจน์สัจจะด้วยว่าสัจจะที่ผมเข้าใจ
ธรรมะที่ผมเข้าใจก็ของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างนี้เอามาสอนอย่างนี้เอามาบอกอย่างนี้เอามาเคี่ยวเข็ญกันจะหนักจะหนาจะเหนื่อยจะหน่อยยังไงก็ทำอยู่เนี่ยเมื่อพวกคุณมาพิสูจน์แล้วพวกคุณก็ได้จริงเป็นจริง
ผมก็ว่าสัจจะนี้จริง
จริงอย่างไรจริงก็คือละลดหน่ายคลาย
ยิ่งนอารมณ์ทางกิเลสออก
เอ้อเราก็ลดนายขายของคุณรู้ตัวเองของแต่ละคนดี
ที่สุดมันก็ออกมาทั้งพฤติกรรมข้างนอกกายวาจา
ก็ประพฤติปฏิบัติอย่างนี้กายกรรมพฤติกรรมก็เออก็ละปล่อยวางก็แหมมีก็ไม่เอาหรือทำมาก็ถึงแม้จะเอาก็เอามาไม่ใช่บำเรอตนเอามาสร้างสรรค์มาเป็นประโยชน์คนอื่นต่อไปหรือเราก็ใช้เพียงอาศัยเป็นวิหารธรรมหรือเป็นอาหาร
เป็นเครื่องอาศัยไปตามตามชีวิตที่จะยังไป
ซึ่งผมก็เห็นว่าพวกคุณก็มักน้อยได้
จะกดข่มเอามันก็เป็นลักษณะนึง
แต่สิ่งที่ไม่ต้องกดข่มแล้ว
มันอยู่เหนือมันแล้วมันสบายแล้วแม้มีก็ใช้ปัญญาใช้ไปตามสมควรถ้ากฎหลักเขาห้ามว่าไม่ต้องใช้เราก็ไม่ใช้
อันไหนที่กฎหลักไม่ได้ห้ามใช้ได้ก็ใช้แล้วเราก็รู้ใจเราว่าเราไม่ได้ไปเสพไปบำเรอไปมีอร่อยไปมีสิ่งที่เป็นรสเป็นชาติที่จะเป็นอัสาธะอะไร
ฝืนด้วยซ้ำบางครั้งบางคราวฝืนว่าโอ้โหทำอย่างนี้เนี่ยนะเอามาเราเอาเอาต้องเอาอันนี้มาปรุงต้องเอาอันนี้มาสร้างต้องเอาอันนี้ต้องไปทำอย่างงี้มันลำบากด้วยแล้วมันก็เหนื่อยด้วย
แต่มันก็เป็นประโยชน์คุณค่าต่อมนุษย์ต่อกรุมมูลต่อสังคม
ก็จึงเต็มใจทำแม้จะหนักหนาก็ฟื้นต้องทนทนทำไม่ได้บำเรอตนเลยนะเหนื่อยลำบาก
มันก็พิฆาตพิสูจน์อยู่ว่าพวกเราก็ได้ฝืนกันก็ได้เห็นกันอยู่ว่าเออพวกเราฝืนแต่พวกคุณก็ต้องรู้ว่าคุณฝืนเพื่ออะไร

อันนั้นแหละเป็นทุกข์ของเนตรคามะ
เรียกว่าเนตรคามะสิตะโทมนัส
คือเราฝืนมันทุกข์มันลำบาก
แต่ทุกข์เรารู้ว่าทุกข์อันนี้เราจะต้องตั้งใจสู้เพื่อนต่อประสบการณ์นี้ต่อกรรมกิริยานี้มีกรรมกิริยามีบทบาทนี่แหละเป็นตัวฝึกตัวปฏิบัติธรรมของพระพุทธเจ้า
พระปฏิบัติมีบทบาทมีการงานมีกรรมกิริยาแล้วได้นเลยว่านี่เป็นทุกข์หรือเป็นสุขและทุกข์อย่างโลกีย์ไม่ได้สมใจ
เคหะสิทธโทมนัส
ไม่ได้สมใจพอได้มาก็เป็นเคหสิตโทมนัสสมใจแต่นี่มันไม่ใช่มันเป็นเนตรคมสิตโทมนัสเพราะเราปฏิบัติอยู่ตั้งใจเพื่อที่จะย้อนเพื่อที่จะทวนเพื่อที่จะฝืนเพื่อที่จะ
ทำอันนี้เพื่อนจิตวิญญาณเพื่อลดละกิเลสในจิตวิญญาณเราทุกอย่างรู้รู้อยู่ว่าเรามีเป้าหมายมีความเข้าใจอย่างแท้จริงและมีสภาวะรองรับด้วยว่าเราฝืนใจเพราะเรารู้ว่ากิเลสเรามีแล้วเราก็ทำแล้วเราก็สู้ได้ไม่มีผลเสีย
ผลดี
พัฒนาได้ลดละได้
ประโยชน์นอกประโยชน์ในได้ทั้งคู่

เพราะอย่างนี้เรียกว่าได้ประโยชน์ตนประโยชน์ท่าน
ที่นี่ถ้าทำงานแล้วประโยชน์ตนเสียเพราะทำแล้วมันเกินแรงเราเองโอ้โหไม่ไหวเลยขาดทุนทุกทีอันนี้ต้องประมาณตัวนี่แหละมัทธิมา
สู้ไม่ไหวจริงจริงต้องยอมรับจะอวดเก่งอวดดียังไงเราก็แพ้กิเลสหนักเข้าก็ตายไปไม่รอดอันนี้คือการประมาณที่สำคัญ
เพราะใครจะทำงานมีบทบาทการงานพวกนี้เนี่ยต้องประมาณตนจะอวดดีว่าทำขนาดนี้ไปแล้วเนี่ยเราโก้เราดีเราอะไรต่ออะไรนั่นมันซ้อนแล้วเอาอยากได้โก้ได้ดีได้เด่นได้ดังได้อะไรนี่กิเลสซ้อนแล้วอุปกิเลสซ้อนแล้วไม่ดีอะ
ถ้าเราทำดีไม่ต้องอยากได้มันก็ดีมันก็เด่นมันก็ดังเองแหละ
คนจะรู้ยิ่งออกมาเป็นบทบาททางกายกรรมวจีกรรมข้างนอกแล้วเขายิ่งรู้ยิ่งเห็นไม่มีปัญหาหรอกถ้ามันดีมันถูกต้องสัจธรรมแล้วทำไม่ต้องไปอยากได้มันก็ดีไปอยากได้ด้วยแล้วก็เอาแรงนั้นมาหนุนให้เราทำมันก็เท่านั้นแหละนะ
เพราะงั้นเราจะต้องนอาการพวกนี้ให้จริงอย่าเสียประโยชน์ตนเพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
ต้องเข้าใจอันนี้ให้ดีถ้าเข้าใจไม่ดีแล้วกลายเป็นฤาษีไปเลยกลายเป็นฤาษีอย่างหยาบก็คือไม่ทำงาน
ทำงานคือเสื่อมเกี่ยวข้องกับมนุษย์เสื่อมแม้แต่ที่สุดระบบโลก
ไปถึงระบบการเมืองนี่เป็นต้นเสื่อม
ทำงานเกี่ยวข้องนั่นนั่นนี่เสื่อม
พวกนี้ช้า
นอกจากช้าแล้วยังไม่พออาจจะตกหล่นด้วยซ้ำไป
เพราะมันไม่ไม่เข้ามรรค
มรรคและสังกัปปะวาจากัมตะอาชีวะมีหมดครบ
คิดก็ต้องคิดเกี่ยวข้องกับคนอื่นด้วยไม่ใช่คิดอยู่แต่พบพวกตัวเองวนอยู่ในกะลาครอบพวกตัวเองก็บำเรอตัวเองไปเท่านั้นเอง
สรุปแล้วชีวิตมนุษย์เนี่ยต้องมีกรรมกิริยาเพื่อผู้อื่น
นั่นคือจบ
กรรมกิริยาอะไรที่เกิดแม้แต่เริ่มดำริ
ก็เพื่อผู้อื่น
มดอัตตาแล้วไม่เพื่อตนเลย
ตนนี้ฝากชีวิตไว้กับผู้ที่เขารู้เขาเห็นเขาศรัทธาเลื่อมใสเขาเลี้ยงไว้นิดเดียวก็เลี้ยงรอดหมากน้อยสันโดษได้ไม่ต้องกังวลเลยตัวเองไม่ต้องกลัวถ้าเราไม่ดีจริงไม่มีใครให้ข้าวให้น้ำกินไม่มีใครเขาช่วยแม้แต่ปัจจัยสี่ก็ไม่ให้
ตายมันไปเลยถ้ามันเลวถึงขนาดนั้น
ตายมันไปเลยชีวิตตนเองไม่ต้องไปกังวลหรอกว่าเขาจะเลี้ยงไว้เพราะถ้าคนไม่ติดรูปรสกลิ่นเสียงสัมผัสเขาจะเอาอะไรมาให้กินเอาอะไรมาให้ใช้
โอ๊ยไม่ต้องกลัวหรอกถ้าคุณมีคุณงามความดีแล้วมันจะเหลือเฟือมันจะมากคุณต้องปฏิเสธด้วยซ้ำมันจะเฟ้อเลือกออกไม่ใช่เลือกเอาจะเลือกออกด้วยซ้ำพิสูจน์เลยท้าทายให้พิสูจน์เลย
เพราะฉะนั้นทำใจให้สะอาดอย่าอยากได้อย่าบังด้วยอย่าแฝงซ้อนตัวเองอย่าเลวแฝงซ้อนเหลี่ยมคู่แล้วก็หลอกตัวเองทำเป็นเชิงชั้นหลอกคนอื่นออกไปข้างนอกต่อรู้ตัวเองให้ได้ว่าตัวเองหลอกตัวเองตัวเองอำพรางตัวเอง
ตัวนี้สำคัญ
สรุปอีกทีนึงชีวิตนั้นต้องทำงานและทำเพื่อผู้อื่นไม่ใช่ชีวิตแล้วก็ไม่เอาภาระแล้วโลกนี้มันปรุงแต่งให้เราทำทั้งนั้นน่ะ
ผมก็ไม่คิดว่าผมจะต้องมาแต่งเพลง
ซึ่งมันเกินจะเชื่อเลยว่าพระต้องมาแต่งเพลง
แต่มันต้องทำแล้ว
นี่กฎหมายด้วยนะเนี่ย
พระต้องเล่นการเมืองนี่กฎหมายด้วย
พระแต่งเพลงไม่ได้ผิดกฎหมายหรอก
แต่โลกวัชชะการเมืองนี่โลกวัชชะแน่นอนกฎหมายก็ผิดอีกต่างหากแต่ผมจะทำเนี่ยผมจะพาทำเนี่ยคิดดูสิ
ประทินิสัคขนาดไหนผมที่ต้องทำงานผมเข้าใจเห็นเลยว่าเราหลายคนบอกว่าโอ้โหทำไมถึงทำขนาดนี้
แต่คุณอย่ามาเอาอย่างผมก็แล้วกันเพราะว่าคุณไม่ใช่โพธิสัตว์แต่ผมเป็นโพธิสัตว์ผมผมก็ต้องทำแล้วผมนวลแล้วว่าเวลาวาระเหตุการณ์ดูสังคมมันก็ย่ำแย่การเมืองมันก็ถึงวาระ
ไอ้ความเสื่อมเสื่อมถึงที่ไอ้ดีดีไอ้เราดีนี่ได้รับกระแสสังคมรับขนาดไหนไอ้เสื่อมนี่กระแสสังคมมันมันเหยียบย่ำหรือมันถล่มทลายขนาดไหนด้วยเนี่ยดูประมาณค่าทุกอย่างเลย
แต่ผมก็ไม่เจตนาด้วยผมตั้งใจแล้วว่าผมจะไม่เจตนาที่จะไปสร้างละเมิดอะไรในในสังคม
ของการเมืองนี่ผมก็ไม่ได้เจตนาจะทำ
ไม่เจตนาที่จะรีบ
แต่มันมาแล้วก็เออดูคำนวณประเมินข้อมูลแล้ว
หลายแฟคเตอร์ว่ามันต้องมันครึ่งเวลาแล้วล่ะต้องทำแล้วเราก็อายุแม้ในส่วนนึงของความเป็นนี้มีอายุยาวแล้วขนาดนี้ด้วยก็เป็นข้อมูลนึงว่าเออต้องทำแล้วล่ะ
ถ้ามันมากกว่านี้มันต่อไปถ้าเปิดมันจะมาเมื่ออายุแปดสิบแล้วทำไงมันทำไม่ไหวแล้วเหตุปัจจัยขนาดนี้พอไหมไอ้การประมาณพวกนี้ผมก็บอกพวกคุณตายตัวไม่ได้นะ
เพราะงั้นการงานได้อย่างงี้แหละเป็นต้นนี่มันก็เป็นการงานหนักนะสาหัสแน่หนักแน่ผมว่าหนักแน่แต่จะหนักยังไงก็ต้องจะพยายามที่จะไม่ให้มันหนักล่ะเท่าที่เราจะมีบารมี
นะก็พยายามทำก็ขอพูดถึงเรื่องคำว่าการเมืองซะซะซะด้วยให้พวกเราเข้าใจนโยบายว่าการเมืองที่จะทำนี่เป็นการเมืองที่ยังไม่เคยมีในโลก
การเมืองอาริยะซึ่งผมก็เคยเขียนมาเก่าแล้วนานแล้วการเมืองปุถุชนการเมืองกัลยาณชนการเมืองระดับอาริยะ
การเมืองอารยชน
การเมืองกัลยาณชนก็ยังดีอยู่แล้ว
แต่ทีนี้การเมืองอารยะนี่ต้องเข้าใจถึงจิตด้วย
คนธรรมต้องเป็นอารยบุคคลจริงจริง
โซดาสักกิฐาอานาคาอรหันต์ไปทำงานการเมืองจริงจริงปีบุคคลอย่างงั้นแม้จะเป็นฆราวาสก็ต้องเป็นอริยบุคคลอย่างงั้นจริงจริงเพราะเราจะทำอย่างไรให้คนไปทำงานการเมืองอานาคามีไปเป็นนายก
ไม่ใช่สมมุตินะความจริงนะต้องเป็นพระอนาคามีมีภูมิธรรมเป็นอนาคามีเพราะฉะนั้นคุณคิดดูสิอนาคามีไม่มีสังโยชน์เบื้องต่ำห้าแล้วเพราะนายกนี่จะต้องเป็นคนโสด
ถ้าไม่โสดก็เรื่องยาติปฏิวัติตังค์นี่ต้องตัดแน่แน่ไม่ใช่ตัดอย่างหยาบหยาบไปตัดดื้อดื้อนะตัดก็มีมีสัมพันธ์แต่ว่า
ไม่สัมพันธ์ในเรื่องที่เป็นกิเลสแน่แน่
และก็ไม่ทำให้ประเจิดประเจิดว่าจะต้องเห็นแก่ลูกแก่เมีย
ไม่แน่แน่
มีความบริสุทธิ์สะอาดไม่เห็นแก่แม้แต่ลูกเมีย
ไม่มีลำเอียงแม้แต่ลูกเมีย
นายกจะเป็นอย่างนั้นไม่รับเงินเดือนรัฐมนตรีอย่าว่าแต่ถึงนายกเลยแม้รัฐมนตรีนี่จะต้องเป็นอย่างนั้นเป็นอนาคามีบุคคลถ้าในระดับบริหารประเทศสมัยโบราณก็เรียกอำมาตย์
รัฐมนตรีนายกเป็นอนาคามีไม่มีสินจ้างรางวัลรับเลี้ยงไว้แล้วก็เป็นคนมักน้อยด้วยคุณคิดดูซิมันจะเลี้ยงยากอะไรอะ
เป็นคนมรรคน้อยสันโดษไม่ฟุ่มเฟือยไม่รู้ร้าวไม่ติดลาภยศอะไรแล้วคุณคิดดูซิว่าคนพรรค์นี้เนี่ยมันจะต้องเลี้ยงไว้ยากอีกอะไรกันให้ครอบครัวไหนครอบครัวนึงเลี้ยงไว้ก็ได้ไม่ต้องรวยก็เลี้ยงไว้ได้ใช่ไหมนายกแบบเนี้ยรัฐมนตรีแบบเนี้ย
ซึ่งมันจะย้อนแย้งกับสังคมโลกโลกีย์อย่างมหาศาลเลยนี่แหมนายกหรือว่าประธานาธิบดีต้องรายได้เพียงพอบำเรอตนถึงที่เลี้ยงลูกเมียเลี้ยงครอบครัวหรูหราฟู่ฟ่าอะไรซึ่งมันย้อนแย้งไปหมดเลย
จะเป็นได้ไหมมนุษย์นี่แหละเป็นได้แล้วจะให้ช้างม้างัวควายทีนี้มาเป็นได้
ใช่ไหม
มนุษย์นี่แหละเป็นได้
ชาวม้างูควายเป็นไม่ได้หรอก
สัตว์ประเสริฐมนุษย์นี่แหละไปเป็นอันนี้
เป็นสิ่งที่ดีที่สุด
ผมไม่หวังหรอกว่าการเมืองที่จะทำผมจะพานำพาผมก็ไม่ได้ไปทำแต่ถ้าพูดกันโดยภาษาเข้าไปละลาภล้วงทำโดยหน้าที่แบบโลกชาวโลกเราทำถึงปานนั้นไม่ได้หรอกเราก็ทำแต่ในพฤติในที่มันไม่ละลาภขีดละลาภลาภล้วงขีดเขตที่เขากำหนดไว้
จะต้องดูขอบเขตของกฎหมายด้วยฉลาดที่จะรู้จักขอบเขตที่จะต้องอย่าละเมิดอย่าละลาภละล้วงทำได้แค่นี้เท่านั้น
มันทำโดยวาจาไม่ได้ทำโดยการที่จริงมันต้องมีกรรมกิริยากายด้วยแต่ว่าเรียกภาษาซะแปลว่าสอน
สอนด้วยการทำให้ดู ฮึฮึ
สอนด้วยการพูด

ใช่ใช่
ใช้ภาษาคำว่าสอนการเมืองอริยะดี
ใช้ภาษาคำนี้
ผมจะสอนการเมืองอริยะ
แต่คำว่าสอนนี่มันต้องทำให้ดูด้วยบางทีใช่ไหมไม่กายกรรมด้วยมันไม่ใช่สาธิตอะใช้ภาษาดีใช่ภาษาสาธิตเนี่ยมันต้องทำให้ดูด้วยอาจจะทำให้ดูมากซะด้วยนะบางทีมันก็อย่างนี้แหละมันก็เลี่ยงคำพูดได้ใช้ภาษาได้แต่มันก็มันก็ต้องมีพฤติกรรมนั้น
น่ะ
เพราะการเมืองที่ว่านี้มันจะต้องเป็นความจริง
ถ้าเรามีคนอย่างที่ผมกล่าวนี่คิดดูซิ
คนนั้นจะไปช่วยบ้านเมืองได้เท่าไหร่
เป็นอนาคามีบุคคลไปทำนี่อรหันต์ยกไว้เลยถ้ายิ่งได้อรหันต์นี่ยิ่งเยอะแหมคนนี้มีภูมิอรหันต์แล้วแต่เขายังไม่ยอมบวชแต่เขาจะไปทำงานการเมืองภูมิเขาถึงอรหันน่ะอรหัตผลน่ะแต่ยังเป็นอรหันต์สมบูรณ์ไม่ได้หรอกผมบอกแล้วว่าต้องสมบูรณ์ด้วยทั้งธรรมและวินัย
จึงจะชื่อว่าได้ประหารเพราะฉะนั้นอรหันต์ต้องมาบวชต้องมีวินัยสมบูรณ์พิสูจน์วินัยนี้ให้สมบูรณ์ก่อนว่าคุณเออชัดแล้วคุณก็จะรู้แล้ววินัยนี้ก็รู้ได้เอง
แต่เรามาเข้ากรอบของวินัยเท่านั้นแล้วเราก็จะรู้ว่าโอ้วินัยขนาดนี้เนี่ยเราละเมิดว่าเรายังมีบอกแบบเรายังมีธุลีละอองอย่างโน้นอย่างนี้ไหมยังมีอัสาธะยังมีอโศกวิริชะยังมีธุลีหมองธุลีเริงไหมจะน
พลังงานทางจิตของเราออกนะ
เพราะงั้นผมพูดมาถึงขั้นนี้แล้วหลายคนก็ที่จังจิตใจก็คงจะพอเข้าใจขึ้นมาบ้างนะว่ามนุษย์ก็มีอย่างนี้อะ
เกิดมายุคนี้จะเห็นชัดเจนเพราะว่ามันหยาบมันหยาบมากเพราะงั้นหลายหลายสิ่งหลายอย่างในยุคที่ยังไม่หยาบขนาดนี้ก็จะไม่มีไม่เป็นยุคสองพันกว่าปีอย่างพระพุทธเจ้าก็ไม่มีอะไรพอจะทำได้ขนาดนี้หรอกองค์ประกอบของสังคมไม่เป็นอย่างนี้ไม่หยาบกร้านขนาดนี้เพราะมันบางหลายอย่างไม่ต้องทำ
ถึงจะทำมันก็ไม่มีให้ทำเพราะมันยังไม่รู้กัน
มนุษย์ยังไม่สมมุติ
มนุษย์ยังไม่สมมุติอะไรขึ้น
แล้วก็มันจะทำไง
มนุษย์ไม่สมมุติมันก็ไม่ได้ทำ
มันไม่มีบทบาทลีลานั้น
แต่ทุกวันนี้มันสมมุติมาเท่าไหร่
มันสมมุติมาเกินกว่าเท่าไหร่สองพันปีมานี้มันสมมุติมามันก็ต้องทำก็คงเข้าใจนะที่ผมพูดผมพูดภาษานี้
น่ะมันก็ขอให้เข้าใจด้วยว่างานนี้เนี่ยเป็นงานที่จะต้องสอนจะต้องสร้างมนุษย์จะเกิดมาอีกจะเป็นลูกเป็นหลานอะไรก็ตามแม้เราไม่มา
แต่งงานไม่มีลูกมีเต้าอะไรอีกแล้วก็ตาม
มันก็คือลูกหลานทั้งนั้นแหละ
มนุษย์นี่คือ
เอ่อลูกของพระมโนก็คือจิตนั่นเองถ้าจะว่าไปแล้วก็คือจิตวิญญาณถ้าจะว่าแล้วมันเกี่ยวเนื่องกันทั้งหมดแหละในโลก
เหมือนอยากบอกพระเจ้าก็ว่าพระพุทธเจ้าน่ะเป็นพ่อทุกอย่างเกิดมาจากพระเจ้าทั้งนั้นแหละก็ขอทีนี้เป็นครั้งสุดท้ายก่อนจะได้ไปทำงานมหาประณาต่อขอให้พวกเราเนี่ยใช้สโลกอย่างที่กล่าวแล้วว่าจริง
แล้วก็รู้สึกก็ขอขยายความอันนี้ก่อนให้จบจริงจะคุณจะเข้าสำคัญความข้อนี้เป็นไฉนคำว่าจริงนี่ก็คุณก็ไปทำความสำคัญเอาทำความเข้าใจเอาเอาจริง
เรามานี่จริงนะ
เราจะเอาจริงนะ
เราจะสังวรจริงนะ
เราจะพากเพียรจริงนะ
เราจะต้องเดินหน้าเข้าให้เป็นอรหันต์เป็นเล่นผ่านให้ได้จริงจริงนะ
อย่างงี้เป็นต้น จริง
คุณจริงอย่างงั้นหรือไม่
ก็จริงของใครของมัน
ให้มันจริงที่สุดของแต่ละคนให้ได้
ซึ่งพูดว่าอย่างงี้ก็เป็นมัจฉิมาด้วย
เพราะแต่ละคนฐานะไม่เท่ากัน

บางคนอะฐานะบางคนก็เป็นไปได้แล้ว
นี่เป็นฐานะที่ควรจะเป็นแล้ว
บางอย่างที่เรายังรับไม่ละลาภละล้วงเพราะอะฐานะฐานะนี้เรายังไม่ใช่หรอกเราอย่าไปเกินฐานะอันนั้นเป็นอันขาดต้องเข้าใจความเป็นฐานะให้ดี
อะไร
ฮะ
อะไรนะ
มันได้ไงในจริงนี่มีทั้งเอาจริงทั้งรู้จริงด้วยทั้งกำหนดจริงด้วยอะฐานะหรือฐานะนี่เป็นการกำหนดจริงคุณก็ต้องจริงให้จริงต้องมีความคมชัดแม่นรู้ตัวรู้องค์ประกอบ
น่ะต้องมีการประมาณทั้งกาละสรรพุทธรรมเจ็ดนี่ต้องใช้ตลอดเวลาเพราะงั้นจริงมันต้องใช้สรรพุทธรรมเป็นการเลือกเอานี่หมายความว่าการมุ่งมั่นอย่างเดียวแต่ต้องรู้สภาวะ
ในฐานะด้วยฐานะนี่มันไม่ใช่ฐานะจริงมันก็คือจริงอย่างหนึ่งอย่างงี้เป็นต้นคนจะบอกว่าจะเอาเอาเป็นกิริยาที่มุ่งมั่นก็ดีมีเอาจริงด้วยมีฐานะด้วยมีอะไรหลายอย่างด้วยอย่างที่พูดไปเมื่อกี้นี้
จริงมันไม่ได้อยู่แค่แค่นั้นนะ
เพราะงั้นเรื่องเติมเข้าไปถ้าจะเติมในสโลกคำนี้ก็จะมีจริงหรือสัจจะที่นำหน้า
จริงเอาคำเดียวด้วยว่าจริงเนี่ยอย่าบอกว่าความจริงหรือจริงเฉยเฉยก็ได้มันมีอะไรได้ลึกซึ้งกว่านั้นจริงรู้สึกเมื่อจริงแล้วนี่ตั้งเป้าลงไปว่าจริงนะแล้วทีนี้รู้สึกรู้สึกก็คือเกิด
เกิดการดำริหรือเกิดการรู้เกิดการรู้รอบขึ้นมาแล้วอะมียาตปริญญาขึ้นมาแล้วมีติรณปริญญาขึ้นมาแล้ว
วิจัยแล้วรู้สึกแล้ววิจัยสำนึกพอวิจัยแล้วก็สำนึกแล้วรู้สึกแล้วก็วิจัยวิจัยแล้วก็สำนึกแล้วสำนึกคืออะไรสำนึกคือวิจัยรู้แล้วว่าโอ้ไอ้นี่ควรไอ้นี่ไม่ควร
เพราะฉะนั้นผู้สำนึกก็คือไม่ทำหรือระงับสิ่งที่ไม่ควร
สิ่งที่ควรเอาให้ยิ่ง
อะไรเป็นบาปสมาจารย์ก็ละเว้นให้ขาด
อะไรเป็นอภิสมาจารย์ก็ให้ยิ่งสำนึก
เมื่อสำนึกแล้วลงมือเลยฝึกฝนฝึกฝนนี่ต้องอดทนธรรมะนี่แปลว่าฝึกฝนแปลว่าอดทนแปลว่าข่มแปลว่าฝืนต้องฝึกฝน
ต้องฝึกฝนเลยฝึกฝนคืออะไรภาษาไทยฝึกฝนนี่คือภาษาไทยต้องฝึกฝึกคือต้องหัดต้องทำ
ฝนก็คือทำให้มันบริบูรณ์
ฝนก็คือทำให้มัน
ยิ่งภาษาไทยและยิ่งดีเลย
ฝนนี่ทำให้หมดไปเลย
ฝนนี่ทำให้เล็กลง
ฝนนี่ทำให้ลึกลงได้รูปได้ร่างจนกระทั่งหมดฝนนี่เกลี้ยงฝึกฝนภาษาไทยนี่ลึกซึ้งฝึกฝนเนี่ยฝึกก็คือกระทำการ
หัดฝึกหรือหัดหัดแล้วก็ไปเป็นแล้วก็ให้ได้แล้วก็ให้จบให้สมบูรณ์ฝึกอย่างฝนนะ
ฝนก็คือจะต้องออกไปเรื่อยเรื่อยมันมีเชิงทำให้หมดบาปสัมมาจารย์นะคำว่าฝึกฝนทำ
ลงมือเลยสำนึกฝึกฝนหรือฝึกตนฝึกฝนหรือฝึกตนนั่นแหละฝึกฝนนั่นแหละ
ฝึกฝนฝึกตนฝึกเข้าไปจริงจริงค้นขวายเติมเข้ามาอยู่เรื่อยเรื่อยเลยถ้ามันจะขี้เกียจถ้ามันจะอืดอาดถ้ามันจะเฉื่อยถ้ามันจะท้อถ้ามันจะไม่ไม่ได้ต้องค้นขวาย
เนี่ยต้องค้นขวายรู้สึกเนี่ยสติสำนึกฮะสำนึกฮะหิริรู้สึกสติสำนึกหิริ
ฝึกตนธรรมะ
สำนึกฝึกตนขวนขวาย
ใช้อิทธิบาทหรือใช้เบอร์ยาว่าจะไม่
ใช้อิทธิบาท

จะใช้เบอร์ยาวัดจำไมหรืออิทธิบาทก็ได้

เอ่อ
ขวนขวายมุ่งหมายพัฒนา
ภาวนา
มุ่งหมายพัฒนาอานิสงส์สมบูรณ์
ประโยสานหรือกตัญญาณ
หมายมุ่งก็ได้ มุ่งหมายก็ได้
หมายมุ่งก็ใช้คำว่าหมายมุ่งกัน
หมายมุ่ง
เพราะในความหมายพวกนั้น
มันก็คงไม่ยากนะความหมายจนกระทั่งไปถึงจบสมบูรณ์ก็ยิ่งไม่ยากใหญ่แต่ยากตรงที่ว่าคุณจะมีตัวจบให้มานหรือยังเท่านั้นเองอานิสงส์สมบูรณ์ประโยชน์ศาลน่ะ
มีความมุ่งหมายพัฒนาจริงจริงต้องรู้ความหมายเลยมุ่งหมายพัฒนาทำให้เจริญทำให้ก้าวหน้าทำไม่ได้จริงจริงมีบทก้าวหน้าจึงจะเรียกว่ามีภาวะภาวะแปลว่าความจริงภาวะแปลว่าสิ่งที่ปรากฏ
ภาวะเนี่ยแปลว่ามีสิ่งนั้นขึ้นมามีสิ่งนี้ขึ้นมามันปรากฏสิ่งที่เรามุ่งหมายจะให้ดีให้เจริญให้พัฒนาค้นขวายอิทธิบาทมาแล้วจนกระทั่งมันเกิดผลเกิดผลทำให้เกิดผลภาวนามุ่งหมายมุ่งพัฒนาเนี่ย
ภาวนาให้มันเกิดผลจริงจริง
ผมว่าทุกวันนี้พวกเราเนี่ย
รู้ในสิ่งที่ตนเองจะต้องพัฒนาของตนเอง
มันมีสิ่งที่ให้พัฒนาอยู่ทุกอันน่ะทุกคนน่ะไม่ใช่ทุกอันขออภัยทุกคนมีอันไหนก็แล้วแต่มีเรื่องไหนก็แล้วแต่ของทุกคนมีอยู่ทั้งนั้นนะแม้แต่เป็นพระอรหันต์ยังมีสิ่งที่จะพัฒนาเลยแต่จะพูดไป
น่ะพัฒนาคุณค่าที่จะเป็นประโยชน์ผู้อื่นทั้งนั้นประโยชน์ตนจบพระอรหันต์น่ะประโยชน์ตนจบประโยชน์เพื่อผู้อื่นมันมีเจตนาอย่างสมบูรณ์เลยโอ้ประโยชน์ให้ผู้อื่นได้เถอะได้เถอะได้เถอะ
เพราะว่าตนจบแล้วนั่นเป็นเศรษฐกิจก็ไม่มีปัญหาเพราะว่าเราเองไม่ได้พรากประโยชน์ตนแล้วจนจบประโยชน์ตนจบก็ไม่มีปัญหาแล้ว
นะ พวกเรานี่ได้มาพอสมควรขนาดนี้
ได้ดีมาขนาดนี้
ซึ่งผมพูดซ้ำแล้วซ้ำเล่าคุณเข้าใจลึกซึ้งแค่ไหนว่า
เนี่ยข้าวมีกินดินมีเดินตะวันมีสองพี่น้องมีเศษเห็ดมีเก็บ
เรามักน้อยเท่านี้
เสร็จแล้วเราก็ทำดีได้ขนาดนี้
มันเหลือแล้ว
เลวเลวบวชมาไม่มีท่าอะไรเลยศรัทธาของประชากรไทยเป็นพุทธศาสนิกชนเป็นเมืองพุทธบวชมาไม่ดีไม่ชั่วอะไรแค่นั้นมันก็รอดแล้วเขาเลี้ยงไว้แล้วขนาดคนเลวเขายังเลี้ยงไว้เลยพระมาบวชนี่เลวเลวเยอะแยะไปเขายังเลี้ยงไว้เลย
คนโง่มันมีเยอะคนงมงายศรัทธาไม่รู้เรื่องอะไรหรอกห่มผ้าเหลืองเข้ามาปลอมแปลงยังไงหรือว่ามาทำลามกจักรเปรตเลวกว่าคนสามัญด้วยซ้ำไปเขาก็เลี้ยงไว้อยู่แล้ว
มันลัทธิมันให้แล้ว
ศาสนามันให้แล้ว
มันได้เปรียบอยู่ในทีแล้ว
อันนี้แหละยิ่งบาปซ้ำบาปซ้อน
เขาให้แล้วนะ
พระพุทธเจ้าถึงตรัสว่า
อะไร
มาฉันอาหารที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว
ภาษานี่แหละโอ้โหแสบที่สุดนะ
มาบวชนี่มารับอะไรสมณะผู้เจริญฉันอาหารฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว
ยังมีหน้ามาทำชั่วทำละเมิดทำบาปทำกรรมเนี่ยภาษาในตัวของที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เนี่ยถ้าคุณเข้าใจอย่างผมเข้าใจนะโอ้โหมันมันมันจุกเลยเรามากินข้าวเขาให้เขาศรัทธาเขายิ่งสนิทใจ
สนิทใจเท่าไหร่นั่นแหละยิ่งค่าสูง
น่ะ
ให้ด้วยศรัทธาสนิทใจให้กินให้อยู่เชิดชูไว้ด้วยบูชายกย่อง
เสร็จแล้วเราก็ทำบาปบาปน้อยก็ราคาแพง
เราทำบาปนิดมือนิดหน่อยแต่ราคามันแพง
นะ เนี่ยมันเป็นสัจจะอย่างนั้นนะ
เพราะงั้นเราได้ฐานได้บัลลังก์
เสร็จแล้วเรามีความดีขนาดนี้เหนือกว่าพระที่เขาละเมิดกะเลวร่าที่เขาเลี้ยงไว้ทำไมคุณจะอยู่ไม่รอด
เพราะอย่างนี้แหละอันนี้แหละมันทำให้เราเราก็มักน้อยด้วยเออเราก็กินไปใช้ไปอยู่ก็เลยเฉยเฉยเฉยเฉยเฉยเฉยเฉยเฉยเราไม่ทำบาปก็ดีแล้วแต่เราไม่ทำบุญไม่สร้างไม่มีความเจริญพัฒนาพระพุทธเจ้าไม่สรรเสริญความหยุดอยู่ความอยู่กับที่
ไม่มีวุฒินี่ผมก็เอามาเตือนตั้งแต่ต้นต้นมาแล้วเพราะผมรู้ดีอันนี้จะว่าไปจริงแล้วผมก็เคยผ่านสภาพพวกนี้มาไม่รู้กี่ชาติแล้วบวชรู้อะไรประเด็นเนี่ยผมก็ไม่ใช่ว่าหยิบมาเนี่ยไม่ใช่ว่ามาเตือนตอนนี้ตั้งแต่ต้นเตือนมาแล้วทิฐิสูตรที่เอามาเตือนเนี่ย
พระพุทธเจ้าไม่สรรเสริญคนหยุดอยู่
ประหานะน่ะไม่ต้องไปพูดถึงโดยเสื่อมน่ะไม่ต้องพูด
แม้แต่อยู่กับที่พระพุทธเจ้าไม่สรรเสริญ เพราะมันมันมันมันเลวน่ะ
ไม่ไม่ก้าวหน้าเนี่ยมันก็เลวแหละ
เพราะในหมู่กลุ่มเอาในหมู่กลุ่มสมมุตินี่เป็นสนามแม่เหล็กหรือในโลกที่คุณอยู่
ทุกคนเขาเดินหน้าคุณอยู่กับที่คุณก็ตกโลกคุณไม่ไปกับหมู่โลกเขาพาไปก็คือกลุ่มนั้นเขาไปกันหมดเขาพัฒนาหมดแล้วคุณก็อยู่เฉยเฉยคุณไม่ก้าวหน้าเลยเขาก้าวหน้าหมดทุกคนนี่สมมุติให้เห็นชัดชัดตั้งโจทย์มาเห็นชัดชัดคุณก็เลวลงนั่นแหละคุณก็ตกโลกไปแล้ว
มันเป็นสัจจะอย่างนั้นเพราะในโลกนี้มันคือการเคลื่อนไหวกับดับสนิทถ้าอยู่นิ่งนิ่งเนี่ยมันยังไม่ใช่เลย
จบละลายดับสนิทคือละลายปรินิพพานก็เคลื่อนไหวเท่านั้นเองศูนย์กับมีอยู่ก็ต้องเคลื่อนไม่มีอะไรไม่เคลื่อนไม่มีอะไรไม่จุติจุติลงต่ำหรือจุติขึ้นสูงเท่านั้นเอง
พลจุติจะแปลว่าเกิดหรือจะแปลว่าดับก็ได้ทั้งคู่
เพราะมันมีแต่เคลื่อนกับศูนย์ในโลกนี้มีอะไรอยู่ถ้าอยู่นิ่งนิ่งน่ะคือของเน่าของตายของหมักของหมม
ถ้าอยู่นิ่งนิ่งเพราะงั้นศาสนาฤาษีได้ไปจับเอาตัวนิ่งมาโดยการเอาความเข้าใจผิดพลาดไปจับเอาตัวนิ่งไม่ใช่เอาตัวสลายตัวศูนย์พอเขาไม่มีศูนย์เขามีนิ่งแล้วกลายเป็นนิรันด้วยนั่นเน่าสนิท
เน่าสนิทหมักหมมสนิทจะเสียเวลาไปอีกนานมันไม่ได้สูญมันไม่ได้เป็นปรินิพพาน
พยายามฟังความนี้ให้เข้าใจแล้วคิดว่าจะเข้าใจได้ดีนะมันขอให้อย่าหยุดอยู่
จงเอาทิฐิสูตรเนี่ยไปเตือนสติตัวเองให้อีกอันนึง
พระพุทธเจ้าท่านไม่สรรเสริญการหยุดอยู่
ท่านสรรเสริญการวุฒิก้าวหน้าเสมอให้มีได้ได้ให้เจริญขึ้นเรื่อยเรื่อยได้เรื่อยเรื่อยให้ได้
อันนี้แหละสังวรระหว่างเพราะฉะนั้น
รปม
หรือรู้สึกสำนึกฝึกตนขวนขวายหมายมุ่งพัฒนาให้อานิสงส์สมบูรณ์น่ะผมไม่ได้พูดเล่นว่าผมอยากได้อรหันต์สักเก้ารูปนี่ไม่ได้พูดเล่นพูดมานานแล้วก็พูดตั้งแต่จ้างใจคิดว่าอืมควรจะเป็นเช่นนั้น
ถ้าเราปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นผู้ขวนขวายฝึกฝนเอาจริงเอาจังอยู่มีสมาธิติดีแล้ว
โลกไม่ว่างจากพระอรหันต์จริงจริงอย่างน้อยอนาคามีพระพุทธเจ้าตรัสไว้เจ็ดปีอย่างน้อยอนาคามี
มีบุญขนาดนี้เราพากเพียรไปเถอะนะเอาละผมก็สาธยายหรือว่าพูดอะไรที่พอสมควรจะพูดในวันนี้เท่าที่เวลามีมามาพอสมควรแล้วนะ

 

ที่มา ที่ไป

การให้โอวาทในวาระพิเศษแก่หมู่สมณะในงานมหาปวารนาครั้งที่ 19 เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2543
ที่พุทธสถานปฐมอโศก โดยพ่อท่านสมณะโพธิรักษ์ในชุด 30 ปีแห่งการงานโพธิสัตว์


เวลาบันทึก 09 กันยายน 2567 ( 16:06:32 )

310330 เพิ่งรู้ว่าโง่ โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ 

รายละเอียด

พ่อครูว่า…จบ  เห็นไหมนี่ คนร่ำคนรวยเขาไม่รู้จบ คนที่ได้ยศได้อำนาจก็ไม่รู้จบ ไล่ลงจากอำนาจ ยังไม่ลงกันเลย เห็นไหม ไม่จบหรอก มันเป็นอย่างนั้นแหละ มันเป็นความเสพย์ติด เสพย์ติดที่ถอดถอนไม่ออก เป็นทาสที่ปล่อยไม่ไป ในโลกเป็นอย่างนี้อยู่จริง

เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่มาเรียนอย่างดีจริงๆ แล้วก็เลิกละจริงๆ นะ ไม่ได้ ถ้าใครทำคนนั้นก็ได้ประโยชน์ ประโยชน์ของตน และประโยชน์ของสังคมด้วย แต่ถ้าเป็นอย่างที่โลกเป็นอยู่นั่น สังคมมีแต่สงคราม ฟังไว้ อาตมาพูดซ้ำซากอันนี้ นั่นน่ะ คุณเป็นคู่ต่อสู้เข้าไปอยู่ในสังคมสงครามตลอดๆๆ เลย มีแต่เรื่องยุ่งยาก แต่ถ้าเรามาทำอย่างนี้  เราก็เท่ากับบายความเป็นข้าศึกของสังคมลงมา เรากำลังลดสงครามให้แก่สังคม และเราก็ปลอดภัย เราก็อยู่เป็นสุข ไม่เป็นทาส ไม่มีภาระ ไม่ต้องไปบำเรอ ไม่ต้องมาสนองกิเลสตัณหาอะไรของตนเอง ลดกิเลสตัณหาให้ได้ เราอยู่ในสังคมนี่แหละ ไม่ต้องไปแบบฤาษีจะต้องไปนั่งหลับหูหลับตาอยู่ป่า เขา ถ้ำอะไร ไม่ใช่ อยู่ในสังคมนี่แหละ อยู่อย่างดีๆ อย่างนี้แหละ นี่ทำอย่างนี้ แหม! อาตมาพูดมาชั่วโมงกว่าแล้วนี่ พอเห็นดีเห็นด้วยมั่งไหมนี่  หือ! โอ๊ย!  เงี้ยบเงียบ หือ! เห็นดีเห็นด้วยบ้างไหม ใครคิดว่าจะเอาบ้าง ลองยกมือดูซิ ใครคิดว่าจะเอาบ้าง เอาหรือ แค่นี้เองแหละหรือ ยกน้อยกว่าที่ไม่ยก อาตมาดูแล้ว คนที่ยกน้อยกว่าไม่ยก อาตมาพูดนี่เข้าใจไหม ที่ไม่ยกมือน่ะเข้าใจไหม แต่ยังไม่คิดจะเอาใช่ไหม หา ยังไม่กล้า อ๋อ! ไปกล้าทำชั่ว ไม่กล้านี่ หมายความว่า ก็คือ จะไปทำอย่างที่ว่านั่นน่ะ คือมันเป็นชั่วใช่ไหม เข้าใจผิด จะไปล่าลาภ ยศ จะไปล่าอะไรต่ออะไร ................................................(เสียงหายไป) .....ไอ๊หย่า! จะให้พูดยังไง หือ! รู้ว่าชั่ว เข้าใจแล้วนะ เออ! นั่นชั่ว บอกให้มาทำดีนี่ แต่คำตอบคือ ไม่กล้า 

แหม! ไม่งง ก็ไม่รู้จะว่ายังไง ไม่งง อาตมาไม่งง ก็ไม่รู้จะว่ายังไงล่ะ เอ๊! อะไรกันแน่หนอ เข้าใจแล้วนะว่าดี แต่ไม่กล้าทำดี ก็หมายความว่า ขอกล้าทำชั่วนี่ต่อไปก่อน เอ๊อ! เนื้อยเหนื่อย อาตมาเหนื่อยจริงๆ นี่มันเหนื่อยนะ มันเหนื่อยจริงๆ นะ ให้ฟัง ให้เข้าใจ เข้าใจแล้วนะ รู้แล้วนะ ตอบ... อาตมารู้ว่าคุณตอบจริงใจ รู้ แล้วอาตมาก็รู้ต่อไปด้วยว่า คุณก็ยังยอมเป็นบริวารของมารอยู่นั่นเอง คำตอบของคุณนั่นตอบบอกว่า รู้แล้วว่าท่านเป็นพระ ท่านอยู่ของท่านเถอะ ดิฉันขออยู่กับมารต่อไป คำตอบมันบอกว่าอย่างนี้ ใช่ไหม เออ! อาตมาถึงบอกว่า โอ้โห! ลูกมารนี่ เอามายากจริงหนอ เออ! ลูกมารนี่เอามายากจริงหนอ 

รู้ทั้งรู้นะ เข้าใจก็เข้าใจนะ แต่ยังขอเป็นลูกมารต่อกันไปก่อนเถอะท่าน  ท่านอยู่ของท่านไปก่อนเถอะ ยังไม่ขอไปเป็นลูกพระหรอก นี่มันน่าเหนื่อยนะ  

อาตมาเนื้อยเหนื่อย แต่อาตมาก็ไม่มีทางเลือก อาตมาไม่รู้จะไปทำอะไร ถ้าจะไปส่งเสริมกับอย่างประเภทที่งานมาร อาตมาก็เคย เคยทำมา อาตมาไม่กลัวหรอกนะ งานอย่างมารนั่น อาตมาก็เคยทำมา อาตมาว่าอาตมามีฝีมือพอสมควรในงานอย่างมารนั่นน่ะ ทำแล้วก็มีความสามารถ มีความรู้อะไรก็ทำเอา คุณแลกมา ฉันก็แลกเอา ฉันก็เอา มีค่านิยมอย่างโลกเขาเท่าไร มีระบบอย่างไร มีอัตราอะไร ที่อัตราของสังคมเขาตั้งไว้ เอา เอา ถ้าจะบอก ถ้าอันนี้เขาจะให้มาเกิน เอ้า! ดีใจ ดีใจ ก็ทำอย่างนั้น ทำเป็น ทำเป็นทุกคนแหละ ทุกคนเคยทำมาแล้วทุกคนทำได้ แต่เรารู้ความจริงแล้ว เราทำไม่ลง เรารู้ความจริงแล้ว เราทำดีได้แล้ว เราทำอย่างนั้นไม่ไหวแล้ว เราก็ทำไม่ลง เรารู้ว่าเราทำได้ ทำได้ แต่เราทำไม่ลง  

เราทำได้ยังงั้นทำได้ แต่เราทำไม่ลง ทำเป็น แต่เราทำไม่ได้ เข้าใจคำว่าได้ กับทำลงนี่นะให้ได้ เราทำได้ แต่เราทำไม่ลง มัน แหม! มันทำไม่ลงน่ะ พูดง่ายๆ ตบเขาซินี่ เอ๊! ตบเป็นนะ ใครก็ตบเป็น แต่ตบไม่ลงนะ ตบไม่ลงจริงๆ นี่คล้ายๆ อย่างนี้ มันทำไม่ลงนะ มันทำ ทำเป็น แต่ก่อนแต่เมื่อเรายังโง่อยู่ เราก็เคยทำมา เราเคยทำมาแล้ว ไม่ใช่ไม่เคยทำ แต่มันไม่ไหว ทำ เราก็มาทำอย่างนี้ดีกว่า เราทำอย่างนี้ดี เราก็เห็นว่าทำดีนี่ดีกว่า อาตมาก็มีหน้าที่ชวน มีหน้าที่ที่จะยื่นความจริงให้รู้ให้ฟัง ใครเห็นด้วย มาเอา ใครอยากจะฝึกมาฝึก ยินดีช่วยการฝึก ช่วยฝึกให้ ฝึกไป ได้ดีก็เป็นของคุณ ได้ดีก็เป็นของสังคมเราก็เห็นว่า นี่เป็นความดีของสังคม เป็นสิ่งที่ประเสริฐของสังคม เราจะทำอย่างนี้กับสังคมจนกว่าจะตาย ตายมันฟื้นขึ้นมาอีก ทำมันอีกใหม่น่ะ มันตายใหม่ ค่อยว่ากัน เลิกใหม่ 

ถ้ามันยังไม่ตาย ทำต่อ ทำจนกว่ามันจะไม่มีเรี่ยวไม่มีแรง ไม่มีโอกาสได้ทำ มันไม่มีงานอื่นจะไปทำงานเพื่อล่าลาภ ล่ายศ ก็เข้าใจแล้ว จะไปล่ามันทำไม ไม่ต้องล่ามา เราก็อยู่ได้อยู่รอด คนที่มีเงินมีทองอยู่ในชีวิตนี่  มีเงินมีทองอยู่เป็นถุงเป็นถัง แล้วอยู่รอดอยู่ได้นี่น่าอัศจรรย์ไหม อาจจะตอบไม่ได้ คนที่มีเงินเป็นถุงเป็นถัง เขาก็อยู่รอด กับคนที่ไม่มีเงินเลยสักบาทนี่ เขาก็อยู่รอด อันไหนน่าอัศจรรย์กว่ากัน (เสียงตอบ:ไม่มีเงิน) มาทำอย่างที่น่าอัศจรรย์น่ะ  อันนี้มันน่าอัศจรรย์อะไร มีเงินเป็นถุงเป็นถัง เราก็อยู่รอด แต่คนไม่มีเงินเลยนี่ อยู่ในสังคมนี้ด้วยกันนี่แหละ เศรษฐกิจก็แบบนี้แหละ อยู่รอด อย่างนี้น่าอัศจรรย์กว่า 

คุณก็ตอบได้อยู่แล้ว แล้วทำไมไม่ทำสิ่งที่วิเศษอย่างนี้เล่า (เสียงตอบ:ยาก) ยาก เราจะทำในสิ่งที่ทำได้ยาก เราจะทนในสิ่งที่ทนได้ยาก เราจะอะไรอีก เราจะสละในสิ่งที่สละได้ยาก เราจะชนะสิ่งที่เอาชนะได้ยาก อย่าตอบง่ายๆ สิ ตอบแต่ว่ามันยาก มันง่ายไปนะ

นี่เราต้องพามาทำ ต้องฝึก ในชีวิตคนเรานี่ อาตมาจะถามอีกอันหนึ่ง การทำชั่วนี่ คุณว่ายากไหม จริงเหรอ คุณว่าไปปล้นนี่ยากไหม ไปปล้นนี่ทำชั่วหรือทำดี ยากใช่ไหม คุณมาตัดกิเลส  มาลดละนี่ก็ยากใช่ไหม แล้วทำไมจะไปทำอย่างโน้นล่ะ เอาอีกทีหนึ่งเอาเปรียบเขานี่ กับเสียสละนี่นะ คุณมีเงินอยู่ในตัวนี่แสนหนึ่ง กับคุณไม่มีเงิน คุณจะไปเอาเปรียบเขามาให้ได้แสนหนึ่ง แล้วคุณมีเงินแสนหนึ่งนี่ ยื่นให้เขาไปเลย ไม่ต้องให้ถึงแสนก็ได้ ให้ 5 หมื่น เอ้า คุณต้องพยายามเอาเปรียบเขาให้ได้แสนหนึ่ง มันไม่ได้ ได้ 5 หมื่นก็เอาตาม คุณจะไปเอาเปรียบเขามาให้ได้ถึง 5 หมื่น กับคุณมีแสนหนึ่งอยู่แล้วนี่ ให้ 5 หมื่นเขาไปเลยนี่ อันไหนมันง่ายกว่ากัน หยิบไปได้เลย ไม่ต้องไปทำอะไรนี่ ใช่ไหม เงินมีอยู่ในมือนี่ ให้เขาไปได้เลย แต่คุณทำยังไงทุกวันนี้ คุณทำให้เขา หรือว่าคุณกำลังจะไปเอามาให้มันได้ มันมีแสนอยู่แล้ว คุณจะเอามาอีก 5 แสน จะเอาอะไรกันแน่ ไม่มีอะไรจะให้เขา ที่นี่ อ้อ! ไม่มีอะไรจะให้เขา เราก็เลยต้องเอามาก่อน เพื่อที่จะให้ ใช่ไหม  อ้อ! นี่คือคำตอบ 

อ้อ! ไม่จริง บางคนนี่ พ่อแม่พี่น้องก็ร่ำรวยอยู่แล้ว ก็ยังไปหาต่อพระพุทธเจ้าก็ไม่ได้สอนว่า ให้เราเองนี่ไปเอามา หรือว่าไม่ให้เราศึกษา ไม่ให้เรามีสมรรถภาพ ขยัน หมั่นเพียร สร้างสรร พระพุทธเจ้าสอนให้เราสร้างสรร เมื่อเราสร้างสรร เรามีไหม  มีใช่ไหม มีแล้วเราก็สละ นั่นเท่านั้นแหละ เท่านั้นแหละ ท่านก็สอนให้ขยันหมั่นเพียร สร้างสรร ให้มีความสามารถ มีความรู้ ท่านไม่ได้บอกแล้วว่า ศาสนาพุทธไม่ได้กั้นต้านคนที่จะไปเรียนรู้ ไม่ได้ไปนั่งหลับหูหลับตาอยู่ในป่า เขา อะไร ให้เรียนรู้ ฝึกปรือ การคิด การพูด การงาน อาชีพ ให้ฝึก สร้างสรรนั่นแหละ ก็เหมือนกันกับทางโลกสอนนั่นแหละ สอนให้ทำ แต่ทำแล้ว อย่าไปเอาเปรียบมาซิ ให้ คุณทำขึ้นเมื่อไหร่ เป็นเมื่อไหร่ คุณก็ทำได้แล้ว ใช่ไหม หัดให้สิ แต่จริงๆ เราไม่ใช่อย่างนั้น ใช่ไหม จะไปค้าอย่างที่เอากำไรเกินควร อย่างที่อาตมาว่านี่ ไปเอาเปรียบเขามาใช่ไหม นั่นแหละมันบาป นั่นแหละ มันคือความไม่เจริญ นั่นแหละคือความไม่รู้ ไม่รู้ความดีที่จริง พูดแล้วก็ซ้ำซากน่ะ ใครที่รู้แล้วเข้าใจแล้ว ก็จะเห็นว่าซ้ำซาก พูดไปแล้ววนไปวนมาก็ซ้ำซากน่ะ 

เอ้า!  เอาละ อาตมาคิดว่าได้ปฐมนิเทศให้รู้ว่า ทิศทางหรือเป้าหมายที่เราจะพาคุณมานี่ มาเพื่อให้รู้สัจธรรมอย่างนี้น่ะ อย่างน้อยคุณจะไปทำ หรือไม่ทำ มันก็เป็นสิทธิของคุณ คุณรู้แล้วคุณจะเอาหรือไม่เอา ก็เป็นสิทธิของคุณ ไม่ได้บังคับหรอก ศาสนาพุทธอิสรเสรีภาพ ถ้าทำได้แล้ว มันก็เป็นประโยชน์ต่อตนต่อสังคมจริงๆ สังคมก็จะได้ไม่แย่งชิงสังคมก็จะได้อุดมสมบูรณ์ มีคนสร้างสรร แล้วก็ไม่ต้องเปลืองต้องผลาญ ไม่ต้องเป็นทาส ไม่ต้องไปโลภโมโทสัน มักน้อยสันโดษ เอื้อเฟื้อเกื้อกูลได้จริง.......................... ........................(เสียงหายไป)  

นิยม กลายเป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่กอบโกย กักตุน มีหลักทรัพย์มากๆ ให้ร่ำรวย แล้วก็เอาอำนาจหลักทรัพย์เหล่านั้นแหละ เป็นอำนาจต่อรองที่คนอื่นต้องยอมจำนนและพ่ายแพ้ เป็นการเอาชนะคะคาน มันเป็นกลวิธีที่เขาทำกันอยู่ในสังคมมนุษย์โลกนี้จริงๆ เขาทำอย่างนั้น ซึ่งเป็นความเลวทราม แต่เขาไม่รู้ว่าเป็นความเลวทราม เขารู้ รู้สึกว่าเป็นความดี หรือแม้ในคุณนี่แหละ ที่นั่งๆ อยู่นี่ก็คงจะรู้สึก ถ้าจะให้เป็นอย่างนั้น เอา ถ้าจะให้คุณขณะนี้นะ สมมุตินะ คุณจะทำอะไรก็แล้วแต่ ในกิจกรรมนี่คุณไป ไปในชีวิตอายุ 40,50 ปี คุณจะมีหลักทรัพย์ 2 แสนล้านคุณเอาไหม เอา แน่นอนคุณต้องเอา คุณรู้ไหม  ถ้าคุณได้หลักทรัพย์ไปได้ 2 แสนล้านนั้น เงินหรือหลักทรัพย์ 2 แสนล้านนั้นในประเทศไทยไปอยู่ที่คุณ 2 แสนล้าน คนอื่นนี่จะขาดหายไปไหม หายไปไหม คุณรู้ไหมว่าคนจนนั้น ยิ่งจนเพราะคนรวย คนรวยนั้นยิ่งรวยเพราะคนยิ่งจนคุณรู้ไหม 

ฟังใหม่ คนจนนั้น ยิ่งจนเพราะคนรวย คนรวยนั้นยิ่งรวยเพราะคนยิ่งจน  ฟังออกใช่ไหม คุณเชื่อไหม เมื่อคุณมีหลักทรัพย์ 2 แสนล้าน คนจะจนอยู่เท่าไหร่ นั่นเป็นทรัพย์ส่วนกลางของประเทศใช่ไหม แต่คุณดูดไปไว้เป็นของๆ กู 2 แสนล้าน คุณดีใจ คุณเอาๆๆ แต่คุณรู้ไหมว่า คนนั่นนะเดือดร้อนไปอีกตั้งเท่าไหร่ กี่ล้านคน การกระทำของคุณนั้น ดีหรือชั่ว หา การกระทำของคุณดีหรือชั่ว ตั้งใจดีๆ คนที่อยู่ร่วมกันในประเทศนี้ ควรจะสงบสุข ควรจะมีอยู่มีกินพอๆ กัน ไม่เดือดร้อน หรือควรเอาล่ะ คนกินก็กินไป มี ร่ำรวย กินให้เต็มพุง อีกคนหนึ่ง อดอยากยากจนไป ควรจะเป็นอย่างไร ควรจะมีกินเฉลี่ยกันอย่างพอถ้วนทั่ว ทั่วถึงกัน หรือควรจะ เอ้า!  เรามีกินมากๆ ก็แล้วกันคนอื่นจนช่างหัวมัน ควรยังไง ควรอย่างแรกหรืออย่างหลัง (เสียงตอบ:อย่างแรก) ก็พอมีสำนึกดีเหมือนกันนะ ถ้าคุณเอาไป 2 แสนล้าน แล้วคนนี่จะเป็นอย่างที่คุณว่าหรือไม่ว่าจะเป็นอย่างแรก อย่างที่ว่านั่นหรือไม่ ไม่เป็น

เพราะฉะนั้นหมายความว่าดีหรือชั่ว (ชั่ว) แต่เราอยากเป็น ใช่ไหม นี่แหละ คือการเสี้ยมสอนกันมาตั้งแต่ไหนแต่ไหน เสี้ยมสอนกันมา เพื่อที่จะได้เปรียบ เพื่อที่จะเอารัดเอาเปรียบ คนอื่นช่างหัวมัน แล้วเราก็มีสำนึกอยู่อย่างนั้น รู้สึกอยู่อย่างนั้นแล้วว่า เอ๊ะ! เรามีหลักทรัพย์ตั้ง 2 แสนล้านนี่ แหม! มันดีจริงๆ น่ะ ชื่นใจเลย ใช่ไหม ทั้งๆ ที่คุณได้ชั่วเห็นไหมว่ามันผิดแล้ว มันเห็นกงจักรเป็นดอกบัวแล้วใช่ไหม เห็นนรกเป็นสวรรค์ เห็นความชั่วเป็นความน่าชื่นใจใช่ไหม 

นี่คือเราไม่ตั้งหลักจริงๆ ไม่ตั้งจิตตั้งใจจริงแล้วเราจะไม่รู้ตัว ถามจริงๆ ตอบจริงๆ ในใจจริงของคุณหน่อยเถอะ คุณกำลังเรียนไปนี่ เพื่อที่จะไปเสียสละจริงๆ ที่จะหาเงินน้อยๆ แต่ทำงานให้แก่สังคมมากๆ ได้รายได้มามากๆ ก็จะสละออกให้หมดๆ ไม่เป็นคนมีมาก จริงหรือเปล่า (ตอบ:จริง)  จริงเหรอ  ตอบให้จริงใจหน่อยเถอะ หรือคุณจะเรียนมานี่ เพื่อที่จะไป แหม! ต้องสตาร์ต นี่ปริญญาตรี ต้อง 2,500 นะ ต้อง 3,000  อู๊ย!  ที่นี่เขาให้ 4,000 แน่ะ อู๊ย! ไปโน่นดีกว่า อะไรแน่ คุณจะยังงี้หรือเปล่า หรือว่า เฮ้ย!  เรามีความสามารถนะ เราเรียนมาปริญญาตรีนี่ ความรู้ก็มี ฝีมือก็มีแล้วนะ คนที่เขาไม่ได้เรียนนั่น เขาแย่นะ ให้เขาเดือนละ 2,000 เราจบปริญญาตรีแล้ว ไปเอาพันเดียว อย่างนั้นหรือเปล่า (เปล่า) เห็นไหมๆ  

คุณได้เรียน คุณมีความรู้เพิ่มใช่ไหม คนที่เขาไม่ได้เรียนอีกตั้งมากตั้งมาย เขาไม่มีความรู้ใช่ไหม คุณได้เรียน คุณได้ฝึกหัด คุณได้ practice คุณได้มีความสามารถเพิ่มขึ้น ใช่ไหม คนไม่ได้เรียนไม่มี ใช่ไหม แต่คุณจะเอามากกว่าเขาใช่ไหม มันเอาเปรียบกี่ต่อ หา ความสามารถนี่มากกว่า ซึ่งจะต้องช่วยตัวเองได้มาก สร้างได้มากด้วย ยังไม่พอ ยังจะผ่าเอามากด้วย เอาเปรียบกี่ต่อ 2 ต่อ ไม่คิดไม่รู้ เห็นไหม ไม่คิดไม่รู้หรอก เราเรียนแต่แบบโลกๆ พาเป็นไปได้เปรียบก็ชื่นใจ ได้เปรียบก็ชื่นใจ มีแต่แง่คิดอย่างนี้แหละโลกีย์

เพราะฉะนั้นโลกคือสังคมสงคราม เมื่อความรู้สึกอย่างนี้ ค่านิยมเป็นอย่างนี้ อยู่ที่ไหน ที่นั่นคือสังคมสงคราม แม้แต่เรียนจบมาชั้นเดียวกัน จบนายร้อย จปร.มารุ่นเดียวกัน ซัดกันใหญ่เลย ตอนนี้กำลังสงครามอยู่ในกองทัพนั้นกองทัพนี้ เห็นไหม รุ่นเดียวกันกำลังตัดขากันลงไป เห็นไหม ใช่ไหม ................(เสียงหายไป)......................................คือประเด็นที่เรากำลังจะพูดกัน จะให้เห็นความจริง ให้เห็นสัจธรรมว่า ความถูกต้องคืออะไรกันแน่  ความผิดพลาดคืออะไรกันแน่ ที่อาตมากำลังพูดนี่ คุณฟัง ใช้ปัญญา คุณอาจจะ อย่าว่าอาตมาดูถูกเลยนะ  คุณอาจจะฉลาดไม่เท่าไหร่ ก็ใช้ปัญญาที่ไม่ฉลาดเท่าไหร่นี่คิด ไม่ต้องไปเอาปัญญาอัจฉริยะมาฟังก็ได้ เพราะว่ามันไม่ยากอะไรหรอกที่อาตมาว่ากำลังพูดนี่ มันไม่ยากอะไรหรอก หรือยิ่งคุณฉลาดๆ ด้วยแล้ว อัจฉริยะด้วย ฟังดีๆ อาตมาว่าคนไม่ฉลาดเท่าไหร่ก็ฟังรู้นะ ที่อาตมาพูดนี่ ไม่ได้ดูถูกคุณนะ คุณอาจจะฉลาดอัจฉริยะอยู่ในนี้ ยิ่งดี อาตมาถึงว่า คุณนี่ไม่จำเป็นจะต้องฉลาดเท่าไหร่หรอกในบางคน บางคนอาจจะยอมรับนะว่า เออ! ฉันไม่ฉลาดเท่าไหร่หรอกก็ไม่เป็นไร  ใช้หัวคิดของคุณที่มีนี่แหละ ฟัง คิด แต่ถ้าใครฉลาด ยกไว้ คุณก็ต้องฟังรู้เรื่องแน่  ฟังไม่รู้เรื่องเอาหัวไปทิ่มขี้หมาตายซะ เพราะพูดนี่ มันไม่เห็นยากตรงไหน ง่ายๆ ใช่ไหม แต่คนไม่ได้คิดอย่างนี้ ไม่ได้ศึกษาอย่างนี้ 

นี่เรามาอบรมพุทธทายาทนี่  เพื่อที่จะให้รู้จักสัจธรรม พระพุทธเจ้านี่เป็น   ปราชญ์เอก แล้วเป็นผู้ที่เป็นมนุสโส เป็นมนุษย์ชั้นสูง เป็นมนุษย์ประเสริฐ เป็นผู้ที่รู้ความจริง เป็นผู้ที่รู้  อ๋อ! สิ่งดี สิ่งประเสริฐของมนุษย์ มันเป็นอย่างนี้หนอ พระพุทธเจ้าจึงมาเป็นคนที่มีความประเสริฐ มีสิ่งที่ดีในชีวิต ท่านเป็นคนมีฐานะน่ะ ร่ำรวยเพราะบุญบารมีของท่าน เกิดมาก็เลยมีคาบช้อนเงินช้อนทองออกมา ใช่ไหม เป็นคนมีฐานะดี บุญบารมี มีกรรม ถ้าคุณเชื่อกรรมนะ กรรมนี่ วิบากกรรมนี่ คนมีกุศลวิบาก ก็เกิดมาดี เกิดมาร่ำรวย เกิดมารูปสวย เกิดมาได้บัลลังก์เลย อย่างพระพุทธเจ้านี่ เกิดมาก็ได้บัลลังก์ เป็นพระพุทธเจ้า จะเป็นพระเจ้าแผ่นดินไปอีกด้วยซ้ำไป แต่ท่านมาตรัสรู้ ได้สัจธรรมแล้ว ท่านไม่เอา ท่านมีนะ ท่านไม่เอา แต่เราไม่มีนะ กำลังจะวิ่งหาแย่งเอามา แต่ท่านมีในมือแล้วนี่ ท่านกลับไม่เอาเลย กลายเป็นคนไม่เอาจริงๆ แล้วมีชีวิตอยู่อย่างสบาย อย่างพ้นทุกข์ อย่างไม่มีความทุกข์ อย่างพวกเราที่แย่งนี่ มีความทุกข์ แต่ท่านน่ะไม่ทุกข์หรอก แล้วท่านก็ไม่แย่ง  แล้วท่านก็ไม่ตายด้วย ท่านก็สบายของท่านไปตลอดพระชนม์ชีพ จนตาย จนปรินิพพาน ท่านมีเงิน ท่านไม่เอาเงิน ท่านมียศ ท่านไม่เอายศ เราเกิดมานี่เริ่มต้นจากศูนย์ เงินก็ไม่มี ยศก็ไม่มี กำลังล่า นี่กำลังเตรียมตัวนี่ เตรียม อยู่ชั้นเตรียมล่า ล่า อีกสักหน่อยจะเข้าไปล่า เข้าไปอยู่ในสังคมสงครามกันไป แม้แต่คุณเรียนนี่ คุณก็เป็นสังคมสงครามนี่ สงครามแย่งชิงกันอยู่ตลอดไป ยิ่งจบออกมาแล้วยิ่ง โอ้โห! ล่า บางคนนี่ ยังไม่ได้เข้าไปในกองทัพเลย  ยังเตะฝุ่นอยู่ โอ้โห! วิจัยฝุ่นอยู่เต็ม จบปริญญามาแล้ว ก็แหม! ไม่ได้ ไปเรียนโทต่อโว้ย มันยังไม่ได้ ไปเตะฝุ่นอยู่นั่น เรียนโทต่อ ดีไม่ดี ใครมีสตางค์ พ่อแม่มีสตางค์หน่อย ไปเรียนเอาเอกมาเว้ย มาวิจัยฝุ่นกันอยู่นี่  มันไม่ไหว ทนไม่ไหว แก่งแย่งกัน เอาอำนาจพวกนี้แหละมาแก่งแย่งกัน ทั้งๆ ที่คนเรานี่ทำงานอะไรก็ได้ แต่คิดว่าทำงานต้องได้เงินมากๆ มียศสูงๆ เป็นเครื่องประเทืองชีวิต นี่เป็นความหลงที่ทำให้สังคมมันเลวทราม มันเป็นสังคมที่ล้มเหลวและทุกข์ร้อนกันทุกวันนี้

พระพุทธเจ้าค้นพบความจริงนี้ จึงไม่พาคนเป็นอย่างที่อาตมากล่าวไปแล้ว ยกตัวอย่างไปแล้ว มาเป็นคนที่ไม่หลงใหลในลาภ  ยศ สรรเสริญ โลกียสุข  แต่เป็นคนมีงานการ มีชีวิตอยู่อย่างสบาย มีชีวิตไม่ต้องไปล่าลาภ ยศ สรรเสริญ อะไรก็ได้  ไม่ต้องติดโลกียสุข เพราะท่านค้นพบว่า โลกียสุขเป็นของหลอก โลกียสุขนี่เป็นของหลอก อยากได้เงินได้มาแล้ว โอ๊ย! สุขใจ นั่นของหลอก ไอ้อาการสุขนั่นมันไม่มี ไม่จริงหรอก เป็นกิเลสชนิดหนึ่ง เป็นโลกียสุข มาฝึกหัดซิ มาบำเพ็ญ พระพุทธเจ้าพาบำเพ็ญแล้ว กิเลสนี้ตาย รสอันนี้พิสูจน์ได้ว่า มันไม่จริง มันของหลอก มันของปลอม มันไม่ใช่ตัวจริง หมดแล้วเป็นยังไง โอ๋! หมดแล้วว่าง จิตว่างจากกิเลสพวกนี้ จิตว่างจากอารมณ์สุขโลกๆ โลกีย์อย่างนี้ สบายเลย ว่าง สบาย ไม่ต้องเป็นภาระ ต้องคอยบำเรอมัน ต้องเป็นทาส ที่จะต้องหาให้มัน อยากได้กินเปรี้ยว  ต้องหาเปรี้ยวให้มัน อยากกินหวาน หาหวานให้มัน อยากได้ไพเราะ หาไพเราะให้มันเสพย์ ทางหู ทางตา ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ไม่ต้องไปมีไม่ต้องไปบำเรอมัน ไม่มีกิเลสที่ต้องการเหล่านั้น สบาย ก็เป็นคนอยู่ในโลกนี้ มีเวลามีแรงงานสร้างสรรไป ไม่ต้องมาบำเรอ วันๆ หนึ่งเราบำเรอตนมาก ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เราบำเรอตนเยอะแยะ แต่ไม่รู้สัจธรรม ไม่รู้ความจริง พระพุทธเจ้าค้นพบแล้ว ถึงเอาสัจธรรมนี้มาเปิดเผย มาให้คนพิสูจน์ มาให้คนเป็นอย่างที่ท่านได้เป็น แล้วท่านก็ พาทำ พาพิสูจน์ จนมีคนพิสูจน์ได้ ตามท่าน จึงเกิดศาสนาขึ้น เกิดศาสนาจนกระทั่งกลายเป็นจารีตประเพณี กลายเป็นการนับถือศาสนาตามพ่อตามแม่ ตามตระกูลเฉยๆ แต่ไม่รู้จักศาสนา ไม่รู้จักระบบของสัจธรรม ไม่รู้จักระบบของความประเสริฐของชีวิต แต่ไปเรียนรู้เอาความประเสริฐอย่างคนลวง อย่างโลกีย์เขาพาเป็นกันไปหมด ตัวเองนี่ชื่อว่าเป็นลูกพุทธะ เป็นผู้จะถือตามที่ปู่ย่าตาทวดสมัยที่ได้ความดีความประเสริฐมาจากพ่อแม่พี่น้อง ปู่ ย่า ตา ทวด สืบทอดมา ที่มันถูกต้องน่ะนะ ไม่เอาแล้ว ไปหลงลัทธิอื่น ไปหลงลัทธิโลกีย์ แต่พอบอกว่าถือศาสนาอะไร พุทธ แต่ไม่ใช่พุทธทายาท พุทธาราด มันราดไปหมดแล้ว มันเลอะไปหมดแล้ว ไม่ใช่พุทธทายาท ไม่ใช่ผู้สืบทอดความเป็นพุทธแต่ผู้ที่ทำพุทธให้เลอะเทอะไปเรื่อยๆ กะเรี่ยกะราดไปหมดแล้ว จนไม่มีเนื้อหาสาระของพุทธ

เพราะฉะนั้น เราจึงพยายามที่จะให้ผู้ที่มีชื่อว่าพุทธนี่แหละมา พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ให้ยี่ห้อมาว่าเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธ ก็มาเรียนรู้ดูซี ว่าพุทธนี่มันเป็นยังไง สืบทายาทมั่งไม่ได้หรือ ฝึกเอามั่ง เรียนรู้เอามั่ง ไปเรียนแต่วิธีการลัทธิอย่างโลกที่เขาพาเป็นนั่นนะ ไปล่าลาภ ยศ กันอยู่นั่น ไปแข่งขันกันอยู่นั่น ไปเข้าสังคมสงครามกันอยู่โน่นน่ะ ทุกข์นะ สังคมสงครามมีตลอดชีวิตนะ ไม่เลิกสงครามกันเลยนะ ตลอดตายนะคุณ สงครามนี่ รบกันนี่ แย่งชิงกันอยู่ตลอดตายเลย หนักเหนื่อยมากเลยนะ เหนื่อยนะ

เพราะฉะนั้น เราอยู่กับสังคมกับเขานี่แหละ ศาสนาพระพุทธเจ้าของเราสอน อยู่กับสังคมเขานี่แหละ  แต่ไม่ต้องทำสงครามกับเขา เหมือนอย่างอาตมา เหมือนอย่างกับพวกเราที่ได้ปฏิบัติมาแล้ว แล้วก็ได้เข้าใจชีวิตว่า อ๋อ! ชีวิตเดินทางสายนี้ดีกว่า อย่าไปสายสังคมสงครามเลย สายสังคมสงบ สังคมเรียบร้อยน่ะ เป็นสังคมราบเรียบ เป็นสังคมที่ไม่มีสงคราม เป็นสังคมที่ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นเขาด้วยซ้ำ อยู่กับสังคมเขา แล้วได้ช่วยเหลือเฟือฟาย ไม่ต้องไปเอาเปรียบเขา ไม่ต้องแย่งชิงเขา มีพลังงาน มีความสามารถสร้างสรร สร้างให้เขา เราเองเราก็สร้างกินของเรา เราสร้างเลี้ยงตน อัตตาหิ อัตตโน นาโถ เราก็มีพลังงาน เราก็มีความสามารถ อาตมาไม่ได้ดูถูกความสามารถทางฝีมือและความรู้นะ ไม่ได้ดูถูก คุณจะศึกษาเอาความรู้ ความสามารถทางฝีมือเชิญ ศึกษานี่เสร็จ จบปริญญาตรี โท เอก อะไร ก็ไม่ว่าอะไร แต่ควรจะมีความรู้อันนี้ ที่กำลังพูดนี่ ความรู้ที่ว่า เรามีไปทำไม มีไปช่วยโลกเขาต่างหาก เรายิ่งมีมาก เรายิ่งจะต้องเอาน้อย เพราะเรามีมากน่ะ เราทำเป็น ทำอะไรปั๊บ มันเป็นชิ้นเป็นอันขึ้นมา เพราะ

ความสามารถเรามี ความรู้ เมื่อไหร่เราใช้ความรู้ออกมา มันก็เป็นความรู้ที่จะเอาไปขายได้กว่าเขา เราจะไปเอาเปรียบเขามาทำไม ยิ่งมีความรู้ ก็ยิ่งจะไปเอาเปรียบ ยิ่งเป็นการ มือยาวสาวได้สาวเอา ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ตายหมดเลย  แล้วกินไม่รู้จักพอด้วยนะ กินไม่รู้จักหยุดจักพอด้วย โลกก็แย่กัน สังคมก็แย่กัน

เพราะฉะนั้นเรามาลองมาเรียนรู้ดูซิ เราเป็นพุทธนี่ พุทธท่านสอนอะไร ทุกวันนี้เขาไม่สอนกันแล้วพุทธศาสนา เขาสอนแต่ให้ไปนั่งสงบ สงบของเขาคือไปให้สะกดจิต หยุด หยุดคิด หยุด โอ๊ย! ว่างดี มีวิธีการให้เพ่งลูกแก้วลูกหิน ให้ท่องพุทโธ ให้อะไรก็แล้วแต่หยุดๆๆๆๆ หยุดเข้าไป วิธีการนี้ ก่อนพระพุทธเจ้าเกิด เขาเรียกวิธีการฤาษี พระพุทธเจ้าเคยไปเรียนกับอาฬารดาบส อุทกดาบส เป็นวิธีการที่ฤาษีทำมานานแล้ว ก่อนพระพุทธเจ้าเกิด  เราก็ทำได้ แต่มันไม่ใช่วิธีการที่จะเป็นโลกุตระ ไม่ใช่วิธีการที่จะมาเหนือโลก มาเข้าใจโลก แล้วก็ อ๋อ! ต้องเกื้อกูลโลก ช่วยเหลือเฟือฟายโลก แล้วกิเลสเราก็ต้องลดลงได้จริงๆ ลดกิเลสลงจนกระทั่งไม่มีกิเลสเห็นแก่ตัวแก่ตน มีแต่ความช่วยเหลือเฟือฟาย ตัวเองกินก็รู้ว่า โอ๊! เท่านี้เอง ใช้ก็เท่านี้เอง ไม่ติดรส ไม่บำเรอตน เมื่อไม่บำเรอตน มันก็ไม่เปลือง เมื่อไม่เปลือง เราก็สร้างสรรได้มาก เราก็เป็นคุณค่าให้แก่โลก ไม่ต้องไปแลกเอาเงินเอาทอง เอาทรัพย์สินอะไรมาให้แก่ตนเอง  แล้วแน่ใจว่าจะมีชีวิตอยู่ได้ในสังคม โดยไม่ต้องกลัวตาย ไม่ต้องกลัวอดอยาก ไม่ต้องกลัวทุกข์ร้อนด้วย สังคมพุทธจะเป็นอย่างนี้ 

แต่ทุกวันนี้จะหาสังคมพุทธอย่างที่อาตมากล่าวนี้ยาก แต่พอมีให้ดูที่ชาวอโศก คุณไม่เชื่อก็ไม่เป็นไรนะ ที่อาตมาพูดนี่ มันเหมือนคุยตัว ที่ชาวอโศกนี่พอมีให้ดู ว่าเขาอยู่กัน เออ!  สังคมชาวพวกนี้นี่ ไม่ต้องร่ำรวย ไม่ต้องโลภโมโทสัน ไม่ต้องกักตุน ไม่ต้องสะสม สร้างสรร ขยันเพียร แล้วก็พึ่งกัน ช่วยกัน พึ่งเกิด พึ่งแก่ พึ่งเจ็บ พึ่งตายกันได้ คนแก่ไม่ต้องไปแต่งงาน  ไม่ต้องไปมีลูกมีเต้าจะต้องพึ่ง พึ่งกันได้ ไม่มีลูกเลยสักคนก็อยู่ด้วยกันได้ พึ่งกันได้ ไม่ต้องมีทรัพย์ศฤงคาร อยู่ได้ ไม่ต้องมีเงินเลยสักบาท อยู่ได้ มีกินมีอยู่ เจ็บป่วยก็มีการช่วยดูแลกัน ตายก็มีการฝังกัน เผากัน ไม่ต้องไปลำบาก ไม่ต้องวุ่นวาย เดือดร้อน ห่วงกังวล นี่สังคมอโศกกำลังทำขึ้น กำลังเป็นอยู่ ก็ยังไม่ดีเยี่ยมหรอกนะ แต่ก็พอมีรูปร่างให้คุณดูได้นะ แล้วคุณจะได้สัมผัสพวกเรานี่ ชาวอโศกมันมีอยู่ที่นี่บ้าง แต่ก็หลายแห่งนะที่มี ที่สันติอโศก ที่ศาลีอโศก ที่ศีรษะอโศก เป็นกลุ่มเป็นหมู่อยู่ เป็นแหล่งที่มีวัดเป็นแกน ที่อื่นกำลังมีอยู่เหมือนกัน แต่ว่าไม่มีวัดเป็นแกน ก็เลยเรียกว่ากลุ่มชาวอโศก อยู่ตามต่างจังหวัด ต่างอำเภอ อยู่ทั่วไปในหลายๆ จังหวัด ในประเทศไทย จับกลุ่มกัน แล้วก็พยายามศึกษาฝึกฝน โดยแนวทางนี้ และมาทำความรู้ ความรู้สึก อย่างที่อาตมากล่าวนี้ กำลังกระทำกันอยู่ ฝึกฝนกันอยู่ อาตมาพาทำงานศาสนามาแล้ว ก็เลยพวกเราก็มีความคิด มีความเอื้อเฟื้อ ก็คิดอยากจะช่วยกันขึ้นมา 

อย่างเมื่อวานนี้ก็เพิ่งจะหมดไปในการอบรมยุวพุทธ เด็กๆ รุ่นเด็กๆ เลย   กระจองอแง เด็กอายุ 5 ขวบ 7 ขวบ 10 ขวบ 14,15  ขวบก็มีน่ะ มาอบรมกัน 250 คน มากกว่าพวกคุณ เพิ่งหมดไปเมื่อวานนี้ ว่ากันเจี๊ยวเชียว ก็เด็กๆ น่ะ เขาก็ยังงั้นล่ะ เขาก็สงบยากหน่อย เพราะว่ามันมีความระมัดระวัง ควบคุมได้น้อยกว่า มันตามใจตัวเองมาก ใช่ไหมเด็กๆ แต่ก็พอเป็นไปได้นะ เสร็จไป อบรมกันไป กี่วัน 5 วันน่ะ เด็กๆ อบรม 5 วัน นี่พวกคุณก็ 5 วัน 5 วันแล้ว นี่บ่าย 2 เพิ่งได้เริ่มต้น มาถึงก็มากินเสียก่อน แล้วบ่าย 2 เพิ่งได้เริ่มต้น แล้วจะไป 5 อะไร นับไป 1 แล้ววันนี้ แล้วไปวันสุดท้าย ก็จะไม่ถึงเย็นด้วย เดี๋ยวเถอะ คอยดู ไม่ 5 หรอก ฮึ! อย่างดีก็ 4 วัน ไอ้นี่ครึ่งหนึ่ง วันสุดท้ายอีกครึ่งหนึ่ง รวมแล้วอย่างดีก็ 4 วัน แพ้เด็ก ได้แค่ 4 วันก็เอาดีน่ะ ก็เอาดีน่ะ แทนที่เราจะใช้เวลาไปสำมะเลเทเมา ไปอย่างที่โลกๆ เขาเป็น อย่างพวกหนุ่มสาว หรือในวัยพวกคุณ ไปเอาเวลาไปทิ้งไปขว้าง ไปนั่นน่ะ ไปเรียนรู้น่ะ โลกเขาก็ให้เรียนรู้  ที่จริงไปถูกมอมเมาอย่างงั้นๆ มันมีเยอะนะ ไอ้มอมเมาอย่างนั้นน่ะ เยอะ ไปเมื่อไหร่ก็ได้ พ่อแม่ห้ามก็ยังไม่ฟังเลย โอ๊! เยอะ ไอ้อย่างนั้นน่ะ แต่ทุกข์ แล้วเรายังไม่รู้เลยว่าทุกข์ เราไปหลงว่ามันสุข มันอร่อยดี มันมัน มันเพลิดเพลิน แล้วถูกหลอก นั่นแหละคือ สุขัลลิกะ สุขหลอกๆ สุขตอแหล ไม่จริง เป็นความไม่จริง นี่เรามาเรียนรู้ความไม่จริงอันนี้ แล้วมาพิสูจน์ซิว่า  มันอร่อย พอจริงๆ แล้ว เรียนรู้จริงแล้ว มันไม่มีรสนั้นเลย คุณจะรู้ว่ามันไม่มีได้ มันหายจากจิตเลยนะ นี่เรียกว่า มันพิสูจน์ได้ เมื่อมันหายไปจากจิตแล้ว เราก็ไม่อยากไปมันอย่างนั้นอีกแล้ว ไม่อยาก มันเป็นของหลอกชั่วครั้งชั่วคราว เป็นของไม่จริงไม่จังอะไร แต่ว่าเราต้องไปบำเรอมัน เสียเงิน เสียทอง เสียเวลา เสียแรงงาน เสียอะไรต่ออะไรไม่เข้าเรื่อง เรานึกว่าเป็นสาระแก่นสารของชีวิต ที่จริงไม่ใช่เลย ไม่ใช่เป็นแก่นสาร ไม่ต้องมีก็ไม่เป็นไรมนุษย์น่ะ ดีเสียอีก ไม่มีแล้วไม่ต้องเสียแรงงาน ทุนรอนเวลาอะไรให้มันแก่มัน เอามาสร้างสิ่งที่เป็นคุณค่าซิ แต่เราไม่ค่อยเข้าใจ แล้วไม่เชื่อยิ่งบอกว่า ไอ้รสอย่างนั้นหมดไปน่ะ โอย! แล้วมันจะเป็นคนยังไง เป็นคนเซ่อๆ เอ๊! รสอร่อยก็ไม่มี จืดๆ นะ มันจะเป็นคนจืด เดินชืดๆ จืดๆ นะ ไม่ ไม่ใช่หรอก เป็นคนเบิกบานร่าเริงในใจ แล้วจะรู้จักเวลา รู้จักแรงงาน รู้จักความสามารถ เรียกว่า เอ๊อ! สิ่งที่เป็นแรงงานความสามารถนี่ เอามาสร้างสิ สร้างแล้วก็ให้แก่คน จะเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจ จะเรียกว่าดีใจ เบิกบานร่าเริง ก็มีได้ แต่ถ้าไปเบิกบานร่าเริงมากๆ มันจะกลายเป็นอารมณ์ติดเหมือนกัน นั่นธรรมะชั้นสูง ท่านก็ไม่ให้ พอถึงธรรมะชั้นสูงแล้ว ท่านก็ไม่ให้มาหลงใหลในอันนั้นอีก แท้จริงมันเป็นความดีนะ ที่เราได้สร้างสรรอันนั้นอันนี้ แล้วก็ เอ้า! เผื่อแผ่ แจกจ่าย เจือจานไป ไม่ต้องค้า ไม่ต้องขาย ทำให้ฟรีเลย มันค่าของเราจริงๆ นะ 

ถ้าขายนี่ เราแลกเปลี่ยนค่ามา แล้วค่ามันหมด ของนี่ค่า 100 ให้เขาไปแล้ว เขา 100 กลับคืน แลกมา ค่ามันหมดแล้ว ใช่ไหม มันเจ๊าแล้ว ใช่ไหม คุณมีค่าอะไร ก็เอาอันนี้ไปให้เขา แล้วคุณก็เอาไอ้ตัวเงินที่เป็นตัวกลางนี่มาแลกไปแล้ว คุณก็เอามาคืนเท่าเก่า ไอ้นั่น 100 คุณก็เอามา 100 คุณมีค่าอะไรกับเขา ไม่มีเลย ถ้าคุณเอา 100 นี้ไปซื้อมาคืน คุณก็ได้ของนี่มาคืน 100 ใช่ไหม มันไม่มีค่านะ แล้วคนเราไม่คิดอย่างนั้นด้วยนะ ไอ้นี่ค่าตลาดมันได้ราว 100 ต้องไป เอ็งจะเอาไป ไอ้คนนี้หน้าเซ่อๆ ไอ้ไก่หลงนี่ คนนี้ 150 เอาไหม แน่ะ 150 เอาไหม ไก่หลงเอาไป 150 แหม! ดีใจจริง ได้ตั้ง 150 ที่แท้ไปโกงเขามาอีก 50 หน็อย! ค่ามันแค่ 100 เดียว โกงเขามาอีก 50 แล้วก็เรียกเกิน นั่นน่ะเรียกเกิน 100 นั่นว่ากำไร คือหนี้ดีๆ นี่เอง หนี้ โกงเขามาฟรีๆ ไม่มีค่าอะไรนะ ยิ่งหาวิธีการให้เขาบวก จากเกิน 100 นี่ มาได้เท่าไหร่ มันยิ่งชอบใจ เพราะได้เปรียบเขามา เพราะไปโกงเขาได้มา แล้วดีใจที่ตัวเองโกงเขาได้ ซึ่งเป็นความชั่ว ไปเอาเปรียบเขามาได้เป็นความชั่ว  เอาเปรียบกับเสียสละ เสียสละกับเอาเปรียบนี่ คิดดูซิ เสียสละเป็นความดี หรือความชั่ว เอาเปรียบเป็นความดี หรือความชั่ว แต่ดีใจที่ได้เปรียบ ใช่ไหม 

นี่เห็นไหม มันเมาอย่างนี้แหละคน  เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ใช่ไหมล่ะ ดีใจใช่ไหม เคยหลงดีใจมาตั้งเท่าไหร่ล่ะ  กี่ทีแล้ว โอ๊ย! ได้เปรียบเขามาดีใจ ดีใจที่เราได้ชั่ว  เราโง่หรือเราฉลาดเพิ่งรู้นะ เพิ่งรู้ว่าเราโง่ เราก็ได้โง่มาสักไม่รู้ว่ากี่ครั้งแล้ว ใช่ไหม  นี่สัจจะมันลึกซึ้งอย่างนี้ ไม่ยากเห็นไหม

อาตมาวิเคราะห์ให้ฟังแล้ว วิจัยให้ฟังด้วยมุมเหลี่ยม ไม่ยากหรอก แต่เราเองเราไม่รู้ แล้วไม่ได้ตั้งใจ ขนาดคุณรู้อย่างนี้ คุณไปเถอะ อย่าเผลอตัวนะ เผลอตัวเมื่อไหร่ คุณก็จะทำอย่างชั่วนั่นแหละ จริงไหม คอยดูซิเอ้า ก็เอาล่ะ คุณฟังไปแล้ววันนี้นี่ คิดว่าใครไม่นั่งหลับ ฟังรู้เรื่องนี่นะ ก็เป็นอันรู้แล้ว ใช่ไหม แล้วไปดูตัวเอง สังเกตตัวเองสิ ต่อไปนี่ จากวันนี้ไปนี่ ไปเถอะ ถ้าเผลอๆ ตัวเมื่อไหร่ มันจะไปดีใจในชั่วที่เราเคยชำนาญนั่นล่ะ มันชำนาญชั่วมา แหม! ชำนาญจริงๆ ชำนาญ หลงดีใจในที่ได้เปรียบน่ะ พอเสียสละหรือ เอ๊! คิดดีๆ เราได้เสียสละนะนั่น เราได้ให้เขานะ เขาได้เปรียบเรา เรานี่เป็นผู้ที่ได้ให้เขา เขานั่นแหละเป็นผู้ได้ เราเป็นผู้ที่สร้างไอ้นี่มา โอย! ทุนมันตั้ง 100 นะนั่น เอาไปเลย เราเอาคืนมาสัก 70 ก็พอ แล้วก็เรียกไอ้ต่ำกว่า 100 นั่นว่า ขาดทุน ที่จริงเราได้กำไร เราได้เสียสละไป 30 ใช่ไหม ถ้าในทุน 100 เราให้เขาแลกมา 70 เราก็ได้เสียสละ 30 ใช่ไหม เสียสละ บอกแล้วว่า เมื่อกี้  ดีหรือชั่ว เราได้ทำดี ใช่ไหม แล้วบอกว่า โอ้โห! เสียเปรียบ ขาดทุนตั้ง 30 ถ้าเป็นที่บ้านนี่นะ เอาของนี่ไปแล้ว เอาไปถึง เอาไปขาย 100 เอาไปขายได้มา 70 มาถึงบ้าน ได้มาเท่าไหร่ แม่ถาม ได้มา 70 ไอ้นี่ ไปขาดทุนมา 30 ซัดเลย ใช่ไหม อะไร โดนเลย นี่คือสังคม นี่คือความไม่รู้ของคน คุณตั้งหลักดีอยู่นะ ขณะนี้นั่งฟังสติสัมปชัญญะดีอยู่นะ ไม่เมานะ  

เอ้า!  ย้ำใหม่ คุณได้เสียสละ 30 ใช่ไหม เป็นความดีแล้ว ใช่ไหม ควรดีใจหรือเปล่า คุณโกรธไหม แม่ก็ไม่รู้ เราก็ไม่รู้ ได้ทำดีไม่รู้ตัว แล้วยังหลงว่าเราไม่ได้ทำดี  แต่ไปทำชั่วก็กลับไม่รู้ตัวอีก หลงว่าเราได้ทำดี ถ้าได้ไปเอาเปรียบเขามา ไปเอาเปรียบเขามาอย่างที่ว่านี่ อย่างนี้เป็นต้นนะ เป็นเรื่องที่เราไม่ได้ศึกษาสัจธรรม 

เพราะฉะนั้นถ้าสังคมไม่เข้าใจถูกสัจธรรมนี้ ไม่ได้หรอก ทีนี้ถ้าเผื่อว่าสังคมรู้แล้วว่า นี่ 100 อย่าไปขายเกิน 100 นะ ขายเกิน 100 นี่ มันชั่วแล้วนะเรา ทุน 100 ไอ้ทุนนี่นะ ตามหลักเศรษฐศาสตร์ ใครเรียนเศรษฐศาสตร์ยกมือขึ้น เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาบ้าง ในที่คุณเรียนนั่นแหละ แล้วแต่ เพราะบางทีเราก็เรียนเป็นวิชาเท่านั้น ไม่ใช่เป็นคณะเศรษฐศาสตร์ทีเดียว เอา ใครเรียนบ้าง ที่เศรษฐศาสตร์พื้นฐานอะไรนี่ เป็นวิชา เอ้าก็เยอะ ในคณะหลายๆคณะ มีวิชาเศรษฐศาสตร์ให้เรียนพื้นฐาน นี้คือเศรษฐศาสตร์ธรรมดา แต่ในค่าของเศรษฐศาสตร์นี่ ทุนนี่ เขาจะต้องคิดถึงค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ใช่ไหม แรงงาน ความคิด ความอ่าน ค่าสึกหรอ ค่าไอ้โน่นไอ้นี่ ค่า แม้แต่ที่สุด ค่า error ค่าขาดหกตกหล่น เขายังบวกเอาไว้อีก ใช่ไหม  เรียกมันว่า ทุน นี่ทุน 100  เสร็จแล้วต้องไปขายให้เกิน 100 รีดนาทาเร้นไหม นี่แหละ หลักเศรษฐศาสตร์สังคม เศรษฐศาสตร์ทุนนิยม 

อาตมากำลังอธิบายเศรษฐศาสตร์บุญนิยมทุกวันนี้ เพื่อที่จะได้ให้เห็นว่า     เศรษฐศาสตร์ทุนนิยมนี่มันร้าย เศรษฐศาสตร์บุญนิยมจึงจะพาสังคมไปรอด  เพราะฉะนั้น เศรษฐศาสตร์บุญนิยม เราจะเข้าใจว่า เอาละ ค่าแรงงานของเรานี่แหละ เราเสียสละค่าแรงงานเราให้ได้ ถ้าเราจำเป็นจะต้องเอา เอาทุนค่าวัสดุ ค่าเครื่องใช้จ่ายอะไรนี่มาคืนมา เพื่อที่จะผลิตต่ออีก เพราะฉะนั้น เราจะเอาค่าแรงงานของเรานี่น้อยลง น้อยลง น้อยที่สุดได้เท่าไหร่ ยิ่งดี  แสดงว่า เราได้เสียสละไปมาก อย่าไปคิดค่าแรงงานแพง ยิ่งคิดค่าแรงงานแพงๆๆๆ  เรายิ่งเอาเปรียบเขา เรายิ่งขูดรีดเขา ถ้าเรายิ่งคิดค่าแรงงานของเราถูกๆๆๆ เรายิ่งได้เสียสละมากๆๆๆ  เพราะมันเป็นเลือดเนื้อของเราเอง ในค่าสมรรถภาพ ค่าความรู้ ค่าแรงงานของเรา เรายิ่งได้เสียสละเท่าไหร่ เราก็ยิ่งเป็นผู้ที่มีประโยชน์คุณค่าในสังคมมากเท่านั้น ถ้ายิ่งคุณมีเลย ร่ำรวยวัสดุสิ่งของ มีทุนรอนมากเลย  ค่าแรงงาน 40 ค่าวัสดุอื่นๆ อีก 60 คุณขายต่ำกว่า 60 อีก ขายมัน 40 ขายมัน 20 ได้ คุณก็อยู่รอด เอาเลย คุณยิ่งกำไรใหญ่เลย ใช่ไหม ยิ่งได้เสียสละมากใช่ไหม แต่คุณจะอยู่ได้ไหม เท่านั้นเอง ถ้าคุณอยู่ไม่ได้ คุณก็จำเป็นจะต้องหมุนเวียนเงินมาซื้อวัสดุ แล้วก็ค่าแรงงานมันอยู่ของเรานี่ วันหนึ่ง วันหนึ่ง ก็จ่ายไปซี จ่ายค่าแรงงานก็ทำออกไป  ฝีมือความสามารถ จ่ายออกไปเมื่อไหร่ก็ได้ คุณก็ได้เสียสละในสังคม 

เอาละ ทฤษฎีระบบบุญนิยมนี่ ยังไม่เข้าใจง่ายนักหรอกนะ ยังเข้าใจยากอยู่ อาตมาก็ยังอธิบายไม่เก่งเท่าไหร่ ก็ค่อยว่า เรียนไป นะนี่อาตมายกตัวอย่างให้ฟังเท่านั้น พอเป็นเค้านะ ที่จะเข้าใจในการมาศึกษา การมาอบรมฝึกฝนนี่ ให้เห็นสัจจะความจริงในโลกในสังคมว่า ทุกวันนี้นี่ เราอยู่กับสังคมอย่างไม่เป็นสัจจะ ไม่เป็นความถูกต้อง หลงกงจักรเป็นดอกบัว หลงผิดเป็นถูก หลงดียินดีในความชั่ว แล้วหลงนึกว่าเป็นความดี ใช่ไหม ที่อาตมากล่าวแต่ต้นแล้วว่า เราไม่รู้นะว่า อะไรมันดีแท้ เรานึกว่าเราจะเป็นคนดี คนดีๆ แต่ที่จริงเราไม่ เราไม่ได้ดีจริง เห็นไหม มันหลงดีเป็นชั่ว หลงชั่วเป็นดี มันก็เลยไม่เป็นสุขไปได้ มันสงบ เป็นสันติภาพไม่ได้ในสังคม เป็นไม่ได้น่ะ

 พระพุทธเจ้านี่เป็นผู้ค้นพบสัจจะความจริงพวกนี้ ก็เอามาเผยแพร่ทฤษฎีให้ฝึกตน ให้เป็นผู้ที่เข้าใจชัดในความดีอย่างแม่นยำ แล้วก็ทำได้ ขณะที่คุณทำได้นี่ คุณต้องไปรับเพราะมันมีกิเลสในใจ มันเคยมา มันมีกิเลส รู้แล้วละ เข้าใจแล้วละ เอ๊! แต่กิเลสมันไม่ยอม ยอมเสียสละน่ะ  อื๊อ! ไม่ไหว ยังไม่ยอมให้ คุณฟังไปแล้ววันนี้ อาตมาบอกแล้ว คุณฟังตั้งแต่วันนี้ไปนี่  ตั้งใจฟังดีๆ คุณเข้าใจแล้ว แต่เวลาจะไปทำจริง มันทำไม่ลงนะ กิเลสมันไม่ยอม เสียสละน่ะ ดีนะ ดีนะ แหม! ดี อย่าเพิ่งน่ะ เอาไว้ก่อนน่ะดี เอาไว้ก่อน มันได้โอกาสได้เปรียบอยู่นี่ เอา เอา เอาก่อนน่ะ เอ้า! จริงๆ นั่นแหละ คุณต้องต่อสู้ให้ได้ คุณต้องเอาชนะกิเลสนั้นให้ได้ นี่เป็นการต่อสู้กิเลส ถ้าคุณชนะกิเลส นั่นคือสงครามที่เราจะชนะตัวเราเอง และจะชนะสงครามสังคม เราจะไม่ไปเป็นข้าศึกในวงสังคม เราจะไม่เป็นตัวศัตรูในวงสังคมด้วย เราจะเป็นผู้ช่วยเหลือสังคม เพราะเราจะเป็นผู้เสียสละ แล้วเราจะเป็นคนมีฝีมือความสามารถ เราก็สร้างสรร แบ่งแจกให้แก่สังคม เราจะไม่ใช่ตัวแย่ง แต่เราเป็นตัวเกื้อกูล ตัวสละ เสียสละ ตัวสร้างสรร อย่างตอนนี้อย่างศาสนาคริสต์  ศาสนาอิสลาม เขาเรียกว่า ตัวพระเจ้า ผู้สร้าง ผู้ประทาน ผู้ให้ ให้แก่คนอื่นน่ะ ถ้าเรียกอย่างศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม เขาเรียกว่า ผู้ให้ หรือท่านเรียกว่าให้ ให้ศัพท์สูงหน่อย แก่พระเจ้า ก็เรียกว่าผู้ประทาน พระผู้ประทาน  ประทานก็ แปลว่าให้ ให้แก่มวลสัตว์โลก ให้แก่มวลประชาชน ให้แก่ผู้อื่น ผู้สมควรได้ เราจะมีปัญญานะ ให้ทาน หรือว่าทำทานแก่คนอื่นนี่ เราก็ต้องมีปัญญา ไม่มีปัญญา ให้สุ่มสี่สุ่มห้า ยิ่งซ้ำซ้อนใหญ่เลย แล้วยิ่งพังใหญ่อีกเหมือนกัน คนขี้โลภนี่ไม่ไปให้ คนที่ยิ่งไม่อยากได้  ยิ่งให้เขาดีแล้วก็เขา มันมีหลักการให้นะ เป็นผู้ที่สมควรจะได้ เป็นผู้ที่จน เป็นผู้ที่มีความจำเป็น เป็นผู้ที่มีความต้องการ เป็นผู้ที่เอาไปใช้ประโยชน์ได้ดี หรือเป็นผู้ที่เป็นอริยบุคคล เป็นคนที่ไม่มีกิเลส ให้แก่คนไม่มีกิเลสนี่ ยิ่งดีใหญ่ เพราะท่านไม่อยากได้เป็นของตน ท่านจะเอามาใช้มาสอย มาอะไร มันจะเป็นประโยชน์แก่ประชาชน สืบทอดต่อไปอีกด้วยซ้ำ อย่างนี้เป็นต้น เป็นหลักในการให้ 

หลักในการให้มีอยู่ 5 ประการ คนจน คนที่จำเป็น คนที่มีความต้องการ คนที่เอาไปใช้แล้วก็จะได้ประโยชน์ ได้คุณค่า แล้วคนที่เป็นอริยบุคคล หรือเป็นผู้มีภูมิธรรม ไม่มีกิเลส ควรจะให้บุคคล 5 คน อย่างนี้ เป็นลักษณะ 5 ประการนี้ ก็พิจารณา อย่างนี้เป็นต้น 

เมื่อเราจะมาอบรมนี่ เราจะได้รับการอบรม แม้แต่พื้นฐานนี่ อาตมากล่าว    ปฐมนิเทศคร่าวๆ ให้ฟังเสียก่อนว่า คุณมาเรียนนี่ คุณจะตั้งหลักอย่างไร คุณจะมาเอาอะไร นี่อาตมาบอกให้คุณทราบเสียก่อน ว่าคุณจะไม่ได้อย่างที่คุณเรียนมหาวิทยาลัย เราเรียกอย่างคาราบาว ก็ต้องเรียกมหาลัยมหาหลอกนะ คุณจะไม่ได้อย่างนั้นหรอกน่ะ คุณจะไม่ได้อย่างนั้น แต่คุณจะได้อีกอย่างหนึ่ง อาตมาบอกแล้วนะว่า คุณเรียนมหาลัยนี่ อาตมาก็ไม่ห้าม คุณจะมีความสามารถ มีความรู้ ก็ไม่ห้าม แต่คุณต้องมีความจริงที่จิตวิญญาณของเรา จะต้องมีญาณปัญญารู้ความจริงที่แท้จริง แล้วไม่ต้องไปเอาเปรียบเขา  คุณยิ่งเรียน มีความสามารถ มีความรู้มาก ถ้าคุณเองไม่มีการลดกิเลส คุณยิ่งจะไปเอาเปรียบมาก เพราะคุณมีความรู้จริงเหนือเขา มีความสามารถจริงเหนือเขา คุณก็เอาเปรียบเขาได้สิ ถ้าคุณ จิตใจคุณไม่ได้ลดความโลภ  ความโกรธ ความหลงจริงๆ คุณไม่รู้ความดีที่ถูกต้องจริง คุณก็ไปเอาเปรียบเขาอยู่นั่นแหละ เพราะยิ่งให้ไปเรียนมาก ยิ่งไปเอาเปรียบเขามาก ยิ่งบาปมาก ยิ่งเจ๊งมาก

เพราะฉะนั้นคุณยิ่งเรียนสูง คุณยิ่งไปเอาเปรียบเขามาก คุณยิ่งได้บาปมาก คนที่เรียนสูงอยู่ทุกวันนี้ แหม! บางคนได้รายได้เดือนละ 5 แสน เงินเดือน 5 แสน ยังมีโบนัสต่างหาก มีเงินรับรองอีกต่างหาก เยอะไปนะเดี๋ยวนี้  ในตลาดสังคมนี่ อยู่ในธนาคาร อยู่ในบริษัทใหญ่ๆ นี่ เงินเดือน โอ้โห! 4 แสน 5 แสน เขากินข้าวเป็นเม็ดทองคำหรือยังไงไม่รู้นะ เงินเดือน 4,5 แสนนี่ สงสัยข้าวที่เขากิน ไม่ไปแอบดูมั่ง สงสัยข้าว เม็ดข้าวที่เขากินคงเป็นเม็ดทองคำนะ เพราะรายได้เดือนหนึ่งได้ตั้ง 4,5 แสนนี่  โอ้โห! กินอะไรกันนักกันหนา คนเงินเดือน 4,5 พันเขายังกิน เขาก็อยู่ได้ เงินเดือนตั้ง 4,5 แสน แหม! มันสงสัยต้องกินข้าวเป็นเม็ดทองคำนะ คนพวกนี้นะ นี่เอาเปรียบเอารัดเขาขนาดนั้นน่ะ เอาเปรียบเอารัดเขา จริง เราไม่ว่าหรอกว่าคุณไม่เก่ง เก่ง แต่คุณเก่ง คุณทำไมจะต้องไปเอาเปรียบเขา คุณกินข้าวเป็นเม็ดทองคำ ก็เปล่า ก็ไอ้กินข้าวเหมือนกันนั่นแหละ ดีไม่ดี อาจจะกินน้อยกว่าคนบางคน  ที่ออกกำลังกายมากๆ กว่าด้วยซ้ำไปนะ ใช่ไหม คนพวกนี้น่ะ อาจจะกินน้อยกว่า กินที โอ๊ย! จานหนึ่ง แต่พวกที่ออกกำลังกาย โอ้โห! พ่อล่อ 3 จาน อื้อหือ! ค่อยมีกำลัง แล้วไปแบกหามต่อ ใช่ไหม จะกินน้อยกว่าเขาเอาด้วยนะบางที แต่ แหม! พ่อล่อรายได้มากเหลือเกิน 

นี่สังคมมันไม่สุจริตยุติธรรมอย่างนี้ มันไม่ยุติธรรม แล้วมันไม่เข้าใจอย่างที่อาตมาว่า เขานึกว่าเขาสุจริตแล้ว แฟร์แล้ว ฉันไม่ได้เอาเปรียบใคร เขาให้ฉันเอง ฉันต่อรองเขาก็ยอมนี่ เขาให้ฉันน่ะ ต่อรองให้ฉันอย่างนี้ เขาก็ให้ฉันเอง เขานิยมในความรู้ความสามารถของฉันน่ะ เขาก็เลยตีราคาให้ฉันอย่างนี้ คุณก็อยู่ในข่ายอันนี้เหมือนกัน คุณมีโอกาสอย่างนี้ ถ้าคุณไม่ได้เรียนรู้ตามที่อาตมาอธิบาย คุณก็จะไปเป็นคนอย่างนี้ หรือไม่แน่ ทั้งๆ ที่ได้ฟังอาตมาอธิบายนี่ ยังไม่รู้ได้นะ อีก 30-40 ปีข้างหน้านี่ คงจะ อ้อ! อุตส่าห์ได้ฟังอาตมาพูดนี่ ยังไปเป็นน่ะ คนรายได้เดือนละ 4,5 แสน 6 แสนนี่ก็ อาตมาจะพยายาม ยังไม่ตาย จะรอ รอดูพวกคุณ ยังไปเป็นคนที่เอาเปรียบเอารัดเขาอยู่ โน่นน่ะ หอคอยงาช้างโน่น นี่มันเป็นอย่างนี้สังคม แล้วทุกคนมีแต่ความคิดอย่างนี้ พื้นๆ อย่างนี้ถึงไปไม่รอดน่ะ แล้วไม่เป็นบุญแก่ตนเลย มันไม่ได้เสียสละ มันไม่ได้มีคุณค่าอะไรแก่สังคม 

ถ้าคุณเข้าใจอย่างที่อาตมาบอก ว่านี่ถ้าเราสร้างอะไรออกมานี่ เป็นผลผลิต หรือแรงงานของเรานี่ ค่าของมัน 100 นี่นะ เขาเอา 100 แลกคืนมานี่ คุณสูญค่าแล้ว คุณเป็นคนไม่มีค่าอะไรในสังคมแล้วนะ หักกลบลบหนี้กันแล้ว สูญแล้ว เจ๊าแล้ว แล้วเกิดมาแล้วนึกว่าตัวเองมีค่าอะไร งมงายอยู่ว่าตัวเองมีค่า ก็มันแลกค่าเอามาแล้ว ดีไม่ดี เอาเงิน 100 นี่ไปเล่นหัวอะไรก็ไม่รู้ เอาไปบำเรอตนน่ะ เอาไปจ่ายทิ้งเสียแล้ว  ฟุ่มเฟือยไปแล้วด้วยซ้ำไม่ได้ค่าอะไรเลย นอกจากจะเอามาบำเรอตน หรือเอามากอบกองไว้  โอ! ฉันจะมีมาก มากๆๆ แล้วก็เอาไปฝากแบ็งค์ เอาไปต่อเชื้อ ต่อระบบ เอาไปฝากแบ็งค์ แบ็งค์ก็เอาไปออกกู้ คนออกกู้ก็เอาไป คนกู้เงินไป ก็เอาไปรีดจากประชาชนอีก เพราะว่ากู้มาแล้วก็ต้องเอามาส่งดอก ใช่ไหม ให้แก่แบ็งค์ แล้วแบ็งได้ดอกมานี่ เอาไปจ่ายให้ใครบ้างรู้ไหม แบ็งก์นี่ เขาได้เงินดอกนี้มา เขาก็เอาไปเลี้ยงแบ็งค์เอง ใช่ไหม เลี้ยงคนในแบ็งค์ เงินเดือนคนในแบ็งค์ถูกไหม ไม่ถูกเลย แพงด้วย โบนัสก็แพง ค่าสวัสดิการก็มาก ใช่ไหม เงินเดือนพวกในแบ็งก์เอาไปเลี้ยง 1 เลี้ยงพวกนายแบ็งค์ 2 ไปเลี้ยงคนที่เป็นเจ้าของหุ้น เป็นเจ้าของเงิน ที่เอาไปฝากในแบ็งค์นั่น แบ่งไปหักเป็นดอกเบี้ยให้ใช่ไหม คนที่เอาสตางค์ไปฝาก เท่าไหร่ก็แล้วแต่ สอง เอาไปแบ่งพวกเจ้าของเงิน 3 ไปแบ่งปันผลให้แก่พวกหุ้นพวกทุน แบ่งเงินปันผล 4 ไปเผื่อเสียภาษีรัฐบาล 5 เผื่อเงินค่ารับรอง ค่าการกุศล ค่าสาธารณะ หก ค่าขยายกิจการ เจ็ด แปด มีอีกตั้งเยอะ อาตมาวิเคราะห์เอาไว้น่ะ เพราะฉะนั้นดอกเบี้ยนี่รีดมาเผื่ออะไรบ้าง ประชาชนเลยเลือดซิบๆ เลย เห็นไหมว่า มันรีดมาเท่าไหร่ ดอกเบี้ยนี่คือเลือดของประชาชน ดอกเบี้ยธนาคารนี่คือ เลือดของประชาชน เห็นไหมว่ามันเอาไปเผื่อเลี้ยงใคร พวกนั้นอยู่สวาปาม เปรมเลยนะนั้นน่ะ ก็เงินรายได้ ก็คือดอกเบี้ยเอาไปให้ธนาคารนั่นแหละ คนที่กู้เงินของธนาคารไปถึงก็ โอ้โห! กระจองอแง พลาดพลั้งล้มละลาย ล้มละลายแล้วธนาคารเป็นยังไง ยึด ธนาคารเขาไม่ยอมขาดทุนง่ายๆ เขาไม่ยอมเสียท่าง่ายๆ ยึด อย่างนี้เป็นต้น นี่เขาก็เอาแบบนี้น่ะ 

เอาละ วิธีการ หรือเรื่องอะไรต่ออะไรของทุนนิยมนี่ มีอีกมากกว่ามาก อาตมาไม่ได้มาล้างสมองคุณเพื่อที่จะให้ไปทำคอมมิวนิสต์ เพราะว่าศาสนาพุทธนี่เหนือชั้นกว่าคอมมิวนิสต์ เพราะว่าเราเองเราไม่ต้องไปปฏิวัติ ไม่ต้องไปรุนแรง ไม่ต้องไปโค่นฆ่าธนาคาร ไม่ต้องไปโค่นฆ่านายทุน ไม่ต้องไปโค่นฆ่าใครอะไร ปล่อยเขา เราทำของเราให้ดี เป็นผู้เสียสละ เขาจะเอาเปรียบเอาไป เขาจะทำตนเอาเปรียบ เอาไป บาปเป็น ของเขา เราจะทำบุญ เราจะเสียสละ เสียสละ หาคนมาเสียสละให้มากๆ เอาให้มันเอาเปรียบให้เข็ด เราจะเสียสละไป เราจะไม่เข็ดด้วย หาเราก็ตายก่อนเลยหรือ นี่ไม่ใช่นักสู้ เห็นไหม นี่จับตัวได้แล้ว ไม่ใช่นักสู้ นักสู้เราจะเสียสละ ให้เขาเอาเปรียบให้เข็ด เราจะเสียสละอย่างไม่เข็ด เสียสละน่ะ ไม่รู้เมื่อไหร่มันจะเข็ดไม่รู้นะ ไอ้พวกเอาเปรียบ แต่เรานี่เป็นผู้เสียสละ อย่ารู้จักเข็ดก็แล้วกัน ไม่เข็ด จะเสียสละอยู่อย่างนี้ เสียสละไปตลอดกาลนาน ไอ้คนจะเอาเปรียบ เอาเปรียบไป เอาน่ะ สักวันมันต้องเข็ดจนได้ ไม่เข็ดช่างมัน แต่ว่าถ้าเราทำการเสียสละนี่ เราจะมีหมู่มีกลุ่มผู้เสียสละอยู่ด้วยกัน แล้วมันจะเป็นพลัง เป็นสังคมอย่างหนึ่ง เป็นสังคมของคนที่รู้จักอุดมการณ์ รู้จักความดีที่ถูกต้อง รู้จักความสุจริตที่จริงจัง ไม่ใช่หลงหัวเป็นหางเหมือนอย่างที่อธิบายไปแล้ว จะเป็นคนกลุ่มนี้ อยู่อย่างนี้ ต่างคนต่างเสียสละ คนนี้ก็เสียสละ อันนี้ ทำอันนี้มาแล้ว บอก เอ้า! เธอเอาไปซิ เอ๊ย! ฉันก็พอแล้ว ฉันก็ไม่เอา มันก็กองอยู่ตรงนี้ มันก็อุดมสมบูรณ์เต็มอยู่ในนี้ ทุกคนก็ขยันหมั่นเพียร ทุกคนก็สร้างสรรมา แล้วเราก็ไม่โลภโมโทสันมาเป็นของตน จะเอามากอบมากองไว้ เราก็ไม่ต้องไปผลาญวัตถุดิบ ไม่ต้องไปเอาทรัพยากรของโลกมาทำอะไรมากเกินไป มันก็เหลือ ธรรมชาติมันก็มีเวลาสังเคราะห์ตัวมัน ดินก็งาม น้ำก็ใส ใบไม้ก็สวยสด สะอาด อากาศก็บริสุทธิ์ มนุษย์ก็สุขสบาย มันก็เป็นอยู่อย่างนั้น 

แต่ทุกวันนี้นี่  โอ้โห! ไอ้ดินก็สังเคราะห์ตัวไม่ทัน ดินก็เน่า น้ำก็สังเคราะห์ ตัวไม่ทัน โรงงานนั่น โรงงานนี่ ปั่นน้ำออกมา น้ำก็เน่า ดินก็เน่า อากาศก็เน่า อะไรๆ เน่าหมด ข้อสำคัญคือ จิตวิญญาณคนเน่า เดี๋ยวนี้มีมลพิษอย่างนั้น อะไรๆ ก็ร่อยหรออะไรๆ ก็เสียหายหมดเลย เป็นของเสียหมด ธรรมชาติก็หมด ร่อยหรอไปหมด เมื่อไหร่ล่ะมันจะไม่บรรลัย วันๆ ก็โล้น โลกนี่โล้นหมดเลย อะไรๆก็เน่า นอกจากโล้นแล้ว ยังมีแต่ของเน่าอีกด้วย เอ้า! คุณไปอยู่เถอะโลกโน้น อาตมาจะทำโลกอยู่ของอาตมา ที่มันมี ดินก็งาม น้ำก็ใส ใบไม้ก็สวยสดสะอาด อากาศก็บริสุทธิ์ มนุษย์ก็อยู่สบาย จะอยู่โลกอย่างนี้ นี่อาตมากำลังทำขึ้นนี่ ที่จริงมันไม่มีหรอกแต่ก่อนนี้ มันมีแต่ต้นหมามุ่ย กับหนามพงดอ  แต่ก่อนนี่เต็ม พอเรามาอยู่ เราก็ปลูกต้นหมากรากไม้ขึ้นมา นี่พยายามให้มันมีใบไม้ มีน้ำ มีท่า มีอะไรต่ออะไร อากาศให้บริสุทธิ์ขึ้นมา  เราก็จะทำอย่างนั้นจริงๆ อยู่ของเราอย่างนี้ เราจะไม่มีความเข้าใจอย่างที่โลกเขาเข้าใจ แล้วก็พยายามผลาญพร่าเอาอะไร วัตถุดิบมาทำกันให้เน่า แล้วเอาไปขาย เอาไปค้า เอาไปแลกมาบำเรอตน อะไร ให้เปลือง ให้ผลาญเราจะไม่เอา เราจะทำอย่างนี้ ผู้ใดเห็นด้วย มาร่วมกันทำ ผู้ใดไม่เห็นด้วย เขาก็ไปทำอย่างโน้น เราก็ห้ามเขาไม่ได้ เอ้า! ก็แล้วแต่ใครเห็นน่ะ มันเป็นอิสรเสรีภาพของพุทธนี่ เป็นอิสรเสรีภาพ ใครรักอย่างนี้ มาเอาอย่างนี้ ใครเห็นดีอย่างนี้ มาเอาอย่างนี้ ใครไม่เอาก็ไม่ว่าน่ะ ไม่ได้บังคับ ใครจะเอาอะไร อิสรเสรีภาพ เลือกเอาตามชอบ แล้วเราก็จะอยู่อย่างของเรานี่ อยู่อย่างคนจน เขามาข่มมาเบ่งเรา เขาร่ำรวย มาเบ่งมาข่มเรา เราแต่งตัวมอซออย่างนี้ ก็ช่างเขาปะไร ก็เขาบ้าของเขาเอง แล้วเขาก็เป็นภาระของเขาเอง ประเดี๋ยวก็เปลี่ยน เดี๋ยวชุดเช้า เดี๋ยวชุดสาย เดี๋ยวชุดบ่าย เดี๋ยวชุดเย็น เดี๋ยวชุดนอน แหม! เดี๋ยวชุดอาบน้ำ เดี๋ยวชุดเข้าส้วม เขายังไม่ได้ design ขายกันชุดเข้าส้วม อาตมาเคยแนะไปหลายทีแล้ว ไอ้พวกร้านตัดเสื้อผ้า มันไม่ยักตัดชุดเข้าส้วมขายมั่ง หา ไม่ทำหรอกอโศก ว่าเขา อโศกว่าเขา อโศกไม่ได้เป็นอยู่แล้วนี่ อโศกไม่ได้มาแบ่งชุดเช้า ชุดสาย ชุดบ่าย ชุดเย็น อยู่แล้ว จะไปตัดทำไมเล่า เขาทำใช่ไหม เขาเป็นใช่ไหม เขามีใช่ไหม เราก็แนะนำเขาอีกน่ะ พูดจริงๆ ก็คือ ประชดต่อไปอีกน่ะ นั่นน่ะ มันเป็นวรรคเป็นเวรอยู่อย่างนั้น แล้วเป็นภาระเมื่อย แล้วแข่งกันนะ แหม! ไปงานทีนี้ ชายตาชำเลืองมอง ผ้าแกนี่เมตรเท่าไหร่วะ ผ้าข้านี่เมตรละ 3 พันนะ เมตรละ 3 พันยังถูกนะ เมตรละหมื่นก็มี ผ้า ชุดเป็นแสนก็มี ตัดไปใส่ ชุดเป็นแสนก็มี อย่างนี้เป็นต้น แล้วก็เบ่งข่มกันน่ะ ชุดข้านี่ แทบจะติดป้ายราคาไว้เลยนะ แต่มันจะอายเขาก็ไม่ติด มีเชิงชั้น แบบไหนที่จะให้เขารู้ว่า ชุดนี้น่ะแสนกว่านะเอ็ง จะให้เขารู้ มันเบ่งข่มกันน่ะ แล้วมันก็ยังงั้น แล้วอย่าใช้ซ้ำนะ ถ้าใส่ซ้ำแล้วถือว่า เอ็งไม่รวยจริง แหม! งานนั้นก็ใส่ งานนี้ซ้ำนี่ งานนี้ ไม่แน่จริงนี่หว่า แน่จริงก็ซื้อใส่ครั้งเดียวซี แน่ะ มันก็ถูกเอาเหมือนกันนะ พวกผู้หญิงนี่บ้าบอดีเหมือนกัน เชื่อจริงๆ เหมือนกัน ต้องแน่จริงเหมือนกัน ต้องใส่ทีเดียว แล้วแขวนทิ้งไว้เลย ไปงานใหม่ต้องชุดใหม่ ชุดนี้ไม่ได้ เดี๋ยวเขาหาว่า ใส่ซ้ำ แหม! ยอดโง่เลย แล้วแพงๆ ด้วยนะ ยอดโง่เลย เอ้า!  ริงไหมล่ะ  คุณเคยรู้ อย่างนี้บ้างไหม สังคมชั้นสูง ก็เคยรู้บ้างไหม รู้เหรอ บางคนรู้ บางคนบอกว่าไม่รู้ เคยรู้มา ไม่เคยได้ยินมาเหรอ แต่คุณคงไม่มีทุนรอนไปเป็นอย่างของเขาได้หรอก เพราะยังไม่ถึงขนาด แต่อย่างนั้นน่ะ สังคมพวกที่มันเบ่งข่มกัน มันเป็นอย่างนี้ โอ๊! บ้าๆ บอๆ น่ะ นี่ถูกเขาหลอก ไอ้คนที่ตัด มันก็ยิ้มไปสิ ไอ้คนที่ตัดมันหลอกได้ นี่ไอ้คนพวกนี้ฉลาดหรือโง่ คุณคิดเอา มันใช้จิตวิทยาหลอก แล้วหลงคารมมัน เห็นไหม เป็นอย่างนั้นแหละ ทำเป็นเบ่งเป็นข่ม เป็นอวดเป็นอ้างกันไป แต่แท้จริงโน่นแน่ะ ไอ้อยู่ ตาอยู่ เลยกินหัวพุงหัวมันไปเลย ก็ดี เอ็งซื้อชุดนี้แสนหนึ่ง แล้วเอ็งใส่ทีเดียว แล้วเอ็งก็มาตัดใหม่อีกแสนหนึ่ง โดนไอ้ตัวโน้นกินหมด ไอ้ตัวนี้เป็นขี้ข้าม้าครอก เขาหาไว้ให้มัน นี่แบบนี้ เขาก็ใช้วิทยาวิชาการแบบนี้ ทำกันอยู่ในสังคมนี่ ล่อๆ หลอกๆ กัน มีกันเป็นถุงเป็นถัง โอ้โห! มากมาย 

นี่ร้านทึ่งเกิดขึ้นมานี่ บอกว่า เอ้า! ใครมีมากๆ ก็เอามา พวกนั้นโละมาหมดแล้ว ร้านทึ่งรับเละเลยเดี๋ยวนี้ เอาไว้ขาย ขายตลอดทั้งปีก็ไม่หมด อันนี้ โละมานี่ พวกนี้ยังมีพวกโง่ๆ อยู่อย่างนี้เยอะ นี่อย่าพูดดังนะ เดี๋ยวเขาจะไม่เอามา อาตมาพูดอย่างนี้ เหมือนกับไปดูถูกดูแคลนเขา เดี๋ยวเขาจะหาว่า เอ๊!  ไอ้นี่มันไปว่า ที่จริงน่ะมันเป็นอย่างนี้จริงๆ แต่ว่าเขาไม่รู้ตัว เสร็จแล้วพออย่างนี้ ได้ท่าได้ทีนะนี่ เอามาบริจาค ทำโก้อีกทีหนึ่งนะ ที่จริงนะ ก็ไม่รู้จะเอาไปทำอะไร เพราะมันก็เบะๆ โอ้โห! ตู้ก็เต็ม ไอ้โน่นก็เต็มหมดแล้ว แหม! ตอนนี้ดีแล้วๆ แหม! อีตาจำลองนี่มาทำอย่างนี้ ดีแล้ว แหม! ได้ที ออกมาให้ใหญ่เลย ก็ดีเหมือนกันน่ะ คุณจำลองก็จะได้ขายแบ่งไปให้แก่คนจนคนยาก คนที่ไม่ค่อยมีกัน ก็เป็นการหมุนเวียน มันเป็นการสะพัด เป็นเศรษฐศาสตร์ที่สะพัดสู่มือคนยากจน คนพวกนี้เขาร่ำรวย เขาไม่ตาย เขาไม่มีปัญหา แต่คนที่มีปัญหา ไม่มีจะใส่ ทีนี้มันไปเข้าคิวซื้อกัน เห็นไหมล่ะ  คนจนมันมีมากมาย คนร่ำรวยมันมีเยอะ แล้วมันก็ทำอย่างนั้นกัน มันก็หมุนเวียนอย่างนี้มา ก็เป็นวิธีการอันหนึ่ง ก็ดีในสังคมน่ะ ใครจะไปทำมั่งก็ได้ แต่คนเรามันอยากดัง อยากโด่ง อยากเด่น ไปทำกับคนไม่ดัง มันก็ไม่อยากทำ มันต้องมีองค์ประกอบหลายอย่าง กว่าจะทำอะไรต่ออะไรพวกนี้ได้น่ะ อาตมาก็เลยเล่าอะไรต่ออะไรออกไป มีอะไรประกอบเยอะออกไปเลยนะ สรุปเข้ามาง่ายๆ น่ะ

สรุปเข้ามาน่ะ ให้เห็นว่า พระพุทธเจ้านี่ หรือว่าพุทธศาสนานี้ สอนให้เรา  รู้จักสัจจะความจริง พอเข้าใจกันบ้างไหมว่า สัจจะความจริงคืออะไร คือรู้ความดีที่ถูกต้อง รู้ความชั่วที่ถูกต้อง สำคัญอีกอันหนึ่งก็คือ พุทธศาสนาสอนให้รู้กิเลสชัดๆ แล้วลดกิเลสให้ได้ นี่พุทธศาสนาจะสอนอย่างนี้ สอนให้รู้ความดีที่ถูกต้อง รู้ความชั่วที่ถูกต้อง แล้วละชั่ว ประพฤติดีให้จริง นั่นเรียกว่า ละชั่ว ประพฤติดี

2. รู้จักกิเลสให้ชัด แล้วล้างกิเลสออกจากจิต  แล้วจิตจะบริสุทธิ์ผ่องใส  ก็เรียกว่า ทำจิตให้ผ่องใส มี 2 อย่าง นี่เป็นของศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าท่านสอนละชั่ว ประพฤติดี ใครเคยได้ยินบ้าง โอวาทปาฏิโมกข์ 3 ละชั่ว  ประพฤติดี ทำจิตให้บริสุทธิ์ ผ่องใส เคยได้ยินไหม (เสียงตอบ:ไม่เคย)  แหม! เป็นนักศึกษาจนป่านนี้แล้ว ไม่เคยได้ยินเชียวหรือ โอวาทปาฏิโมกข์นี่ นี่ 3 ข้อ นี่สำคัญนะ นี่ศาสนาพุทธท่านสอนอย่างนี้ เมื่อเรามาเรียนรู้ความจริงอันนี้ได้ เราก็มาปฏิบัติให้มันตรง ละชั่วให้จริง จริง ต้องเข้าใจชั่วอย่างที่ว่าแล้วนะ เข้าใจชั่วอย่างมอมเมา มอมเมาอย่างโลกนั่น ไม่ได้นะ ไปได้เปรียบเขามา ยังมานั่งดีใจ ที่ได้ทำชั่วอยู่ นั่นมันไม่ถูกนะ อย่างนั้นน่ะ แท้จริงมัน มันสับสนปนเปกันอยู่ ไปทำไม่เข้าเรื่อง ถ้าศึกษาสูงๆ ขึ้นไปอีก  เอ้า! ว่าให้ฟังอีกนิดหนึ่ง

คนที่ยังมีกิเลสในตัวนี่ ยัง มันยังชั่วอยู่ คุณฟังว่าใช่ไหม คนยังมีกิเลสในตัวนี่ มันยังชั่วอยู่ ใช่ไหม เออ! ยังพอฟังออกนะ เรามีกาม มีราคะ เป็นกิเลสหรือเปล่า ชั่วหรือเปล่า คุณยังมีกันหรือเปล่า เห็นไหม มันเข้าตัวนะ โดนยิงแล้วนี่ โดนยิงเข้าไปแล้ว เพราะฉะนั้นคนหมดกิเลส ราคะก็หมด ไม่ต้องมี เห็นผู้ชายผู้หญิงก็เป็นเพื่อนกัน เป็นญาติกัน พี่น้อง ไม่ต้องมีอารมณ์ราคะ ไม่ต้องมีอะไร สบาย แต่ยังมีอยู่ ยังเป็นคน ความชั่ว เห็นไหม มันมีความชั่วซ้อนลึก แต่เราไปพูดกล่าวแรงๆ ไม่ได้ เพราะประเดี๋ยวก็ไปเจอหมด ประเดี๋ยวเขาบอกว่า แล้วแกเกิดมาจากไหนล่ะ แกบอกว่าคนชั่วหมด พ่อแม่แกก็ชั่วซิ พ่อแม่ให้แกเกิดมา แหม! เราก็โดนย้อนเข้าให้บ้าง นี่อย่างนี้แหละ เราต้องบอกกันเป็นชั้นๆ พูดกันเป็นระดับๆ พอระดับสูงขึ้นมา แม้แต่กิเลสราคะ กิเลสโน่นนี่ มันก็ต้องมีศึกษาว่า ที่จริงมันไม่ใช่ความดีนะ  แหม! รักกันจริง อู๊ย! ฉันกับเธอ มีเรา สองเราเท่านั้น รัก โอ๊!  นี่พ่อแม่ห้ามก็ไม่ฟัง ไอ้โน่นไอ้นี่ก็ไม่เอาแล้ว ข้าจะรักกัน ข้าจะแต่งงานกัน ข้าจะ..เต็มไปด้วยราคะ เรานึกว่าเราดีนักเราดีหนา ที่จริงเราถูกกิเลสมันหลอก ถูกโลกมันหลอก  พระพุทธเจ้าถึงให้มาศึกษาสัจจะความจริงซะ ยังมีกิเลสไม่ใช่ของดีหรอก  ไม่ใช่ของจริง คนไหนที่ลดราคะ คนนั้นทันสมัยที่สุด ทำไมอาตมาพูดอย่างนี้รู้ไหม คุณรู้ไหม ขณะนี้พลโลกเท่าไหร่ พลโลกเท่าไหร่ โถ! ไม่มีความรู้รอบตัวอันนี้เลยหรือ 5 พันล้านคน นี่เขาเพิ่งฉลองพลโลกรายที่ 5 พันล้านไปหยกๆ ไปจับโมเมเอาใครก็ไม่รู้ เป็นคนที่ 5 พันล้าน คนที่เกิดเป็นคนที่ 5 พันล้านของโลก แล้วเขาก็ฉลองกันไปแล้ว มันล้นโลกแล้ว คุมกำเนิดกันแล้ว แต่มันไม่มาคุมกำหนัด ซึ่งเป็นตัวจริง มันไม่มาคุมกำหนัด มันคุมกำเนิด มันคุมกำเนิดแบบวิธีโลก วิธีไอ้โน่นน่ะ มันยิ่งมีกำหนัดมาก ยิ่งไปตอนเติน แหม! ยิ่งคึกใหญ่เลย แหม!  มันยิ่งไป.. ก็ไม่เข้าท่า มันยิ่งทำให้ประมาท เสร็จแล้วก็ไปหลงระเริงว่าเป็นอารมณ์สุข เป็นรสอร่อย ที่จริงไม่มีหรอก มาศึกษาดีๆ แล้วหมดกิเลสนี้ได้

เพราะฉะนั้น คนไหนลดราคะได้ คนนั้นทันสมัย  เพราะสอดคล้องกับโลก    เขาไม่ต้องการแล้วใช่ไหม ไปทำอย่างนั้นก็คือการไปสร้างลูก สร้างเต้า ไปสร้างพลโลกขึ้นมาเพิ่ม มันไม่ถูกแล้ว เขาลดกันแล้ว คนที่รู้ตัวนั่นเขาลดแล้ว เขาไม่เพิ่มพลโลก เขาป้องกันคุมกำเนิดกันอย่างกับอะไรดี  มีแผนป้องกันการกำเนิดในครอบครัวกันตั้งทุกเดี๋ยวนี้  ทุกประเทศแล้วทำ เพราะมันเฟ้อ

เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดมาทำให้สอดคล้องกับที่เขากำลังป้องกันไม่ให้เกิดกันนี่ คนนั้นเขาทันสมัย เห็นไหม แล้วคนก็หาว่าพวกชาวอโศกนี่พวกล้าสมัย พวกถอยหลังเข้าคลอง ชะชะ พวกนำสมัย ไม่รู้ตัว นี่ละ เรานำสมัย ทันสมัย นำสมัยที่สุดเลย แล้วมันลดจริงๆ เราก็จะสบายด้วย สังคมก็ปลอดภัย สังคมปลอดภัย แล้วก็ไม่เปลืองไม่ผลาญ ไม่หนักไม่หนาอะไร อย่างนี้เป็นต้น

เอาล่ะ เราจะได้เรียนนะ ได้เรียน มาที่นี่ 3-4 วันนี่  เราจะได้เรียนสัจธรรมพวกนี้ จะมีอะไรตั้งแต่เป็นพื้นฐาน นี่อาตมาพูดถึงแกนหลักๆ ให้ฟังว่า เราจะเรียนรู้สัจจะความจริงอย่างนี้ แล้วไม่ง่ายหรอกนะ ที่พูดให้ฟังนี่ไม่ง่าย ไม่ง่ายก็ต้องทำ เพราะมันเป็นความดีที่จริง เป็นความดีที่ถูกต้อง เราต้องทำ เกิดมาเป็นคนนี่ 

จะไปล่าลาภ ล่ายศ แข่งขันกันในแบบได้แต่หนี้ ได้แต่บาป อยู่อย่างนั้น ได้เบ่งข่มกัน บังคับกัน อะไรต่ออะไรกัน มันไม่ได้หรอก  ตลอดตาย โลกแตกก็ไม่ได้นี่ ก็ร้องกันไปซิ สันติภาพ หาวิธีการที่จะไปทำ ถ้าไม่เอาวิธีการเข้าไปหาจิตวิญญาณ อย่างที่อาตมากำลังพาทำนี่ หรือพระพุทธเจ้าได้พยายามวางมาตรฐาน วางทฤษฎี เอามาให้ ถ้าไม่ทำอย่างนี้นะ ไม่มีทางน่ะ ไม่มีทางจะเป็นไปได้ พิสูจน์กันได้เลยนี่ กลุ่มหมู่ที่พวกเราทำอยู่นี่นะ คนก็ยังไม่มาก เขาก็มาติกันอยู่ตรงนี้ว่า เอ๊ย! ทำได้สิ คนไม่มาก ก็คนไม่มาก มันมีรูปรอยของสันติภาพไหมล่ะ มันมีรูปรอยของสันติภาพ มันมีรูปรอยของความสงบสุข  มันมีรูปรอยของการไม่แย่งไม่ชิง เอื้อเฟื้อ เจือจาน ช่วยเหลือเฟือฟายกัน ไม่เอาเปรียบเอารัดกัน นี่มันมีรูปรอยอันนี้ได้ คนอื่นก็พยายามหาวิธีกัน ช่วยเหลือกันทั้งประเทศสิ ช่วยเหลือกันทั้งโลกสิ กระจายความรู้ความจริงอันนี้กันสิ  แต่เขาไม่ทำนี่ ก็มาทำอย่างที่เราทำสิ  มันก็จะได้คนอย่างนี้  เมื่อเป็นคนอย่างนี้ หลายๆ กลุ่ม หลายๆ หมู่ หลายๆ แห่ง หลายๆ หย่อมในสังคม มันก็เป็นหมู่ใหญ่เอง แต่เขาไม่ทำ เราทำแล้วนี่ เรายืนยันว่าเราทำได้ พอบอกว่าหมู่เราทำได้ เอ้า! หมู่คุณทำได้ แล้วหมู่คุณเป็นคนไม่สามารถหรือ เป็นคนต่ำต้อยเหรอ เป็นคนน้อยกว่าพวกเราหรือ  เขาก็เป็นคนเหมือนพวกเรา ทำไมเขาไม่ทำมั่งล่ะ น่ะ เขาไม่กล้าพิสูจน์ แล้วเขาก็ไม่เอา  เขาไม่เห็นด้วย  นี่พูดเข้าใจยาก แล้วก็ไม่ยอมละยอมวาง ไม่ยอมมาทำอย่างนี้ อาตมาก็ไม่มีทางเลือก ในเมื่อเขาไม่ทำก็ปล่อยเขา ใครจะทำ ก็มาทำ  ทำได้เท่าไหร่ ก็ทำ อาตมามีหน้าที่พาทำกันนี่จนตาย นี่หลายๆ คนก็มาสมัครใจกัน ที่จะพากันทำอย่างนี้ไป คนที่แน่ใจแล้วก็พากันทำไป มีทั้งฆราวาส มีทั้งพระ มาจนกระทั่งมาเป็นนักบวช เรามีระบบระเบียบของเราเหมือนกันว่า ออกมาเป็นนักบวช ไม่เป็นนักบวช เป็นฆราวาสอยู่ในนี้ก็มี บางคนไม่มีโอกาสจะได้เป็นนักบวชหรอก อย่างโยมแว่นที่นั่งอยู่ข้างๆ นั่น ไม่ได้เป็นหรอก บวชน่ะ แก่แล้วนั่นน่ะ นั่นน่ะ โยมแว่นนั่นน่ะ นั่งอยู่ข้างๆ นั่น แก่แล้ว อายุ 70 เท่าไหร่ 75 76  แล้วหรือ น่ะ 76 แล้ว ขออยู่เป็นนางสาว นี่ไม่ได้แต่งงาน มีบุญ ไม่ได้แต่งงาน อายุ 76 แล้ว ก็จะอยู่นี่จนตาย ถามดูซิ ถามดู นี่เดี๋ยวสัมพันธ์ก็คุยกันดู นี่หลายๆ คน นี่จะอยู่นี่จนตาย นี่ไม่กี่วันนี่ก็เผาไปแล้วศพหนึ่ง อายุ 95 ตาย ก็เผาไป เผาง่ายๆ เผาสบายๆ ช่วยกันทำศพ  โอ๊! ญาติโยมเยอะ ไม่ต้องแจกการ์ดเสียสตางค์ด้วย มากัน โอ! เต็ม ถือฟืนกันคนละดุ้น คนละดุ้น ไม่ใช่ไปถือดอกไม้จันทน์นิดๆ เท่านั้นล่ะนะ ไอ้ดอกไม้จันทน์นั่น พันอันยังไม่เผาได้เลย นี่ฟืนมาคนละดุ้น คนละดุ้น จริงๆ เป็นของจริง เผาปรื๊ด เรียบร้อยเพิ่งเสร็จไป เผาไป เมื่อวันอาทิตย์ที่แล้วนี่  วันอาทิตย์น่ะ ตาย เราก็ช่วยกันเผา เจ็บป่วยเราก็ช่วยกันดูแล แก่ก็ช่วยกันดู ช่วยกันได้ มันไม่มีแรงซักผ้า ก็ช่วยกันซัก ไม่มีลูก ไม่มีเต้า ก็ไม่เป็นไร มีหลักประกันสังคมโดยวัฒนธรรม ไม่ใช่หลักประกันสังคมแบบที่เขาทำ ต้องมีเงินให้ไว้ อย่างโน้นหลักประกันสังคมคือ ที่จริงก็ เก็บเงินของคุณไว้นั่นเอง เก็บเงินของคุณไว้ พอถึงแก่แล้ว เขาก็คืนไปให้คุณ นั่นหลักประกันสังคมของแต่ละประเทศ เขาทำอยู่ แล้วนี่ เมืองไทยก็พยายามจะทำหลักประกันสังคมอย่างนั้นเหมือนกัน ก็ไอ้แค่นั้น ทางวัตถุ แต่นี่ หลักประกันสังคมของเราเป็นวัฒนธรรม พึ่งเกิด พึ่งแก่ พึ่งเจ็บ พึ่งตายกันได้นี่ โอ๊! มันสูงส่งกว่ากันแยะ นี่เราจะทำอย่างนี้ 

นี่อาตมาว่าพวกเราได้ขึ้นมา วัฒนธรรมมันยังไม่แข็งเท่าไหร่ ก็ไม่เป็นไร  แต่พวกเรารู้ดี เมื่อรู้ดี ก็ต้องทำวัฒนธรรมนี้ให้แข็งแรง ให้เป็นสิ่งที่พึ่งของสังคมกลุ่มคนนี้  คนอื่นเขาไม่มาเอาก็ช่างเขา แต่คนกลุ่มนี้ เขาทำอย่างนี้กันน่ะ วัฒนธรรมจะทำอย่างนี้  นี่พวกเราชาวอโศกกำลังทำอย่างนี้ นี่พวกคุณก็มาศึกษา ก็จะได้รับแนวโน้ม ทิศทางอย่างนี้ ศึกษาดู ไม่ได้มาบังคับนะ ไม่เอาคุณมาล้างสมอง ว่าคุณจะต้องเอาตาม ไม่ได้บังคับ  แต่เราเสนอสิ่งนี้บ้าง  คุณเอาไปเปรียบเทียบกันดู คุณไปเลือก อยากจะเอา  คุณก็ต้องมาฝึก คุณบอกว่ายาก อาตมาก็เห็นเหมือนกันว่าไม่ง่าย แต่บอกแล้ว อาตมาเทียบให้ดูแล้ว คุณจะไปแย่งลาภ ยศ สรรเสริญกันอยู่นั่น มันง่ายนักหรือ เรียนจบออกมาแล้วไปหางานทำก่อน จะได้ตำแหน่งนั่นมันง่ายนักหรือ  มันไม่ได้ง่ายนะ คนจบรามฯ นี่เยอะแยะเลย มาสมัครเข้านี่ตูม แหม! เข้ามา ข้อสำคัญ คุณจะอยู่ได้ไหมเท่านั้นล่ะ คุณมีคุณวุฒิจริงไหม จะอยู่กับที่นี่ได้ มีคุณวุฒิอยู่กับที่นี่ได้จริงนะ สมัครง่าย เพราะที่นี่รับอีกล้านตำแหน่ง ล้านตำแหน่งจบตูมเข้ามาเลย นี่คนจบ พวกที่จบรามฯ นี่ มาอยู่ที่นี่เยอะ บวชอยู่นี่มีกี่คน นี่ไม่จบ ออกมาก่อน นี่คนนี้ก็รามฯ นี่คนนี้ออกมาก่อนนี่ ไม่จบ คนโน้นก็รามฯ  คนโน้นก็รามฯ คนโน้นรัฐศาสตร์ คนนี้นิติศาสตร์ จบมา มาสมัครเลยนี่ มีอีกไหมอื่น รามฯ นั่นไม่ใช่  นี่ไม่ใช่ มีเท่านั้น เอ้า! รามฯ ก็หลายคน นี่ขนาดบวชเป็นพระแล้ว มีฆราวาสก็มี อีกหลายคนจบแล้ว พอจบเขาไม่ไปสมัครที่อื่นเลย มาสมัครที่นี่เลย จบปุ๊บก็ โดยไม่ต้องไปเขียนใบสมัครให้ยากน่ะ แต่สัมภาษณ์เหมือนกันนะ แต่เรา ที่จริงเราไม่สัมภาษณ์มาก เพราะเราคบหากันมาก่อน มาศึกษา เรารู้หน้าตา แล้วก็ จบ แล้วนะ มาทำงานที่นี่ งานเรามีแยะ เร่งกันแต่ละวัน แต่ละวัน ใครไม่ขยัน เคี่ยว ดุนะ ที่นี่ดุนะ ใครมาเที่ยวจะมาลอยชาย มาไม่เอาถ่าน มาขี้เกียจสันหลังยาวนี่ โดน โดนหมด ตั้งแต่อาตมา ไล่ไปจนกระทั่งไปถึงเพื่อนรุ่นที่นั่งอยู่ด้วยกันเลย โดนติเตียนกันเรื่อยแหละ เพื่อที่จะให้เป็นคนขยันหมั่นเพียร เป็นคนที่มีคุณค่า มีประโยชน์น่ะ

เพราะฉะนั้นบางคนทนไม่ได้ อยู่ที่นี่ ทนไม่ได้ เพราะว่ามันถูกเคี่ยวเข็ญ    ให้ขยัน ให้สร้างสรร ให้มีประโยชน์คุณค่า แต่ถ้าคนที่เขาไม่ขี้เกียจขี้คร้านอะไรพอสมควร อยู่กันพอสมควร ก็ขยันพอสมควร อยู่ได้ แล้วก็มาเป็นคนอยู่ในระบบอย่างนี้ กินก็ไม่มาก ไม่เปลือง ไม่ผลาญ ไม่ไประเริงแบบโลกๆเขา ทำงานที่นี่ได้สบาย เงินเดือนเท่ากับผู้อำนวยการ ศูนย์ ศูนย์เท่ากันหมดเลย นี่ทุกคนเงินเดือนเท่ากันหมด ผู้อำนวยการ หรือมาสมัครวันนี้ บรรจุวันนี้ปั๊บ เงินเดือนเท่าผู้อำนวยการทันทีเลย มีบริษัทไหนบ้าง บรรจุปั๊บเงินเดือนเท่าผู้อำนวยการ มีที่ไหน มีที่นี่แห่งเดียวนะ มีที่นี่แห่งเดียว เสมอภาค ร่ำร้องหาความเสมอภาคกันโครมๆ ที่ไหนๆ ไม่มีที่ไหนหรอก ที่นี่ ร่ำร้องความเสมอภาคที่นี่ เห็นไหม บรรจุปัง เงินเดือนเท่ากันเลยกับผู้อำนวยการ เสมอภาคขนาดไหน กินก็เท่ากัน วันละมื้อเหมือนกัน ดีไม่ดีนั่นนะ นุ่งห่มยังมีเสื้อผ้าชุดมากกว่าอาตมาด้วย อาตมามีชุดเดียวนี่ ฆราวาสบางคนมีตั้ง 2-3 ชุดแน่ะ อาตมายังมีน้อยกว่าด้วย ดีไม่ดียังมีแอบ มีเบี้ยบ้ายอยู่ในบาทหนึ่ง สลึงหนึ่ง มีกว่าอาตมานะ อาตมาเองยังไม่มีสักกะบาทเลยน่ะ เห็นไหม  ที่นี่  เสมอภาคจริงๆ น่ะที่นี่

เป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อนะ เป็นเรื่องที่จะต้องมาศึกษา นี่เราไม่ได้พูดเล่นนะ   อาตมาพูดให้คุณฟังดีๆ ไม่ได้ไปเล่านิทาน ไม่ได้มานั่งล่อลวง ไม่นั่งมาหว่านล้อม ล้างสมองอะไรคุณนะ เสนอสิ่งนี้ แต่ก็มีส่วนบกพร่องนะ ไม่ใช่ว่าไม่มีส่วนบกพร่องในที่นี้ ก็ไม่ใช่ว่าไม่มีส่วนบกพร่อง ในอุดมการณ์ ในหลักการดีๆ มันมีเยอะนะ แต่ในความเป็นจริงได้นี่ มันยังไม่บริบูรณ์หรอก แต่ก็มีส่วนที่เป็นได้มากเปอร์เซ็นต์ไม่ใช่น้อยอยู่เหมือนกัน  เราก็พยายามที่จะพัฒนา พยายามที่จะสร้างสรร พยายามที่จะเป็นไป ทำให้สังคมกลุ่มหมู่นี้ให้เห็นว่า ในโลกนี้มีสังคมชนิดนี้ มีวัฒนธรรมชนิดนี้ มีหลักการ มีวิธีการ และมีความเป็นอยู่ด้วยพฤติกรรม พฤติการณ์อย่างนี้ นี่มีพฤติการณ์อย่างนี้ วัน ๆคืนๆ ตื่นเช้ามาก็ทำงาน

ที่นี่ตื่นเช้ามาตี  3 ครึ่ง เขาก็เคาะระฆังแล้ว ลงศาลากัน สวดมนต์เล็กน้อย แล้วก็ฟังธรรม  หรือก็เรียนนั่นเอง ศึกษาไปเป็นมหาวิทยาลัยชีวิต ศึกษาเสร็จ ไปประมาณตี  5 กว่าก็หยุด เอ้า! คนมีงานอะไรก็ทำ พระท่านก็ออกบิณฑบาต เดี๋ยวสายหน่อยคนทำงานทำการอะไรไป  ถึงเวลา 8 โมง ประมาณนั้น ก็ตีระฆังอีกแล้ว ถ้าวันธรรมดานะ  เอ้า! มาลงศาลา ทานข้าวด้วยกัน บางคนมีกิจมีการก็ไปทานก่อน ไปก่อนแล้ว ก็มี ไปเอากับข้าวกินอยู่ที่โรงครัว  ก็ไป เพราะที่นี่มีโรงครัวกลาง ทุกคนไม่มีเงิน ไม่มีทอง ก็กินได้  ข้าวของไม่มีใช้  ก็ไปเบิกเอาจากสหกร ไม่ต้องซื้อต้องหาน่ะ ก็อยู่กันไป สบายๆ ถึงเวลากินข้าวเสร็จ ก็ออกทำงานกัน ทำงานกันไป ถึงเวลาเย็นน่ะ มีวิดีโอให้ดูน่ะ ไม่มีวิดีโอส่วนตัว เพราะวิดีโอที่จะดูนี่ ต้องวิดีโอผ่านเซ็นเซอร์ ไม่ใช่ดูได้ตามอำเภอใจ ไปเอา R เอา X มาดูไม่ได้ หรือแม้แต่เขามีอยู่ในตลาดนี่ หลายเรื่องก็ไม่ให้ดู เซ็นเซอร์ ผ่านเซ็นเซอร์ เรื่องนี้ควรดู ดูแล้วจะเป็นประโยชน์ ดูแล้วก็ได้ข้อคิด ได้การศึกษา ดูแล้วนั่นยิ่งมอมเมาให้กิเลสจัดๆ ไม่เอา ก็เอามาให้ดู ต้องเซ็นเซอร์ ก็มี ข่าวก็มีให้ดู สารคดีก็มีให้ดูละเม็งละครอะไรก็มีให้ดู แม้แต่รายการเพลงก็มีให้ดู เท่าที่พอเหมาะพอควร ก็ได้บันเทิงคลายเครียดกันพอสมควร ถึงเวลานอน ไม่นอนดึก ที่นี่ 2 ทุ่ม 2 ทุ่มเศษๆ หยุด เอ้า! เข้ากลับที่ ไม่ให้มีไฟฟ้า เมื่อไม่มีไฟฟ้าก็ต้องเข้านอน ถึงเวลาตี 3 ครึ่งก็ตื่นใหม่ กลางคืนเป็นเวลานอน  กลางวันเป็นเวลาทำงาน เราทำงานเต็มวันอยู่แล้ว กลางคืนเราก็พักผ่อน สุขภาพเราก็ดี  ไม่ใช่อย่างพวกโลกๆ นี่ เที่ยวกลางคืน คบมิตรชั่ว โอ้!  ล่อเละเลยกลางคืนก็ไม่หลับไม่นอนน่ะ ยุ่งเลย นี่มันไม่ถูก สุขภาพก็เสียหมด อะไรก็ไม่เป็นระบบ แต่ที่นี่มีระบบอย่างนี้ ผ่านกันไปวันๆคืนๆ นะ

เอาล่ะ นี่อาตมาเล่าคร่าวๆ ถึงทิศทางของพุทธศาสนา ที่ทำให้สังคมมนุษย์  มนุษย์เป็นมนุษย์ชาวพุทธเป็นอย่างนี้ มีศีล มีธรรม มีการรู้วาระเวลา มีอะไรเป็นสาระมีอะไรเป็นแก่นสารอะไร ก็รู้ ก็เข้าใจ ก็จะพากันทำอย่างนี้  นี่อาตมาเล่าโครงคร่าวๆ ถึงเนื้อหาแก่นสารสาระให้ฟัง ส่วนเราจะได้วิเคราะห์วิจัยกันว่า อันไหนเสีย อันไหนว่านี่เป็นความชั่ว ชั่วยังไง นี่ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกยังไง ไอ้นี่ดี ดียังไง เดี๋ยวจะได้สาธยายกัน เดี๋ยวจะมีวิธีการอะไรที่จะสื่อ  สื่อให้คุณได้ฟัง ได้เข้าใจ สงสัย อาตมาจะตอบปัญหาในวันท้ายๆ รายการน่ะ ตอบปัญหาในวันที่เท่าไหร่ วันที่ วันเสาร์น่ะ มีปัญหาอะไรก็ค่อยๆ ถามน่ะ 

แต่ในเวลานี้ ก็ศึกษาไป ถามไถ่กันไป จนกว่าจะถึงวันเสาร์นั่น อาตมาจะขึ้นมาตอบปัญหาอะไรๆ ที่ข้องใจคาใจ มันยังเข้าใจไม่ได้อะไร  ก็มาเคลียร์ปัญหากันบ้างน่ะ ในวันเสาร์ ก็เตรียมตัวไว้ มีปัญหาอะไรก็โน้ตไว้ แล้วก็เอามาใส่กล่อง ใส่อะไรไว้ก็ได้น่ะ แต่อย่าเพิ่งไปถามไวนักล่ะ บางทีมันหายสงสัยไปตั้งแต่ก่อนไปถึงเวลาอาตมา เสร็จแล้วก็เขียนปัญหาทิ้งเอาไว้  ทิ้งเอาไว้ พอถึงวันเสาร์ ไอ้ที่มันเข้าใจแล้ว มันก็มาตอบซ้ำซากอยู่มันก็เสียเวลา เพราะฉะนั้นอย่าเพิ่งไปเขียนไว้ เอาไว้ ไว้รอไว้เขียนติ๊กเอาไว้ที่ตัวเองน่ะ ติ๊กไว้ๆ พอถึงวันเสาร์แล้วค่อยยื่น ค่อยเขียนเป็นปัญหา อันไหนมันได้ไปแล้ว อ๋อ! เข้าใจแล้วไม่ต้องไปถาม ตอนนั้นเรายังสงสัย แต่ว่าผ่านวันนั้นเวลานั้นไปแล้ว เวลาน่าจะเข้าใจแล้ว เอาที่มัน แหม! มันยังไม่หายสงสัย มันยังไม่เคลียร์ มันยังต้องถาม เอาไว้วันเสาร์น่ะ ติ๊กๆ ไว้ก็ได้ ติ๊กไว้ของตนเอง ลองศึกษาดู ลองพยายามกระทำดูน่ะ

เอ้า!  เอาล่ะ ก่อนจะลงจากเวทีน่ะ ลงจากธรรมาสน์นี่  ที่จริงให้ใช้เวลาถึง 4 โมงนะ อาตมาก็จะใช้ถึงนะ แต่ก่อนจะถึงเวลานั้น เราจะมาเริ่มต้นนี่ เราจะตั้งใจนะ เราเรียกว่าอธิษฐาน อธิษฐาน แปลว่าตั้งใจ อธิษฐานไม่ได้แปลว่าขอนะ ตั้งใจคือใจเรานี่ ตั้งให้ดี ตั้งใจที่เราจะทำดี เราจะตั้งความรู้ แล้วก็ตั้งทิศให้ตรง ดีคืออะไร เสียคืออะไร แล้วเราจะอธิษฐาน แล้วเราจะปฏิญาณ ในวาระ 3 วัน 4 วันนี้ เราจะมาตั้งใจทำอะไรดีๆ น่ะ

เพราะฉะนั้นเราก็จะมีความตั้งใจอย่างดีๆ เสียก่อน เป็นวิธีการ วิธีการที่จะทำให้เราทำอะไรไปได้ มีทิศทางน่ะ เมื่อตั้งใจดีแล้ว มันมีฤทธิ์ มีกำลังเหมือนกันน่ะ เอ้า! ลอง ประนมมือ จะไหว้พระกันก่อน แล้วอาตมาจะพานำกล่าว นำกล่าวอธิษฐาน ผู้ใดจะถือศีล 5 นี่นะ คราวนี้นี่มีทั้งศีล 5 ศีล 8 ที่มานี่คละ ต่อไป

ในอนาคต ไม่เอาแล้วนะครั้งหน้า พุทธทายาทนี่จะต้องศีล  8 หมด มาเที่ยวระเริงแบบศีล 5 ยังงี้ไม่เอา ยุวพุทธเอาให้เขาศีล 5 เด็ก เราโตหน่อยแล้ว เพราะฉะนั้นคัดเลือกหน่อย พุทธนี่ต้องมาถือศีล 8 กัน พุทธทายาท แต่คราวนี้นี่มาร่ำร้องขอว่า แหม! คราวนี้มันคละๆ กันมาเหลือเกิน         

เพราะฉะนั้นบางคนศีล 8 ไม่ได้ ได้แค่ศีล 5 ก็เอา ใครจะปฏิญาณ หรืออธิษฐานแค่ศีล 5 อาตมาจะบอกไปถึงศีล 8 ใครจะอธิษฐานแค่ศีล 5 ก็เอาแค่ศีล 5 ก็พอ หยุด ไม่ต้องอธิษฐาน  6,7,8  ต่อ ใครจะเอาถึงศีล 8 ก็เอาต่อไปน่ะ อาตมาจะบอกไปถึง ศีล 8 ศีล 8 ที่นี่นะ ศีล 8 ก็เอาเถอะ ศีล 8 ทั่วไป ก็รับประทาน 2 มื้อ ก็ได้น่ะ ที่นี่เขา ที่จริงคนที่ในนี้เขาทานมื้อเดียว  แต่พวกคุณ ก็รู้ล่ะพวกคุณมาใหม่ มาเอามื้อเดียว ประเดี๋ยวก็ชัก ประเดี๋ยวไปไม่ได้  เดี๋ยวก็เข็ดขี้อ่อนขี้แก่ ไม่พบกันอีกเลย เอา 2 มื้อนะ พยายาม ศีล 8 นี่ก็ 2 มื้อน่ะ

เพราะฉะนั้นก็ตั้งใจ มีหลายๆ อย่าง เดี๋ยวๆ ผู้ที่ช่วยกันอธิบาย จะได้อธิบาย รายละเอียดสู่กันฟัง เอาล่ะ ก่อนจะอธิษฐาน เราก็ตั้งใจไหว้พระก่อน ไหว้พระนี่คือ นโม ตัสสะ ภควโต นั่นแหละ การตั้งใจไหว้พระนี่ ต้องเข้าใจ  ไม่เช่นนั้นเราก็ทำผิดมานาน ทำเป็นสักแต่ว่าจารีตประเพณี เราไหว้พระนี่  หมายความว่า เราไหว้ เรานอบน้อม นอบน้อมต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นอบน้อมต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอบน้อมต่อพุทธะ มือเราประนมนี่เรียกว่า นอบน้อมด้วยกาย วาจาเราจะกล่าวคำนอบน้อม ก็คือคำว่า  นโม ตัสสะ นโม ตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นี่แปลเอาความง่ายๆ ว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ใช่คำพิลึกพิลืออะไร ไม่ใช่คำขลังอะไร แต่เป็นภาษาอินเดีย เป็นภาษาบาลี แปลเป็นไทยแล้ว ได้ความอย่างที่อาตมาว่านี่ เท่านั้นเอง ไม่ใช่คำที่เอาไปสวดใส่น้ำก็ขลัง  เอาไปสวดใส่อิฐ หิน ดิน ปูน อะไรก็ขลัง ไม่ใช่ ไม่ใช่หรอก เป็นคำไหว้พระ แต่คนเราไม่รู้ สักแต่ว่าพุทธ พุทธศาสนิกชน แต่ไม่รู้เรื่องมันแปลว่าแค่นั้นจริงๆ

เพราะฉะนั้น  เมื่อเรามาไหว้ แล้วเราประนมมือไหว้ แล้วปากเราก็ นโม ตัสสะ  ภควโค นี่ แปลว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมไหว้ทั้งกาย ไหว้ทั้งวาจา จิตเราสิสำคัญ จิตของเราไม่ได้อยู่ที่อาตมาชี้นี่หรอก มันอยู่ทั้งตัวนี่แหละ จิตความรู้สึก ความรู้สึกเราก็จะต้องระลึกไหว้ด้วย ไม่ใช่ว่า เราว่าไป มันคล่องปากนี่นะ ใครก็ว่า นโม  ตัสสะ มาคล่อง ว่าไป มือก็ประนม นโม ตัสสะ บางคนไม่ได้ประนมอย่างนี้ด้วยนะ ไม่ได้ตั้งใจเลย สักแต่ว่าประนม บางคนก็ เป็นอะไรก็ไม่รู้ บางทีอย่างนี้ นี่เขาทำกันเป็นจารีตประเพณีแล้ว สักแต่ว่า ไม่เข้าท่า เสียไม่ได้ ทำอย่างเสียไม่ได้ แบบนี้มันไม่จริงใจน่ะ  

เพราะฉะนั้น มือก็ประนม ตั้งใจ อธิษฐาน บอกแล้วว่าตั้งใจ ตั้งใจนะ ทำกายก็ให้ตั้งใจทำวาจาก็ให้ตั้งใจ โดยเฉพาะใจก็ต้องตั้งใจ ตั้งให้นอบน้อมจริงๆ  ดังที่กล่าว อย่าปากว่าอย่าหน้าไหว้ใจหลอก มันต้องตรงหมดทั้งกาย วาจา ใจ ตรงกัน อย่าหน้าไหว้ใจหลอกน่ะ นี่ นโม ตัสสะ นอบน้อมจริงๆ ใจก็ระลึกความนอบน้อม คุณจะระลึกความ นอบน้อมยังไง คุณระลึกเอา ทำอาการยังไงเป็นความนอบน้อม ในใจนอบน้อม ไม่ใช่ ไปซัดส่ายคิดถึงโน่นแน่ะ คิดถึงที่เที่ยว ที่เริงๆ ที่เพลิดเพลิน หรือคิดจะไปทวงหนี้ คิดจะไปอะไรก็แล้วแต่  ไม่เอา หยุด ให้จิตไปนอบน้อมจริงๆ มันถึงจะเป็นสมาธิ  มันถึงจะเป็นความจริง  มันถึงจะไม่เป็นหน้าไหว้ใจหลอก ปากก็ว่านอบน้อม กายก็นอบน้อมไหว้อยู่หรอก ปากก็ว่าอยู่หรอก แต่ใจไปไหนก็ไม่รู้ ใจสำคัญนะ เพราะผู้ใดทำได้ครบครันอย่างนี้ จะมีอานิสงส์ มีประโยชน์ และเป็นความจริง เป็นความจริงว่านอบน้อมจริง นอบน้อมต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นไม่ใช่พระพุทธรูป พระพุทธรูปเป็นสิ่งแทนเท่านั้น  ไม่ใช่ความจริง ความจริงนั้น ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเราตถาคต เคยได้ยินไหม  

ผู้ใดเห็นธรรม คือคุณธรรมที่เรามี นั่นแหละ คือพระพุทธเจ้า ผู้ที่ละกิเลสได้  นั่นคือความเป็นพุทธะ ละได้มากที่สุด พระพุทธเจ้าละได้มากที่สุด ถือว่าเป็นเจ้าแห่งพุทธ จึงเรียกว่าพระพุทธเจ้า เป็นเจ้าแห่งพุทธ

          เพราะฉะนั้นผู้ใดได้น้อยๆ เรียกว่า อนุพุทธ เป็นพุทธตามพระพุทธเจ้า    

เพราะฉะนั้นได้พุทธมาเท่าไหร่  เป็นเนื้อหาสาระของธรรมะที่ได้ เป็นมรรคเป็นผล เป็นคุณธรรมที่แท้ เป็นอริยธรรมที่แท้นั่นล่ะพระพุทธเจ้า มีในเรา ว่าในเรานี่นอบน้อม โอ้โห! ดีเหลือเกิน  มีธรรมะที่ลดละกิเลสได้นี่ มันดีเหลือเกิน นอบไหว้อันนี้ อย่าไปไหว้เงิน อย่าไหว้ทอง อย่าไปไหว้ลาภ ยศ  สรรเสริญ ไปยกโชว์ โชว์มันเป็นพระเจ้าทำไม   

พระเจ้าคือคุณธรรม อันนี้แหละ พระเจ้านี่ เราถือคุณธรรมนี้เป็นพระเจ้า บูชานี่ บูชาคุณธรรมนี่ บูชาเป็นพระเจ้าเลย อย่าไปบูชาเงินทอง ลาภ ยศ สรรเสริญ ความรักความใคร่อะไร อย่าไปบูชามัน บูชาอันนี้ นี่เราจะนอบน้อมบูชา ยกย่องนับถืออันนี้ ถ้าเรายังไม่มีพระองค์ไหน หรือว่าเพื่อนผู้ใดที่เขาเป็นพุทธศาสนิกชน ที่เขามีคุณธรรมนี่ ไหว้ของที่เขาก่อนก็ได้นะ โอ! เราเชื่อว่าพวกนี้มีคุณธรรมของพุทธ เราไหว้อันนั้นน่ะ ถ้าใครยังนึกอะไรไม่ได้  เอาให้ใจเป็นสมาธิ ระลึกถึงพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก่อน แต่บอกแล้วพระพุทธรูปไม่ใช่พระธรรม พระพุทธรูปไม่ใช่พระพุทธเจ้า เป็นรูปปั้นเท่านั้น  แขกก็ปั้นเหมือนแขก ไทยก็ปั้นเหมือนไทย จีนก็ปั้นเหมือนหน้าจีน ไม่รู้พระพุทธเจ้านี่ หน้าหลายหน้าเหลือเกิน ก็ระลึกถึง เท่านั้นเอง ก็ได้ จิตจะได้ไม่ซัดส่าย แต่มันยังไม่ถูกพระพุทธเจ้าเท่านั้น แต่คุณก็ยังไม่หลอกน่ะ  ระลึกถึงพระพุทธเจ้า นอบน้อมอยู่กับพระพุทธรูปก็ดี ไม่หลอกน่ะ ก็ยังมีสมาธิ หรือมีความจริงใจ แต่ยังไม่มีความรู้เท่านั้น ถ้ามีความรู้แล้ว  ทีนี้ก็นอบน้อมบูชาพระพุทธถูกพระพุทธ เมื่อบูชาพระพุทธถูกพระพุทธ มีอานิสงส์สูง นี่เป็นคุณธรรมแท้ แสดงว่าพระพุทธเจ้า หรือศาสนาพุทธยังมีสาระ ยังไม่ใช่สักแต่ว่ากล่าวเฉยๆ น่ะ 

เอาล่ะ นี่ก็แนะนำให้รู้ก่อนทุกทีนะ ทุกครั้งที่ไหว้พระ ให้ทำใจอย่างนี้ อาตมาแนะนำครั้งเดียวนี่ก็คงพอในงานนี้ องค์อื่นๆ จะได้ไม่ต้องอธิบาย  จะได้ไม่ต้องเสียเวลา อาตมาเสียเวลาทีเดียวซะ ให้มันแล้วไปเลยน่ะ เอ้า! ว่าตามนะ

ณ บัดนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะตั้งใจประพฤติอบรมในงานพุทธทายาทนี้ ตลอดไป จนจบสิ้นงาน โดยการถือศีล บำเพ็ญธรรม ด้วยศีล 5 ศีล 8 คือ ปาณาติปาตา เวรมณี ข้าพเจ้าจะละเว้น ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ทำทารุณกรรม ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ ไม่ทำการเบียดเบียน ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ  อทินนา ทานา เวรมณี  ข้าพเจ้าจะละเว้น โดยการไม่ลักขโมย ไม่เอาของที่เขาไม่ได้ให้ ไม่ถือวิสาสะละเมิดของผู้อื่น จะเป็นผู้ขยันทำงาน และเอื้อเฟื้อเกื้อกูล ผู้ที่จะถือศีล 5 ก็ว่า กาเมนะ 

กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี ผู้ที่ถือศีล 8 ก็ว่า อพรหมจริยา เวรมณี ข้าพเจ้าจะละเว้นซึ่งราคะ ไม่ละเมิดในเรื่องราคะ ซึ่งเป็นกิจของคนคู่ จะสังวรในเรื่องกาม ความใคร่อยากทางตา หู จมูก ลิ้น กาย จะสังวรระวัง ลดกิเลสที่มีความอยากใคร่นั้นๆ มุสาวาทา เวรมณี ข้าพเจ้าจะขอละเว้นการพูดปด การพูดส่อเสียด การพูดหยาบคาย การพูดเพ้อเจ้อ จะพูดแต่ที่เป็นอรรถเป็นธรรม  

สุราเมรยะ มัชชปมา ทัฏฐานา เวรมณี ข้าพเจ้าจะลดเว้นในสิ่งที่มอมเมา  ในสิ่งที่เสพย์ติด ตั้งแต่อบายมุขเป็นต้น สูงขึ้นไปจนกระทั่งถึงกามคุณ 5 ตามความสามารถ

ต่อไปก็เป็นศีลข้อ 6,7,8 สำหรับผู้ถือศีล 8 น่ะ

วิกาลโภชนา เวรมณี  ข้าพเจ้าจะขอลดเว้นในอาหารที่นอกที่กำหนด และเครื่องใช้ที่นอกกำหนด จะรับประทานแต่อาหารในเวลา หรือในมื้อคราวที่กำหนด จะใช้ของแต่ในที่หมู่กลุ่มกำหนดกัน  

นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกทัสสนา มาลา คันธะ วิเลปนะ ธารณะ มัณฑนะ วิภูสณัฏฐานา เวรมณี ข้าพเจ้าจะขอลดเว้นท่าทางที่ไม่สมควร คำพูดที่เพราะพริ้ง หรือปลุกเร้าที่ไม่สมควร สำเนียงเสียงที่เกินการ ไม่สมควร รูป เสียง กลิ่น รส ต่างๆ ที่ไม่สมควร ฐานะแห่งการแต่งตัวที่ไม่สมควร 

อุจจาสยนะ มหาสยนา เวรมณี ข้าพเจ้าจะของดเว้นเตียงใหญ่ ตั่งใหญ่ ที่นั่งที่นอนใหญ่ หรือข้าวของเครื่องใช้ที่ใหญ่เกินการ และจะไม่ทำตัวให้หลงในความใหญ่ จะไม่ถือตัวถือตนยิ่งใหญ่

ศีลทั้ง 5 ศีลทั้ง 8 นี้ ข้าพเจ้าจะบำเพ็ญประพฤติไปตามธรรม สมควรแก่    ธรรม ถ้าเราไม่ประพฤติ เราก็ย่อมไม่ได้ ถ้าเราประพฤติ เราก็ย่อมจะได้ ดังนั้น ข้าพเจ้าจะอุตสาหะวิริยะ บำเพ็ญไปตลอดงานพุทธทายาทครั้งนี้ ขอให้สมประสงค์ตามที่ได้อธิษฐาน ณ บัดนี้ด้วยเทอญ สาธุ

เอ้า! การตั้งใจนี่นะ อธิษฐานนี่ ไม่ได้แปลว่าขอ ทุกวันนี้เขาแปลกันผิด แปลอธิษฐานว่าขอ ซึ่งเป็นความผิดพลาด เวลาไปใส่บาตรก็อธิษฐาน ขอโน่นขอนี่ ขออะไรต่ออะไร การขอนี่เป็นความขี้โลภ เราจะไปทำบุญ หมายความว่า เราจะไปสละกิเลส ไปทำทาน แต่เสร็จแล้ว เราไปให้ของจริงน่ะ ก็เอาข้าวเอาน้ำ เอาของอะไรไปทำทานจริง แต่ใจของเราไปแสดงความขี้โลภ  แล้วไม่ขี้โลภน้อยด้วยนะ ให้ข้าวทัพพีหนึ่ง บางทีจะเอาถูกล็อตเตอรี่ล้านบาท โอ้โห!  ค้ากำไรเกินควรมหาศาลเลย ขี้โลภจัดขนาดนั้น คุ้มไหม คุ้มไหม ไม่คุ้มเลย ไม่ได้ผล  

ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย นี่คือความไม่รู้ที่กระทำกัน อธิฐานะนี่ แปลว่าตั้งฐานะของจิตให้สูง เราไปตั้งฐานของจิต เราจะไปสละ แต่เราไปขี้โลภตั้งล้าน มันถูกไหม นั่นเรียกว่าตั้งจิตไว้ผิด เรียกว่าอธิษฐานผิด เพราะฉะนั้นอธิษฐานต้องตั้งจิตให้ถูกตรงนะว่า เราจะตั้งใจเสียสละ เราจะไปทำทานใส่บาตร เออ! เสียสละ  

ขอให้อาหารนี้เป็นประโยชน์คุณค่าแก่ท่านผู้บำเพ็ญ พระภิกษุสงฆ์ ท่านจะได้มี กำลังวังชาไปศึกษาประพฤติ แล้วก็จะได้มาสั่งสอนสรรพสัตว์ ก็จบในตัวแล้ว เป็นบุญคุณ เป็นคุณค่าที่เราได้เสียสละแล้ว เราก็ได้สละความโลภของเรา พยายามเลี้ยงบุตรพุทธ ลูกพระพุทธเจ้าเอาไว้ เพื่อที่จะได้สืบพระศาสนา อย่างน้อยที่สุด หรือเรายิ่งได้ปฏิบัติตาม เราก็จะเป็นลูกพระพุทธเจ้าต่อไปเหมือนกัน อย่างน้อยเราไม่ได้ปฏิบัติ เราใส่บาตรไว้ก็เป็นบุญน่ะ เป็นกุศล อย่างนี้เป็นต้น

เพราะฉะนั้น คำว่าอธิษฐาน เมื่อกี้เราได้อธิษฐานไป เราจะตั้งใจไป  ก็  ไม่ใช่ว่าเราจะเปล่งกล่าว แม้ที่สุดที่อาตมาจะพากล่าวว่า ขอให้เราได้สมประสงค์นั้น ก็เป็นการตั้งใจของเรา เป็นการให้กำลังใจแก่เราบ้างสักนิดหน่อย แต่บอกแล้วว่า ถ้าเราไม่ทำ อาตมาก็พาบอก เราก็ย่อมไม่ได้ ถ้าเราทำ เราก็ย่อมได้ของเรา นั่นเป็นความจริง เป็นสัจจะที่นำไว้ก่อน บอกไว้ก่อนแล้ว เพราะฉะนั้นเมื่อเรามาตั้งใจทำ ก็ต้องพิสูจน์ความจริงนี้ซิว่า ถ้าเราทำเราได้ ถ้าเราไม่ทำ เราไม่ได้ 

เพราะฉะนั้นจะขอ โดยที่เราไม่ทำ ขอให้ตายก็ไม่ได้  ศาสนาของเราไม่ใช่ศาสนามีพระเจ้าคอยประทาน ขอให้บันดาลนั่น บันดาลนี่ ศาสนาพระพุทธเจ้า ไม่ พระพุทธเจ้านี่ เกิดในท่ามกลางศาสนามีพระเจ้า  มีพระนารายณ์ มีพระศิวะ มีพระพรหม ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เกิดก่อนพระพุทธเจ้า เต็มหมดนะ แต่ท่านเกิดมาท่ามกลางนั้นน่ะ บอกท่านไม่เอา  พระพรหมมาบันดาลมาอะไร อัตตาหิ  อัตตโน นาโถ แน่ะ พระพุทธเจ้า ตนเป็นที่พึ่งของตน ตนทำดี ดีของตน ตนทำชั่ว ชั่วของตน กัมมัสสโกมหิ กัมมทายาโท กัมมโยนิ กัมมพันธุ กัมมปฏิสรโณ ท่านสอน ท่านเห็นตรัสรู้อย่างนี้ โอ๊! กรรมเป็นของเรา เราทำชั่วก็เราเอง ไม่ใช่ว่าพระเจ้ามาบันดาลให้เราชั่ว  เราทำดีก็เราเอง เราทำแล้วก็เป็นผลของกรรมของเรา ทายาทเราเป็นผู้รับมรดกกรรมของเรา มรดกชั่ว เราทำแล้วเราต้องรับ มรดกดีเราทำ เราก็ต้องรับมรดกดีของเรา กรรมเป็นกำเนิด กรรมจะพาเราไปเกิดดี เกิดชั่ว เกิดทุกข์ เกิดสุข เราทำเอง กรรมเป็นที่พึ่งของเรา กรรมเป็นที่อาศัยของเรา กรรมเป็นเผ่าพันธุ์ของเรา ไม่ใช่เราไปเป็นเผ่าพันธุ์ของเทพเจ้าองค์นั้นองค์นี้  บันดาลให้มาเกิดนี่เป็นลูก เป็นพระบุตรนะ พระเจ้าส่งให้เกิด เปล่า เราเกิดมาของเราเอง กัมมโยนิ กัมมพันธุ เป็นกรรม เป็นเผ่าพันธุ์ เราทำชั่ว ก็ชั่วเป็นเผ่าพันธุ์ของเราไป เราทำดี ดีเป็นเผ่าเป็นพันธุ์ของเราไป เรามีพันธุ์ดีพันธุ์ชั่วของเราที่ทำเอาเองนะ

เพราะฉะนั้นคุณจะชั่ว คุณจะดี คุณคิดชั่วนิดหนึ่งก็เป็นของจริงที่ทำจริง คุณทำกายกรรมชั่ว ก็เป็นชั่วของคุณจริง คุณจะเอาไปโกงไปโยนทิ้งที่ไหนๆๆๆ ก็ไม่ได้ ไม่ได้หรอกน่ะ จะไปเลี่ยงว่า ไม่ใช่ของเรา ก็ไม่ได้นะ เป็นของใครของมัน เป็นมรดกของเราทั้งนั้น เพราะระวังนะ กรรมนี่นะ เพราะฉะนั้นเราต้องทำให้ดี เราจะได้พึ่งอาศัย กัมมปฏิสรโณ เราจะได้อาศัยกรรมของเรา กรรมชั่วเราก็ต้องมีชั่วนี่แหละมาอาศัย แล้วมันดีหรือ อาศัยกรรมชั่ว ไม่เข้าท่า อาศัยกรรมดีนี่ดี เพราะฉะนั้นเราตั้งใจอธิษฐาน คือความตั้งใจแล้ว  เราต้องทำเอาเอง เราต้องประพฤติกันเอาเอง ลองดูซิ 3-4 วันนี้ เราจะบำเพ็ญประพฤตินี่ เราจะทำได้ขนาดไหน ไม่ง่ายหรอกนะ แต่พวกคุณมาพยายามตั้งอกตั้งใจทำ ในระยะไม่กี่วันนี่ ลองดูซิ เผื่อบางคนทำไปแล้วนี่ มันจะมีประโยชน์ มีมรรค มีผล โอ๊! คุณจะ แหม! ชื่นใจ ชื่นชม พอกว่าจะสิ้นวัน ถึงวันสุดท้ายวันที่ 3 ที่ 4 ยังไม่อยากกลับเลย 

มันจะเป็นสำหรับบางคน แต่คงไม่หลายคนหรอก พอจะถึงวัน อู๊!  เมื่อไหร่จะหมดสักทีหนอ เมื่อไหร่จะถึงเวลา  เมื่อไหร่จะได้ปล่อยสักทีนา จวนแล้วๆ โอ๊! ดูปฏิทิน ดูเวลา โอ๊! จวนจะถึงเวลาแล้ว  ถ้ามันทุกข์  มันบีบคั้นมากๆ  มันก็จะเป็นอย่างนั้น แต่ถ้าเราวางใจเราเห็นคุณค่า เราได้ประโยชน์ เราจะรู้สึก โอย! ต่ออีกสัก 7 วันก็ดีล่ะ ต่ออีกสัก 10 วันก็ดีล่ะ ถ้าคุณรู้สึกอย่างนั้นแล้ว มีหวัง วันหลังมาใหม่แน่ แต่ถ้าบอกว่า โอ้โห! เข็ดจังเลย  กว่าจะหมด 4 วัน แหม! พอถึง 4 วันปล่อยไปแล้ว บ๊ายบาย  อย่าได้พบกันอีกเลย เจอกันแต่ครั้งเดียวเถิดในชาตินี้ แบบนี้ก็ ก็แล้วแต่นะ อาตมาพูดเอาไว้เท่านั้นแหละนะ ที่จริงไม่ประสงค์หรอก ประสงค์จะให้พวกคุณมาทั้งหมด นี่แหละ มาครั้งนี้แล้วก็ คราวหน้าก็มาอีก คราวโน้นก็มาอีก  คราวนี้ก็มาอีก  มาบำเพ็ญประพฤติ เป็นพี่เก่าเขาไปเรื่อยๆ ด้วย หรือเลื่อนจากพี่เก่าเขา มาเป็นคนช่วยเหลือเฟือฟายเลย มาเป็นผู้เกื้อกูลเลย เป็นผู้เป็นพี่เลี้ยง  เป็นอะไรไปเลยทีเดียว หรือมาเป็นผู้ให้ มาเป็นผู้ปฏิบัติกร เป็นวิทยากร เป็นผู้มีความรู้ เป็นผู้ที่จะแจกจ่ายเจือจานต่อไปอีกเลย ก็ยิ่งดีน่ะ มันก็จะเป็นอย่างนี้ล่ะ สืบทอดกันมีเผ่าพันธุ์  เผ่าพันธุ์ก็ลูก ลูกของพุทธนี่  มันจะมีสืบทอดกันอย่างนี้จริงๆ น่ะ งั้นก็ลองๆ ดูน่ะ ตั้งใจดู  ไม่ง่ายนะ อาตมาว่านี่คุณมานั่งนี่พับ ตอนแรกกินข้าวเข้ามานี่  โอ้โห! ไม่ถึง  2 ชั่วโมงดี เมื่อกี้นี้เริ่มบ่าย  บ่าย 2 กว่าแล้วนะ ที่ขึ้นมานี่ ไม่ได้เริ่มบ่าย 2 โมงตรงนะ 2 โมงเท่าไหร่ไม่รู้ กี่นาทีไม่รู้ อาตมาไม่ได้จำ แต่รู้ว่ามันไม่ใช่บ่าย 2 โมงตรง ใช่ไหม ขึ้นมาเมื่อกี้นี้  เลย 2 โมงไปแล้วด้วยซ้ำ นี่ยังไม่ถึง 4 โมงเลย ยังไม่ถึง 2  ชั่วโมงดี  อาตมาเทศน์ธรรมดา บางที 4 ชั่วโมง นั่ง พวกเรานี่ฟังไปเถิด 4  ชั่วโมง เขาก็ฟังได้รื่นเริงในธรรม  เพราะว่ามันมีความรู้  มันมีสิ่งที่ดี หลายคนนี่  อาจจะรู้สึกว่า แหม! เมื่อไหร่จะเลิกเสียที นั่งฟังเล็กเชอร์ ไม่เห็นมันนานเท่านี้เลย ยังได้คะแนนด้วย ไอ้นี่ คะแนนก็ไม่ได้ แหม! ดีไม่ดีโดนด่า โดนด่าไปหลายกัณฑ์แล้ว พูดไปแล้วโดนซัดไปหลายทีแล้วนี่ หน้าแตกไปหลายทีแล้วนะ มันก็อย่างนี้แหละนะ

เอาละ อาตมาก็ใช้เวลาเพียงเท่านี้นะ ในภาคปฐมนิเทศ แล้วก็พาอธิษฐาน แล้ว จากนี้ไปเป็นกิจกรรมอะไรก็ว่ากันไป ถึงวาระของอาตมา เขาจัดตารางไว้แล้ว ถึงเวลาก็พบกัน อาตมาก็ขอทำงานส่วนที่อาตมาจะทำงาน พวกคุณก็ดำเนินการอบรม ฝึกฝนกันไปก็แล้วกัน เอ้า! ตั้งอกตั้งใจ สาธุ 


 

 ถอดโดย  นายประสิทธิ์ ฝ่ายทอง

         ตรวจทาน 1 โดย สุพรรณี เนตรสว่าง  6 ก.พ. 33

         พิมพ์และตรวจทาน 2 โดย  นางวนิดา วงศ์พิวัฒน์  24 ก.พ. 33


 

ที่มา ที่ไป

310330 ปฐมนิเทศนักศึกษา รุ่นที่ 5 เพิ่งรู้ว่าโง่ โดยพ่อท่านโพธิรักษ์ ณ. พุทธสถานปฐมอโศก 


เวลาบันทึก 26 มิถุนายน 2567 ( 12:12:09 )

350611

รายละเอียด

350611 กรรมเป็นนายของดวง โดย พ่อท่าน  สมณะโพธิรักษ์  ปฐมอโศก

 

           ก่อนฉันวันที่ 11 มิถุนายน 2535 (หลังพฤษภาทมิฬ)

 

                         ณ ปฐมอโศก

 

         ก่อนอื่นก็บอกกันให้ทราบก่อนว่า ชาวชมร.นี่นะ อาตมาไม่ทราบจิตใจว่า ทำไมถึงอยากกลับไป ห่วงขายของ กลัวจะไม่มีรายได้ หรือว่าอยู่ที่นี่ไม่สบาย อยู่ที่นี่ไม่สบายเหรอ  ป่วยกัน  หรือว่า มันไม่สะดวก หา สบายดี เอ๊ะ มัน  2  กระแส ห่วงไม่ได้เงิน  หรืออยากอวดขยัน อะไรกันแน่ อาตมาให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า อย่างนี้นะ ที่จริงน่ะ  อาตมาอยากจะให้อยู่พรุ่งนี้อีกวันด้วยซ้ำ  เพราะตอนนี้ เรายังไม่แน่ ไม่นอนอะไรเลย  อาตมาวิเคราะห์วิจัยให้พวกเราฟังว่า ตอนนี้มันเข้าขั้นเข้ม  ขั้นเข้ม  ฝ่ายที่ถูกบีบคั้นนี่  ถูกบีบคั้นอย่างจนตรอก ไม่มีทางจะออกเลย

เพราะฉะนั้น  ยังเหลือทางเดียวเท่านั้นน่ะ   อาละวาด   เพราะฉะนั้น     อาละวาดแล้วนี่นะ  กรุงเทพฯนี่  เป็นสนามรบที่นองเลือดที่สุด เดินไปไหนก็ไม่ได้ อาตมาไม่อยากจะพูดมาก อาตมามีข้อมูลมากกว่านี้  แล้วก็มีเหตุผลอะไร ไม่อยากจะพูด เพราะว่ามันไม่ดี  พูดกว้างๆ หรือแม้แต่พูดในที่แคบ อาตมาพูดอยู่หลายอย่าง   แต่พวกเราก็ไปอยู่นอกๆ  ไม่มารับฟัง  ได้แต่คิดไปตามประสาตัวเอง  ถ้าคุณฉลาดนะ   อาตมาก็ว่าอาตมาก็ฉลาด แม้จะไม่เท่าคุณ เพราะฉะนั้น อาตมาน่าจะรู้เหตุการณ์พอสมควร พอสมควร ว่าควรไม่ควรขนาดไหน ถ้าคุณเห็นว่าควร อาตมาก็เห็นว่าควรอย่างนี้ คุณก็เห็นว่าควรกลับ  อาตมาก็เห็นว่าควรอยู่  มันเป็นยังไง มันจะอยู่พรุ่งนี้  มันจะเสียอะไรมากนัก ก็บอกแล้วว่า ข้าวก็มีกิน ดินก็มีเดิน ตะวันก็มีส่อง พี่น้องก็มีเสร็จ เห็ดก็มีให้เก็บ หา จะเอาอะไร เมื่อกี้ก็ให้ผู้รับใช้กลุ่มไปบอกเพิ่มเติมข้อมูลบ้างนิดหน่อย คือข้อมูลมันมีมากกว่านั้นอีก อาตมาแฉไม่ไหว    บางอย่างบางอันก็จะเข้าใจผิดได้หรือบางอัน ไม่ควรพูดออกไป เพราะบางอย่างก็พูดไปก็ไม่ดี   กระจายความมากๆออกไปก็ฆ้องปากแตก แล้วมันก็ไม่งามไม่ดี

         เหตุการณ์ตอนนี้หน้าสิ่วหน้าขวานมาก   พวกคุณไม่รู้สึกแต่อาตมาน่ะมีภูมิปัญญา  อาตมาว่าอาตมาแม้ฉลาดไม่เท่าคุณ  ก็พอรู้นะ  แล้วพวกคุณก็ทำเป็น  แหม อย่างนั้น ทำไมนะ คุณจะไปทำงาน อาตมาจะต้องมาต้านไว้ ปัดโธ่ อาตมาอยากให้ทำงานจะตายไป เข็นกันจะเป็นจะตาย แต่ตอนนี้ต้องให้หยุดอยู่ก่อนบ้างนี่ กลับกันกับพลังบุญ  พลังบุญมาเปรยๆ  วันนี้ก็ไม่ได้บอกหยุดหรอกนะ   ขอหยุด  วันนี้ก็ขอหยุด พรุ่งนี้จะหยุดต่อหรือเปล่ายังไม่รู้พลังบุญ  ส่วนชมร.นั้น แหม ฟิตจัด หือ   ทำไมล่ะ

ลองพักผ่อนบ้างซี  ถ้าขยันนักก็ไปช่วยขนทรายโน่นไป นั่นน่ะ เขายังขนกันอยู่  เมื่อเช้านี้ไปดู  เห็นมีไม่กี่คนเลย  ช่วยกันอยู่นั่นน่ะ ทราย กรวด  ยังรอแรงงานคุณอยู่ด้วยความเต็มใจ มาอยู่ที่นี่ ก็ช่วยขน ไม่ช่วยขน จะไปช่วยดูก็ได้  แสดงความอบอุ่น ช่วยเชียร์  เอ้าๆ เชียร์ เชียร์ เอ้า ขนเข้าไป ขนเข้าไป เราก็ช่วยเชียร์ แม้ไม่ขนก็ยังดี  ยังมีเพื่อนมีฝูง หรือไม่ก็ไปช่วยแซม ปลูกต้นไม้ต้นนั่นต้นนี่  หรือไม่ไม่ปลูกละไปช่วยเก็บผัก เก็บพืชอะไรก็ยังได้ อะไรอย่างนี้เป็นต้น นั่น สมภารบอกว่าต้นไผ่ไปช่วยกันปลูก มีอีกตั้งปลูกได้อีก 100 ต้น ไผ่น่ะเรามี เรามีตอ มีที่จะไปปลูกอีกตั้งเป็น 100  ต้นช่วยปลูก ไปบอกแนวที่จะปลูก เราจะได้ปลูกนี่ สถานบริเวณของเราเราจะทำให้มัน  ให้อโศกนี้ศรีไสว วิไลตา อยู่หว่างกลางพนาก็ได้  อยู่หว่างกลางพาราก็เก่ง เป็นสง่าแห่งแนวไพรก็ได้  เป็นสง่าแห่งเมืองไทย ก็แจ๋ว ก็ถูกด้วย มันจะต้องทำให้เป็นอย่างนั้นจริงๆน่ะ แล้วตอนนี้ เราก็ต้องดูทิศทางลม ดูอะไรต่ออะไรบ้าง มันต้องรอจังหวะดูจริงๆนะ  เพราะว่าตอนนี้มัน

         บอกขึ้นไปอีกนิดหนึ่ง  วิจัยให้ฟังบ้าง ว่านายกอานันท์ ขึ้นเป็นนายกนี่นะ ทางด้านฝ่ายทหารนี่ เขาถูกกดดันเข้าไปอีกมาก เขาถูกบีบเข้าไปอย่างหนักเลย ถ้าตั้ง  พลอากาศเอกสมบุญขึ้นเป็นนายก ยังเป็นพรรคพวกของเขา  เขายังมีรูหายใจ พอตั้งอานันท์ ปันยารชุน ขึ้นมาปั๊บ นี่ ปิดลมหายใจของเขาเลย เฮือกสุดท้าย ถูกกดดันอย่างหนักเลย  เพราะฉะนั้น  เขาเหมือนหมาจนตรอกนี่  จะยอมตาย  หรือจะต้องแว้งกัด  ถ้ากัดก็กัดอย่างหมาบ้าเลย เข้าใจไหม   ถ้ากัดก็กัดอย่างหมาบ้าเลย

เพราะว่าเขารู้อยู่แล้วว่าแพ้  ถ้าแพ้ก็ต้องกัดสุดฤทธิ์ มีพลังพิเศษเท่าไหร่  ต้องเอาออกมาหมด   คิดดูซิว่า  มันจะรุนแรงขนาดไหน   ฟังเข้าใจไหม   เพราะฉะนั้น  ตอนนี้ เราเองเราไม่ใช่ส่วน เรืองอะไรเราจะต้องเอาเข้าไปวุ่นวาย  อยู่ห่างกันก่อนซิ เขาจะตีกัน ก็ตีกันไป  เขาจะเป็นอะไร ก็เป็นกันไป ถ้ามันไม่เกิด มันดี ถ้ามันไม่เกิดมันดี   ภาวนาอย่าให้เกิดนั่นแหละดี    เราก็ภาวนาอย่าอยากอย่าอยาก อย่าให้เกิด   แต่ถ้ามันเกิด เราจะทำยังไง มันจะเป็นอย่างที่ว่านี่ ตอนนี้นี่ บอกให้ทราบได้ว่า ตัวผู้ที่เป็นตัวสำคัญนี่นะ มีทางออกอย่างเดียว 

         1.ออกนอกประเทศ

         2.ติดคุก

         3.ตาย ไม่มีทางเลือก แล้วจะเอาอะไร

         ไม่รู้   มันก็อาจจะเป็นได้  เพราะว่าจนตรอกแล้ว  มันทำได้ทุกอย่าง  พวกคุณไม่รู้ถึงอะไรต่างๆนานา ฟังไม่เป็น ฟังไม่ออก มันดูว่า ตั้งนายกอานันท์ขึ้นมานี่  โอ้โห ชนะแล้ว คลี่คลาย ใช่ ทางนี้ยิ่งขึ้น ทางนี้ยิ่งหนัก เพราะว่าเขาไม่มีทางเลือกเลย  เขาดิ้นสุดที่ พอดิ้นแล้ว ยิ่งอันนี้ไม่ได้ เขาก็ยิ่งหนักเข้าไปใหญ่อีก  หนักเข้าไปใหญ่เลย  เข้าใจไหม คนยิ่งหนักเข้าไปใหญ่ แล้วจะทำยังไง คนจะตายแล้วนะตอนนี้ มันต้องดิ้นสุดที่แล้ว ขยายความอีกหน่อยก็ได้ เพราะเป็นเพราะเหตุไร

         เพราะขณะนี้นี่  นายกอานันท์ขึ้นมา  เขาไม่มีพวกแล้วใช่ไหม  เพราะฉะนั้น  พระราชกำหนด จะเป็นยังไงจะมาทางไหน รัฐมนตรี  รัฐบาลก็เป็นไปทางของเขาไปทางนี้หมด     ทางโน้นก็ไม่มีอะไรเลย  เมื่อไม่มีพวกเขาก็ต้องถูกเปิดเผย  ถูกประจาน เมื่อถูกเปิดเผย ถูกประจาน ความจริงก็ต้องเป็นความจริงขึ้นมามากขึ้น   แล้วคุณรู้ไหมว่าความจริงคืออะไร คุณก็พอรู้อยู่แล้ว เมื่อความจริงเปิดขึ้นมา อันนี้คืออาชญากร นี่คือความจริง อันนี้คืออาชญากร เมื่อคืออาชญากร เขาก็ต้องอย่างน้อยที่สุด  อาตมาว่า  เขาก็จะต้องพยายามตกลงว่า  เอาอย่างนี้ก็แล้วกันนะ  ขอลี้ภัยต่างประเทศก็แล้วกัน ทีนี้จะ อันนี้แหละ อาตมาว่าขอลี้ภัยต่างประเทศ ขณะนี้ยังไม่รู้ประเทศไหนจะรับ   อูกานดา  จะรับไหม   อเมริกาอาตมาว่าคงไม่รับแน่ สวีเดนจะรับหรือเปล่า สวิตเซอร์แลนด์จะรับไหม ยังไม่รู้เลย เขาก็ต้องขอลี้ภัยต่างประเทศ ประเทศไหนจะรับ เท่าที่เราคำนวณประมาณ อิรักหรือ ซัดดัมเอาเลยหรือ  เอาละ เขาจะขออย่างนี้ ทางรัฐบาลจะยอมไหม ขอโต้หลงนะ นี่เป็นการโต้หลงนะ  ปล่อยอาชญากรออกนอกประเทศนะ  เขาจะยอมไหมล่ะรัฐบาล อาตมามองว่าคงจะไม่ยอม แม้ยอม ประชาชนก็จะไม่ยอม ก็จะใช้กฎหมายโลก ส่งผู้ร้ายข้ามแดนมา แต่จริง  เป็นคดีการเมือง อาจจะมีสิทธิบ้างก็ตามเถอะ ประชาชนก็ยังจะไม่ยอม  ถ้าประชาชนไม่ยอม  รัฐบาลก็เสียแต้มใช่ไหม  ถือว่ารัฐบาลทำผิด    ความเห็นของประชาชน  อย่างนี้แหละมันยาก มันละเอียดลออ  เอ้า ประเด็นนี้พับไป ถ้าเขาไม่อย่างนี้   เขายอม คุณเชื่อว่าเขาจะยอมไหม ถ้ายอมก็ต้องขึ้นศาล ขึ้นศาลก็ต้องติดคุก เพราะเป็นอาชญากรจริงๆ มีหลักฐานการตายอย่างชัดเจน ขึ้นศาลก็ติดคุก เขาจะยอมติดคุกไหม นี่เห็นไหม

         เอ้า  ทีนี้อีกทางหนึ่ง สู้ก็ต้องสู้สุดฤทธิ์  แล้วสู้ขณะนี้นี่  เขาไม่ได้สู้เก่งอะไรเท่าไหร่หรอก    เขาสู้เขาก็ต้องแพ้  เพราะฉะนั้น  ตายเท่านั้นแหละ   สู้สุดฤทธิ์น่ะ ไม่ตายก็พิการแหละ  เพราะว่ากองทัพขณะนี้   มันไม่ใช่กองทัพของเขาเจ้าเดียว   กองทัพทหารเขาแปร แปรพักตร์ไปอีกตั้งเยอะ   ถึงจะหันเข้ามาเล่นงานเขา กองทัพประชาชนอีกล่ะเท่าไหร่

         เพราะฉะนั้นถึงบอก    ถึงสู้ก็สู้อย่างจนตรอก สู้ก็ถึงตาย เขาจะเลือก

ทางไหน  ยังไม่รู้นี่นะวิจัยให้ฟัง อาตมายังคิดไม่ออกว่าจะมีทางไหนอีก รู้ไหม คุณรู้ไหมว่ามันขนาดไหน   ขณะนี้  เพราะฉะนั้น  ตอนนี้ชะลอๆ  เถอะ  พวกเราก็ไม่ได้เดือดร้อนอะไร  ทำไมจะต้องเข้าไปมีส่วนถูกลูกหลงเขา  เห็นแก่สินจ้างรางวัลเบี้ยบ้ายรายทางเล็กๆน้อยๆหรือ  อดอยากกัน  จนกระทั่งไม่มีกินหรือ  บอกแล้วว่า ข้าวมีกิน  ดินมีเดิน  ตะวันมีส่อง พี่น้องมีเสร็จ  เห็ดมีเก็บ ไม่มีอะไรก็นั่น ตัดเล็บ ก็เห็ดมีเก็บ  เห็ดมีเก็บ ก็เล็บมีตัด ทำไม รักษาทรัพย์เพื่ออวัยวะ เสียสละต่างหากคุณพูดภาษาอะไร  พูดแซวหรือ  สละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ   นี่จะต้องรักษาทรัพย์ เพื่อเสียอวัยวะหรือ  หือ รักษาทรัพย์เพื่อเสียอวัยวะอย่างนั้นหรือ   มันค้านแย้งคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วนะ  เราอย่าห่วงอะไรมากนักเลย อย่าขยันจัดนักเลย คุณพ่อขยัน แม่ขยัน เอาน่ะ ชะลอๆหน่อยหนึ่ง จะว่าบังคับก็ไม่ใช่บังคับทีเดียวหรอก ถ้าใครอยากจะไปจริงๆก็ไป  ถ้าอยากจะไปจริงๆ  มันอดไม่ได้ ทนไม่ได้  มันจะพอมีแรงงานเปิดไหมเล่า ชมร.  ไปช่วยเขาขายอยู่ ชมร.นครปฐม      มันไม่อยู่ในกรุงเทพฯ ไปสัมพันธภาพทางนี้บ้างซิ  แล้วก็อย่าไปทะเลาะกันล่ะ เสร็จแล้วก็ข้ามาจากบ้านใหญ่นะ   เพราะฉะนั้น นี่บ้านเล็ก ต้องเชื่อฟังข้านะ  เดี๋ยวก็ยุ่งกันใหญ่ละ  เอาอัตตามานะไปซัดกันอีก ประเดี๋ยวก็สนุกกันอีก

         สิ่งเหล่านี้  ก็เป็นการศึกษา เป็นการศึกษาที่เราจะต้องมองให้ลึก มองให้ละเอียด  ที่จริงข้อมูลอื่นๆ มีอีกมากกว่านี้ อาตมาพูดแค่นี้  ก็วิจัยวิเคราะห์ให้ฟัง แล้วก็มีความเป็นจริงมันขนาดนี้  เพราะฉะนั้น บางทีคุณมองเผินๆ บอกว่าโอ๊ย  ตั้งนายกอานันท์แล้วนี่  คงไม่เป็นไร  มันไม่ใช่อย่างนั้น อย่างที่อธิบายไปแล้ว  ถ้าตั้งนายกสมบุญก็เขาก็แรง ทางด้านประชาชนก็จะไม่ยอม  มันก็จะแรงเหมือนกัน ทีนี้ตั้งนายกอานันท์  มันก็จะแรงในลักษณะที่อาตมาว่านี่แหละ ยังเดาใจกันไม่ได้  อาตมาก็เดาใจเขาไม่ได้ ว่าเขาจะเอายังไง  เขาจะเลือกทางไหน  แต่มันมีแต่ทางยากทั้งนั้นเลย เห็นไหม มีแต่ทางที่ โอ้โห  จะอยู่ยังไง ถูกตีเข้ามุมขนาดหนัก ไอ้อย่างนี้เป็นความกดดันทั้งมาก แล้วถูกตีเข้ามุมจริงๆเลย ยังไม่รู้ว่า เขาจะเอาขนาดไหน  จะเป็นได้ขนาดไหน  จะทนได้ขนาดไหน  จะอาละวาดหรือไม่อาละวาด   ยังไม่รู้เลย  เพราะฉะนั้น   เราจะต้องอย่าประมาท ยังมองไม่ออก มองเผินๆ  นึกว่าดี เหตุการณ์คลี่คลายดีขึ้นนะ  ที่ตั้งนี้ทุกคนไชโย แต่ไม่มองมุมลึกมุมกลับ  ที่อาตมาวิจัยให้ฟัง สมณะกลับได้ ก็ได้ ก็ไปอยู่ในบ้าน ไปอยู่ในวัด อย่าออกมาเพ่นพ่าน  ก็เถอะ ไม่เป็นไรหรอก  เขายิงทะลุบาตรมั่ง เหมือนกับอย่างสมัยโน้นน่ะ เขาเขียนหนังสือบอก  โอ้โห  ยิงทะลุบาตรถูกท่าน ถูกพระดิ้นพราดๆ โอ้โฮ  เขาเขียนหนังสือสมัยโน้นน่ะ  14 ตุลา ที่เราไปเดินบิณฑบาต โอ๊ย นักเขียนสคริปต์เล่าเรื่อง โอ๊ ยังกับเห็นมาคาตา  นี่  โอ๋ ปืนทะลุบาตร ปืนถูกสมณะลงตายดิ้นพราดๆ  อะไรนี่  โอ้โห  เขียน  ระวัง ไม่เกิดตอนโน้น มาเกิดตอนนี้ละ  ไม่ต้องกลัวหรอก ก็ไปเดินบิณฑ์ดีๆ ใครจะไปบิณฑบาตอะไรก็พอได้ เพราะพวกเราก็ไม่ได้ไปล่อแหลมอะไรนัก เราก็อยู่ในฐานะอย่างนี้  ก็คงไม่กระไร ก็หาเอาตัวรอดให้ได้ ถ้ามันเกิดเรื่องน่ะ ให้อยู่ในวัดในวา  อย่าไปหวือหวา อย่าไปอย่างโน้นอย่างนี้ อย่าไปรุนแรง อย่าไปอะไรต่ออะไรมากนัก    เพราะฉะนั้น  จะกลับบ้างก็ได้   ก่อนจะกลับก็เดี๋ยวได้ข่าวว่าจะต้องอัพภานนะ ก็อัพภานกันเสียก่อน  ถึงค่อยกลับได้ ปุณณสมโณก็น่าจะอยู่นี่  ที่จริงก็จัดให้อยู่ที่นี่แล้ว  ดื้อๆจริงๆเลย ตอนนี้ก็ยิ่งมีเหตุการณ์อย่างนี้ก็น่าจะอยู่ที่นี่ ไปอยู่มันทำไมกันที่บ่อนรกทางโน้น   เราเองเป็นนรกสำหรับเรานะ  อย่าไปหลงว่าสวรรค์ ลวงนะ  ผีมันหลอก ถ้าไม่รักพรหมจรรย์ก็อีกเรื่องหนึ่ง แต่ถ้ารักพรหมจรรย์  ก็ต้องปฏิบัติให้มันเข้าทิศเข้าทาง  มาอยู่ที่นี่ก็ดี  เครื่องไม้เครื่องมือก็พอใช้ พอ ไม่มีอีกก็ขอมาอีกก็ได้  เครื่องไม้เครื่องมือน่ะ  มีอะไรมีงานมีหน้าที่มีโน่นมีนี่  จะทำอะไรก็ช่วยกันที่นี่ก็ได้ จะได้ไม่ล่อแหลม  จะได้ไม่ต้องไปนัวเนียวุ่นวายอะไรมากมายนัก

         นี่  ถ้าเผื่อว่าปฐมอโศกนี่ มีประชาชนบุคลากรกันวันๆเท่านี้ๆ นะ โอ้โห ยิ่งอบอุ่น  ยิ่งศรีไสววิไลตา  ยิ่งมีอะไรต่ออะไรเดี๋ยวอยู่ไปก็ได้รู้ เราจะอยู่มุมไหน จะอยู่งานไหน จะอยู่กิจกรรมอะไร จะอยู่กันอย่างสร้างสรรไป สร้างสรร เสียสละกันไปอย่างดี อย่างอะไรต่ออะไร โอ๋ นี่ปฐมอโศก โอ้โห ดูซินี่ บ้านช่องเรือนชานที่ทางมากมาย  มีกิจมีการ มีงานมีโน่นมีนี่ คนก็ไม่พอ กำลังงานก็ไม่พอ  ทำกันอยู่ได้ขนาดนี้ รวบรวมกันก็ยังไม่ค่อยติด มันก็เป็นไปตามธรรม ที่จริงมันจะได้แค่ไหน ก็ว่ากันไป  ทางด้านสันติอโศก มันก็หยุดไม่ได้ มันก็ลดไม่ลงหรอก มันก็เป็นไปอย่างแบบนั้น  อยู่ที่นี่ก็ มันก็หยุดไม่ได้ ลดไม่ลงหรอก  มันก็ต้องเป็นหลักขึ้นไปทั้งสองสภาพนั่นแหละ  ซึ่งอาตมาก็ไม่เห็นว่า  มันเสื่อมอะไรนะ มันก็ไม่เสื่อม  ถ้าเรารู้กาลเทศะ เราควรจะอยู่ยังไง  ควรจะทำยังไง มีอะไรกันไป ยังไงต่างๆนานา  เราควรจะเข้าใจ เราควรจะมอง ควรจะทำอะไรต่ออะไร ฟังกัน ดูกันไป ทำกันไป

         รูปร่างของชาวอโศกเรานี่   จะเป็นแกน  เป็นแก่น  ต่อไปในอนาคต 

จริงๆนะ  มันเป็นคนในลักษณะชุมชน  และมีระบบ  จะว่าเรียกกันไปถึงขั้นลัทธิก็ได้ เป็น Asokism อะไรก็ได้   มันจะเป็นระบบ เป็นลัทธิ เป็นสภาพ ซึ่งเขาไม่คิดว่าเป็นพุทธ   แต่อาตมาเห็นว่าเป็นพุทธอย่างยิ่ง เป็นพุทธเนื้อแท้ เป็นพุทธที่จริง  แต่เขาเองเขาไม่สนใจ   เขาก็นึกว่าพวกอโศกมาสร้างศาสนาใหม่   มาทำลัทธิใหม่  มาทำแบบใหม่  มันเข้าไปหาเก่าที่แท้ ไอ้เป็นอยู่อย่างนี้ มันไม่เป็นพุทธ   มันก็เลยเป็นต่างกัน เป็นนานาสังวาส

         เพราะฉะนั้น ภาคมรรค ภาคปฏิบัติ มันก็ต่างกัน ภาคความเข้าใจ ก็

ต่างกัน   ผลโดยเฉพาะยิ่งผล  มันก็ต้องต่างกัน  ผลออกมาเป็นสังคม  กลุ่ม   ที่มีวัฒนธรรมจารีตประเพณี  มีพฤติกรรม  กิจกรรม พิธีกรรมต่างจากเขาแน่ๆ  และอาตมาบอกหลายทีแล้ว  ว่ามันต่างจากแม้ทางโลก    นี่เป็นระบบบุญนิยม  บุญนิยมนี่แหละ  คือบุญอิสซึ่ม  บุญอิสซึ่ม  ที่เป็นพุทธอิสซึ่มแท้ จะเรียกคำแทน  คำคล้ายว่า เป็นอโศกอิสซึ่ม  เป็นบุญอิสซึ่ม มันก็คือพุทธนี่แหละ ลัทธิพุทธจริงๆนี่แหละ คุณฟังให้ดีว่าอาตมากล่าวตู่หรือเปล่า  มันเป็นของแท้ ซึ่งเราได้พิสูจน์แล้วว่า  เราเองเรามีความเชื่อมั่น มีศีล มีพหูสูต  มีองค์ประกอบอะไรต่างๆ นานา ว่าเป็นผู้ที่อยู่อย่างลดโลภ ลดโกรธ ลดหลง มีพฤติกรรมกาย วาจา ใจของเราก็อย่างนี้ละ มันสอดคล้องไหม  ว่าเราไม่ได้มาอยู่ในสังคมนี้ เพื่อโลภโมโทสัน เพื่อสร้างความรุนแรง  เพื่อสร้างความโกรธ   เป็นตัวการเพื่อก่อให้เกิดทะเลาะวิวาท  โกรธเคือง ไม่อบอุ่น  หรือว่าเราทำให้อย่างประสานกันขึ้น  ผู้มีทิฐิสามัญตา มีศีลสามัญตา เป็นกลุ่มเป็นหมู่ชนเดียวกัน  มันก็อบอุ่นขึ้นไปเรื่อยๆ แล้วก็พยายามที่จะให้คนอื่นมาอบอุ่นด้วย  เข้ามารวมมาเป็นมวล  เป็นหมู่ เป็นพรรคเข้าไปมากขึ้น มันเป็นเช่นนั้นไหม มันไม่ง่ายหรอกนะ   ยาก แม้ยาก มันก็จะมีสัจจะที่เราพออ่านออก มีสัจจะที่เราไม่ได้งมงายอะไรเกินการ   มีของจริง  มีรูปจริง เรื่องจริง มีตัวบุคคล มีตัวพฤติกรรม    มีกิจกรรม ยืนยันเราค้าขายอย่างบุญนิยม เป็นยังไง เป็นความโลภ เป็นความอาฆาตมาดร้าย  พยาบาท  เอาชนะคะคาน หรือว่าเป็นไปเพื่อเกื้อกูล  เผื่อแผ่  เมตตา ช่วยเหลือ เป็นไปเพื่อความเห็นแก่ตัว หรือเพื่อความเห็นแก่ส่วนรวม กิจกรรมอะไรก็ตามแต่   พฤติกรรมอะไรก็ตามแต่  อาชีพอะไรก็ตามแต่ ที่เราเป็นอยู่นี่  มันสอดคล้องไหม   นี่มันเป็นรูปธรรมที่คนจะจำนนในอนาคต ขนาดที่เรามีรูปขนาดนี้ 

อาตมามองออกพวกเราพอมองออก ข้างนอกเขายังมองไม่ออก  ยังตามืดตาบอดอยู่เลย   ข้างนอกน่ะ   เขายังหาว่าพวกเราจะทำลายสังคม ไอ้ย่า  พวกเราจะมาทำลายสังคม  มันต้องร้องไอ้หย่า   เจ้าของไอ้หย่า  เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกเที่ยวหนึ่งแล้ว  โอ๊  ทำไมเขาถึงได้เห็นเพี้ยนไปถึงขนาดนั้น  เห็นกงจักรเป็นดอกบัวกันจริงๆ  เห็นดำเป็นขาว เห็นขาวเป็นดำไปจริงๆเลย นี่แหละ คนตาบอดมืดตาบอด  นี่ มันไม่มีดวงตาจริงๆ มันมองไม่ออกจริงๆนะ และเริ่มมีคนมองออก   เรามองออกมากขึ้นไหม  ถ้าเรามองออกมากขึ้น เราก็ศรัทธามากขึ้น  เราก็ไปเร่งศีลให้มันเจริญงอกงามมากขึ้น  พหูสูตก็ศึกษาไป  เพิ่มเติมมากขึ้น  สิ่งที่จะเกิดตามมานั้น  มาจนสมบูรณ์จนกระทั่งถึงอุภโตภาควิมุติ  ก็ทำให้เพิ่มขึ้นไปจริงๆ ถ้าคุณเชื่อมั่น ถ้าคุณเห็นจริง มันก็จะเกิดความเจริญงอกงามไปตามจริงๆด้วย มีอัตราการก้าวหน้า และเป็นคนอย่างนี้  ชุมชนอย่างนี้   ลัทธิอย่างนี้  ความเป็นอยู่อย่างนี้  แล้วคุณจะทดสอบตรวจสอบตัวเองซี   จิตใจของเราทุกวันนี้ เราสบายไหม  สบายอย่างนี้นะ ไม่ใช่สบายอย่างโลกีย์  บำรุงบำเรอสุข เป็นสุขอยู่อย่างโลกีย์  สุขอย่างนี้ ที่เรียกว่าสุขพิเศษ  สุข วูปสโมสุข  สุขอย่างเราเป็นสุขนี่ คุณจะเอาไหมล่ะ  ไม่เอาก็ไปได้นะ  นี่ไม่ได้ไล่นะ  ไม่เอาก็ โอ๊ย เลือกแล้วยังไง เปรียบเทียบแล้ว ไม่เอาละ สุขอย่างนี้  ต้องไปเอาสุขอย่างโลกีย์ก็ไปได้ มีทางกว้างนี่ ไปง่ายจะตาย  เข้ามาอยู่นี่ซิ ยากด้วยซ้ำ  เข้ามาอยู่ยิ่งยาก แต่มาอยู่แล้ว ก็ไม่ได้ไล่หรอก นอกจากคุณจะต่ำกว่ามาตรฐาน    ถ้าคุณไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน  นี่จงภาคภูมิใจเถอะว่า   เขาไม่

ไล่อั๊วก็บุญแล้ว   คุณไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน   จงภูมิใจเถอะ    แล้วพากเพียรศึกษา พิสูจน์เข้าไปเถอะ  พิสูจน์ความจริงไปเถอะ เราอยู่อย่างกระเบียดกระเสียน  แต่เราไม่ทุกข์ใจอะไรมากมายนะ  เรารู้ว่าไอ้สิ่งที่เราได้รับการ แหม ต้องเรียกร้อง  ต้องพยายามที่จะให้เราเป็นอย่างโน้น ต้องขยัน ต้องหมั่นเพียร ต้องไม่หลบ ไม่หลีก ไม่ลี้ ต้องอดทน ต้องข่มฝืน  ต้องพากเพียร   อุตสาหะ วิริยะ  ต้องขัด ต้องเกลาตนเอง  ต้องอบรมฝึกฝนอยู่ตลอดเวลา  ตั้งตนอยู่บนความลำบาก  มันถูกทิศถูกทางแล้วละ

         อาตมาเอง  มีข้อพิสูจน์อยู่อย่างหนึ่งว่า  พวกเรานี่นะ   ถูกตีกรอบพอสมควร  มีข้อปฏิบัติกรรมฐานศีลพรตอะไรต่ออะไรเคร่งพอสมควร แต่ยังไม่มีใครบ้า นี่เป็นข้อพิสูจน์อยู่ แม้แต่เด็กก็ยังพอทนได้ ผู้ใหญ่ก็ยังไม่มีใครบ้า หลายปีมาแล้ว ไอ้ที่บ้านั่น บ้ามาจากข้างนอก   เสร็จแล้วมาอยู่ในนี้ เราก็รักษาหายไปเสียตั้งหลายคน  มีเหมือนกัน พวกเรานี่ ปฏิบัติไปแล้วก็กดดัน เบลอๆ แต่เสร็จแล้วก็หาย  เพราะว่ามันถูกบีบคั้น แล้วก็ปรับจิตตัวเองไม่ทัน ไม่ไหว แต่ไม่มีปัญหาอะไร ทุกวันนี้ก็รู้อยู่แล้ว พอเป็นไป  ถึงแม้ว่าจะมีคนต้องบ้าไปบ้างคนสองคน มันก็เป็นส่วน error  เป็นได้บ้าง  แต่โดยค่ารวมแล้ว  ไม่บ้า    นอกจากไม่บ้าแล้ว รู้ตัวเองว่าดีขึ้นด้วยซ้ำ ดีอย่างไร คุณก็ต้องรู้เอาเองเถอะ พามาจน พามามอซอ พามากินน้อยใช้น้อย พามาถูกเป็นทาสแรงงาน  โอ๋ นี่ ทาสแรงงานนะ นี่ ใช้แรงงานฟรี โรงงานทาส ที่เขาว่านั่น กล้วยหวีเดียวมันทำงานทั้งวัน  โอเลี้ยงก็ไม่ให้ดื่ม  น้ำขวดก็ไม่ให้ดื่ม โอ้โห  ทารุณกรรมเหลือเกิน   จริงๆนะ  เขามองอย่างนั้นจริงๆ    แล้วคุณรู้สึกอย่างนั้นหรือเปล่า  คุณมีความเข้าใจแค่ไหน อาตมาว่าถ้าคุณรู้สึกอย่างนั้นจริงๆ คุณอยู่ไม่ได้หรอก   คุณไม่อยู่หรอกใช่ไหม แต่ที่อยู่นี่ เพราะไม่มีความรู้สึกอย่างนั้น  ไม่เข้าใจเป็นอย่างนั้น  คุณมองเห็นความจริง หรือว่าถูกอาตมาล้างสมอง หือ เห็นความจริง หรือถูกล้างสมอง   หลายคนก็ว่าใช่ ถูกล้างสมองไอ้เขลอะๆ เก่าๆนี่ มันโง่ๆ เอาออกไป มันก็เลยเห็นอะไรสว่างขึ้น  หรือว่าถูกล้างสมอง ถูกครอบงำ ถูกพราง ถูกหลอกไว้   คุณที่นั่งอยู่ทั้งหลายแหล่นี่ คือคนโง่ทั้งหลายแหล่  มาให้อาตมาหลอก ใช่จริงๆด้วย  บรรดาคนโง่ทั้งหลาย ทำเป็นพูด แต่คนอื่นเขาว่า ถูกหลอกสนิทเลย ถูกหลอกสนิทเลย  บรรดาคนโง่ทั้งหลายมาให้อาตมาหลอก ก็ดีเหมือนกัน   อาตมาว่าอาตมาเก่งเหมือนกันละ หลอกคนโง่ทั้งหลายได้  อาตมาเคยพูดย้อน อาตมาไม่เก่ง ไม่ภูมิใจนะ   ที่อาตมาหลอกคนโง่ได้  จริงๆอาตมาไม่ภูมิใจหรอก   อาตมาหลอกคนโง่ได้ อาตมาไม่อยากหลอกคนโง่ เสียมือเสียดิสปรินหมด หลอกคนโง่ คนจะเก่งอะไร   มันต้องหลอกคนฉลาดซิ มันถึงจะเก่ง  หลอกคนฉลาดได้ แล้วพวกคุณนึกว่าตัวเองฉลาดหรือเปล่า  ถูกอาตมาหลอกเสร็จนี่  ฉลาดเท่าที่จะฉลาดเถอะ  ฉลาดขนาดไหน  ก็เสร็จอาตมา  อาตมาหลอกได้   แล้วอาตมาภูมิใจที่หลอกคนฉลาดได้  คนทางโลกเขายังบอกว่า   โพธิรักษ์มันเก่ง  มันหลอกได้แค่คนฉลาด  เขาเคยพูดเหมือนกัน   เอ๊ะ  มันชมหรือมันติก็ไม่รู้ นี่ พวกที่อยู่กับโพธิรักษ์นี่ฉลาดๆ  ทั้งนั้นละ  มันเก่ง  มันหลอกได้แต่คนฉลาด มันหลอกแต่คนฉลาดๆไป ไม่รู้ว่าเขาด่าอาตมาหรือเขาชมอาตมาที่เขาพูดนั่นน่ะ  ใครเคยได้ยินมั่ง ใครยังจำได้  อาตมายังจำได้เลย เขาว่าอย่างนี้จริงๆ โพธิรักษ์เก่ง มันหลอกแต่คนฉลาดไป  เออ มันชมหรือมันด่าวุ้ย  มันหลอกเอาแต่คนฉลาดมา  ก็คุณเก่งมั่ง  คุณก็หลอกเอาคนฉลาดไปซี  คุณทำไมไปหลอกได้แต่คนโง่ละ คนฉลาดหลอกไปไม่ได้ มาขายขี้หน้าตัวเอง  หลอกได้แต่คนโง่  แล้วคนฉลาดให้อาตมาหลอกมาได้ 

         มองแหลกมุมจริงๆนะ   ถ้าคนที่หลอกคนฉลาดได้แล้ว   คนโง่มันจะไปหลอกยากอะไรละ   แหลกมุมอีก  เอาละ อาตมาเอง อาตมารู้ตัวดีว่า อาตมาจะหลอกคนฉลาดมาไว้เท่าที่อาตมาควร  อาตมาไม่อยากได้คนโง่เข้ามากวน  เพราะว่าอาตมารู้ตัวดีว่า  อาตมาได้คนโง่เหล่านั้นมา อาตมาคุมไม่ได้ เพราะคนโง่จะมาทำเสีย  เพราะฉะนั้น  อาตมาขอมีแต่คนฉลาดประมาณนี้ แม้ไม่ได้คนโง่เพิ่มกว่านี้ก็ขอรับแค่นี้ เมื่อท่านเก่ง  ท่านจะรับคนโง่มามากๆ ก็เชิญท่านเถอะ  เอ้า   จริงๆอาตมาประมาณ  อาตมารู้ตัวเอง มีอัตตัญญุตา  ว่าอาตมารับได้แค่นี้ แล้วก็รับแต่คนฉลาดนี่แหละมาก คนโง่ก็โง่รองลงไปเท่านี้ อาตมาทำได้  โง่ไปกว่านี้อาตมารับไม่ได้อีกแล้ว   เพราะอาตมาไม่ไหว   โง่เลยขีดนี้ไป อาตมาไม่สู้ ยอมแพ้ ถูก ก็พูดเมื่อกี้นี้แหละ    ถูก  จะหลอกคนโง่ก็ได้  มีวิธีการ  วิชาที่จะหลอกคนโง่มีอยู่เต็มกระเป๋าเลย   ที่เขาโง่อย่างไร  หลอกยังไงได้ เขาก็มี ผมเคยเล่นมาด้วย  แต่เราไม่ทำให้เสีย   แล้วก็ไม่อยากจะได้มาให้มันรวนเรวุ่นวาย  นี่เป็นการประมาณ  เป็นการตั้งอกตั้งใจ  ที่จะทำให้มันได้สัดส่วนที่พอเหมาะ    มัชฌิมาปฏิปทาคืออย่างนี้แหละ  จะต้องรู้จักสัดส่วนที่ได้สมดุล ได้ค่าอันดี สมบูรณ์อันดี เราจะเพิ่มปริมาณคนขึ้น  เราจะทำอย่างไรวิธีการ แล้วมีผู้ที่จะช่วย ถ้าเพิ่มมาแล้ว   ผู้ที่จะช่วยพอไหม  ประเมินค่าหมดแหละ   ถ้าไม่ประเมินค่าหมด มันไปไม่รอด ไปไม่รอดหรอก  แล้วอย่างเรานี่  มีผู้จะช่วย  เต็มใจช่วยแค่ไหน ทุกวันนี้เข็นอืดๆกันอยู่    ขนาดนี้มันก็ได้ขนาดนี้   ผู้ช่วย   ประชุมทีหนึ่ง  ประชุม มหาปวารณา  ท่างองค์นี้เป็นสมภารนะ    แหม  ผมยังไม่พร้อม  ไม่พร้อม  ไม่เอาแล้วคราวนี้  แค่จะให้เป็นสมภาร ช่วยแค่นั้น ก็ทั้งยากทั้งเย็น ข้างนอกเขานั่น แย่งกันยังกะอะไรอี แต่ในนี้ โอ้โห ให้ช่วยมั่ง   ไม่ค่อยจะช่วยหรอก  ยังขนาดนี้เลย   ขนาดตำแหน่งสมภารในประเทศไทยนี่  เขาแย่งกัน ยิงกัน ฆ่ากันด้วยซ้ำ  ที่นี่ ตีกรรเชียงออก คิดดูซิ  อาตมาหนักหนาสากรรจ์แค่ไหน  เพราะฉะนั้น  ก็ต้องพยายามดูให้รู้ว่า เออ เรามีฐานะบุคคลแค่ไหน  จะช่วยกัน จะตั้งใจเข้ามา เออ  มีกะจิตกะใจอะไร เพราะว่า เราเองเราทำด้วยความสมัครใจ    เราทำด้วยความเห็น  ด้วยปัญญาอันยิ่ง  ว่าเราต้องพากเพียร ก็พากเพียร  เหนื่อย ก็ต้องเหนื่อยบ้าง  ช่วยกัน ก็ช่วยกันบ้าง  อย่าว่าแต่พระสมณะที่อาตมายกตัวอย่างเลย  แม้แต่ฆราวาสก็เหมือนกัน  ก็หลายผู้หลายคนที่เต็มใจอยู่ก็มี     ผู้ที่ยังเข็นตัวเองก็มี  ผู้ที่เลี่ยงก็มี   ก็ต้องพยายามกันอยู่อย่างนี้แหละ  ผู้เลี่ยง ก็พยายามทำความเข้าใจให้เห็น ให้เห็นคุณ ให้เห็นประโยชน์ ให้เห็นค่า   ให้เห็นความเจริญของชีวิต  ให้เห็นความเจริญของสังคมมนุษยชาติอะไรต่างๆ   หรือแม้แต่บุญที่แท้จริง เข้าใจบุญให้จริง  แล้วเราก็ทำ เกิดบุญ  เกิดกุศล เกิดสิ่งที่เจริญ   เกิดสิ่งที่เป็นประโยชน์  ทั้งตนและท่าน   สอดคล้องกันหมด   ก็พยายามที่จะชี้ แจกแจง ทุกเหตุ ทุกปัจจัย ให้พวกเราได้เข้ากันดีๆ ไม่ใช่เรื่องง่าย  ได้มาขนาดนี้  อาตมาก็ว่าบุญของอาตมามากแล้ว  ใครทำได้เก่งได้กว่าอาตมาก็ทำบ้างเถอะ ในโลกนี้ ไม่ใช่แต่ในประเทศไทย  จริงๆนะ  ได้คนอย่างนี้ ได้คนอย่างนี้ ในโลกนี้มุมไหนของโลกใครมีตัวอย่างชุมชนแบบนี้ อย่างนี้ แล้วก็ได้คุณภาพขนาดนี้ อย่างนี้  ลึกซึ้งอย่างนี้  มีรูปธรรมถึงขนาดนี้  นามธรรมพวกเรา  ก็เอามาเช็คได้เหมือนกัน   จะให้ตอบนามธรรมก็ทำ Questionnaires  ได้อีก  ได้ขนาดอย่างพวกเรานี่ อาตมาว่าลองๆหาดูเถอะ  ไม่ใช่ว่าเบ่ง ไม่ใช่ว่าอวดดี ไม่ใช่ว่าทำเป็นหลงตัวหลงตนอะไรหรอก  แต่ว่ามันไม่ง่าย มันยากนะ  แล้วมันได้ขนาดนี้ อาตมาก็เป็นบุญตัวนักหนาแล้ว  อาตมากันใครกันเชียว ไม่ใช่ลูกเจ้า แค่หลานเจ๊ก  ไม่ได้มีฐานะทางสังคมอะไร ทำมาด้วยตัวดุ้นๆ รวยหรือก็ไม่ใช่ มีเกียรติ มียศหรือ ก็ไม่ใช่ มีความรู้แบบโลกที่เขารับรองหรือก็ไม่ใช่   ไม่มีอะไรหนุนหลังอาตมาเลย มา แหม มันเหมือนกับคนกระจอก  มาทำได้ขนาดนี้ นี่ มันโอ้โห  จริงๆนะอาตมาพูดตรงๆว่า อาตมาเอง  อาตมาก็ยังสบายใจว่าตัวเองน่ะ  เกิดมาในโลกนี้ ชาตินี้  ช่วยเหลือมนุษยชาติ  หรือว่าทำความจริง ประกาศความจริง ทำให้คนได้รับความจริงเอาไว้ได้ขนาดนี้  อาตมาถึงบอกว่า อาตมาตายวันนี้วินาทีนี้  อาตมาไม่เสียดายชีวิตหรอก 

อาตมาภาคภูมิใจ ถ้าอาตมาไม่มาเป็นอย่างนี้ ไปหลงระเริงอยู่ เป็นนายรัก รักพงษ์  ป่านนี้อาจจะรวย  ป่านนี้อาตมาอาจจะมีกิจการล้าน อาจจะมีกิจการเงินล้าน  ร้อยล้าน  พันล้าน แข่งกับคีตา แข่งกับแกรมมี่ แข่งกับกันตนา  แข่งกับบริษัทอะไรก็ช่างมันเถอะ  ธุรกิจบันเทิงน่ะ อาตมาอยู่ ก็คงอยู่ในลักษณะโน้น  อาตมาจะเสียใจมากเลย  ต่อให้รวยเป็นหมื่นล้าน จริงๆจะเสียใจมากเลย อาตมามาเป็นอย่างนี้ได้แค่นี้ เขาจะเอาเข้าคุกมิเข้าคุกแหล่ขณะนี้  ยังสบายใจ ภาคภูมิใจจริงๆ ว่าเกิดมาชาตินี้ไม่ได้เสียเปล่าสูญเปล่า  อาตมาหลง ก็ฟังเอาก็แล้วกัน อาตมางมงาย หลง  แล้วเลอะ  หลงว่าไปในสิ่งที่ไม่ถูกว่าเป็นถูก สิ่งที่ดีว่าไม่ดี มีส่วน มีส่วน ผู้ที่ปฏิบัติไม่ถูก 

แม้ระดับที่มีมารยาทหรือพยายามที่จะปฏิบัติธรรมนี่ เราก็ต้องฝืน มีอดทนมีข่มฝืนปฏิบัติ แต่ถ้าปฏิบัติวิปัสสนา    การปฏิบัติที่ถูกต้องแล้ว   มันจะเป็นบทบาทจริง     ที่ได้ขัดเกลาไปเรื่อยๆ เจริญขึ้น  ใครที่เก็บกด ใครที่ทำไม่ได้ แน่นอน มันเก็บกดจริงๆ มันก็ระเบิด  ก็มีบ้าง มี error บ้าง  ความจริงแล้ว  อาตมาไม่ได้เป็นอย่างที่คุณว่านั้น เป็นค่ารวม ค่ารวมจริงๆนี่ได้ผล error มีบ้างแน่นอน  แต่อย่างที่คุณว่าเป็นมารยาทนี่ ใช่มารยาทในสังคมด้านไหนก็มี ด้านเราก็มี มารยาทนั่น คือการรู้ว่าเราทำนั้น  ปฏิบัติอย่างลวงคน  แต่ที่ลึกๆแล้ว ขี้โกง ลึกๆแล้ว ก็ทุจริต ลึกๆแล้วก็พรางซ่อน  หรือว่า  มารยาทนั้น  คุณปฏิบัติอย่างจริงใจ เรียนรู้ลึกๆ  เรียนรู้จิตวิญญาณ เรียนรู้การขัดเกลาทำจริงๆ แล้วปฏิบัติไปนั้น  ก็เป็นจริงขึ้นมาทุกที   จริงใจขึ้นมาทุกที   ลดกิเลสลงไปได้ทุกทีๆ  มันเป็นอย่างนั้นหรือไม่  อาตมาว่า  นำพาให้เป็นอย่างที่ว่านี้อยู่ ต้องขึ้นกับมารยาท

         เพราะฉะนั้น   เราขัดเกลา ทำยังไงได้ ไม่ได้แยกห้องเรียน โอ๋ย ก็เปิดโอกาสอยู่      มีอยู่    ก็เปิดโอกาสอยู่บ้าง     แล้วพวกเรานี่ค่อนข้างจะ Conservative   นะ  เป็นอนุรักษ์นิยม  เป็นแบบที่ไม่เหมือนกับสมัยใหม่กันอย่างตะวันตกอะไรเขานี่  ก็เอาละ  เขาก็เป็นไป   อาตมาว่า Conservative   นี่ 

รักษาแก่นไว้ได้ดีกว่า   ถ้าเผื่อว่า  เปิดโลกเลย โดยที่เรียกว่า  เมืองไทยนี่เปิดประตูสู่ตะวันตกเห็นไหม  ไม่รู้อีโหน่อีเหน่อะไรเลย แล้วไปเอาไอ้เลอะๆ  เทอะๆ ของเขามา  แก่นเนื้อของเขาไม่เอามา นี่มันก็ยังไม่ฉลาดพอ  เพราะฉะนั้น เราก็ค่อยๆเป็น ค่อยๆไป  ค่อยๆได้ ค่อยๆ สร้างสรรอะไรมา แม้ว่าที่อย่างไม้ร่มเขาพูดนี่ พอถึงเวลาแม้แต่ทำวัตร  ก็จะต้องฝืนใจมา ไอ้การฝืนนั่นแหละ  ฝืนอย่างตัวเองรู้ตัว  เพื่อขัดเกลาตัวเอง หรือไม่ขัดเกลา เมื่อไม่ขัดเกลา มันก็อย่างว่าแหละ  ก็หนักเข้าก็นานเข้าไม่อยากไม่มาๆ    เสร็จแล้วมันก็ลดหย่อน มันก็ผิดเพี้ยน อย่างที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้หมดแล้ว   ไม่ฟังธรรม  ไม่มาวัด  หรือมาวัดก็ไม่ฟังธรรม ฟังธรรมก็ไม่เอาแล้วในอธิศีล   ไม่เพิ่ม  ไม่ขยาย ไม่เจริญขึ้น   ก็เป็นบ้าง   ก็นั่นน่ะก็บอกกันทุกอย่าง  ก็เป็น มีผลตรงนี้ทั้งนั้นแหละ คุณพูดก็ถูก แต่ดูค่ารวมทั้งหมดแล้ว  อาตมาเห็นว่า  ปรับกันได้อยู่เรื่อยๆ  พัฒนากันขึ้นมาเรื่อยๆ   แล้วไม่ใช่ว่าอาตมาไม่บอก ไม่พูด อย่างที่คุณพูดนี่ อาตมาบอก อาตมาพูดอยู่เสมอ แลวก็พยายามแก้ไขส่วนบกพร่องพวกนี้ไปเรื่อยๆ   ซึ่งเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ เป็นงานยาก   ยากมาก อาตมาก็ถึงบอกว่า มันได้ขนาดนี้ แล้วนี่ ก็ อื้อหือ ไม่ใช่ฝีมือไอ้เรืองเหรอ จริงๆนะ  ถึงบอกว่า   ใครทำเก่งได้อย่างนี้ก็ทำเถอะ   แล้วอาตมาไม่ริษยาด้วยจริงๆ  ยกประณมมือสุดหัวสุดเกล้าเลย ใครทำได้   ทำได้อย่างนี้บ้างหรือยิ่งดีกว่านี้     โอ   เอาเลยอาตมาไม่ริษยา  เพราะอาตมาไม่โง่   จนกระทั่งเข้าไม่ถูกว่าให้คนมาในทิศทางพระพุทธเจ้า อย่างนี้อาตมายืนยันว่าของพระพุทธเจ้าทำไปเถอะ  ทำอย่างนี้ให้ได้มากๆ   ให้คนมีความเป็นอยู่พฤติกรรม กิจกรรม พิธีกรรมมีอย่างนี้ๆ ขึ้นมาได้  เป็นสังคม    มีจารีต    ประเพณี    วัฒนธรรมอย่างนี้ขึ้นมาได้จริงๆนะ    โอ๊  อาตมาโมทนาสาธุ  ใครทำได้ พวกเราก็ต้องพยายามทำในอนาคต    ก็ต้องค่อยๆ รังสรรกันขึ้นไป ฝึกปรือไป หลายคนช่วยกัน    ถึงบอกว่าที่อาตมาอธิบายว่า  พระพุทธเจ้าเก่ง  ไม่มีใครเก่งเท่าพระพุทธเจ้า  แต่พระพุทธเจ้าถ่ายทอดด้วยวิธีสร้างสถาบัน ให้แต่ละคนรับหน้าที่ผิดชอบไปคนละอันๆ คนละอย่าง  หลายอันรวมกัน มันก็ครบสมบูรณ์อยู่   แล้วก็เป็นหลักการเป็นหลักการที่ควรจะต้องถ่ายทอด   ไม่ใช่เอาตัวเองเป็นใหญ่  พระพุทธเจ้ายกให้เป็นใหญ่   หรืออาตมาก็คล้ายกันว่าอาตมาเก่ง ใครไม่เก่งเท่าอาตมา แต่อาตมาก็ทำอย่างพระพุทธเจ้าว่า ถ่ายทอดหลักการให้เป็นสถาบัน   ทุกคนรับผิดชอบไปคนละหน้าที่ คนละงาน  คนละความถนัดอะไรบ้าง  มี เอตทัคคะ  แต่ละคนๆ เพื่อที่จะทำรวมกัน แล้วก็กลุ่มที่ทำนี่แหละ แตกกันอีกเมื่อไหร่  ก็เสื่อมเมื่อนั้น   ถ้าไม่แตกกันแล้ว ก็ไปกันให้มากๆ นานๆ ยาวๆนะ แล้วก็ถ่ายทอด  อย่าไปถือคนเป็นใหญ่   ต้องถือหลักการเป็นใหญ่ ถือธรรมเป็นใหญ่ แล้วมันก็จะถ่ายทอดไปได้อีกนานเท่านาน  นี่ ถ้าเผื่อว่าเข้าใจที่อาตมาพูดนี่ แล้วอาตมารู้อย่างนี้มาแต่ต้นแล้ว อาตมากก็ทำอยู่ ทำอยู่ให้มันเป็นไปได้ มันก็เป็นไป ดู ดูเป็นไปได้อยู่ ถึงขั้นนี้  อาตมาก็เคยพูดแล้วว่า แม้อาตมาจะตายลงวันนี้ อโศกก็ยังต่อไป  แต่ไปเท่าที่ฤทธิ์มันมีแค่นี้ ถ้าอาตมาไม่ตายวันนี้ ต่อไปอาตมาก็จะทำให้เข้มข้นยิ่งกว่านี้    ให้เจริญขึ้นกว่านี้ คุณภาพมันก็จะมีมากกว่านี้ มันก็จะไปได้ยาวนานกว่านี้ได้ประสิทธิภาพให้มนุษยชาติได้มากกว่านี้     มันก็ดี  อาตมาถึงบอกว่าอาตมาจะพยายามอยู่ให้มันยาวๆ นานๆ แต่ตอนนี้พูดอย่างนี้ พวกเราก็ประมาท ก็เลยบอกว่าไม่อยู่แล้ว จะตายพรุ่งนี้แล้ว ถ้าขืนใครประมาท ก็ไม่อยู่สอนแล้ว ไม่เอาแล้วว่าจะอยู่ยืนยาว  พูดไปก็อย่างนี้แหละ   คนเรานี่ มันกลับไปกลับมา ตีกลับอยู่เรื่อย  มุมที่มันจะล่อกแลก มันจะทำให้ตัวเองไม่ดีนี่  มันทำไมมันถนัด ฉลาด ฉลาดที่จะให้ตัวเองต่ำ  แหม มันไม่น่ายินดีเลยนะ   ฉลาดให้ตัวเองต่ำนี่ พูดไปมันก็เป็นภาษาแหละนะ   แล้วอาตมาก็มอง แล้วก็พูด บอกให้พวกเราเข้าใจ  เท่าที่ควรจะบอกควรจะพูด  แล้วก็พัฒนากันไป   ไม่จากกัน ก็จะเห็นกันนี่ จะรู้กันแหละว่า มันเป็นยังไง  มันจะมีอะไรก็ว่ากันไป  อาตมามีอยู่ ที่เคยพูดหลายทีแล้วบอกว่า ขอสักชีวิตได้ไหม ตายแล้วชาติหน้ามันเกิดอีกเอาน่ะ  ชาติหน้าแล้วเข็ดขี้อ่อนขี้แก่อาตมา แล้วก็ไปกันเลย  ทีนี้คนละทิศคนละทางเลย   อย่าพบกันเลย  ไม่ต้องรู้หรอก   กรรมวิบากมันจะผลักดันคุณไปเอง  

เอา  ถ้าคุณศึกษาไปดีๆ  คุณจะเกิดญาณ คุณจะเข้าใจ คุณจะเห็นจริง คุณจะเชื่อว่ามันเป็น   มันมีสังสารวัฏ  ไม่เกิดญาณ ก็ยังมีญาณ ไม่ต้องลึกซึ้งนัก  มันก็พอเข้าใจด้วยเหตุด้วยผล  ด้วยหลักฐาน  ด้วยอะไรต่ออะไรต่างๆนานา   จะเกิดกัมมสัทธา วิปากสัทธา  กัมมัสสกาสัทธา  ตถาคตโพธิศรัทธา มีหลักฐาน  พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ชาตินั้นชาตินี้   มีวนเวียนอยู่ไม่รู้กี่ชาติ พระพุทธเจ้าตรัสของตัวเองออกมาตั้ง 500 ชาติ  ที่มาบันทึกไว้มากกว่า 500 ชาตินะ  พระพุทธเจ้าตรัสไว้นะ มากกว่า  500 ชาติ   แต่บันทึกมานี่แค่ 500 ชาติ เราจะเชื่อไหมว่ามีชาติอย่างนั้น  มันจะเข้าใจเองมันจะรู้สึกเข้าไป แม้คุณจะระลึกจริงๆ  ระลึกชาติแต่ก่อนมาไม่ได้ก็ตาม มันจะมีเหตุมีผล   มีข้อมูลอะไรต่างๆ นานา  ที่ทำให้คุณเชื่อ     ทำให้คุณศรัทธาเข้าใจ เลื่อมใส จริงๆ ระลึกชาติแต่ก่อนมาไม่ได้ก็ตาม  มันจะมีเหตุมีผลมีข้อมูลอะไรต่างๆนานา ที่ทำให้คุณเชื่อ ทำให้คุณศรัทธา เข้าใจเลื่อมใส จริงๆมันจะเป็นเอง แล้วทีนี้ 

เมื่อคุณทำแล้ว อย่างเชื่อมั่น อย่างเห็นจริงพวกนี้ มันจะทำให้คุณไม่ประมาท คนที่ไม่เชื่อว่ามีชาติหน้าชาติก่อนนี่นะ ประมาท  ตายชาติเดียว สุญ สูญ ไม่ต้องไปปฏิบัติให้มันยากทำไม  มันนิพพานแล้ว ตายชาติหน้า อยากนิพพานเร็วๆ ก็ต้องฆ่าตัวตายเลย เพราะว่าตายแล้ว  มันสูญนี่ คนเราเกิดมาชาติเดียวตายใช่ไหม ตายแล้วสูญ  เอ้า ปรินิพพาน  เลย สงบ กินยาพิษ หรือว่าเอาปืนยิงตัวตายโป้งจบ ตายแล้วนะ บ๊ายๆ  ก่อนตายบอกไปปรินิพพานแล้วนะ   เพราะตายแล้วสูญนี่ ชาติหน้าไม่มีอีกน่ะ  จะมาศึกษาพากเพียร  มันทำไปทำอะไรล่ะ  เหตุผลง่ายๆ  แค่นี้ก็ฟังได้แล้วใช่ไหม ต้องมาทนทุกข์  พากเพียร โอ้โห ยากทั้งยากทั้งเย็น ปฏิบัติไปทำไม  ปรินิพพานมันเสียเลย เดี๋ยวนี้ โป้ง โป้งแล้ว ยังมีแง็บๆ ก็บอก บ๊ายบาย ปรินิพพานแล้วนะ  นั่นละสิ 

คนเราเปลี่ยนชื่อนี่  เปลี่ยนชื่อ  เปลี่ยนแซ่นี่ เพราะว่าเหตุแห่งใจ   เชื่อดวงหรือเปล่าละนี่ ไม่ เออ ค่อยยังชั่ว ก็ช่างเขาเถอะ เขาเองก็เข้าใจเขาละนะ ก็เขาก็ยังติดยึดอยู่แค่นั้น  ดวงกับกรรมมันต่างกันอะไร ถ้ากรรมที่ดี  กรรมนั่นแหละคือเป็นอำนาจของดวง   วิบากของคุณ ทุนของคุณนั่นแหละ  เป็นอำนาจของดวง ทีนี้คุณจะได้ดวงดี  คุณก็ต้องหาทำกรรมให้ดี สั่งสมกรรมให้ดีซี อันเดียวกันนั่นแหละ  แล้วมันมีฤทธิ์เดชจริงๆ ดวงที่ว่านี่ คืออำนาจของกรรม แล้วเขาบอกว่า เจ้ากรรมนายเวร  แล้วเขาไปสมมุติมีเจ้ากรรมนายเวรไปต่างหาก  ทั้งๆที่เป็นเราเอง  กัมมัสสโกมหิ  กัมมทายาโท เป็นของเราเอง ทายาทของกรรม กลับไปมีเจ้ากรรมนายเวร  ต้องไปอ้อนวอนร้องขอให้เจ้ากรรมนายเวรช่วย ปู้โถ  ถ้าเผื่อว่าเราเอง เราทำดี มันก็ดีของเรา ทำชั่วมันก็ชั่วของเรา จะไปให้เจ้ากรรมนายเวรมาช่วย  เห็นไหม มันออกนอกตัวอีกแล้ว   มันเพี้ยนอีกแล้ว  กรรมนี่แหละเป็นดวง  ดวงนี่แหละคือกรรม กรรมเราสั่งสม   ดวงที่มันไม่ดี เพราะเราสั่งสมกรรมที่เป็นอกุศล กรรมที่ดี ก็เราสั่งสมกุศล  ก็พากเพียรเข้าไปซิ  เราจะมีมรดก ก็มีมรดกก็กรรมนี่แหละเป็นมรดกที่แท้จริง   นี่เป็นคำตรัสของพระพุทธเจ้าทั้งนั้น  อาตมาก็เห็นจริง เชื่อจริงๆ  เลย ใครไม่เชื่อกรรม ก็เรื่องของคุณ  อาตมาไม่ได้มาพูดเพื่อที่จะให้คุณเชื่อตามคำสอน

    เห็นได้  นี่ไงเล่า พวกคุณก็รู้นิพพานน้อยๆมาเรื่อยๆ ละลดตัดโลกย่อยๆมาเรื่อยๆ  ตั้งแต่โลกอบายมุข โลกกาม ขนาดกามจัดจ้านก่อนมาจนกระทั่งดีขึ้นเป็นรอบๆๆๆ  มีจักรวาลน้อย จักรวาลใหญ่  สังสารวัฏน้อย สังสารวัฏใหญ่  มาเรื่อยๆ นี่ยังไงคุณต้องรู้ด้วยตนเองของคุณให้ได้สิ   ใครรู้ตนเองได้  ตอนที่อาตมาพูดนี้  ก็ เออ จริง มีสัมผัสได้ แต่มันไม่ง่ายเหมือนโลกีย์  โลกๆ มันสัมผัสได้หยาบๆ  เรารู้แล้วอันนั้น เราก็รู้อันนี้อีกสองด้าน เราเห็นว่า ก็เลือกเอาสิ คุณจะเลือกเอาอย่างนี้ หรือจะเลือกเอาอย่างโน้น อิสรเสรีภาพนะ เราว่า โอ๊ย ตัดสังสารวัฏดีกว่า ไม่ไปเอาละอย่างโลก  คุณก็เลือกเอา แต่คุณบอกว่า โอ๊ย  อย่างสังสารวัฏอย่างนี้  ตัดอย่างนี้ไม่ไหว   จืดชืดตาย    จะไปเอาอย่างโลก นิมนต์   เฮ้ย   นิพพานแล้ว กระอักเลือดตายยังไง ปักขันธิกาพาธ ต้องอาเจียนเป็นเลือด  เพราะว่ามันโรคคอ มันโรคคอ  มันสอนมากมาแต่ไหนแต่ไหน พระสารีบุตรก็สอนมาก พระพุทธเจ้าก็สอนมาก  โพธิรักษ์ก็คงจะตายด้วยปักขันธิกาพาธก็ได้ ไม่เป็นไร ถ้ามีปัญญาเหมือนอย่างอาตมามีเต็มใจจะตายด้วยปักขันธิกาพาธ ตายด้วยโรคเดียวกับพระพุทธเจ้า  โอ้โห  กลัวมันจะไม่ตายด้วยโรคนี้ กลัวมันจะขี้เกียจก่อนซี ไม่เอา ไม่เป็นไร ชาวบ้านที่ไม่มีภูมิ    เขาไม่เอาหรอก   แต่ชาวบ้านมีภูมิเขาจะเอา  อาตมาว่าอาตมามีภูมินะ อาตมาเอา ตายอย่างนี้ ดีกว่าไปเป็นโรคเอดส์ตาย ตายด้วยโรคปักขันธิกาพาธ  นี่เหตุมันก็คือว่าสอนมาก  ใช้อวัยวะส่วนนี้มาก  แล้วมันก็ชำรุดทรุดโทรม   แล้วมันก็เสื่อมเสีย  มันก็เป็นบาดแผล  มันก็เสื่อมมากละ มันก็ถึงขั้นต้องมีเลือดออกมา  มันธรรมดา  ไม่ประหลาดอะไรหรอก มันเรื่องใช้มันมาก มันก็เป็นแน่ๆเลย ไม่มีปัญหาอะไรหรอก   เราก็พยายามรู้อยู่ เราก็ระมัดระวังมัน  อย่าให้มันเกิดถึงขีดนั้น แต่ถ้าจะเกิดถึงขีดนั้น  ตายด้วยโรคเดียวกันกับพระพุทธเจ้า เท่ เท่ ให้ธรรมทาน ให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง ตายด้วยโรคให้ธรรมทานนี่เท่ ไม่มีปัญหา  อาตมาก็รู้ คุณไม่ต้องมาขู่เสียให้ยากเลย  เดี๋ยวตายด้วยโรคปักขันธิกาพาธ ไม่ต้องกลัว ตายก็เอา ไม่ตายก็จะพยายาม  ก็รู้ว่ามันก็ไม่ดีนัก แต่ว่าพยายาม พยายามที่จะไม่ให้ตายด้วยโรคนั้น   แต่ถามันจะตายก็เท่ ไม่มีปัญหา กลัวมันจะขี้เกียจน่ะซี  มันจะไม่ยอมแจกธรรมทาน มันจะไม่ยอมเทศน์ มันจะไม่ทำให้ชำรุด มันจะรักษา หลงอะไร กลัวมันจะเป็นอย่างนั้น  ยากใช่ไหม ยากใช่ไหม เอาหรือไม่เอา อ้าว จบ

         พูดหาเหตุหาผลลดเลี้ยวอยู่นั่นละ จบ อาตมาจบแล้ว คุณยังไม่จบ คุณยังวกวน มันเรื่องของคุณ ก็เราทำสิ่งที่ทำได้ยาก ทำที่เอาชนะได้ยาก  ที่มาละได้ยาก อะไรอีกอันหนึ่ง  อดทนได้ยาก แน่ๆเลย มันไม่ใช่ของง่าย  ได้ยังไงหรืออย่างนี้ละ ก็อย่างนี้ละ ติดตามอย่ากะพริบตา  มีอยู่แล้วนี่นะ เป็นขั้นตอน ก็อนุโลมปฏิโลมกันพอสมควร   แต่ถึงอย่างไร ก็ยังจะเลี่ยงความยากไม่ออก   เพราะเรายอมรับว่ามันยาก  แต่เราจะเอาหรือไม่เอาอย่างที่ถามคุณ คนที่จะเอานั่นแหละ   อนุโลมให้ได้เท่านี้เอาไหม   อนุโลมให้ได้เท่านี้ไม่เอา คุณก็ต้องไปอนุโลมให้ได้เท่านี้ เอาคุณก็เอา  มีอยู่แล้วทางนี่ ทำอยู่ตั้งหลายชั้นหลายตอน แม้ขนาดเด็ก  ทุกวันนี้ก็อนุโลมถึงขนาดขนาดนี้   เราก็รู้อยู่  ไม่ใช่ว่าเราเองเราไม่มี   แข็งทื่อมาตรการข้อเดียว  เป๊ะ  เป๊ะ  เมื่อไหร่ โอ้โห ซับซ้อนหลายชั้นหลายเชิง  หลายฐานะ  เรารู้อยู่ในฐานานุฐานะ มีชั้นมีตอนของมันอยู่ พวกและๆเล็มๆ พวกเลียบเคียงพวกอะไร  เราก็รู้หน้ารู้ตาทั้งนั้นแหละ  เขาทำเป็นอย่างโน้นอย่างนี้ เรารู้ แต่เราทำเป็นไม่รู้ ก็มี นี่ก็เป็นวิธีอนุโลมเขาเหมือนกัน  คนเก่าๆอยู่มากก็มีตั้งมากกว่าคนออก แล้วคนใหม่ก็เพิ่มมามากกว่าคนที่ออก  จริงๆนะ  อาตมาถึงบอกว่า  มันมีการก้าวหน้า  มีอัตราการก้าวหน้า  สาธุ  สาธุ สาธุ สาธุสมน้ำหน้า สาธุสมน้ำหน้าเลย  ไปไหนไม่รอด แบบนี้น่ะซิ   พูดไปแล้วฟังทะแม่งๆ   เอ๊ เอาตกลง  พยายามเข้าหาสมณะให้มาก  อย่าไปเอาคนใดคนหนึ่ง ประเดี๋ยวมันจะไม่ค่อยเข้าท่า มันทะแม่งแล้ว เอาเถอะน่ะ ควานหาดูบางอัน  ต้องถูกโศลกสักรูปก็ได้  ถึงแม้จะหน้าไม่หล่อ ใช่ มาแกล้งฝืนทั้งชีวิตนี่ มารยาทนี่ ก็ข้อสำคัญเข้าใจมารยาให้ดี  เรามีมารยาทนี่ เราเข้าใจตัวเราเองไหมว่า  เราหลอกคนอื่นหรือหลอกตัวเรา ถ้าเราหลอกคนอื่น หรือหลอกตัวเรา นั่นเรามีมารยา แต่ถ้าเรามารยาท เราฝืนตัวเรา  แล้วเราก็เข้าใจว่าเรากำลังมีสัจจะ มีทมะ มีขันติ มีจาคะ เราทำอยู่อย่างชัดเจน ใช่ มันฝืน ไม่จริงใจหรอก ใจมันยังอยากเป็นอย่างนี้  แต่กายกรรม เราพยายามฝืน ไม่เป็นอย่างใจอยาก มันก็ดูเหมือนมารยาท  หรือเหมือนมารยาอยู่ แต่เรากำลังขัดเกลา เรากำลังต่อสู้  เรากำลังลดละด้วยวิธีการที่เราได้ฝึกปรือมาแล้ว  เราก็อบรมฝึกฝนด้วยความตั้งใจจริงใจจริงๆ   เราไม่ได้หลอกใคร  ไม่ได้มารยา  ถ้าอย่างนี้แล้วมันก็มีความเจริญได้  จริงหรือไม่

         เพราะฉะนั้น จะเป็นมารยา หรือเป็นมารยาท ก็ตรงที่ว่า มารยาทอันที่ไม่รู้จักจิตวิญญาณนี่  มันหลอกกันอยู่เต็มบ้านเต็มเมือง แต่ถ้าเป็นมารยาทอย่างเรานี่ มันก็เป็นมารยาทที่เรารู้จักมารยา แล้วเราก็ฆ่าตัวมารยาคนโลกเขา  เป็นมารยาทที่เราไม่รู้จักตัวมารยา  แล้วเขาไม่มีสิทธิ์จะฆ่าตัวมารยา  มารยาก็เลยยิ่งมาก ยิ่งซับซ้อน  ยิ่งทับทวี ยิ่งโต ยิ่งใหญ่  แต่ของเรานี่ มันเล็กลง ตัวมารยา หรือตัวที่มันเป็นผี ตัวที่มันจะต้องฝืน รู้หน้ารู้ตาว่าเราไม่ได้แกล้งฝืน  แต่เรามีเจตนารมณ์ เรามีปัญญาเข้าใจวาเราฝืนทำไม   เราเองเราทำอย่างนี้  อดทนยังไง   แล้วก็มีวิธีปฏิบัติ เพื่อลดละยังไง ได้ลดจริงไหม ถ้าได้รู้ว่า เราก็ลดจริงด้วยอะไรด้วย มันคือทางที่ถูกแล้ว ไม่มีทางเลือก  ไม่มีทางดิ้นไปกว่านี้ แต่นี่เป็นลีลาของสังคม เรียกว่ามารยาท  หรือมารยานี่ เป็นลีลาของสังคมที่มี มันอยู่ที่สัจจะว่า เราเองเรามีปัญญาญาณรู้แจ้ง  และทำจริงตรงแค่ไหน ทางโลกเขาไม่รู้แจ้ง และทำจริงไม่ตรง   ทำแล้วก็ไม่ได้รู้ว่ากิเลสยังไง   ทำเพื่ออะไร เขารู้ว่าทำเพื่อลาภ  ยศ   สรรเสริญ โลกียสุข  กิเลสโตขึ้น  เขาไม่รู้ตัวว่า กิเลสโตขึ้น  แล้วเขาก็ไม่ประสงค์จะลดละกิเลส  ถ้าเรามีความจริงใจที่จะลดละกิเลส ปฏิบัติได้บ้าง  เสียบ้าง  บางทีก็สู้ได้ บางทีก็สู้ไม่ได้  แต่เราก็รู้ว่าเราทำได้

         เพราะฉะนั้น   แม้จะมีมารยาทอย่างที่ว่านี่ไปตลอดชีวิต   แต่เรารู้อยู่เหมือนกัน เราสู้ได้บ้าง ไม่ได้บ้างนี่แหละ ก็เป็นผลที่เราได้อยู่ด้วยเสมอ  ข้อสำคัญต้องเรียนรู้ให้จริง  พวกนี้แหละมันอย่างที่อาตมาว่านี่ มันเข้าใจถูกสภาวะไหม  ถ้าเข้าใจถูกสภาวะ  นี่แหละ เราก็ต้องอบรมฝึกฝนไป

         ใช่  ใช่ ที่เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ อบอุ่น คือความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ใช่ ใช่ มัน

ร้อนอุ่น  มันอุ่นจนร้อน มันอบร้อน ไม่ใช่อบอุ่น มันมากไป มันเลยขีด  แล้วเขาก็ทนร้อนได้เก่งด้วยนะ  พอเราร้อนนิดร้อนหน่อย เราก็ไม่เอาแล้ว อ้าว ก็นั่นแหละ ถึงบอกว่า ถ้าอุ่นมากขึ้นมา เป็นอุ่นร้อน เป็นกาม ดูดมาก รับมาก เป็นกาม

         เพราะฉะนั้น   เราก็อยู่กันอย่างรู้ลักษณะลีลานะ  รู้ลักษณะลีลาว่าเราอยู่ด้วยกัน  มีความสัมพันธ์กันขนาดนี้ พอเหมาะพอดี ผู้หญิงกับผู้ชายก็ตาม ผู้ใหญ่กับผู้น้อยก็ตาม  อย่าไปกอดรัดฟัดเหวี่ยงกันจนเกินการ จนกระทั่งอกอุ่นอย่างที่ว่านี่  มันมากไป  อกอุ่นนี่  มันเลยแล้ว  มันขีดกามแล้ว  เพราะฉะนั้น   แค่อบอุ่นก็พอ  มีความสัมพันธ์อันเกื้อกูลช่วยเหลือ   มีน้ำใจ  มีลีลา  จะเป็นกายกรรม   วจีกรรม มโนกรรม  ขนาดไหน ก็ประเมินประมาณดูให้ดีเถอะ  ลีลาขนาดนี้แหละ เราว่ามันพอดีกัน  ฐานะคนอ่อนเยาว์หน่อย อาจจะมากหน่อย อนุโลมเขาบ้าง  ฐานะที่คนสูงขึ้นมา   ก็น้อยลงๆ ฐานะคนที่สูง สูงมากๆ  ก็ดูเหมือนแข็งๆ แต่ก็ยังมีลีลาที่มีน้ำใจแสดงออก ไม่ถึงขั้นก็มานั่งอบนั่งซบ    มานั่งแตะมานั่งต้องมานั่งอะไรกัน ก็เข้าใจแล้วละว่าอบอุ่น  เราก็จะต้องมีปัญญาญาณรู้  อาตมาจะกำหนดตายตัวว่าแค่ไหนตายตัวไม่ได้หรอก  เอ้า ก็เรียนรู้กันอยู่ไง  อาตมาอธิบายเป็นรูปธรรม เปรี้ยงๆก็ยาก อาตมาก็เคยอธิบาย  เราก็พูดก็อยากให้เขาเข้ามา อย่าไปมีอัตตามานะอยู่มากเลย ก็ผ่านแล้ว ถ้าไม่ต่ำกว่ามาตรฐานก็เข้ามาเถอะ  ถ้าต่ำกว่ามาตรฐาน  หรือว่าเราอายมาก เราก็ไม่เข้ามา ได้  ถ้าเป็นคุณมา มาแล้วไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน  

         นี่กำลังเจาะช่องให้ตัวเองใช่ไหม  ได้ ถ้าคุณไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน  แต่คุณก็เสียเวลา  คุณก็มีวิบาก คุณก็มีแผล คนที่ทำชั่วครั้งหนึ่งแล้วนี่นะ โอ้โฮ  คนเขาจำไว้มากมายนานนะ โอ้โห ล้างกว่าจะให้คนเขาเชื่อใจ สนิทใจนี่ โอ ยาก ถ้าคนไม่เคยด่างเคยพร้อยเลยนะ  เป็นอย่างนี้ไป กว่าจะเชื่อถือไปนาน  ด่างพร้อยเป็นเรื่องเลวครั้งเดียวนี่ โอ้โห กว่าจะแก้คืน  กว่าจะให้คนเขาเชื่ออีกทีนี่ ไม่เชื่อ ไปลองพิสูจน์ดูเถอะ    หืดขึ้นคอเลย   ให้ดีแล้วก็อย่าให้มันด่างมันพร้อยสักครั้งเถอะ วิบากมันนานช้าเหลือเกิน   เข้าใจนะ ฟังเข้าใจนะนี่ โอ้โห คนกว่าจะสนิทใจอีกที  นี่ยากมากเลย กลับเข้ามาอีกทีนี่ โอ้โหย ไอ้นี่ มันเคยอย่างนั้น  ไอ้นี่มันเคยอย่างนี้ ไม่ไว้ใจ  โอ๊ ยาก ไอ้ความที่เคยให้ศรัทธาเลื่อมใส ก็ชักจะลดลงไปฮวบเลย  ไม่เข้าท่าเลย  ก็พยายาม  เข้ามาก็มาฝึกฝนอุตสาหะขึ้นมาซิ อ้าว   สังคมพวกเราก็ต้องดู  ถ้าเปิดเลยง่ายๆเกินไป  เหมือนกับฆ่าตัวคนแล้วก็ออกกฎหมายนิรโทษกรรมอย่างนี้ก็เจ๊งซิ   มันก็ต้องมีหลักยุติธรรมบ้างซี  เล่นฆ่าคนแล้วก็เข้ามา  เออ ไม่เป็นไรหรอกนะ  เลิกกันนะ  นิรโทษกรรมลบไป  เอายางลบ ลบหาย ไม่ต้องมีอะไรนะ   มันก็มากไป  มันก็ง่ายไป  มันก็ต้องมีบ้าง เป็นวิบากของมัน  ธรรมดาธรรมชาติของวิบาก   เป็นผลของวิบากธรรมดา มันเป็นเรื่องจริงนะ  มันเป็นเหตุเป็นปัจจัยของมันจริงๆเลย   อย่างสัดส่วนที่ถูกต้องตามสัจธรรม  นี่มานั่งขอร้องว่า แหม  ยิงเขาทิ้งแล้วยังจะมาขอนิรโทษกรรม ไม่เอา  มันง่ายไป   ต้องมีบ้าง แต่นั่นแหละ  พวกเราก็มีปัญญาอยู่เหมือนกัน รู้ว่า เออ เขาอุตส่าห์มานี่นะ ซมซานกลับมาเราก็รู้ละ   อินทรีย์พละเขาก็เข้าใจแล้ว  เขาทำอย่างนี้ก็แสดงอินทรีย์พละเขาแล้ว   เพราะฉะนั้น เราก็ เออ แต่ก่อนนี้ เราอาจจะดูตัวว่า เราเข้มงวดกับเขามากไปไหม เราไปโหดกับเขาแรงไปจนเขาทนไม่ได้  เขาต้องกระเด็นออกหรือไม่  เออ  อย่างนั้นก็ประมาณใหม่  รับลูกเขาให้เป็น เขามาแล้วก็ช่วยกันดูซิ  ขนาดนั้น ขนาดนี้  ส่วนผู้มาก็ไม่มีอัตตามานะ   เออ  ยังไงก็ยอม  เราผิดพลาดนะ   มันก็ประสานกัน  ลดละเข้าหากัน  ได้สัดส่วนเอง  มันจะปรับของมันเข้าหากันเอง  นี่ลักษณะอย่างนัยอย่างนี้  อาตมาอธิบายให้ฟังเป็นรูปธรรมบ้าง อย่างนี้ ที่นี่รับรอง  รับรอง แหวกไปทางโหน ก็มีคมทั้งนั้นแหละ  อโศกนี้เฉียบแหลมทั้งเฉียบทั้งแหลม ระวังให้ดีๆ ที่นี่มันมีคมทั้งนั้นแหละ  เอาละ  อาตมาคิดว่าสมควรแก่เวลา เรายังไม่จบแค่นี้  ยังจะมีอะไรต่อๆไปอีก และเราได้ขนาดนี้  ก็สมควรแก่เวลาแล้วละ  แต่ละวันๆเราก็ได้รับผลประโยชน์ ได้รับการศึกษา นี่ได้รับการลับมีด ได้รับอะไรต่ออะไรอย่างนี้ไป  เป็นประโยชน์จริงๆ อย่างนี้แล้ว ยังไม่ดีอีกหรือ โอ้โห อาตมาว่าที่ไหนจะได้ดีอย่างนี้นะ  เอ้าพอสำหรับวันนี้ สาธุ

 

         ถอด       โดย  ประสิทธิ์ ฝ่ายทอง  19 ส.ค.36

         ตรวจทาน 1 โดย  สม.ปราณี 23 ส.ค.36

         พิมพ์       โดย  สม.มาบรรจบ

         ตรวจทาน 2 โดย  เพียงวัน 3 ก.ย.36





 

ที่มา ที่ไป

350611 กรรมเป็นนายของดวง โดย พ่อท่าน สมณะโพธิรักษ์ ก่อนฉันวันที่ 11 มิถุนายน 2535 (หลังพฤษภาทมิฬ) ณ ปฐมอโศก


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 09:46:20 )

360323

รายละเอียด

ธรรมก่อนฉัน อังคาร 23 มี.ค.36

                   ธรรมะก่อนฉัน

 

                   โดย พ่อท่าน สมณะโพธิรักษ์

 

                 เมื่อวันอังคารที่ 23 มีนาคม 2536

 

                         ณ สันติอโศก

 

         เรียนมหาวิทยาลัยเขาก็เรียนกันมาก เรียนปริญญาตรี ปริญญาโท เขาก็มีมากแขนงน่ะ  ขณะนี้ แม้แต่ชาวอโศกเราหลายคน ก็รับปริญญาโทกันก็หลายใบแล้ว 

อย่างธำรงค์นี่ก็สองใบ  สุนัยก็ปริญญาโทก็สองใบ ปริญญาตรีก็ใบหนึ่ง ปริญญาโทสอง

ใบ  แล้วอาจจะสอบเอาใบอื่นอีกมั้ง สุนัยดูท่าทียังไม่พอ ก็จะเอาอีก  บางคนมีสาม

ใบ  สี่ใบ สอบจังเลยนะ เรียนก็ได้รู้หลายแขนง หลายเรื่อง หลายอย่างมาก บาง

คนดอกเตอร์ตั้งหลายดอก โพสต์ดอกเตอร์อีก เกินดอกเตอร์ไปอีก มีโพสต์ดอกเตอร์

อีกเขาก็เอา เรียนเป็นความรู้ ภาคปฏิบัติจริงๆนั้นยังไม่ถึงยังไม่ได้นะ

         ฉันเดียวกันพวกเรานี่  ก็ภาคทฤษฎีภาคเรียนรู้ รู้กันจริง  รู้กันมากๆขึ้น 

มากขึ้นๆๆ แล้วก็หลงตามรู้นะ อย่างชาวโลกทุกวันนี้ คนที่มีใบรับรอง เป็นปริญญาตรี 

โท เอกอะไรหลายๆใบ อะไรต่างๆนานา นี่ เขายอมรับกันนะ แล้วเขาก็หลงตัวกัน 

หลงตัวเองว่าตัวเองนี่ใหญ่   รู้มากรู้มาย ทั้งๆที่คนไม่ต้องใช้ใบรับรองนี่นะ  เขาก็

สามารถรู้ได้นะ เรียนรู้ได้ ไม่ต้องไปใช้ใบรับรองหรอกนี่นะ  เขาก็สามารถรู้ได้นะ  

รู้ได้ไม่ต้องไปใช้ใบรับรองหรอก เรียนเองศึกษาเอง ค้นคว้าใช่ไหม ในแขนงนี้ได้รู้ 

เอาแต่รู้นี่ได้  จริงๆเอาแต่รู้นี่  แต่ไม่ได้ลึกซึ้งอะไรมากจนกระทั่ง  โดยเฉพาะทำ

จริงๆ รู้จนกระทั่งทำจริงๆด้จริงๆยังหรอก ยังไม่ถึงขนาดนั้น เพราะฉะนั้น การเติม

ความรู้นี่ เรารู้ได้แล้ว ก็จะหลงตัวได้ง่าย มันเป็นกิเลสตัวหลงตัวจริงๆ ที่อาตมาใช้

ภาษาคำหนึ่งว่า  แก่วัดนี่แหละ ภาษาคำว่าแก่วัดนี่   คือ คำหลงตัวเอง แล้วก็เลย

ชินชา  คำว่าชินชานี่ เคยแปลให้ฟังแล้ว  เป็นภาษาไทยแปลมาจากภาษาบาลีมาว่า 

ชิน  แปลว่าชนะ ชา แปลวารู้ ถ้าชินชาในภาษาบาลี แปลว่าเป็นความสมบูรณ์ ชินก็

ชนะจริงๆเลย  หมายความว่าเผด็จศึกษาได้สำเร็จ  เราทำได้จบกิจ ชา คือรู้แจ้ง 

เป็นญาณทัสสนวิเศษ  ที่สามารถรู้แจ้ง  ชานะ   ช.ช้าง  สระ  อา  ประกอบไป�ด้วยปริชา ปรีชา นี่ ปรินี่ แปลว่ารอบ ชา แปลว่า รู้รอบ ปรีชา ผู้มีปรีชา  ปรีชานี่

ใช้เป็นภาษาไทยก็คือปรีชานี่แหละ   แปลว่ารู้รอบ รู้จบ รู้ครบ มันมีทั้งชินะ มันมีทั้ง

ชา  แปลว่าทำได้สำเร็จรู้ด้วย เป็นความสำเร็จนั้นด้วยความจริงจัง แต่มาแปลเป็น

ภาษาไทยแล้ว ชินชานี่ แปลว่าแก่วัด เป็นภาษาไทยนี่ ชินชา แปลว่า แก่วัด แปลว่า

มันชักรู้มาก  มันรู้เหลี่ยม รู้จักทางหนีทีไล่ มันรู้ทางหลบทางเลี่ยง นี่  มันรู้ช่วงที่จะ

เอาอัตตาเอามานะ เอาตัวเองนี่เข้าไปอยู่เหนือสภาพนั้นได้  แต่ไม่ใช่อยู่เหนือชนิด

สมบูรณ์   อยู่เหนืออย่างสำเร็จ แต่อยู่เหนือโดยวิธีหลบเลี่ยง  วิธีเอาตัวรอดอย่าง

โกงๆ  เอาตัวรอดอย่างโกง   ไม่ใช่ความจริงนะ  ความชินชาแบบนี้ที่มันเกิด  ที่

อาตมาพยายามที่จะเตือนพวกเรามากๆว่า   มันเป็นเรื่องแก่วัด   เป็นเรื่องรู้มาก 

เป็นเรื่องหลงตัว  มันเป็นเรื่องไม่ขมีขมัน  ไม่เพิ่มเติม แล้วมันอยู่รอดๆ  อาศัยหมู่ 

หรือว่ามันไม่เพิ่มพลังสร้างสรร ไม่เพิ่มอิทธิบาทนะ คนเราไม่ควรจะลดถอยอิทธิบาท  

ไม่ควรจะลดถอย

         ตั้งแต่เริ่มเลย   ฟังดีๆนะ   ฟังดีๆ  จะเข้าใจซาบซึ้งเลย   คนที่ลด

ถอยอิทธิบาทนี่ก็เพราะไม่มีความยินดี ไม่มีความพอใจ ไม่มีความตื่นเต้น คนยินดีนี่นะ 

ตื่นเต้นนะ   ถ้าคนที่ไม่ยินดีนี่จะเซ็ง  ไม่ตื่นเต้นหรอก จะเซ็ง  เพราะฉะนั้น  คน

ยินดีนี่ จะรู้สึกว่ามีพลัง มีภาวะตื่นเต้น ตื่นตัวๆ เป็นผู้ที่มีความตื่น เป็นชาคริยาบุคคล 

เป็นคนกระปรี้กระเปร่า   ดูแววไว ดูปราดเปรียว  เพราะฉะนั้น  ถ้าคนที่ไม่ตื่นนี่

นะ  เป็นคนซึมๆ เฉื่อยๆ เชยๆ เฉยๆ เซื่องๆ ไม่กระตือรือร้น นี่ อาตมาพยายาม

หยิบสภาวะมาขยายความให้หพวกเราได้ฟัง  แล้วสังเกตเถอะ  เพราะฉะนั้น คนที่

หมดฉันทะตัวแรกของอิทธิบาทนี่  จะเป็นคนเฉื่อยๆ  เนือยๆ  ซึ่งเราอย่าไปเข้าใจ

ผิดเชียว  อย่าไปเข้าใจผิดว่า คนที่อยู่เฉยๆนิ่งๆ ไม่คล่องเป็นคนช้าๆ  โดยเราไม่

เข้าใจสภาวะ  ไปเข้าใจแต่ภาษาไปเข้าใจความหมายว่าสงบนี่ แปลว่าหยุด  สงบ 

แปลว่า  นิ่งๆ สงบ แปลว่าช้าๆ สงบ แปลว่ามันไม่คล่องตัวนะ   เข้าใจภาษาซื่อๆ 

แบบฤาษี  ถ้าอย่างนั้น มันไม่ลึกซึ้งอะไร

         ความสงบที่อาตมาพยายามขยายว่า      ความสงบของพระพุทธเจ้านี่ 

เหมือนลูกข่างนอนวัน  ลูกข่างกินน้ำจั้น ลูกข่างที่เร็วแต่นิ่ง  ต้องเข้าใจความหมาย

สองด้านนี้ให้ได้  ความสงบของพระพุทธเจ้านี่ เร็ว นิ่ง คล่อง และแข็งแรง ตั้งมั่น

ไม่เอนเอียงไม่โอนเอียง    ความสงบของพุทธนี่ ความสงบของพุทธจริงๆแล้วนี่ มี

สภาวะที่พิเศษวิเศษกว่าความสงบที่เข้าใจตื้นๆ

�         เพราะฉะนั้น  การสงบของพระพุทธเราจึงจะต้องมาพิสูจน์  จะต้องมา

เรียนรู้   รู้ให้ได้  แล้วทำให้ถึง  ไม่ใช่เอาแต่แค่รู้  ทำให้ถึง  ทุกวันนี้อโศกเรา 

ฝึกปรือมามาก  แต่ก็มาตกตรงที่มีอัตตามานะตีกินนะ   ที่อาตมาขยายความรู้กี่ทีแล้ว 

ว่าพวกเรามันข้าวมีกิน ดินมีเดิน ตะวันมีส่อง พี่น้องมีเสร็จ ทุกคนก็เกื้อกูลกันออกมา

แล้ว  เราก็ไไม่โลภโมโทสันอะไรมากแล้ว มันเหลือแล้ว ใจเรายังแคบอยู่ ใจเรา

ยังไม่เป็นโพธิสัตว์นะ ใจของพวกเรานี่ยังไม่เป็นโพธิสัตว์ ยังแคบ ที่จริงมันยังไม่จบ

หรอก มันยังจะช่วยคนนี้ได้อีกมากมายเหลือเกิน  รื้อขนสัตว์ได้อีกเยอะ เราควรจะ

ขมีขมัน เราควรจะเพิ่มพลัง ถ้าเราไม่เพิ่มพลังขยัน ฉันทะ วิริยะ  ขึ้นมาอีก เราก็

จะไม่เจริญกว่านี้อีก   เมื่อไม่เจริญกว่านี้อีก ก็ทรง สภาพที่ทรงนี่  แม้คุณไม่เสื่อมก็

ตาม  ก็เป็นความเนิ่นช้า  ที่ไม่ใช่หลักธรรมของพระพุทธเจ้า

         หลักธรรมหลักวินัยของพระพุทธเจ้านี่  ธรรมใด  วินัยใด  เป็นไปเพื่อ

ความเนิ่นช้า ธรรมะนั้น วินัยนั้น ไม่ใช่ของเราตถาคต  

         เพราะฉะนั้น  ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามธรรมตามวินัยโดยหลักสำคัญดังที่กล่าวนี้

แล้ว  ผู้นั้นย่อมบกพร่องๆ ได้ยินไหม จริงๆ ไม่เจริญ บกพร่องนะ ถ้าวิจัยไปให้ถึงที่

สุดแล้ว  มันจะเจอจุดบกพร่อง ถึงจุดที่เสื่อมของตนๆ อาตมาคิดว่าไม่ต้องพูดอย่างนี้ 

สามัญสำนึกของพวกเราก็รู้อยู่  แต่มันอดไม่ได้ เพราะมันไปเป็นเพื่อกิเลส   มันไป

เป็นเพื่ออัตตามานะ   มันชอบที่จะว่างๆเบาๆ  ไอ้ว่างๆ เบาๆนี่ มันหยุดๆ  พาซื่อ

แบบฤาษี   มันต้องฉันทะ   มันต้องยินดี ยินดีในอะไร ยินดีในงาน    ยินดีในการ

รังสรรค์ ยินดีในการปฏิบัติกรรม กรรมกิริยาทุกอย่าง กรรมหรือการกระทำการงาน 

กรรมที่มันเป็นกุศลกรรม  ยังกุศลให้ถึงพร้อม ไม่สันโดษๆไม่มีความพอ   ขนาดเป็น

พระพุทธเจ้า  ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า สร้างศาสนาเสร็จแล้ว  จะตายอยู่รอมมะร่อ  

แล้วยังไม่พอเลย ท่านก็ยังอุตส่าห์เสียสละ ด้วยความเจ็บความปวด  ด้วยความป่วย  

จะปรินิพพานอยู่รอมมะร่อแล้ว ก็ยังอุตส่าห์ทำงาน

         เพราะฉะนั้น   งานใดๆ ถ้ามันไม่ทำให้สรีระเราทรุดเสื่อม มันไม่เกิน

ควรนั่น  มีแต่จะเจริญๆ มีแต่จะเจริญ ทำให้สรีระ ช่วยให้สรีระนี่ทรงสภาพเจริญได้

ด้วย แม้จะแก่ ทำงานนี่แม้จะแก่ก็ทรงสภาพต่อไปได้จริงๆ แต่มันก็มีอัตตาเจริญไปได้

น้อยกว่าก็จริงละ   แก่แล้วมันอาจจะพาเจริญๆได้น้อยกว่าหนุ่มๆสาวๆ  หนุ่มๆสาวๆ 

นี่พาเจริญขึ้นได้ดี  พาเจริญขึ้นได้ อายุยังไม่ถึง 50 นี่ ขมีขมันขึ้นมาได้ๆๆๆ อาตมา

ขมีขมันขึ้นมาอยู่เหมือนกัน  แม้จะ 50 แล้ว  อาตมาก็พยายามที่สุดเท่าที่จะลากเข็น�ตัวเองให้มันเป็นไปได้

         สิ่งใดที่ได้ซักซ้อมได้กระทำบ่อยๆ พหุลีกัมมัง หลักการพหุลีกัมมัง  ทำให้

มากนี่ มันจะทำให้เกิดความช่ำชองและง่าย สิ่งใดทำบ่อยๆ ซ้ำๆ ซากๆ จะรู้เท่าทัน 

จะถนัด   จะชำนาญ  จะรู้เหลี่ยมรู้มุมมันมาก และมันก็จะง่ายขึ้น เบาขึ้น  ว่างขึ้น

จริงๆ  และดีขึ้นด้วยๆ  เพราะว่ามันจะรู้เหลี่ยมรู้มุม มันจะชำนาญ และมันก็จะเก่ง

ขึ้นนะ  ทำได้อย่างนั้นด้วย  และเป็นความเจริญทั้งสิ้น   เป็นความเจริญของมนุษย์  

เพราะฉะนั้น  เราอย่าไปหาทาที่จะให้ตัวเองเสื่อม  ถ้าตัวเองเรื้อ  ตัวเองไม่ทำ 

ว่างไปนานๆจะมาทำที  มันก็ต้องเสื่อมแน่  ความชำนาญก็ลด  ความแคล่วคล่องลด 

คุณภาพที่จะให้เท่าเทียมก็ลด   ถ้านานๆทำทีนะ นี่เป็นเรื่องสามัญธรรมดา  คิดพวก

เราฟังแล้วก็เข้าใจ

         เพราะฉะนั้น  คนเราเข้าใจอยู่อย่างนี้ ด้วยปัญญาอย่างี้ ผู้นั้นจะยินดีใน

การงาน มีวิริยะแถมเพิ่มเติมขึ้นมาอีก  เพราะคนเราถ้ายินดีในอะไรแล้วนี่  วิริยะ

มันง่าย  ขยันหรือเพิ่มพลังเพียรนี่เข้าไปกับสิ่งที่เรายินดีนี่ง่าย แต่ก่อนนี้เราถูกหลอก 

ไปวิริยะในสิ่งที่มันเป็นของอร่อย  อย่างเด็กนี่ แกไม่รู้หรอกว่าแกขยันทำ นี่ทำอย่าง

นั้นน่ะ  มันมีคุณค่าหรือมันเสียหาย แกไม่รู้หรอก แต่แกชอบ แกอร่อย แกสนุก   แก

เพลิดเพลิน  แกก็ไปทำ เด็กนี่ ห้าม บางทีนี่เด็กถูกตีแล้วตีอีก  มันยังลอบไปทำเลย 

บอกว่ามันเสียหายอย่างโน้นอย่างนี้ แกฟังแกไม่รู้เรื่อง เพราะมันชอบ มันอร่อย มัน

เพลิดเพลิน  มันติดๆ ไอ้อย่างนั้นน่ะ จนกระทั่งกว่าจะฝึกปรือ  เลิกล้าง ลดล้างละ  

ทำความเข้าใจใหม่ เปลี่ยนแปลงกลับเปลี่ยนได้  จะเป็นเด็กก็ตาม จะเป็นผู้ใหญ่โต

ก็ตาม  ถ้าลงไปหลงติดอะไรก็เป็นอย่างนั้น  ถ้าจะติดนะ  ถ้าว่าจะติดนะ   ที่ว่ามี

พระพุทธเจ้าสอนให้ติด  สอนให้ยึด   ยึดมั่นถือมั่นในความดีตามลำดับขึ้นไปเรื่อยๆๆ 

แล้วไปคิดดีที่สุด  ให้อยู่  ที่ติดดีที่สุด แน่นเหนียวที่สุด ให้มั่นคงที่สุด   

         เพราะฉะนั้น  ศาสนาที่มีพระเจ้าจะยังยืนนานอยู่ในโลกนานกว่าศาสนา

พุทธด้วย  นานกว่าด้วย เพราะศาสนาพุทธนี่จะไม่นิรันดร์  จะไม่อยู่ในโลกไปตลอด 

จะมีช่องว่าง    ศาสนาพุทธจะมีช่องว่าง  ในระยะหนึ่งจะไม่มีศาสนาพุทธอยู่  แต่

ศาสนาอื่นจะมีอยู่ตลอด   ศาสนาพระเจ้านี่  จะมีตลอดนิรันดร์เลย  เพราะศาสนา

พระเจ้าคือนิรันดร์    พระเจ้าคือองค์แห่งนิรันดร์   ความติดยึดคือองค์แห่งนิรันดร์  

ตราบใดโลกยังมีเอกภพยังมี ตราบใดที่ยังมีสิ่งเกิดอยู่ในมหาจักรวาลนี้ มหาเอกภพนี้ 

เอกภพไหนก็ตามแต่ ถ้าสิ่งที่ยังมี ฟังความคำว่ายังมีก็แล้วกัน  สิ่งใดยังมีอยู่ สิ่งนั้นก็�ต่อเนื่องความมีไป   ก็เป็นนิรันดร์  และความมีก็จะพยายามมี   และก็จะพยายาม

สั่งสมสร้างความมีๆๆๆๆจะมีค่าบ้าง  ก็ตรงที่ว่าขยายความมีนั้น ให้รู้ว่าค่าความมีนั้น 

ความมีสิ่งดี กับสิ่งไม่ดี

         เพราะฉะนั้น   ศาสนาไหนๆ ก็สอนสิ่งดี พยายามที่จะสร้างค่า หรือว่า

ทาำสิ่งดีให้แข็งแรง มั่นคง ยั่งยืนนิรันดร์ให้ได้ มันก็มีประโยชน์ในโลก ก็มีประโยชน์ 

ศาสนาพุทธไม่ได้โง่ในเรื่องนี้ รู้เรื่องนี้เหมือนกัน  แต่ศาสนาพุทธนั้นไม่นิรันดร์ตรงที่

ว่า  เราสามารถตัดตัวเราออกจากนิรันดร์  มาทำความนิรันดร์ก็ได้ ไม่นิรันดร์ก็ได้ 

จึงเรียกว่าโลกุตระ    จะนิรันดร์ก็ได้ จะอยู่ไปอีกก็ได้ ทำดีๆๆๆ ไม่ถดถอย  ไม่มี

วาง  ไม่มีปล่อยละ   ดีตะพึด  ดีไม่ดีขอจบละ ได้ โลกก็ได้ประโยชน์ด้วยๆ   ใน

วาระคนที่ไปเรียนแบบนิรันดร์นี่มา  จะมีนิสัยนิรันดร์   จะมีนิสัยที่ติดยึดนิรันดร์นี้ได้ดี  

คนที่ไปเรียนศาสนาพระพุทธเจ้ามา  จะมีไฟทางเจโต มีไฟทางมุ่งมั่น มันยึดติด มัน

ใช้อาศัยศรัทธาสูงๆในทางเจโตทางพระเจ้านี่  ศรัทธาสูง  ส่วนคนที่ไปเรียนรู้ทาง

ด้านปัญญามามาก เจโตไม่สูง เพราะฉะนั้น  จะมาปฏิบัติศาสนาพุทธก็ตาม  เหยาะ

แหยะนะ โลกทุกวันนี้นี่นะ  โลกทุกวันนี้ด้านศาสนานี่ ศาสนาทางศรัทธานี่เขาเด่นๆ 

         เพราะฉะนั้น ศาสนาทางศรัทธานี่เขาจะยอมรับกันเกรียวกราวกันเยอะ  

ส่วนศาสนาทางปัญญานั่นน่ะ  มันไม่เด่นๆนะ ยิ่งมีความเฉลียวฉลาดแบบโลกๆ  แบบ

เฉโกเข้ามาเป็นคู่ต่อสู้  เป็นคู่หลอก  หมายความว่า มันฉลาดน่ะ   คำว่าฉลาดๆนี่

เหมือนกันนะ  แต่ฉลาดโกง โลกีย์มันก็มี ส่วนโลกุตระนั้น ฉลาดโลกุตระนั้น ยิ่งน้อย

ใหญ่เลย   เพราะว่าคนมันมีกิเลสมากนะ   มันจึงเข้าใจฉลาดแบบโลกุตระได้ยาก 

แล้วน้อย  ฉลาดโลกีย์  แม้แต่ศรัทธา  แม้แต่จะแบบเจโตก็ไม่ค่อยเอา  เพราะคน

ฉลาดโลกีย์นั้น   มันทำมาหาได้ มันร่ำรวย มันมีอำนาจ  เพราะฉะนั้น  มันก็อยู่กิน 

มีอะไรอาศัยชีวิตเสพไป  อาศัยสุขไป   สุขโลกียะนั่น เสพบำเรอไปได้ดี  เพราะ

ฉะนั้น  มันก็ไม่เชื่อหรอก ศาสนาจะไปเอามาทำไม ตัวมันเองมันก็ได้แล้ว  เอาตัว

รอดได้แล้ว  เพราะว่าฉลาด  มันเป็นคนฉลาด   เฉโกนี่ไม่ค่อยเอาถ่านกับศาสนา

หรอก จะไม่เชื่อศาสนาไหนๆสุดท้ายไม่มีศาสนา  เพราะฉะนั้น  คนในสังคมทุกวันนี้ 

ทั้งโบกนี่จะเป็นคนที่ไร้ศาสนานี่เยอะๆขึ้น เพราะมันฉลาดขึ้น  โลกียะทำให้มัฉลาดๆ

เฉโกมากขึ้นเท่าไหร่   ศาสนาก็เสื่อม  หรือว่าไม่นับถือศาสนามากขึ้นเท่านั้น  คน

เรียนศาสนา   คนยังเอาศาสนาอยู่   ก็มีสายเจโตสายศรัทธา  กับปัญญาของพุทธ

นี่แหละ  ปัญญาของพุทธนี่แหละ

�         ทีนี้ปัญญาของพุทธนี่ เข้าใจความสุดโต่งสองด้าน  ที่บอกฉลาดอย่างโลก

ก็บอกแล้วว่าสร้างสรร ฉลาดอย่างเสียสละก็บอกแล้วอย่างพวกฤาษีชีไพร  สละๆๆๆ  

ไอ้นี่ก็สร้างสรรๆๆๆ     อย่างที่พูดซ้ำพูดซากให้ฟัง    ตอนนี้ขยายความให้ฟังชัดๆ 

มันโต่งไปสองด้าน   ส่วนพุทธนั้นจะต้องให้มีทั้งสองด้าน   สร้างสรรแล้วก็สละจริง 

สละได้อย่างมีสัดส่วน   เพราะฉะนั้น เราจะสร้างสรร  เราก็จะต้องมีการทำงาน  

อยู่เฉยๆ  จะไปสร้างสรรอะไรได้ขึ้นมา ไม่มีต้องทำงาน และทำงานอย่างรู้เท่าทัน  

ทำงานอย่างไม่เป็นตัวเป็นตน    ทำงานอย่างเป็นของตน     และก็มีปัญญาฉลาด

ทางเศรษฐศาสตร์ ฉลาดรู้ว่าอะไรควรสร้าง  อะไรไม่ควรสร้าง  มนุษย์ขาดแคลน

อะไร  กระแสของสังคมจะรู้ รู้กระแสสังคมในทางแคบ  จนกระทั่งกว้างไกลไปถึง

โลกในสังคมในระดับกว้างก็เข้าใจดี ก็ช่วยโลกได้มากขึ้น

         อาตมาพยายามช่วยพวกเรา  ให้พวกเราได้ลึกซึ้งขึ้น   แล้วก็เจริญขึ้น

กว่าที่เป็น    อาตมาจำเป็นที่จะต้องพูดซ้ำพูดซากในประเด็นของอัตตามานะ   ใน

เรื่องของความลึกละเอียดของพวกนี้ขึ้นมา เพราะต้องการให้พวกเราได้สูง มีกำลัง

ความสูง   มีทั้งทางภูมิธรรม  และเจดตที่แรงกล้า  ถ้าเผื่อว่าไม่สั่งสม  ไม่ฝึกฝน 

เจโตก็ไม่แรงกล้า   ถ้าคุณเหยาะแหยะอยู่เท่าไหร่ มันก็เท่านั้น เลี่ยงไปมากๆ มัน

ก็เท่าที่ตัวเองเลี่ยง   ไม่เจริญหรอก  ของพุทธนี่เจริญทั้งเจดตและปัญญา  เพราะ

ฉะนั้น เอาแต่รู้ๆๆ แล้วก็ไม่พยายามปฏิบัติประพฤติเพื่อที่จะจิตเป็น เจโตหลุดพ้นวิมุติ 

หรือว่าท่านเป็นโลกุตรจิต   จนกระทั่งจิตนี้แข็งแรงมั่นคง  เป็นเจโตวิมุติอันไม่กลับ

กำเริบ เป็นอกุปปาเจโตวิมุติ    ถ้าไม่ทำอย่างนี้ขึ้นมาเรื่อยๆๆๆได้   มันไม่มีหลัก

ประกัน  เพราะฉะนั้น ถ้าเราไม่ฝึกเลย เมื่อไหร่จะได้เป็นหลักประกัน  จะได้แข็ง

แรงมั่นคงจริง เอาแต่ได้รู้ๆๆๆ ไม่ฝึกให้หลุดร่อน   ให้มันสะอาดขาดออกไปอีกตาม

ลำดับ   อาตมาว่าอาตมาเร่ง อาตมาพยายามสำทับ พยายามปลุกเร้า พยายาม ก็

สอนแหละ  นะ ก็พยายามที่จะให้พวกเราขมีขมันขึ้นนนี่ มีอยู่  อาตมาทำอยู่ ขนาดที่

อาตมาอยู่ คุณก็ยังปล่อยปละละเลยขนาดนี้ ถ้าอาตมาตายไปเสียแล้วนะ แล้วใครจะ

มาเร่งคุณน่ะ  แล้วมันจะไปได้อะไรแค่ไหน อันนี้ก็เห็นเป็นความสำคัญ  อาตมาเห็น

เป็นความสำคัญของตนเอง  ที่ตนเองจะต้องรับหน้าที่ เอาหน้าที่ๆ นี้ให้ดี เพราะถ้า

เผื่อว่า  อาตมาตายไปแล้ว  อาตมาไม่ได้มาเร่งพวกคุณ  ขนาดเร่งอยู่ก็ยังได้แค่นี้ 

แล้วมันจะไปได้แค่ไหน  เพราะที่จริงจำเป็น อาตมาจะต้องเร่ง ใครเบื่อ ใครเซ็ง 

ใครไม่อยากฟัง   ก็เป็นของคุณเอง  ถ้าใครเข้าใจในความปรารถนาดี  ที่อาตมา�พยายามอุตสาหะวิริยะนี้ได้     ผู้นั้นก็ตั้งอกตั้งใจ    ตั้งหน้าตั้งตารับเอาก็แล้วกัน 

เพราะนี่เป็นความปรารถนาดี จากผู้ปรารถนาดีจริงๆที่พยายามขวนขวาย  ทั้งเขียน

ทั้งหาโน่นทั้งหานี่มาให้เป็นเครื่องประกอบ  ที่จะให้มันละเอียดลึกซึ้ง มันมากมันมาย

อะไร   มันมากขึ้นนี่ก็ตาม  แม้แต่เซ็นเซอร์วิดีโอ   เมื่อเช้านี้วิเคราะห์วิจัยวิดีโอ 

ก็ฟังก็เห็นอยู่ว่า  เออ พวกเรานี่ แม้แต่วิดีโอ   นี่ชักเฉื่อยไป   ที่จริงบอกแล้วว่า

วิดีโอเรื่องนี้นี่   เรื่องคนบาปที่อาตมาตั้งให้กว้างขึ้นว่าโลกคนบาป  เพราะว่ามีแง่

บาปเยอะหลายประเด็นในหนังเรื่องนี้  ดี อาตมาว่าในหนังไทย  ดีที่เชิงมองความ

บาป  มองในเรื่องเสียหาย  ที่เราไม่ได้ออกไปคลุกคลีเกี่ยวข้อง  เราจะเห็นโลก

กว้าง  มีโลกวิทูหนังเรื่องนี้ หลายๆอย่างเราคิดไม่ถึง ซึ่งก็ดูโอเวอร์ ดูมีเหตุผลไป

ตามลำดับๆไปได้   และมันเป็นจริงไปได้   อย่างโสเภโณ อย่างนี้เป็นต้น  ผู้ชาย

โสเภณี   มันมีจริงๆทุกวันนี้ เป็นอาชีพจริงๆเลย  อย่างนี้นายภีมะนี่ ภีมะนี่แหละ ที่

ท่านสิริว่าเมื่อเช้านี้   ภีมะนี่ชื่อภีมะในตัวหนังสือเขามี  แต่ที่นี่เรามาเรียก  บางที

คนฟังนายพิมไปเลย ไม่ใช่เขาชื่อภีมะ  และมันเรียกไปก็สั้นๆ ภีมะก็นั่นภีมะนั่นแหละ 

เป็นผู้ที่รักพรหมจรรย์    เพราะมันตั้งชื่อตรงกันข้ามกับพรหมจรรย์    ภีมะในมหา

ภารตยุทธนั่นน่ะ   ภีมะนี่รักษาพรหมจรรย์ยิ่งกว่าอะไรนี่ เอามาตั้งเพื่อมาประชดคน

แต่ง  มีภูมิธรรม  พวกนี่มีพอสมควร ที่เขาพยายามที่จะสื่อ  แต่ทีนี้นวนิยายมันก็เป็น

ลักษณะพวกนี้ ถ้าดูแล้วไม่ดูน่าเกลียดน่าชัง เอาภูมือะไรมาให้ดู แต่ของเรานี่ไม่มีภูมิ

ที่จะรู้  อาตมาก็ไม่รู้จะบังคับได้อย่างไร  สำหรับคนที่ไม่มีภูมิ  มันก็ไม่มีภูมิ  มันไม่

ออกรสนะ  ดูไม่ออกรส   ต้องดูรสหนังจีนบ้าๆ บอๆ  เว่อๆ  อย่างนั้นแหละก็ชอบ  

อาตมาก็ไม่ว่าอะไร  และก็เซ็นเซอร์หนังจีนมาให้อีกเรื่องนะ ก็ตั้งชื่อว่าหนังจีนเลย  

เรื่องนี้มีภาคหนึ่ง ภาคสอง ด้วย ฉายให้ทั้งสองภาคเลย ดูกันให้ฉ่ำเลย หนังจีนมันก็

มีเชิงดีเหมือนกัน  แต่มันหยาบๆ เด๋อๆ  ดูไม่เนียนหรอก  หนังไทยนี่เนียนนะ  ช้า

เนียนสุขุม  เหมือนหนังแขกดูเชยๆ  คนมองจะมองหนังแขกเชย หนังไทยเชย  คน

คนนั้นแหละเชยยิ่งกว่าหนัง    เพราะคนนั้นไม่มีลักษณะไม่รู้  ไม่รู้ค่าของความสนิท

เนียนนั่น  ไม่รู้ค่า จีนนี่มันละเอียดไป จนกระทั่งมันกลับมาหยาบ  จีนนี่จนกระทั่งมัน

รู้จักจุดของรสของคน  และเอาจุดของรสของคน  เอาทั้งเร็ว  เอาทั้งแรงเอาทั้ง

หยาบอะไรมาใช้ปั๊บ คนก็ติด มันก็เอาอันนั้นมาหากิน  เพราะฉะนั้น  หนังจีนตีตลาด

โลกได้  เพราะกิเลสหนังจีนมันเอากิเลสออกมาใช้เป็น

         จนกระทั่งหยาบ    จนกระทั่งสับสนเยอะ    หนังจีนนี่อาตมาว่าหยาบ  �เรียงกับมันไม่ไหว   เพราะว่ามันสับสน มันทำทีทำท่าเหมือนกับเขาอะไรลึกๆ  มา

เรียน แต่เปล่า  เรียบเรียงไม่ออก อาตมาเองอาตมายังต้องเมาเลย หลายอย่าง

ไม่ใช่เมาหรอก  จับได้ไล่ทันว่า มันขาดเหตุผล มันขาดสัจจะ จับได้ แต่ก็เอาเท่าที่

มันเป็นไปได้ นะ 

         ตอนนี้มีหนังไทยเยอะ   และหนังไทยนนี่เราก็เหมือนคนบอกให้ทราบได้

เลยว่า ไทยนี่บอกได้เลยว่ากำลังตามหลังจีน จีนเคยเจริญ เคยมีความรุ่งเรือง แม้

แต่ในด้านคุณธรรม และโลกโลกียะ  มันเจริญทั้งโลกียะทั้งคุณธรรม จีนเคยเจริญมา

ก่อน  อย่าหลงตัวเองเลย   ไทยไม่เคยเจริญมาก่อน  ตาม  และจะขึ้นไปทดแทน 

เพราะฉะนั้น  ไทยในขณะนี้ อาตมาพูดแล้วก็เหมือนจะคุยตัวเอง  จะต้องคุยกันก่อน

แหละนะ คือมันกำลังมีภูมิธรรมของพระพุทธเจ้านี่เป็นสัจธรรมเลย ของพระพุทธเจ้า

ที่นำมาต่อในเมืองไทย   ทำไมอาตมาเป็นลูกจีน ไม่รู้ภาษาจีนเลย อาตมาจะเรียน

ภาษาฝรั่ง   อาตมาเรียนเด็กๆนี่ เรียนภาษาฝรั่ง  ภาษาอังกฤษนี่  ครูที่สอนภาษา

อังกฤษตอนเด็กนี่  ครูชอบอาตมานี่หัวไหวกว่าเพื่อน เร็วกว่าเพื่อน  แต่เสร็จแล้วก็

ไม่เอา  อาตมาไม่เอา  ไม่ใช่ว่าไม่เอาเอง  มันเป็นไปตามสัจจะ  มันเหมือนว่า 

พระเจ้าสร้าง  พระเจ้าบันดาล  อาตมาไม่ต้องไปเก่งภาษาหรอก   ถ้าขืนไปเก่ง

ภาษาอื่นอีกประเดี๋ยวไปใหญ่   ประเดี๋ยวมันก็จะไม่กว้าง  แล้วมันจะฟ่าม  เพราะ

ฉะนั้น  ให้ได้เท่านี้รู้เท่านี่ ทำเท่านี้แหละดีนะ อาตมาก็ไม่อยากขยายอะไรมากกว่า

นี้  เพราะว่ามันเป็นทางลบไดเหมือนกัน  ประเดี๋ยวคนเราก็ไม่ขมีขมันในบางเรื่อง 

ขวนขวายในบางเรื่อง ก็ขวนขวายไปก็เอาเถอะ  ตามฐานะของแต่ละบุคคลนะ

         สรุปแล้ว   คนไทยหรือเมืองไทยนี่แหละ  จะรังสรรค์สิ่งที่เป็นสัจจะอัน

ลึกซึ้ง   และสูงส่งไปอีก  ต่อไปให้แก่โลกๆ   เพราะฉะนั้น  พวกเราต้องตั้งหลัก

พยายามพากเพียรกระทำ เพื่อความเจริญ เพื่อความเป็นปึกแผ่นนะ เพื่อสิ่งที่จะเป็น

ประโยชน์แก่มนุษยชาติในโลก และเป็นประโยชน์แก่ตนของตนด้วย ไม่เช่นนั้นมันก็ช้า 

ไม่เช่นนั้น มันก็เสียเสื่อมอยู่ตรงนั้นแหละ

         ผู้ใดพากเพียรได้  ผู้นั้นได้ เหมือนกำปั้นทุบดินนะ  พูดนี่เหมือนกำปั้นทุบ

ดิน    เพราะฉะนั้น   ถ้าเราสังเกตดีๆ   ไม่เซ็งแล้วก็รู้ภาวะที่ต้องกระตือรือร้น 

พากเพียรไปได้ด้วยเรื่อยๆ อาตมาว่า อาตมาละเอียดลอออยู่นะ  พยายามทำอะไร

อยู่นี่  อาตมาไม่ได้ผลีผลามเลย  อาตมากลัวๆ เพราะอาตมาเคยเข็ดมาหลายชาติ

แล้ว  ไอ้ประเภทผลีผลามนี่ และมันก็เจ็บอกเหมือนตกตาล มันนานมากแล้ว คนเรา�ต้องผลีผลามมาก่อน  หรือมันตะกละตะกลาม เห็นอันนี้ดี โอ๋ย  รีบผลีผลามๆๆ แล้ว

พลาด  พลาดพลั้งแล้วก็เสียหายเสียเวลา ต้องมาแก้ไข  ต้องมาเจ็บปวด  ต้องมา

เลียแผล  ใช้ภาษาธรรมดา มันเป็นอย่างนั้นจริงๆ ผ่านมาทุกคนแหละ อาตมาก็ผ่าน

มาไม่ใช่น้อยแล้ว

         เพราะฉะนั้น  ใครจะบอกว่าอาตมานี่ไม่ละเอียด  ที่ความเร็วก็มีในตัว

ของมันเอง จะเรียกว่าเราเห็นเราทำอะไรเร็วๆ หาว่าเราไม่ละเอียด  ก็ใช่ มัน

ละเอียดไปในตัว แต่แน่นอนละ  บางสิ่งบางอย่างมันก็มีบกพร่องผิดพลาดได้บ้าง แต่

ว่าความละเอียด   หรือว่าตามที่ได้ตามฐานะแล้วนี่ ผิดพลาด มันก็เอามาได้ พอว่า

กล่าวกันได้  มาท้วงมาตู่กันก็ได้ แต่ว่าความละเอียดที่ซ้อนเชิง  ที่ลึกซึ้งขึ้นไปนั้นน่ะ  

เราไม่มีภูมิรับ  เรารับไม่ได้ และเราก็ไม่เห็นไม่รู้ด้วย  เมื่อไม่รู้ไม่เห็น ก็ไปเห็น

แต่มุมบกพร่องๆ  เอาบกพร่อง เอาขี้หมามาล้างมาตีทองมาล้างทองคำทำไม มาลบ

ทอองคำ  มันไม่ได้ จริงๆแล้ว ข้อบกพร่องของอาตมานี่ พวกคุณเชื่อได้เลยว่า  ข้อ

บกพร่องของอาตมามันไม่มีสิทธิ์ที่จะมาลบล้างข้อดีของอาตมาอยู่รวมๆ     แล้วเป็น

อันขาด   และอาตมาทุกวันนี้ ก็ไม่มานั่งทำความเลวมากกว่าความดี  เห็นอยู่หลัดๆ 

อยู่แล้ว  และก็รู้อยู่แล้ว ถ้ามันจะบกพร่องขึ้นมา มันไม่ได้มีเจตนาที่จะบกพร่องนั้นได้

แน่ๆ  แต่ทำดีนี่ เจตนาเหลือเกิน  มุ่งมั่นเหลือเกิน  จงใจตั้งใจเหลือเกิน   เชื่อ

ไหมนี่  ถ้าสิ่งใดจะบกพร่องนี่ไม่ตั้งใจหรอก จริงๆ ไม่จงใจหรอก  จงใจจะละเว้น  

แต่ก็ต้องมผิดพลาดได้ มันเกินวิสัยของเรานะ มันเหลือวิสัยที่เราจะระมัดระวังมันไว้

ได้   มันก็เป็นบ้างเท่านั้นแหละ   เพราะฉะนั้น บางคนก็มาเอาข้อผิดพลาด   ข้อ

บกพร่องพวกนี้มาเป็นหลัก  มาดี เอาขี้หมามาตีทองคำ  โอ๊ คนนั้นก็ไม่รู้จะทำยังไง  

คนนั้นก็  โอ๋ เขาโง่แหละนะ ก็ต้องปล่อยไป ถ้าคนนี้ตื้นเป็นคนตื้นเขินอย่างนั้น   ก็

ต้องจำยจอม  ก็ต้องปล่อยไป มันมี มันมีเยอะแยะ คนที่เขาไม่รับ  เขาอ่านไม่ออก 

เขามองความดีของอาตมา ถามว่าโพธิรักษ์ดีไหม ดี ทำไมไปจับท่าน ท่านไม่ดี ไม่ดี

อะไรแค่ไหน  ให้ไปแฉสาธยายความไม่ดีดูซิ   รับรองว่าความดีมีมากกว่ามากกว่า

มากเลยนะ   ไม่ใช่มากกว่าน้อยๆนะ  แต่เขาไม่เอาละ   เขาไม่พยายามนึกด้วย 

จุดดีเขาไม่พยายามสนใจหรอก  พอจะรู้อะไรดีเขาพยายามไม่รู้  แล้วมันโง่ไหมล่ะ 

คนเราไม่รู้ดี  เอาแต่ความไม่รู้ดี จะไปรู้แต่ความไม่ดี และเป็นคนที่ไม่รู้ดีมากๆแล้ว 

แล้วก็ไม่ปฏิบัติให้หลุดพ้นความที่ไม่ดีนั้นด้วยนะ  ไอ้ความไม่ดีที่ตัวเองรู้มากๆ ก็ไม่ทำ

ให้ตนเองหลุด ไม่ได้ด้วยเลยแย่ไปเลยนะ

�         ที่อาตมากล่าวถึงหนังเมื่อกี้นี้ พูดถึง"หนังโลกของคนบาป"นี่  จะเห็นมุม

เหลี่ยมนานาสารพัด  ที่เขาพยายามสื่อออกมาให้ดู แต่พวกเรานี่ดูไม่เป็น พวกเราก็

อย่างว่า และก็มีภูมิตามที่มีภูมิเท่าที่อาตมาดูไปๆ ก็เห็นแต่ท่านสิริเตโชนี้แนะอยู่เรื่อย

นะ  ใครไม่ได้ดูหนังเรื่องนี้นี่ เสียโอกาสนะ มีดีๆเยอะๆ นะ มีอะไรดีๆ  เยอะนะ  

เห็นมีเพิ่มเติมอยู่บ่อยๆที่ท่านนั่งฟังไป   และท่านก็จี้ไปชี้ไปพยายาม  และพวกเราก็

เฉย   หนังไทยๆ  หนังเรื่องนี้นี่ พระเอกได้รางวัลเมขลาเลยนะ   รับตอนนั้นน่า 

เขาว่านายนพพล  โกมารชุน อาเหลียงนั่นแข่งกันสองคน เอาไปเอามานี่ก็ชนะ  ก็

ได้เมขลา มีอีกเรื่องหนึ่งเขาก็ออกหวยมา ตุ๊กตาทองของไทยเรานี่นะ ก็ว่าจะได้อีก  

นพพลจะได้อาเหลียงอีก   อกหักอีก   ไปได้กับวรุฒนี่เป็นตัวแสดงอยู่ในเรื่องในฝัน 

อาตมาก็ผ่านมาให้ดู เรื่องในฝันนี่ มันก็เป็นเรื่องที่อีกเรื่องหนึ่ง อีกอย่างหนึ่ง ดูยาก 

หนังมันเป็นเชิงของภาพซ้อนในทางสังคมๆ แนวลึก แนวลึกไกลเป็นเรื่องของมาดผู้ดี

ไปทั้งหมดเลย  ไม่โฉ่งฉ่างเลย คุณจะดูไม่ไหว หลายๆคนจะดูไม่ไหวเลย มันจะไม่

เหมือนหนังจีนเลย  มันเป็นมาดผู้ดีเชิงอย่าง  แต่มันก็ผู้ดีเชิงหนึ่งนะ   มันไม่ใช่ผู้ดี

อย่าง  มันเหมือนกับสังคมอีกกลุ่มหนึ่งอย่างหนึ่ง มีทั้งมาดทางสังคม  ทางการเมือง 

ทางการบริหาร ทางด้านมารยาท ทางด้านอารมณ์ ซึ่งจะต่างกันไปหมดนะ เป็นแนว

ละเอียดมาก  ถ้าทางในฝันนี่นะ เป็นแนวละเอียดมากนะ  แต่อาตมาว่าสื่อออกยาก 

ในฝันนี่สื่อออกยากกว่าคนบาปด้วย   คนบาปนี่สื่อออกง่าย  ยังไม่ติดเลย   ก็ยังไม่

พอใจจะดูกันเลย คือมันมีความลบหลู่ในใจนะ แต่มันไม่รู้จักสาระ

         อย่าว่าแต่เรื่องหนังนี่เลย จะเป็นเรื่องอะไรต่างๆ นานาที่อาตมาพาทำ

นี่ คืองานนี่เป็นเรื่องจริงยิ่งกว่าหนังนะ  ยังไม่พาละเอียดตามอาตมาเราพาทำเลย

นะ  อาตมาก็ต่อไม่ค่อยออก พยายามต่อนะ งานนี้ๆ  มันต้องมีรายละเอียดในเรื่อง

ความประณีตประหยัด  โดยเฉพาะเรื่องง่ายๆ ขยัน อุตสาหะ ยังไม่เอาเลย ทำไม

ไม่ขยัน  อุตสาหะ  ตัวแรกนี่นะ ก็ยังไม่ขยันอุตสาหะ  แล้วมันจะไปเกิดการประณีต

ประหยัดได้อย่างไร ไม่ได้

         เพราะฉะนั้น  ตัวที่จะซื่อสัตย์และเสียสละ ตัวปลายนี่นะ อย่าหวัง  จะ

ต้องโค้ง   ต้องงอ    ต้องโกงอยู่อย่างนั้นแหละ   โกงเราไม่พยายามทำให้ตรง 

อุตส่าห์ทำให้ตรงได้ไม่ตรงใจ  ใจยังไม่ตรง เพราะฉะนั้น เสียสละไม่มี  เสียสละ

ก็เท่าที่คุณมีนะ  แต่ถ้าเผื่อว่าไปฉลาดเฉโก  แต่มันไม่สละแล้ว มันเอามาให้ตัวแล้ว 

มันโกยๆๆ  มันเอาอย่างแฝงน่ะ  อย่างเฉโกนะ  ฉลาดแกมโกงกว้านมาให้ตัวเรา �อย่างฉลาด  ฉลาดน่ะ ฉลาดเฉโกนะ ฉลาดตีกิน ฉลาดเลี่ยง ฉลาดเอาเปรียบ มัน

จะไม่เสียสละแท้  มันจะไปฉลาดเอาเปรียบจะเชิงไหน   ก็เชิงไหนก็แล้วแต่เถอะ  

หนักเข้าแล้วจะโกงได้ลึกซ้อน  โกงอย่างคนอื่นไม่เห็น  แต่โกงอย่างใหญ่ๆนะ  แต่

โกงคนอื่นอย่างรู้ไม่ทัน และจะเป็นนามธรรมมากขึ้น  โกงเป็นนามธรรมซ้อนๆขึ้น

         เพราะฉะนั้น แม้แต่ภาคปฏิบัติที่มีตัวบทบาทการงานจริงๆ เราก็ยังไม่ฝึก

ซ้อม  ยังไม่พหุลีกัมมัง ยังไม่ทำให้มาก ทำไปเถิด แล้วเราจะมีผัสสะ  และจะได้รู้

จริงๆเลย และเราก็ใส่ใจ   พยายามมีโพธิปักขิยธรรม รู้จักฉันทะ  วิริยะ  จิตตะ

วิมังสาในตัว    แล้วก็เร่งเครื่องนั่น  เท่าที่เราจะสามารถ   เท่าที่เราจะสังวร 

มีปหาน มีภาวนา มีอนุรักขนาไปในตัว  โดยจะรู้กาย รู้เวทนา รู้จิต รู้ธรรม ซ้อนๆ

ขึ้นไปจริงๆ กาโย หรือการประชุม ก็จะรู้ทั้งกว้างขึ้นโตขึ้น องค์ประชุมที่โตขึ้น และ

รู้ทั้งกายในกายที่ลึกเข้า รู้ประชุมที่ลึกเข้าๆๆ ซ้อนเข้าก็เป็นความประณีต  และเรา

จะประหยัดได้  ประหยัดนี่คือเศรษฐีศาสตร์

         ถ้าเราเข้าใจว่าฝรั่งเขาก็ใช้  Economics  มันแปลว่าประหยัด  แต่

ไทยเราไม่เอาคำว่าประหยัดมาตั้งชื่ออันนี้ เอาเศรษฐี ภาษาบาลีซึ่งไม่ใช่ภาษาบาลี  

แต่ภาษาสันสกฤต  สะกดด้วยบาลีตัวเดียวนะ   ภาษาบาลีก็มี  มันแปลว่าประเสริฐ 

เพราะฉะนั้น  เศรษฐศาสตร์นี่คือการประเสริฐ  คือความประเสริฐของมนุษย์  จะ

ประเสริฐได้ก็เพราะว่าประหยัดเป็นประหยัดไม่ใช่คนจน คนประหยัดนี่ร่ำรวยและคน

ประหยัดนี่ถ้าเอาอัตตาเข้ามาวัดแล้ว  เอาตัวเราเข้ามาวัดแล้ว คนประหยัดจะเป็น

คนมีน้อย  คนประหยัดจะเป็นคนมีน้อย ฟังใหม่  คนประหยัดจะไม่ใช่คนมีมาก   คน

ประหยัดจะเป็นคนที่มีประโยชน์   เพราะฉะนั้น คนจะมีประโยชน์ก็คือ เป็นผู้ที่ได้ให้

มาก  ให้แรงงาน  ให้ความคิด ให้วัตถุแก่ผู้อื่น  ก็คือผู้อื่นได้ประโยชน์จากเรา แต่

ถ้าเรากอบโกยเอามาเป็นของเรา เป็นคนไร้ประโยชน์ กอบโกยมาไว้เป็นของเรา 

ยิ่งได้เป็นของเรา  แล้วก็ขุดหลุมฝัง ทำมันเป็นของเรา  โดยไม่ขยายไปให้แก่ใคร

เลย    ให้เกิดบทบาท   เกิดคุณค่าอะไรของเรากับคนอื่นเลย   เรากักเราเก็บ 

เรากดมันไว้อย่างนั้นแหละ  นั่นยิ่งไร้ค่า เอากักเอาเก็บ  เอากกเอาไว้เฉยๆ นั้น

ไร้ค่า  มันก็ไร้ค่าขนาดหนึ่ง แต่ไม่กักไม่เก็บหรอก เอามันไปสังขาร เอามันไปปรุง

แต่ง  เอามันไปสร้างให้มันเป็นบทบาทการมอมเมา   ไปเป็นตัวอย่างอันเลวทราม 

เอาไปใช้ไปจ่ายอย่างไม่เป็นโล้เป็นพาย   ไม่เป็นสาระแก่นสาร จะไปเรียกมันว่า

เป็นความสุข ความบันเทิงความเริงรมย์อะไรก็ตามใจเถอะ ไปทำให้ผลาญพร่าเป็น�ตัวอย่างที่เลวทราม มันยิ่งกว่ากักๆเอาไว้เฉยๆ   แต่ก็ยังมีมุมดีตรงที่ว่ายังกระจาย

ออกไปให้คนอื่นตามหลักประเด็นหนึ่งของการกระจายรายได้ของเศรษฐศาสตร์           

         เพราะฉะนั้น   คนเขาก็มองเห็นประโยชน์ด้านนี้  เขาจึงพยายามที่จะ

หาวิธีให้คนที่กักตุนนี่เอาออกมาแจกจ่าย   จึงเป็นหลักการของทุนนิยม เป็นหลักการ

ใหญ่ของทุนนิยม   เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่าใครไม่มีความสามารถจะดึงเงินออกมา

จากกองก้อนที่เขาเก็บกักเก็บได้   เขาก็จะหาวิธีทุกวิถีทางแม้จะเลว  มันจะสร้าง

บ่อนกาสิโนเว้ย  ที่จะมาล่อหลอกที่จะให้คนออกมา เอาของเสพย์ติดไหม คนติดแล้ว

มันจะได้เอาเงินออกมาจ่ายของเสพย์ติด หรือสร้างค่าให้มันเกิดความสมดุล  สมมุติ

ว่าไอ้นี่มันค่าแพงนะ   ราคาสูงนะ  ต้องแย่งต้องชิงนะ นี่เป็นของวิเศษคุณค่า เช่น

สมมุติว่ารูปภาพรู้ปนี้  โอ้โฮ   มีศิลปะชั้นสูงนะ   ต้องซื้อราคาแพงๆ   เอาไปติด

ไว้พิพิธภัณฑ์ เอาไว้ให้คนอื่นดู นั่นแหละทั้งๆที่ดูแล้วไม่ได้เกิดพัฒนาอะไรเลยเท่าไหร่  

ไม่เกิดอะไรหนักหนาหรอก       อย่างรูปแวนโก๊ะ      รูป      Portrait 

ของแวนโก๊ะเองนะ หน้าตากน่าเกลียดไม่เข้าท่าอะไรเลย   จะไปประโยชน์อะไร

แวนโก๊ะ  ที่จะให้เกิดพัฒนา เป็นตัวอย่างของตน ไม่เห็นมีอะไร เหมือนคนบ้า และ

เขาก็ต้องซื้อราคาแพงๆ   เพราะเป็นศิลปะงานเขียนของแวนโก๊ะ  ว่าอย่างนั้นนะ  

อย่างนี้เป็นต้น   ยกตัวอย่างง่ายๆ หรือแม้แต่หลายๆภาพของเขามันจะให้  เอาละ 

ภาพที่เป็นธรรมชาติ   บอกให้คนรักธรรมชาติ มันก็อย่างนั้นแหละ  ถ้าจะว่าไปแล้ว  

Realistic คนยังจะดูง่ายกว่า ว่าให้ธรรมชาติหรือซาบซึ้ง ไปเอา Idealistic  

ให้คนไปดูแล้ว   ก็ต้องใช้ความคิดนะ จึงจะสร้างซาบซึ้งในภาพ  โอ้โฮ  ภาพดอก

ทานตะวันว่าอย่างนั้น โอ๊ คนจะซาบซึ้งดอกทานตะนัวนี่ รายห้าร้อยล้านบาทนี่ ตีเป็น

เงินไทยแล้วของแวนโก๊ะ  นี่ รูปทานตะวันดอกเดียว แล้วก็มี Background  เป็น

พื้นอะไรนิดๆหน่อยๆ  จะซาบซึ้งกับดอกทานตะวัน นี่จะรักธรรมชาตินี่ คุณค่ามันไม่ถึง

ขนาดนั้นหรอก  เรามาสอนให้มันมารักธรรมชาติกันนี่  ยังได้ประโยชน์กว่าแวนโก๊ะ

อีกเป็นไหนๆ   คนจะเข้าใจที่เราพูดได้นี่มากกว่า    ก็เปลี่ยนบทบาทพฤติกรรมไป

ธรรมชาติมากกว่าไปดูดอกทานตะวัน ที่จะทำให้เกิดการบันดาลใจให้ไปรักธรรมชาติ  

ไม่คุ้มกับห้าร้อยล้านบาทเลย  ไม่ยิ่งใหญ่อย่างนั้นหรอก   แต่เขาสร้างภพสร้างชาติ

โดยศิลปินนี่  พยายามที่จะยกย่องฐานะศิลปินกันเอง เผื่อข้าจะได้เงินมามากๆ เป็น

ลักษณะของทุนนิยมชนิดหนึ่ง  ซ้อนเข้าไปในพวกศิลปิน  เพื่อจะขายสินค้า  ขายงาน

ของตัวเองให้ได้ราคาแพง

�         พวกนี้บาปมหาจักร   หลอกคนแล้วยังแถมเอาเงินมาก แบบเฉโกนั่นน่ะ  

เขาไม่รู้ตัวนะ  อาตมาไม่อยากพูดมาก พูดมากเดี๋ยวก็ทะเลาะกันหมดทั่วโลก  เลย

ไม่ต้องมีพวกมีเพื่อนกันพอดี  ไอ้นายทุนก็เป็นศัตรูกันอยู่แล้ว แล้วยังแถมศิลปินมาเป็น

ศัตรูอีก  เดี๋ยวจะไปกันใหญ่นะ  เขายังโง่ นอกจากศิลปะ  เขามีเงินมาก ถึงไม่มี

เงินมากมันก็ซื้อเพราะมันโง่ขึ้นมามันก็ซื้อทั้งนั้นแหละ   มีเงินมากมันอยากได้ มันถูก

ครอบงำความคิดเข้ามันก็เอานะ   เอาละ ขยายความไปได้มาก  อาตมาจะขยาย

ความ ก็ขอตัดไว้แค่นี้สำหรับภาพเรื่องนี้นะ ก็ขอตัดไว้

         สรุปเข้ามาหาอิทธิบาทกันบ้าง  ถ้าเรามีความยินดี เพราะฉะนั้น จงทำ

ตนเป็นคนมีความยินดี  ความเต็มใจพอใจ  ความเบิกบานร่าเริง  ซึ่งอาตมาพูดย้ำ

ซ้ำซากแล้วว่าไม่มีเหตุผลใดๆเลยที่จะเอาความหม่นหมอง ไม่ชอบใจไว้ในจิตตน คน

ใดที่เอาไวในจิตตนโดยไม่พยายามขจัดออก     ตัดตนไม่ให้ตนเบิกบานร่าเริงยินดี

ในใจ  ให้ยินดีกับเราเป็นอยู่ เรามีอยู่ ข้าวมีกิน ดินมีเดิน ตะวันมีส่อง พี่น้องเรามี

เสร็จ  และเราไม่ใช่พี่น้องปลอมๆด้วย

         ถ้าเรายินดีในพี่น้องของพวกเรานี่นะ  คุณไปหากลุ่มพี่น้องที่ไหน  ไปหา

ชาติเชื้อ  สัญชาติเชื้อชาติกลุ่มที่ไหนที่ดีกว่าที่นี่  ไปเถอะ  อาตมาว่าเชื้อชาติอโศก 

สัญชาติอโศกนี่แหละ  เป็นน้องเป็นกลุ่มตระกูลดี เข้าใจคำว่าตระกูลให้ดี  เป็นเผ่า

ชาติชนที่ดี  ที่อยู่กันอย่างมีคุณค่าอะไรหลายๆอย่าง  เราไม่ต้องไปคุยอะไรมากกว่า

นี้  เป็นเรื่องจริง จะไปหาไหนก็ไปหาเถอะ  อาตมาว่ากลุ่มนี้แหละ  และเราเอง

เราไม่รักกัน มีอะไรก็ไม่อภัยกัน มีอะไรก็ผูกพยาบาทอาฆาต คิดแค้นแก้แค้นอะไรกัน

อยู่นี่ ก็เราจะมาล้างการแก้แค้นทุกประตู  ศาสนาของพระพุทธเจ้าให้มาล้างการแก้

แค้นทุกประตู   แม้จะดูหนังจีนแค้นต้องชำระอะไรก็ตาม  อาตมาก็ล้มปรัชญาอันนี้อยู่

แล้ว  แค้นอะไรล่ะ  แค้นต้องอภัย บุญคุณต้องทดแทน  แค้นต้องอภัย   ก็แก้ให้แล้ว 

และต้องให้จริงๆ ไม่ใช่พูดเล่นๆพูดจริงๆ ไม่มีความแค้นเคืองอาฆาตในใจนี่  มันจะ

ชั่วมันจะเลว  หรือมันจะบาป หรือมันจะดีอะไร   มันจะตกต่ำยังไง ถ้าเราจะไม่มี

ความแค้นในใจ   มันจะเป็นคนตกต่ำหรือ  ไอ้ที่มีความแค้นความเคืองความอาฆาต

อยู่ต่างหาก  มันชั่วมันต่ำมันเลว มีอยู่มากก็ชั่วมาก มีอยู่น้อยก็ชั่วน้อยนั่นแหละ  ไม่มี

เลยนั่นแหละดีวิเศษเลยนั่นแหละ  แต่อาศัยความรักอยู่ก็เอาเถอะ  ก็ต้องอาศัยบ้าง 

ก็ต้องรู้ความหมายที่ลึกซึ้ง  มิติที่สูงขึ้นไป

         อาตมาก็พยายามตั้งหลักแล้ว        ตั้งหลักไว้ให้อุตส่าห์บรรยายแล้ว �ก็อุตส่าห์เรียบเรียง  รวบรวมไว้เป็นหนังสือมาอีกไม่รู้กี่ครั้งแล้วนี่ ความรัก 10 มิติ

นี่ พิมพ์ออกมาไม่รู้ตั้งเท่าไหร่  ไม่รู้กี่เที่ยวแล้ว ก็ศึกษากันเถอะ  ถึงรักอย่างไร ก็

ถึงรักชนิดสูง  จะเอาความหมายมันก็จะเข้าใจว่ารัก  สุดท้ายก็สัมพันธ์ที่ชนิดที่วิเศษ 

สัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง  สัมพันธ์โดยที่ไม่ผูกพัน สัมพันธ์ไม่ติดยึด   สัมพันธ์กันอย่างสนิทแต่ไม่

ติดยึด สัมพันธ์กันอย่างสนิท แต่ไม่ติดยึด  สนิทได้จริงๆ ได้เนียนเลยด้วย  แต่ไม่ติด

หรอก    ปล่อยเมื่อไหร่ก็วางก็ขาด  โวหารภาษาก็ใช้ได้แค่นี้  และก็ต้องรักอย่าง

ประเด็นที่มีคุณค่าด้วย  ไปรักแบบกาม ก็บอกแล้วว่ามันมิติที่ต่ำหยาบที่สุด แล้วก็แม้แต่

ในวงแคบๆ  พ่อ  แม่ ลูก มันก็แคบ แค่ญาติมันก็ยังแคบ   กว้างขึ้นไปถึงมิตรสหาย 

กว้างขึ้นเป็นสากลหน่อย  มันก็ยังแคบ ไปกระทั่งถึงชาติ  มีเชื้อชาติ ชาติไทย ชาติ

ญวน ชาติลาว ชาติอเมริกัน เชื้อชาติๆ อะไรก็ตามใจเถอะ มันกว้างขึ้นแต่มันก็ยังมี

แคบอยู่นั่นแหละ   ยิ่งกว่านั้น กว้างกว่าชาตินิยมก็เป็นเทวนิยม  เอาจิตวิญญาณเป็น

หลัก เอาคุณค่าทางความหมายทางจิตวิญญาณสำคัญให้ได้  ในสายเลือด ในรูปธรรม 

ในรูปวัตถุพวกนี้   มันยังตื้น   จนถึงขั้นเทวนิยมนี่   มันกว้างขึ้นไปอีก    ยิ่งกว่า

เทวนิยมเป็นสัจธรรม เป็นวิมุตินิมยม เป็นพุทธนิยมอะไร และมันก็ยิ่งวิเศษใหญ่นะ

         เรามาศึกษากันจริงๆ เราจะอยู่ด้วยกันด้วยความรักที่มีมิติที่สูง มิติที่เป็น

คุณค่ามีปัญญา และทำให้ถูกสัดส่วนของมันได้จริง พวกเรานี่แหละ  ถ้าไม่รักกัน พวก

เราไม่รักกัน  ไม่สัมพันธ์อันดีกัน  และก็ไม่หยาบและรักกัน กลายเป็นกาม  มันก็แค่

ครอบเล็กๆ  ไอ้แค่มิตรสหายก็แค่กลุ่มนิดแค่ลูกแค่หลาน แค่ญาติกลุ่มย่อย ไม่เอา ให้

มันกว้างขึ้นนะ   แม้กระทั่งผู้อื่นเราก็จะต้องสัมพันธ์กับเขาอยู่ ต้องรักคนอื่น  รักคน

ถึงแม้จะอโศกก็ต้องฝึกปรือไป  พูดๆแล้วไม่ฝึกไม่ได้หรอก  อย่าให้มันลักลั่น  อะไร

ควรก่อน  อะไรควรหลัง ก็ต้องรู้ระดับอย่างดี  แล้วจะทำความสัมพันธ์  แล้วจะทำ

ความเกื้อกูล  จะทำความเสียสละอะไรนี่  ได้ประโยชน์คุณค่ามาก โดยเฉพาะการ

สร้างสรร   จงใช้อิทธิบาทบทบาทความเพียร  ความอุตสาหะวิริยะ   ไม่ใช่ความ

เฉื่อย   ความเฉยชา   ความเลี่ยงความหลบ   ไม่เอาละอย่างนั้น  มันไม่เจริญ 

จริงๆ  พวกเรายังหนุ่มยังสาวกันอยู่เยอะ เอาไปเอามาคนแก่เข้าใจได้ดี  คนแก่ก็

เป็นคนขยัน   คนหนุ่มคนสาวเป็นคนขี้เกียจ  ก็ตายกันพอดี นั่นผิดหลัก  มันผิดสภาพ  

คนกระดูกก็จะล่วงอยู่แล้ว ขยันได้สักเท่าไหร่กัน ทำอะไรก็ไม่ได้เรื่องเท่าไหร่หรอก 

หนุ่มๆ  สาวๆ นั่นพลังยังดี  พลังวังขายังดี กลับกลายเป็นไม่ขยัน มันผิดแล้วมันเสีย

แล้ว  ของเรานี่มันจะแปลกตรงที่ว่า เรามีหนุ่มมีสาวกันได้ โดยที่ว่าไม่มีปัญหาของที่�เขากลัวกัน  กาม ปัญหาเรื่องพวกที่เลวๆ ร้ายๆ พวกนั้นน่าเขากลัวกัน แต่พวกเรา

พอเป็นไปได้   เพราะมันมีสัจจะนะ มันบกพร่องบ้าง มันมีส่วนที่มันตกๆล่วงๆ หล่นๆ

ไปบ้าง    มันก็ย่อมมีบ้างไปเป็นธรรมดา   เราถือว่าเป็นเปอร์เซ็นต์ที่มี  Error  

ของมันนี่ ก็ พอใช้ได้แล้วละ  ขณะนี้อย่าให้มันเลวร้ายยิ่งกว่านี้ก็แล้วกัน  แม้กระทั่ง

เดี๋ยวนี้ ในเด็กในเยาวชนมา เราก็พยายามเอื้อเฟื้อออกไปต่อภพต่อภูมิออกไป เพื่อ

ที่จะให้ทุกระดับครบวงจรนะ   เราก็รู้ว่าเด็กๆ  เล็กๆมีได้ขนาดนี้ขนาดนี้  มันเป็น

เรื่องจริง  มันเป็นของจริง เป็นตัวอย่างจริงที่เราจะมาฝึกปรืออบรมฝึกฝน เพราะ

บางคนก็จะเกินๆอยู่  เราจะทำอย่างไรกับเด็กๆ  นี่  เราจะขัดเกลาแกขนาดไหน  

จะอนุโลมแกขนาดไหน   และเคร่งขนาดไหน  คนนั้นคนนี้จะเคร่งขนาดไหน   จะ

อนุโลมขนาดไหน   เราจะจัดเข้าไปกว่าจะได้มัชฌิมาปฏิปทา  ต่อบุคคลแต่ละบุคคล 

ต่อกลุ่มแต่ละกลุ่ม ต่อโอกาสแต่ละโอกาส  หรือกาละแต่ละกาละ     เราจะฉลาด

ประมาณ    รู้จักกาโย    รู้จักองค์ประชุมที่สมบูรณ์แบบอันนี้ทั้งนั้นเลย  เราจะได้

เพราะเราฝึก   เราจะเป็นหรือเราจะทำได้พวกเราเหมาะพอพอดี เพราะเราฝึก  

เพราะเราทำจริงๆ ไม่ใช่แต่นั่งดั้นเอาคาดคะเนเอาไม่ใช่ ได้เพราะเราลงมือทำ

         ตราบใดที่เรายังมีกรรมกิริยา      มีการงานมีองค์ประกอบของกรรม 

มีองค์ประกอบของมนุษย์ที่มาร่วมทำงานวงกว้างๆๆๆๆขึ้นได้เรื่อยๆ    และก็จัดสรร

มัชฌิมาปฏิปทา    ทำลงไปได้พอเหมาะพอดีๆๆ  เป็นคุณค่า  ประโยชน์สูงประหยุด

สุดๆๆๆ   สร้างสรรเสียสละๆๆๆ  ประโยชน์สูงก็สร้างสรร  ประหยัดสุดก็เสียสละ 

ขยายความใหม่ขึ้นมาเท่านั้นเอง  ที่จริงก็ไอ้ตัวเก่า ประโยชน์สูง ประหยัดสุด  นั่น

แหละประโยชน์สูงก็สร้างสรรได้ดีที่สุด  ประหยัดก็คือเสียสละได้ดีที่สุด  ซื่อสัตย์ที่สุด 

เพราะฉะนั้น เราเสียสละได้มาก ซื่อสัตย์ได้จริง   ประณีตประหยัดเป็นตัวที่จะต้อง

ฝึกฝน ขยันอุตสาหะ เป็นตัวฝึกฝน คุณไม่ฝึกฝน  คุณไม่ขยัน คุณไม่อุตสาหะ  มันก็ไม่

เกิด   ถ้าไม่ขยัน ถ้าไม่อุตสาหะ  ประณีตกับประหยัดก็ไม่ตามมา เพราะเอาแต่หนี 

และมันจะได้ฝึกประณีตที่ไหน   และมันจะได้ฝึกประหยัดที่ไหน    มีแต่จะหยาบไปๆ  

เพราะมันไม่ขยันแล้ว มันก็กลายเป็นคนหยาบ

         เพราะฉะนั้น   ตัวที่จะเร่งเครื่องจริงๆ ตัวขยันอันอุตสาหะ   จะขยัน

อุตสาหะอะไร   ขยันอุตสาหะกับการงาน เมื่อขยันกับอุตสาหะกับการงานแล้วจึงจะ

เกิดการได้วินิจฉัย   ได้วิเคราะห์  ได้วิจัย   มันจะเกิดรู้โดยปริยายเลย   โดย

ธรรมชาติของมันนะ  มันจะละเอียดลออไป  ไม่ใช่การงานมากๆแล้วหยาบขึ้น  ยิ่ง�หยาบขึ้นก็ระวัง  อย่าให้หยาบขึ้น  และจะต้องรู้ลักษณะประหยัดที่จริง ยิ่งทำก็ยิ่งได้

มาก   มีมาก ก็ยิ่งหยาบไปไม่ได้  ไม่เจริญแน่  ต้องได้มีมากก็ยิ่งจะประหยัดลงไป  

จะเกิดผลจริงๆ  เพราะฉะนั้น  จะต้องควบคู่กับการลงมือจริง อยู่กับอาตมาไปนี่คุณ

ไม่ต้องกลัวหรอก  อาตมาพาทำงานตลอดตาย ไม่นอนกินนอนใช้เหมือนเจ้าสัวที่ไหน

รับรอง  ใครฟังแล้วหวาดเสียวก็รีบๆ หนี ทำได้น้อยก็ตามน้อย ปรามคนแก่คนเฒ่านี่ 

คนแก่คนเฒ่าที่ไม่สำนึกขี้เกียจก็เห็นอยู่และไม่ค่อยมีใครใคร่ชอบหน้าหรอก    คนแก่

คนเฒ่ามานั่งกินนอนกิน  เลี่ยงๆหลบๆ คนเขาไม่ชอบหน้า  เจ็บป่วยก็ไม่มีใครจะไป

ช่วย  โอดโอยยังไงก็เถอะ  คนแก่นี่คนก็จะไม่ค่อยไปคอยดูแล   ถ้าคนแก่ที่มีกะจิต

กะใจ     มันมีบุพเพกตปุญญตา    มีกะจิตกะใจ   โอยมีน้ำใจช่วยเหลือเฟือฟาย  

เจ็บป่วยเมื่อไหร่แล้วรับรองคนเราจะไปช่วยอุดหนุนจุนเจือ  พวกเรามันคนโง่ที่ไหน  

พวกเราเป็นคนรู้นะ  อะไรดีอะไรไม่ดีไม่ควรรู้ มันไปตามสัจจะๆของมัน   คนไหน

ปากร้าย  คนไหนปากดี กิริยาร้ายกิริยาดี  เป็นกรรมเป็นอันทำทั้งนั้นแหละ   เป็น

วิบาก  เป็นบุพเพกตปุญญตา  เป็นไม่เป็นบุญหรือบุญก็ตามแต่ บางอย่างนึกว่าเป็นบุญ

แต่ไม่ใช่บุญ  มันเป็นเองมันเป็นจริง มันจะได้เป็นสัดเป็นส่วนไปตามสัจจะของมัน

         พูดอย่างมันเกิดจริงตามธรรมดา เกิดตามสิ่งที่จริงเป็นนะ เพราะฉะนั้น  

อาตมาก็อยากจะให้พวกเรานี่สังวรระวัง   อย่าไปแหนงหน่ายเรื่องงานๆ  อย่าไป

แหนงหน่าย   ถ้าเราเข้าใจเรื่องกรรมแล้ว การงานแปลว่าการกระทำ กรรมเท่า

นั้นแหละเกิดขึ้น  กรรมเท่านั้นแหละตั้งอยู่ กรรมเท่านั้นแหละดับไป   กรรมพาเกิด  

เกิดเป็นพระอริยะ   ก็ต้องกรรม หรือกรรมมันพาเป็นสัตว์นรกได้ด้วย ถ้าเรามันโง่ 

ยังไม่ฉลาด   กรรมพาเกิด จะเกิดเป็นพระอรหันต์ก็กรรม เพราะฉะนั้น ใครไม่ทำ

กรรม  ไม่ทำการงาน ไม่มีการกระทำ  ไม่มีทางเป็นอรหันต์  กรรมพาเกิด  ไม่มี

อะไรนอกจากกรรม  ก็พระอรหันต์ท่านกล่าว  มีแต่กรรมเท่านั้นแหละเกิดขึ้น  มีแต่

กรรมเท่านั้นแหละตั้งอยู่  มีแต่กรรมเท่านั้นแหละดับไป  ที่อื่นไม่มีอะไรเกิดนอกจาก

กรรม   ถ้าคนไม่เข้าใจก็อะไร  ฟังไม่เข้าใจ พูดเหมือนโมเม มีกรรมเท่านั้นเกิด

ขึ้น   มีกรรมเท่านั้นตั้งอยู่ มีแต่กรรมเท่านั้นดับไปจริงๆ   ไอ้นั่นมันเป็นอุปกรณ์ของ

กรรมเท่านั้น    จนกระทั่งหัวสมองไปจนกระทั่งถึงอวัยวะทุกส่วนของคุณ    มันคือ

อุปกรณ์ของกรรม  เราใช้มันซิ  ถึงเรียกเป็นภาษาไทย จึงเรียกใช้กรรมเกิดมาใช้

กรรม   ใช้มันให้เป็นนะ  ใช้ไม่เป็นมันจะได้อะไร  ได้หนี้ได้บาป  ใช้เป็นก็ได้บุญ

ได้กุศลได้คุณค่า ใช้มันให้เป็น  จะใช้เป็นเราก็ต้องรู้ ใช้อย่างไรถึงจะเป็นกุศล ใช้�อย่างไรถึงจะเป็นอกุศล   และทำลายอกุศลอย่าให้มันเกิด  ต้องยังกุศลให้ถึงพร้อม

ให้ได้ ยังกุศลให้ถึงพร้อมจริงๆ ไม่มีสันโดษในกุศล นี่ก็ภาษาหลักการ ยังเหลือแต่ตัว

จริงที่เราจะต้องกระทำให้เป็นจริงเท่านั้นแหละ

         ที่อาตมาเตือนๆ  กับพวกเรานี่ มันชินชา มันเกิดอย่างที่กล่าวแล้ว เรา

กินน้อยแล้วทำเท่านี้ก็พอกิน  มันยังไม่เจริญ ยังไม่พอหรอกนะ  มันจะต้องสร้างสรร

ขึ้นไปอีก  เราจะเจริญเราก็เจริญด้วยหมู่กลุ่ม ก็เจริญด้วย ต้องอาศัยแรงงานที่เรา

มีอีก  อาตมาก็เคยพูดเคยถามว่า เราเองจริงๆแล้ว ขยันเต็มที่แล้วหรือยัง  เราก็

ตอบได้ว่า  เรายังไม่ขยันเต็มที่หรอก  เรายังเลี่ยงมากอยู่  คนที่มีสำนึกตรวจตรา

ละเอียดลออจะเข้าใจจริงๆ  นอกจากคนหลงตนเท่านั้นแหละ  ถ้าคนไม่หลงตนแล้ว

จะเห็นชัดเจน  เออ เรายังมีส่วนที่จะขยันได้ยิ่งกว่านี้ เราจะมีส่วนกว่านี้   เรามี

ส่วนประณีตพอแล้วหรือยัง  ระวังจะหยาบขึ้น ทำให้ประณีตสุขุมขึ้น แล้วเราได้เป็นผู้

เสียสละ  เราได้ประหยัด  บอกแล้วว่า ประหยัดไม่ได้แปลว่าร่ำรวย ประหยัดแปล

ว่าเสียสละมากขึ้น  แล้วจะไม่รวย แต่การประหยัดนี่ไม่ได้หมายความว่าจนด้วย ไม่

จน  ถ้าประหยัดถูกสัจจะ แล้วไม่มีจนหรอก นอกจากไม่จนแล้วตัวเองเบาด้วย  คน

ประหยัดได้แล้วจะเบา  จะมีเพื่อนฝูงช่วยดูแล เก็บหอมรอมริบช่วยรักษาเอาศัยแบก

หามเอาไว้ให้ด้วย  คนประหยัดนี่ประหยัดก็คือ เขาเองเขาไม่ทำให้มันไม่สุรุ่ยสุร่าย

ฟุ่มเฟือย ใช้จ่ายมากๆ ก็ใช้เป็น ไอ้คนตระหนี่นั่นใช้จ่ายมาก ไม่เป็นเลย แม้สมควร

จะมากก็ยังให้น้อยๆเลย   สมควรที่จะจ่ายนี่มากๆด้วยนะ   ไม่ได้แล้วเดี๋ยวไม่ครบ

บาท  ไม่ครบสลึง   นั่นมันขี้เหนียว  ส่วนคนประหยัดนั่นเขาจะรู้ค่าเลยว่า   เออ 

ควรให้ไปเลยนี่   และจะเกิดเจริญเกิดการพัฒนามากมายเป็นเศรษฐีศาสตร์  เป็น

ลักษณะที่เจริญที่แท้จริง  สังคมหรือการก่อการสร้าง   การรังสรรค์ก็จะได้มากกว่า

เก่าที่มันจะเป็น นี่ผู้ที่รู้แล้วเศรษฐศาสตร์ที่สมบูรณ์มันจะเป็นอย่างนั้น

         นี่  อาตมาเองอาตมาก็ยังไม่รู้ได้เลยว่างานเราหนักขึ้น   ตอนนี้จะรับ

งานหิน ซึ่งอาตมาก็ไม่ได้เร่งทีเดียว แต่อาตมาเห็นว่ามันก็ดี ถ้าได้เกิดงานหินขึ้นมา

นี่ พิสูจน์ดูคนตกร่วงไปเถอะ มันหนัก จะตกร่งไป โอ้โฮ  พาทำงานไปเอาหินมาทำ

หนักจะตายนะ มันจะพิสูจน์  ความอดทนอุตสาหะของคนนะ  หินมันทำง่ายที่ไหน มัน

หนักจะตาย แม้แต่จะแกะจะเจียน  มันไม่เหมือนใบกล้วยนะ  จะได้เจียนปื้ดได้เลย 

หนัก  เจียนก็ยาก  เคลื่อนย้ายก็ยังยาก น้ำหนักก็มาก ลงทุนลงแรงเยอะ   แต่ถึง

กระนั้นก็ตาม  อาตมาว่าพวกเรานี่ ลงทุนลงแรงได้จริง  แต่คิดว่าคงไม่ต้องใช้เงิน�มากนักหรอก   ต่อไปในอนาคตนี่ คนก็จะฮือฮา จะต้องเงินมากกว่านี้ ตอนนี้เราไป

ก่อนเขา  ต่อไปนี้เขาก็เริ่มจะเข้าใจ เริ่มที่จะมาทำ แต่ยังๆไม่แพง  อาตมาคิดว่า

นะ จะไม่ลงทุนค่าหินนี่มากเท่าไหร่  แต่ถ้าจะต้องลงแรงๆ  ลงความอุตสาหะวิริยะ

มาก อันนี้จบเป็นเครื่องพิสูจน์บุคคล จะพิสูจน์ตัวพวกเรา ช่วยกัน จะใช้ทุนรอนไปใน

เรื่องอื่น  อาจจะซื้อเครื่องมือ อาจจะอะไรต่างๆ นานา พวกนี้  มันจะใช้ไปในสิ่ง

อีกด้านหนึ่ง จะไม่ใช้ไปอีกด้านหนึ่งนะ  จะได้อย่างนั้นนะ อาตมาก็หยิบเอาของจริง 

หยิบเอาอะไรต่อมิอะไรมาขยายความ   มาอธิบายให้พวกเราได้เข้าใจซับซ้อนเพิ่ม

เติมขึ้นนะ

         วงชีวิตของคนมันก็ก่อเกิดไปด้วย   เหตุการณ์หรือประสพการณ์ที่จะเกิด

ขึ้นไปเรื่อยๆ   ถ้าเรารู้จักเท่าทันเหตุการณ์   พยายามใช้ประสพการณ์ต่างๆนานา

เป็นตัวพัฒนาชีวิตได้  ผู้นั้นก็จะเจริญ อย่าเอาแต่ประสพการณ์ที่มันไม่ค่อยมีอะไรเกิด

นะ   ประสพการณ์เอาแต่พบเฉยๆ  นี่ก็ไม่พอ   ประสพการณ์ภาษาบาลีมันมีสองตัว 

ประสพที่ตัวพ     แปลว่าการเกิด    ประสบที่ใช้ตัว   บ   ซึ่งมาจากตัว    ป  

ภาษาบาลีมันเป็นตัวป   ไม่มีตัวบใบไม้  ประสบนี่แปลว่า พบ หรือเห็น  หรือสัมผัส 

ส่วนประสพนั้น   สว แปลว่าการเกิด  มันเป็นตัวที่มีการสังเคราะห์  มีการได้มาก

กว่าพบเฉยๆ  สูงกว่า อาตมาจึงชอบใช้ประสพการณ์นี่ ใช้ พ.  พานมากกว่าใช้บ         

ใบไม้    และพวกเราชอบแก้ไปตามปทานุกรมของโลกเขาเรื่อย   ปทานุกรมเขา

ประสพ  เขาไม่ค่อยใช้แล้วเดี๋ยวนี้ การเกิดผลเขาไม่ค่อยรู้เรื่องแล้ว     เขาไม่

ซาบซึ้ง  เขาไปใช้ พ.พาน  แปลการเกิดผล  แปลว่าการเกิดนี่มากกว่า  การแค่

พบแค่เห็น  แค่บอใบไม้สบ  บอใบไม้นี่ ประสบการณ์นี่เขาใช้ บ ใบไม้เดี๋ยวนี้  ใน

พจนานุกรมเขามี  ใบไม้ตัวเดียว  ตัวอื่นเขาไม่เอาแล้วนะ   เอาแต่แค่พบแค่เห็น

เฉยๆ   ประสบการณ์ มันเบา มันไม่มีปฏิกิริยา  หรือมันไม่มีปฏิกิริยาปฏิสังเคราะห์ 

เกิดผลงานการได้คลุกคลี การบวกลบคูณหาร  ได้มีบทบาทอะไรจนกระทั่งได้ถึงการ

เกิดผล  การได้รู้คำรู้แดงกัน  เลยเกิดผลกันจริงๆเลย  เรียกว่าประสพ  พ พาน  

อาตมาเห็นว่าน้ำหนักของประสพ   อาตมาชอบใช้ พ. พานมากว่า บใบไม้  แต่ก็รู้

เวลากาละเวลาที่จะใช้ประสบ บใบไม้ หรือแค่พบแค่เห็น  ให้ถูกตามที่เนื้อหาตามที่

เราต้องการ   อาตมาก็ใช้เหมือนสังสรรนะ   สังสรรค์ เขาใช้  ค.ควายการันต์  

สังสรรค์นี่แปลว่าสร้างๆๆๆ  ตะพึด  มันไม่ค่อยมีปัญญาเท่าไหร่ ในวาระที่จะต้องใช้

เป็นสื่อเหมือนกัน  ในตัวสร้างที่เต็มที่ เป็นสุดยอด  และอาตมาก็เข้าใจนะ สุดก็ได้ �ถ้าสร้างสรรไม่มี  ค ควายการันต์  ก็ไปสร้างอย่างเลือก  มีปัญญาก็ไปใช้ประกอบ

ในการเลือกเฟ้น  อาตมาชอบใช้สร้างสรรที่ไม่มี ค มากกว่า  ถ้าสร้างสรรที่มันไม่

มี ค มันหมายถึงเอาปัญญาเข้าไปร่วม  ถ้าสร้างสรรที่ไม่มี ค  การันต์ สรรคะมันก็

แปลว่าสร้าง นั่นแหละ  สร้างๆๆๆ  กระหน่ำการสร้างไปเท่านั้นเอง  สร้างตะพึด  

มันไม่เอาปัญญาเข้าไปร่วม  อาตมาก็ใช้น้อย แต่ก็ใช้บ้างเหมือนกัน ประสพการณ์ใช้ 

พ พาน  กับใช้ บ ใบไม้ อย่างนี้เป็นต้น

         อาตมาว่าอาตมาเข้าใจภาษา  ใช้ภาษานัยละเอียดขึ้น ไม่ใช่นัยความๆ

ตื้นๆ    ไม่ใช่ว่ากันส่งๆเดชไปอย่างนั้นเอง  จริงๆใครเขาจะกำหนดอะไรมา  ก็

พยายามรู้ตาม เดี๋ยวเขาจะหาว่าอาตมาขยาย แปลขยายความ แม้แต่ภาษาบาลี ใช้

ไวยากรณ์ใช้อันนั้นผิดพลาด  เราไม่มีปัญหาหรอก อาตมาให้เขาว่า แต่อาตมาใช้ไม่

ผิดจากหลักการทีเดียวหรอก  ไม่ผิดไปจากสภาวะด้วย  โดยเฉพาะยิ่งสภาวะไม่ผิด

จากสภาวะ   แต่เขาไม่เข้าใจก็เรื่องเขานะ   อาตมาเข้าใจ  อาตมาสื่อให้พวก

คุณฟัง   แต่พวกคุณรู้เรื่อง เอาไปใช้ประโยชน์ได้ อาตมาว่าเท่านี้ก็คุ้มแล้วที่อาตมา

เองอาตมานำมาใช้ประโยชน์  ส่วนคนไม่เข้าใจจะไปบังคับเขาไไปได้ยังไง  เขา

ไม่เข้าใจ  นอกจากไม่เข้าใจแล้วเขายังจะตีโต้ว่าเราอีก โอ ไม่เป็นไร  แต่เรา

ใช้อันนี้เป็นคุณค่าเป็นประโยชน์ขึ้นมาได้อีกแล้วนี่   ส่วนใครไม่เข้าใจ  ก็เป็นเรื่อง

ของเขา  เขาก็ไม่เอาก็ไม่เป็นไร  แต่ถ้าใครเอา  ได้ประโยชน์มันก็ได้แล้ว  ได้

คุณค่าแล้ว

         เพราะฉะนั้น  คนใดที่มีโรคเซ็ง  มีโรคเบื่อ  มีโรคไม่ Appreciate  

มีโรคไม่มีความชื่นชมยินดี   ไม่มีความเบิกบานร่าเริง  ตรวจ  เป็นโรคร้ายแรงๆ 

ต้องพยายามกันจริงๆ ต้องตรวจตราดีๆ   แก้ไขปรับปรุงให้ทันทีทันใด   เลิกให้ได้

เด็ดขาด   เป็นคนเบิกบานร่าเริงได้ดีๆ   แล้วมีอิทธิบาท   เมื่อยินดีแล้วก็จะต้อง

กระปรี้กระเปร่า  คนเรายินดีแล้วมันไม่เท่าไหร่  เบิกบานยินดี มันไม่เซ็ง  มันไม่

อะไรนะ การงานใครคนนั้นคนนี้เรื่องคนนี้หรือไม่ก็ขวนขวายตัวเอง ถ้าไม่ขวนขวาย

ตัวเอง  เห็นคนนั้นคนี้เรียกบ้าง มันเอาด้วยมันยังไง มันก็เอาด้วยนะ  ยินดีเท่านั้น

มันก็ติด ถ้าไม่เช่นนั้น มันก็ติดภพมุ่น  คือมันมุ่นนะ  ยินดีแล้วจะมุ่นตกภพ ถ้าวินัยลึกๆ 

ก็จะรู้ตัวเอง   เราอยู่กับอะไร  บางทีอยู่กับสิ่งที่ไม่รู้เรื่อง  มันอยู่กับสิ่งที่เราชอบ  

มันอยู่กับสิ่งที่ไม่รู้เรื่อง  มุ่นๆอยู่กับความงงๆ  อยู่ที่ความมืดๆ โง่ตายเลย อยู่ความ

งงๆ  ความมืดๆ  ไม่รู้เรื่องอะไรล่ะ  อยู่อย่างนี้แหละ อยู่กับกูของกู ก็ไม่ได้อยู่กับ�ใครนะ  จะพบหน้าพบตาใครก็ ฮึ  ไม่เอา มันตกภพอย่างนั้นน่ะ  ลักษณะของความ

ไม่ยินดีอะไร  จะอยู่กับตัวเอง  ตัวเองชอบอะไรก็ไปหาอะไรมาบำเรออยากทำนั้น 

ก็ทำตามใจตัวเอง   อยากจะกินอยากจะทำ อยากจะอะไรก็ว่าไป ยิ่งอยู่ในที่บก็ทำ

ได้ตามอิสระเสรีๆ  เฉโกนะ อิสระทำอะไรได้ตามใจตน  ก็เป็นดีทั้งนั้น ก็จะทำไป

อย่างนั้นเอง   และอย่าให้มันกลายเป็นอัตตามานะอย่างนั้นคือ มันเอาแต่ตัวแต่เรา

ไม่มองคนอื่น

         เราเองเราจะสละตัวตนก็เพราะว่าตัวเราเองเราไม่ ตัวเราเป็นหลัก

เลย    ตัวเราไม่ต้อง  แต่เราจะเอาตัวความรู้เป็นหลัก   ความรู้ไม่ใช่ตัวอัตตา  

ความรู้คือความรู้วิชชา  เอาเป็นหลัก วิชชาหรือญาณทัสสนวิเสส   เรามีญาณทัสสน

วิเสสเป็นเครื่องอาศัย  มีวิชชาเป็นเครื่องอาศัย  เพราะฉะนั้น อะไรทำด้วยวิชชา 

จะสังขารอะไรก็แล้วแต่   สังขารที่ตามหลังวิชชานี่   คือวิสังขาร    คือการปรุง

ด้วยวิชชา   แต่ถ้าอวิชชาแล้ว   เอ่ให้เกิดสังขาร   สังขารนั่นเป็นสังขารที่ไม่ใช่

วิสังขาร   เป็นสังขารโลกียะ   สังขารมีทุกข์  แต่ถึงแม้ว่าจะมีทุกข์   ถ้ามันปรุง

ด้วยวิชชาแล้วละ  มันก็เป็นทุกข์ ตามธรรม ทุกข์ที่มันเป็นคุณค่าเป็นประโยชน์   ซึ่ง

เราเต็มใจทำ ยินดีที่จะทำ เพราะสังขารด้วยความเต็มใจ เพราะสังขารด้วยฉันทะ 

วิริยะ   จิตตะ วิมังสา  สังขารด้วยสภาพของสมณะ เพราะฉะนั้น  ผู้ใดเป็นสมณะ

แล้ว   จะเอาอะไรเป็นเครื่องแสดงเอาอิทธิบาทเป็นเครื่องแสดง   

         เพราะฉะนั้น   อิทธิบาทจะเป็นตัวตนของอริยะ  อิทธิบาทจะเป็นตัวตน

ของอริยะ   ใครอยากเห็นอริยะ    จงดูที่อิทธิบาท  หนึ่ง   เป็นคนที่มีความยินดี   

เบิกบานร่าเริง เออ คนนี้เป็นอริยะเอาไว้ก่อนเลย คนมีวิริยะโอ คนขยันหมั่นเพียร

เป็นสมณะของพระพุทธเจ้าแน่ๆ   เป็นอริยะอะไรอย่างนี้เป็นต้น  เอาไปตีความได้

บ้าง  แต่มันมีนัยละเอียดนะ  ขยันเฉโก  ขยันกอบโกยก็มี ยินดีในโลกียะก็มี  อันนี้

เราก็ต้องมีเหตุผลเงื่อนไขอีก  มีนัยรายละเอียด ฉันทะนี่ไม่ใช่เรื่องโลกีย์ ฉันทะใน

เรื่องโลกุตระ ในการเสียสละในการสร้างสรร  วิริยะพากเพียรเอาใจใส่ เป็นคน

มีความเอาใจใส่  คนที่มีจิตใจเอาใจใส่นั่นไม่ใช่คนเฉยๆ เฉื่อยๆ เหมือนกับไม่มีกะ

จิตกะใจ   คนมีจิตมีใจมันต่างกับคนไม่มีจิตไม่มีใจ  คนไม่มีกะจิตกะใจเหมือนคนจะ

ตาย เบลอๆ  อะไรอย่างนี้ ไม่เข้าท่า แต่คนที่มีจิตมีใจนี่จะรู้เลยว่า โอ๋ คนมีจิตใจ

เป็นคนเอาใจใส่   เป็นคนทำอะไรก็มีภาวะเป็นคนเอาใจใส่   จะเห็นว่าเป็นคนมี

น้ำใจนั่นเอง  มีจิตมีใจ มีกะจิตกะใจ มีจิตตะ อันที่สาม  และเป็นคนมีวิมังสา เป็น�คนมีรายละเอียด  เป็นคนมีการตรวจตรา    มีการพิจารณาไตร่ตรอง   พิจารณา

วินิจฉัย  มีตัวนั้นเป็นเครื่องกล เป็นกลไก  วิมังสานี่เป็นกลไกตลอดเวลาเลย  ได้

ฝึกซ้อมได้นานเท่าไหร่ก็ยิ่งชำนาญ   มันก็ยิ่งได้สิ่งที่ดีขึ้นมาเรื่อยๆ ไตร่ตรอง ตรวจ

สอบ แก้ไข ปรับปรุงจัดแจงให้มันดีขึ้นเรื่อยๆ  มันก็เจริญขึ้นเรื่อยๆ

         เพราะฉะนั้น  อริยะของพระพุทธเจ้าจึงเป็นคนมีฉันทะ เบิกบานร่าเริง 

กระตือรือร้น  ไม่ใช่คนเฉื่อยคนแฉะ  เป็นคนเห็นได้ว่ามีลักษณะ  มีวิริยะพากเพียร 

อุตสาหะขยัน   ดูได้เลย เห็นได้ตำตาเลย คุณลักษณะพวกนี้  เป็นของพระพุทธเจ้า 

ซึ่งเอามาอธิบายเอามายืนยันได้    เป็นคนมีกะจิตกะใจ  เป็นคนมีน้ำใจ  มีความ

ขมีขมัน    มีการเอาใจใส่อยู่จริงๆ  แล้วก็มีความละเอียดลออประณีต    เป็นคน

ไตร่ตรองพิจารณา ทำอะไรสุขุมละเอียดลึกซึ้ง นี่เป็นคุณลักษณะ อิทธิบาทเป็นเครื่อง

แสดง    เป็นตัวสมณะ   ซึ่งเป็นสมณะที่พระอรหันต์โน่น  โอ๋ย    ยิ่งเห็นชัดเลย  

เป็นอนาคาก็จะเห็นได้มากหน่อย สกิทาก็เห็นเพิ่มขึ้น  โสดาก็เห็นน้อยหน่อยก็ตามแต่

จะต่างกันกับความขยัน หรืออิทธิบาทของโลกียะ  อิทธิบาทของปุถุชน  ทุกวันนี้ เขา

เอาอิทธิบาทนี่ไปใช้กับปุถุชนเสียเยอะ  มันไม่ลึกซึ้ง มันไม่ซ้อน มันเป็นไปเพื่อความ

เห็นแก่ตัว   ความโลภในลาภ ยศ สรรเสริญ โลกียสุข  มันไม่ได้เป็นเพื่อโลกุตระ  

นี่เป็นคุณลักษณะต่างๆ   เอาองค์ธรรมของพระพุทธเจ้ามาขยายความ  มาวิจัยเพิ่ม

เติม    มาอธิบายให้ละเอียดลึกซึ้งซ้อนขึ้นไป    ฟังดีๆ   แล้วเราจะทำให้ถูกสัด

ส่วนของมันขึ้นมาเรื่อยๆ

         สรุปแล้วคนเรานี่   อยู่กับการงาน   อยู่กับความขยันหมั่นเพียร   อยู่

กับอิทธิบาทนะ     อยู่กับความไม่เฉื่อยชา   ไม่เลี่ยง   ไม่หลบ     ไม่เย็นชืด  

ไม่จืดไม่เซ็ง เป็นคนเบิกบานร่าเริง เป็นคนที่ขมีขมัน  สร้างสรรขยันเพียร ประณต  

ประหยัด  ซื่อสัตย์  เสียสละอย่างแท้จริง

         เอาละ  สำหรับวันนนี้ เอาแค่นี้

 

         ถอด       โดย  ยงยุทธ   ใจคุณ  2 ก.ค.36

         ตรวจทาน 1 โดย  เพียงวัน  8 ก.ค.36

         พิมพ์       โดย  สม.มาบรรจบ

         ตรวจทาน 2 โดย  สม.ปราณี 13 ก.ค.36

 

ที่มา ที่ไป

ธรรมะก่อนฉันโดย พ่อท่าน สมณะโพธิรักษ์ เมื่อวันอังคารที่ 23 มีนาคม 2536


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 09:53:03 )

360817

รายละเอียด

360817 กรรมกำหนดโชคชะตา โดย พ่อท่าน โพธิรักษ์ ณ สันติอโศก

กรรมกำหนดโชคชะตา(อริยสัจ 4) โดย พ่อท่าน โพธิรักษ์ ณ สันติอโศก เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2536

 

         ตอนนี้เราก็มาเรียนรู้เรื่องทั้งโพธิปักขิยธรรม  มาเจาะลึกในเรื่อง"อริยสัจ  4"  อย่างสำคัญ  โพธิปักขิยธรรม ถ้าเราเรียนรู้   แล้วก็เข้าใจความหมาย   เข้าใจหลักการอะไรดี  แล้วเราก็ปฏิบัติจริงในการฝึกฝนทุกอิริยาบถ  ไม่ว่าจะเป็นการคิดนึก การใช้ทางด้านความคิด ทางด้านทางจิต  เรียกว่าสังกัปปะ  

เราสามารถที่จะมีความรู้ มีมุทุภูตธาตุ  มีธาตุจิตที่ธาตุหัวอ่อน  มุทุ มุทุก็อ่อน  ภูตก็

จิต  ภูตินี่ก็จิตวิญญาณ  จิตวิญญาณอ่อน  หรือจิตวิญญาณหัวอ่อน  แต่ไม่ใช่ใจอ่อน ไม่

ใช่จิตอ่อน    จิตดี  แต่ว่ามุทุมันหัวอ่อนอย่างที่ว่านั่นแหละ มีทั้งความแข็งแรง ที่ว่า

หัวอ่อนนี่  มีทั้งความแข็งแรงของประสิทธิภาพทางญาณ   ทางไหวพริบ  ทางความ

แววไว  ที่จะใช้ทั้งสัมผัสแตะต้อง  แล้วก็มาเอามาอ่านตัวเอง   อ่านไปถึงข้างใน  

อ่านทั้งกาย  วาจา  ใจ เมื่อเราฝึกปรือได้มากๆ  แล้วนี่  คุณสมบัติของมุทุภูตธาตุ  

มุทุภูเต  กัมมนิเย  ฐีเต  อเนญชัปปัตเต นี่เป็นองค์ธรรม 4 ของสภาพฌาน  แล้ว

เป็นฌานของพุทธด้วยนะ      ฌานของพุทธด้วย  ฌานที่อื่นจะไม่มี    ฌานที่อื่นจะ

อธิบายองค์ธรรมของฌานเดียวมีวิตก  วิจาร  มีปีติ มีสุข มีเอกัคคตา  เสร็จแล้วก็

อธิบายฌานองค์ธรรม  4  นี้เท่านั้น   ฌานในที่ไหนๆ   ก็อธิบายกัน   จะไม่เอา

ฌานมุทุภูเต    กัมมนิเย  ฐีเต   อเนญชัปปัตเต   ไปอธิบาย   เพราะเขาไม่รู้   

เรียนเดี๋ยวนี้ เรียนฌาน เรียนสมาธิ  ก็เรียนกันมาแค่ฌานสมาธิของฤาษี เป็นตำรา

มาจากฤาษีเสียส่วนใหญ่   เป็นตำรามาจากผู้ที่เพี้ยนไปจากฌานพุทธ

         แต่คำว่ามุทุภูเต  กัมมนิเย  ฐีเต  อเนญชัปปัตเต  นี่มีอยู่ในคำอธิบาย

ในพระไตรปิฎกของพระพุทธเจ้า    พอบอกฌานหรือสมาธิอะไรพวกนี้    ท่านก็จะŠอธิบายลักษณะพวกนี้ไป  แต่คนไม่สะดุด ที่ไม่สะดุดเพราะว่า ไม่เข้าใจสภาพนี้ ไม่มี

ปัญญารู้พวกนี้ เพราะลักษณะฌานฤาษีนี่ จะนั่งสะกดจิต จะไม่มีเอาลักษณะพวกนี้ และ

ขยายคำว่ามุทุภูเตก็ไม่ออก   มุทุภูตธาตุนี้ก็ไม่ออก  ขยายไม่ออกดอก แปลก็ไม่ออก  

ภาษาก็เลยมาเป็นภาษาไทยดื้อๆ

         เพราะฉะนั้น อยู่ในพระไตรปิฎก   จะได้อ่านแต่คำว่าจิต  เมื่อจิตอ่อน  

ควรแก่การงาน   ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว   นี่คือคำ 4 คำจากคำว่ามุทุภูเต   กัมมนิเย 

ฐีเต  อเนญชัปปัตเต  จิตอ่อน  ฟังแล้วก็อ่อนใจเหมือนกัน  พอฟังจิตอ่อน  จิตเป็น

ฌาน   เมื่อจิตอ่อน   ควรแก่การงาน  ก็คือกัมมนิเย  ตั้งมั่น ฐีเต   ไม่หวั่นไหว

ก็อเนญชัปปัตเต  เขาก็จะแปลสำนวนนี้ติดไว้หมดเลยในพระไตรปิฎกนี่ เมื่อพระพุทธ

เจ้าท่านอธิบายถึงตัวนี้เมื่อไร  ใช้สำนวนศัพท์ 4 ตัวนี้เมื่อไหร่ เขาก็จะแปลจิตอ่อน 

ควรแก่การงาน   ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอยู่เท่านี้ ไม่มีการขยายความ   และไม่มีใคร

หยิบออกไปอธิบายได้

         อาตมาเป็นคนสะดุด   สะดุดเองว่า อ้อ ฌานที่มันถึงเป๋ไป เพราะอันนี้

เองเขาก็อธิบายไปแค่ถ้าจิตเป็นฌาน  ก็คือจิตจะต้องมีฌาน 1 ฌาน 2 ฌาน 3 ฌาน 

4  แต่ไม่มีคุณลักษณะยิ่งใหญ่ 4 ตัวนี้เข้าไปอธิบายเลย 2-3-4 จะเป็นอย่างไร  ก็

ไปอธิบายกันแยกไปเป็นพระอภิธรรม  แบ่งเป็น 5 วิตกตัวหนึ่ง วิจารตัวหนึ่ง ปีติตัว

หนึ่ง  สุขตัวหนึ่ง  เอกัคคตาหรืออุเบกขา   อุเบกขาก็เอาไปร่วมอะไรต่อเมื่อเป็น

ฌาน  3ขึ้นไปก็คือว่าเป็นอุเบกขา เรียกว่าวางได้  ปล่อยได้ หรือว่าเฉย วางเฉย

ได้   ก็มีคุณลักษณะที่มันเริ่มเฉยละ  พอล่วงเข้าสภาพธรรมของฌาน ที่ 3  มันจะมี

ความวางเฉยลงไปได้   สงบไปได้มาก  จึงเข้าไปเรียกเรียกว่าเมื่อสงบลงได้พอ

สมควรก็เป็นสุข   มีอุเบกขาสุข มีอุเบกขาอยู่ รวมว่าเป็นวางเฉยอยู่ก็เอาอุเบกขา

ไปอธิบายร่วมตั้งแต่ว่าจะมีคุณลักษณะอีกอย่างหนึ่ง   วางเฉยได้อยู่ตั้งแต่ฌาน 3 ไป

จนหาฌาน 4  อย่างนี้เป็นต้น  ก็ถูก ลักษณะอย่างนั้นก็ไม่ได้มีปัญหาอะไร   แล้วก็มี

ความหมายที่ดี

         เพราะฉะนั้น   เมื่อเราไปฝึกทางพุทธดีแล้วนี่ เราจะเข้าใจมุทุภูตธาตุ  

ฌานของพุทธ   ฌานลืมตานี่ จิตจะแววไว  จิตจะหัวอ่อน แววไว  มีสภาพที่รับรู้ได้

เร็ว วิจัยได้เร็ว  มีธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์คล่อง  หรือมีสัมมัปปธาน 4 ได้คล่องแคล่ว  

มีกำลังของอิทธิบาท  หรือกำลังของวิริยสัมโพชฌงค์สูง มีวิริยะ มีการเอาใจใส่  มี

วินิจฉัยพิจารณา มีวินิจวิเคราะห์  มีธัมมวิจัยพร้อมสรรพอยู่ในนั้น 

Š         เพราะฉะนั้น    การสังวร  การปหาาน   การทำให้ได้เกิดผล   มี

สังวรปธาน  มีปหานปธาน  มีภาวนาปธาน ทำให้เกิดผลได้สมบูรณ์แบบ   แล้วก็ยัง

สามารถรักษาผล   อนุรักขณาปธานพร้อม   มีอิทธิบาท   มีความยินดี    มีความ

เบิกบานร่าเริงใจยินดีที่จะปฏิบัติธรรม   ใส่ใจ ไม่เฉื่อย   จิตเป็นจิตผู้ที่บันเทิงใน

ธรรม หรือรื่นเริงในธรรม ร่าเริงในธรรมนี่ เบิกบานในธรรมนี่ จะเป็นจิตที่หนักก็สู้  

เหมือนกับคนในโลกๆโลกีย์นี่  เมื่อเขาได้ลาภ   ยศ สรรเสริญ   เขาได้ว่า  โอ 

กำลังรุ่งเรืองเลยนะ   เจริญด้วยลาภ  เจริญด้วยยศ   เหนื่อยเท่าไหร่เขาก็ยินดี  

เพราะว่ามัน  แหม มันฟูใจ เมื่อได้ลาภ  ได้ยศ  ทำงานขยันหมั่นเพียร   เหนื่อย

เท่าไหร่  ก็ โอย  อุตสาหะ  วิริยะ  จิตใจมีขมีขมัน  กระตือรือร้น   ขวนขวาย  

เป็นคนไม่ขี้เกียจ  ไม่เฉื่อย  ไม่เนือย    ฉันใดก็ฉันนั้น   ผู้ปฏิบัติธรรมได้ผล  มี

ประโยชน์ก็จะรื่นเริงในธรรม   เบิกบานในธรรม   จะเรียกว่าฟูใจก็ได้    เป็น

วิภวตัณหา มันจะเป็นอิทธิบาทเจิรญ อิทธิบาทนี่ จะเจริญเลย  วิภวตัณหานี่นะสภาวะ

ของมัน    สภาวะของวิภวตัณหานี่   เมื่อเวลาเข้าใจวิภวตัณหาดีๆแล้ว   สภาวะ

วิภวตัณหาของผู้มีสัมมาญาณ   คือมีญาณที่ถูกทาง  มีปัญญา มีญาณที่ถูกทาง   เฉลียว

ฉลาด  เข้าใจ  แล้วก็จับสภาวะ   อ่านสภาวะได้ลึกซึ้งละเอียดแล้วนี่  วิภวตัณหา  

สภาวะวิภวตัณหาของผู้มีสัมมาญาณนั้นเทียบได้กับอิทธิบาท 4  เทียบได้กับอิทธิบาท 4 

มันจะนำพาไปให้เจริญด้วยกัมมนิยะ     จนถึงขั้นกัมมัญญา   มันจะทำให้จัดสรรใน

เรื่องของการงานก็พร้อม  ปฏิบัติธรรมก็พร้อม  เหมือนโคแม่ลูกอ่อน  ที่เล็มหญ้าไป

พลางชำเลืองดูลูกไปพลาง  เลี้ยงลูกไปพลาง เหมือนโคแม่ลูกอ่อนโน่น  ที่ชำเลือง

เลี้ยงลูกไปพลางแล้วก็เล็มหญ้าไปพลาง   มีประโยชน์ตน   มีประโยชน์ท่าน    มี

ประโยชน์ผู้อื่นพร้อมไปในตัว  การงานนี่ เราทำสร้างสรรขึ้นมา  มันเป็นประโยชน์

ผู้อื่น ที่เรียกว่าประโยชน์ผู้อื่น  เพราะว่ามันสร้างสรรการงานขึ้นมาแล้วมันมีมาก มี

ผลมาก    เราก็แบ่งกินแบ่งใช้ในการงานที่เราทำนี่แหละ   แต่เราเป็นคนกินน้อย  

ใช้น้อย เพราะฉะนั้น ผลผลิตของเราจะเหลือเยอะ  เหลือเยอะ ก็เป็นบุญเป็นกุศล 

ก็เกื้อกูล   แจกจ่ายเจือจานคนอื่นก็ได้ใช้  ได้กิน จากผลงานหรือผลแรงงาน  ผล

จากประสิทธิภาพที่เราใช้เราทำจริงๆ 

         เพราะฉะนั้น   คนที่เข้าใจการงาน แล้วก็เอาใจใส่การงาน  เป็นคน

มีอิทธิบาท  ยินดีในการงาน  วิริยะพากเพียรในการงาน ไม่เบื่อ  ไม่เซ็งการงาน 

ไม่เบื่อไม่เซ็ง แล้วยิ่งมีปัญญาแหลมลึกด้วย  รู้จักเศรษฐศาสตร์ของการงาน   รู้จักŠดีมานด์  (demand)  รู้จักซับพลาย (supply)  อย่างถูกต้อง ตามยุค  ตามสมัย  

ตามหมู่กลุ่ม   ตามสถานที่สิ่งแวดล้อม  คือกาโย   รู้จักกาย   รู้จักองค์ประชุมที่ดี  

องค์ประชุมกว้างด้วยไม่แคบ  องค์ประชุมกว้างไปจนถึงสังคมส่วนนอก  สังคมที่เรา

อยู่ส่วนในก็รู้ซ้อน  สังคมส่วนลึกส่วนตื้นรู้ดี  เพราะองค์ประชุมส่วนลึกส่วนตื้นซับซ้อน

อยู่อย่างไรรู้ได้ดี   เป็นคนมีภูมิปัญญาในกาโย หรือกาย กายในกาย  กายนอกกาย 

กายในระดับนามธรรม   กายในระดับวัตถุธรรม  รูปธรรม   สัมผัสแตะต้องเกี่ยว

ข้องทั้งพฤติกรรม ทั้งกิจกรรม ทั้งพิธีกรรม  พฤติกรรมก็รู้หมด กายกรรม  วจีกรรม 

รู้เท่าทัน  แม้แต่มโนกรรม  มีเจโตปริยญาณในนั้น  โดยเฉพาะวิจัยเวทนาออกได้ดี  

เวทนา 2 เวทนา 3 เวทนาในระดับกาย เวทนาในระดับจิต เรียกว่าเวทนา 2 นี่

ทบทวน   ฟังหมดหรือยังล่ะ เวทนา  ก็ฟังมาแล้วแหละ  อธิบายมาหลายเที่ยวแล้ว 

แม้ตอนนี้  จะเอากลับมาอธิบายไล่เรียงอะไรอีกก็ส่งมาจากโน่นอยู่แล้ว  เริ่มต้นไป

อย่างกับหลายม้วนแล้ว  เวทนา 2  กายกับจิต  เวทนา 3 ก็สุข ทุกข์ แล้วอทุกขม

สุข  หรืออุเบกขา เวทนา 3 เวทนา 5 ก็เป็นกำลังของเวทนา เรียกว่าทุกขินทรีย์  

สุขินทรีย์   โทมนัสขินทรีย์  โสมนัสขินทรีย์  อุเบกขินทรีย์  

         อินทรีย์ แปลว่ากำลัง  อินทรีย์ของสภาวทุกข์  อินทรีย์ของสภาพโทมนัส  

ก็คือทุกข์  มันก็เป็นกำลังหรือน้ำหนักของความทุกข์อันหยาบ อันมาก อันแรง เราก็รู้

ในทุกข์   น่ะทุกข์มาก  ทุกข์ปานกลาง  โทมนัส   ทุกข์อยู่แต่เพียงนัยๆ   หรือไม่

ทุกข์อุเบกขา   ไม่ทุกข์ไม่สุขเฉยๆ หรือสุข สุขินทรีย์ หรือแค่โสมนัส  หรือไม่สุขไม่

ทุกข์ อุเบกขา ก็รู้ลำดับของมันหมด รู้น้ำหนักของมันหมดว่าจะเป็นทุกข์  ทุกข์จะหนัก  

ทุกข์แรง   ทุกข์กำลังสูง  ทุกข์ฤทธิ์มาก ทุกข์แรงมาก  หรือทุกข์ขนาดไม่แรง  ไม่

หนักนัก  หรือไม่ทุกข์เลย  เฉยๆ หรือสุข สุขอย่างแรง  หรือไม่แรง  เป็นโสมนัส

เท่านั้น  หรือว่าอุเบกขา นี่เป็นกำลังของสุข ทุกข์ เวทนาวิจัยออกว่าเวทนานี้ เป็น

เวทนาที่มีสุขินทรีย์  เวทนาโสมนัสขินทรีย์เวทนา  หรืออุเบกขินทรีย์เวทนา   หรือ

ทุกขินทรีย์เวทนา  หรือโทมนัสขินทรีย์เวทนา หรืออุเบกขินทรีย์เวทนา   เวทนา 6 

ก็จากทวารทั้ง 6 ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จักขุ โสตะ  ชิวหา ฆานะ ผัสสะ  จน

ถึงธรรมารมณ์ในทวาร ทวารทั้ง 6  มันเกิดมาจากทวารนี้  เกิดสุข  เกิดทุกข์จาก

ทวารตา  มันก็จะรวมกันไปเลยทีนี้  แล้วก็มาวิเคราะห์ไปเสียแค่ 3 เสียก่อน  แต่

แค่สุข ทุกข์  กับอุเบกขา ถ้าจะเอาทั้ง 5 ก็ได้ ถ้าจะให้มันละเอียด แต่เราอย่าไป

เก่งกว่าพระพุทธเจ้าเลย

Š         พระพุทธเจ้าไม่ได้อธิบายไว้ถึงขนาดนั้น   เอา 5 ไปคูณกับ 6   เรา

เอา 5  กับ 6  คูณกันเข้า มันก็จะมากกว่า 18   พระพุทธเจ้าเอาแค่ทวารทั้ง 6

คูณกับทุกข์  สุข  อุเบกขา  เป็น  18  ก็เรียกว่าเวทนา  18  ถ้าเราจะไปแยก

เป็นทุกข์   สุข  นั่นไปเป็นละเอียด เป็นโทมนัส   เป็นโสมนัสอีกด้วย    เป็น 5 

ก็เอา  5 ไปคูณ 6 เป็น 30 เอาเลย  อาตมาว่าไม่ผิด   พระพุทธเจ้าก็คงไม่ว่า

อะไร แต่ว่าท่านไม่ได้แบ่งได้ถึงขนาดนั้น  แบ่งทุกข์กับสุขไม่ทุกข์ไม่สุข  แค่ท่านแบ่ง

ไว้  3 แล้วเอา 3 มาคูณกับ ทวาร 6 แล้วเป็นเวทนา 18  ก็ใช้ได้   จริงๆแล้ว 

เราพิจารณาเวทนา  3 ที่อาตมาสอนมาเสมอๆนี่ แค่ 3 นั่นแหละ วิจัยให้เป็นก็แล้ว

กัน    วิจัยให้ออก   ใช้มุทุภูตธาตุฝึกมุทุภูตธาตุของคุณให้เก่ง   มุทุภูตธาตุคุณเก่ง

พร้อมพรักไปกับกัมมนิยะ      พร้อมๆกันไปกับกัมมันตะ      การกระทำทั้งหลาย  

เมื่อกัมมันตะนี่ฝึกเพียรไปทั้งสังกัปปะ   วาจา กัมมันตะ  แล้วก็อาชีพการงาน การ

กระทำประจำวันของเราไปเป็นชีวิตประจำวัน  สัมมาอาชีพ  ทำไปแล้วก็เก่ง  ทำ

งานได้หลายชนิดเสียด้วย ก็ยิ่งดี เป็นคนมีความสามารถมาก ทำงานอยู่อย่างเดียวก็

ดี    มันก็ชำนาญอย่างเดียว  แคล่วคล่องอย่างเดียว   ผลัดแบ่งไปทำงานอื่นบ้าง  

ชำนาญงานอื่นอีก  ก็มีความสามารถอื่นอีกก็ได้ประโยชน์มากกว่านั้นอีก   เราก็เป็น

นักเศรษฐศาสตร์ที่สามารถที่จะทำงานอะไรอื่นๆได้หลายด้าน   ทำงานอื่นๆได้หลาย

ด้านเหมือนกัน  แต่ชำนาญอย่างเดียวก็ดีเหมือนกันน่ะ เวลามันมีเท่ากัน  

         เพราะฉะนั้น   ถ้าเผื่อว่าเราแบ่งไปทำงานอย่างเดียว  มันก็ได้อันนั้น

มาก   ถนัด ชำนาญ  แคล่วคล่อง เก่ง แค่แบ่งไปได้ถ้าจริงๆแล้วคนเราสามารถที่

จะฝึกหรืองานอื่นเพิ่มเติม เชี่ยวชาญในชีวิตนี้ทั้งชีวิต ไม่ใช่ว่ามาฝึกได้งานเดียว ถ้า

มันไม่มีใครทำงานนี้ได้เลยจริงๆ เราก็ต้องรับผิดชอบ ก็เข้าใจ ถ้าเราทำงานหลาย

ด้านอย่างนี้เป็นต้น มันก็ฝึกฝนไป

         ในการทำงานหรือในการมีคุณภาพที่คนอื่นได้พึ่ง      แล้วเราก็จะเกิด

มานะก็ได้    หรือเราเองทำงานแล้วเราก็รู้ว่าเราปฏิบัติธรรม   อ่านเป็นปรมัตถ์  

อ่านจิต  อ่านกิเลส ละลดกิเลสเราได้ด้วย เกิดฌาณ  เกิดปัญญาเฉลียวฉลาดขึ้นมา 

การเฉลียวฉลาดที่ว่านี้   เกิดญาณ ปัญญานี่เฉลียวฉลาดในการเป็นปรมัตถ์  ในการ

เรียนรู้กิเลสจิตใจแล้วเราก็ทำได้เก่งขึ้นมา เกิดมานะก็ได้

         คนที่ทางโลกเขาก็เรียนรู้   เขาฏ็จะเรียนรู้เรื่องความรู้กับการกระทำ  

คนที่มีความรู้มากๆ  เกิดมานะทำไม่ค่อยเป็นดอกก็มี  คนที่ทำเป็นเก่งๆ   ไม่ค่อยมีŠความรู้ทางทฤษฎีมากมาย  ความรู้ ความเฉลียวฉลาดทางทฤษฎีไม่ค่อยคล่อง แต่ทำ

เป็น  ทำเก่ง   เฉลียวฉลาดกับงานจริงๆ มีงานประกอบเลย ถ้าไม่มีงานประกอบ  

เอาแต่คิด  เอาแต่ทฤษฎี เอาแต่หลักการ มีแต่คำนวณในเรื่องความคิด ไม่เก่ง แต่

เก่งถ้ามีองค์ประกอบของวัตถุรูป     ได้ทำกายกรรมอะไรประกอบด้วยแคล่วคล่อง 

ชำนาญเก่ง   คนหนึ่งเก่งปฏิบัติ   คนหนึ่งเก่งคิด   ก็เป็นมานะได้ทั้งคู่ในทางโลก  

ในทางธรรมก็เหมือนกัน  ในทางธรรมะ ถ้าแบบมิจฉาทิฏฐิ ก็ปฏิบัติธรรมก็ไปเอาแต่

นั่งเจโตบ้าง  ปฏิบัติธรรมหลีกลี้หนีไปไม่ค่อยทำงานทำการอะไร เอาแต่ปฏิบัติอย่าง

ปฏิบัติทฤษฎีฤาษี   ทฤษฎีก็ไม่เก่ง เป็นพระเขาก็เรียกแบ่งเป็นพระป่า  เป็นพระป่า 

อรัญญวาสี   ส่วนพระอีกชนิดหนึ่ง   หรือนักปฏิบัติอีกชนิดหนึ่ง   ก็เอาแต่อยู่กับบ้าน

นั่นแหละ  เรียนรู้แต่แค่ปริยัติ  เรียนรู้แต่ทฤษฎีภาษาอะไรเก่ง  ชำนาญในการเก่ง  

ก็เหมือนกันกับนักวิชาการ กับนักลงมือทำ คนที่ทำงานด้วยมือ  คล้ายกัน อันนี้ก็ได้แต่

วิชาการ  เป็นคามวาสี   เจริญก็มีมานะได้ทั้งคู่   มีมานะได้ทั้งคู่   มีค่อนๆทั้งจะ

มิจฉาทิฏฐิอยู่ ค่อนๆจะไม่สัมมาทิฏฏฐิ  ค่อนๆจะไม่ตรงนัก  ปฏิบัติธรรมที่ยังเพี้ยนอยู่

บ้างเป็นพระป่าไป เป็นพระบ้านไป  ไม่เข้าเรื่องกัน

         ทีนี้มาเป็นพุทธ   น่ะมาเป็นพุทธ พุทธถูกทางด้วย  ก็ยังมีการมีมานะได้  

พุทธถูกทาง   ทฤษฎีก็ศึกษาได้  ปฏิบัติก็ปฏิบัติดี  ทำงานได้ ทำงานดี  อย่างที่พวก

เราพาทำนี่  แต่ก็ยังมีส่วนเอียง  มีสวนเอียง หรือมีจริต  จริตบางคนก็ชอบทำงาน  

เพราะฉะนั้น  ทฤษฎีก็หย่อนหน่อย   จริตบางคนก็ชอบแต่เรียนทฤษฎี   งานก็หย่อน

หน่อย   ก็มีมานะตีกัน    นอกจากจะไปตีชาวบ้านเขาแล้ว   มานะนี่ใหญ่กว่าเขา

หมดน่ะ   พวกพุทธนี่ พุทธถูกทางด้วยนะ  สัมมาทิฏฐิด้วยนี่ใหญ่กว่าเขาหมด  ตีชาว

บ้านที่เป็นฆราวาส  เอ็งก็แย่งลาภ แย่งยศกัน  เอ็งก็เป็นนักวิชาการ   เอ็งก็ดูถูก

กรรมกร หรือนักปฏิบัติ  นักลงมือทำ เอ็งเป็นนักลงมือทำ  เป็นนักผลิต เอ็งไม่ค่อย

คล่องในเรื่องของปัญญา  ในเรื่องความแววไว ในจิตวิญญาณ  เอ็งก็ไปเที่ยวได้ว่า

นักวิชาการเขา  ก็ว่าชาวบ้านเขามานะก็ใหญ่นะ พุทธน่ะ มันรู้มาก เที่ยวไปว่าชาว

บ้านเขาได้   หรือนักปฏิบัติธรรมที่ผิดๆ น่ะไปว่าฤาษี   ไปว่าพระอรัญญาวาสี  ไป

ว่าพระคามวาสีเขา   พวกนั้นน่ะ  ไม่ถูกหรอก  เพี้ยน เป็นนักปฏิบัติเพี้ยน   แล้ว

ก็เพี้ยนจริงๆด้วยน่ะ    เอ็งรู้มาก   ฆราวาสปุถุชนก็ว่าเขา  นักปฏิบัติอาจจะเป็น

กัลยาณชนน่ะ ในระดับกัลยาณชนก็ว่าเขา หรือไม่กัลยาณชนพวกนักปฏิบัติธรรมนนี่เป็น

จอมโจรบัณฑิตด้วยก็ได้  น่ะเป็นจอมโจรบัณฑิตทั้งพระป่า  เป็นจอมโจรบัณฑิตทั้งพระŠบ้านหรือพระโยคาวจรไม่เป็นพระก็ตาม เป็นฆราวาสก็ตาม  เป็นฆราวาสแล้วปฏิบัติ

ธรรมเป็นพระโยคาวจร    ก็เป็นอย่างฤาษี  เป็นผู้เพี้ยนออก  พุทธมีปัญญาพอ รู้ก็

ไปว่าเขา ข่มเขา  ดูถูกเขา  ยกตน ยกตัวยกตน  ก็เป็นมานะ  มานะอย่างนั้นทั้ง

หมด  ใหญ่กว่าเขาทั้งหมดทั้งฆราวาส  ใหญ่กว่าเขาทั้งปฏิบัติผิด  มาใหญ่กว่าหมู่กัน

เองอีก   มันใหญ่มากกว่าเขาเยอะนะ  พุทธที่ถูกต้อง  ถูกทางด้วยก็ตาม  ถ้าไม่รู้

ตัวแล้วก็จะใหญ่กว่าเขาหมด    เหมือนกับอย่างทางด้านนอกเขาหมั่นไส้   หมั่นไส้

อาตมา มันรู้อยู่คนเดียว มันเก่งหมด  มันถูกทางหมด   มันว่าเขาไปหมด มันจริงๆ 

ว่าเขาไปหมด   นี่ อาตมาโดนเขาว่าเขาไปหมดนั่นแหละ  จริงบมันถูกอยู่คนเดียว   

อาตมาก็ว่าอาตมาถูกคนเดียวนะ

         ทีนี้  พวกเราเองก็ดูถูก   ดูแคลนกัน  จริตต่างกัน จริตเจโต   จริต

ปัญญา หรือจริตศรัทธา  จริตปัญญา  คนถนัดทำงานก็ทำงาน  เสร็จแล้วก็หลงมานะ

ในงานของเรา   แล้วเราก็ไม่ถนัดทางด้านทฤษฎีทางด้านเล่าเรียนภาษาปริยัติ  ก็

ว่าพวกปริยัติเขา ว่าพวกทฤษฎีเขา  ว่าพวกนักคิด

         ทีนี้พวกเรานักคิด   ในถนัดทางลงมือก็ทำ ก็ว่าพวกนี้ว่า คิดเอาแต่ข้าง

นอก  เห็นไหม?   ประเดี๋ยวก็สึกแล้วๆ  ไม่รู้ว่าใครสึกมากกว่าใคร   พวกนักคิด

กับพวกลงมือทำงาน  นี่ก็เห็นลึกกับไปทั้งนั้นแหละ  แต่เสร็จแล้วก็มองเอียงไปข้างที่

ตัวทำงานที่ตัวเองถนัด

         ทีนี้ไอ้เรื่องทำงานนี่ มันเห็นรูปชัดลงมือทำนี่มันเห็นรูปชัด ไม่ใช่ลงมือทำ  

เอาแต่คิดก็ใช้ได้เอาแต่แค่คิดก็เห็นรูปชัดเหมือนกัน  พวกลงมือคิด  พวกเอาแต่คิดๆ

นี่ก็เห็น พวกคิดๆ  นี้ขึ้นมาจะพูดเก่ง  พวกเอาแต่คิดนี่มักขี้จะมักพูดเก่ง สอนเก่งทั้ง

นั้นแหละ   ลงมือทำก็ไม่ค่อยทำ  พูดได้ดี พูดได้เก่ง  สาธยายได้เก่ง   

         เพราะฉะนั้น   พวกคิดกับพูดนี่ จะอยู่ด้วยกัน  พวกคิดกับพูด  แต่ลงมือ

ทำนี่ไปค่อยจะไปเข้ากับภายนอกเขาดอก ได้แต่คิด ได้แต่พูด  

         ทีนี้   ทั้งนักคิดทั้งพูดนี่ มันค่อยจะมีกำลัง  มันสอง คิดก็เก่ง  พูดก็เก่ง  

มันก็เลยได้พวกเยอะ   ส่วนพวกแต่ทำ  คิดไม่ค่อยเก่ง     มันก็เลยได้พวกเยอะ 

ส่วนมากแต่ทำ   ทั้งคิดไม่ค่อยเก่ง    มันมีพวกน้อย  เพราะมันทำเหมือนลงมือทำ

อย่างเดียว  พวกนี้ แพ้มาแต่ละคนๆ พวกเอาแต่คิด  พูดไม่เก่ง คิดไม่เก่ง  แพ้มา

แต่ไหนๆ   พวกคิดก็ไม่เก่ง ได้แค่คิคก็ช้า  ทำไม่ค่อยเก่ง ไม่ค่อยเอาถ่าน ไม่ค่อย

แข็งแรง  ไม่ค่อยคงทนทำไปก็ไม่ค่อยสู้ พวกนี้จะช้ากว่าเพื่อน จะช้ากว่าเพื่อน  มันŠไม่แววไวสักอย่าง  ไม่มีอินทรีย์พละสักอย่าง  

         เพราะฉะนั้น  ถ้าผู้ใด  เอาแต่ทำเก่ง ก็จะมีผล แล้วพวกที่คิดก็ได้เก่ง  

ทำก็ไม่เก่ง    พูดก็ไม่เก่งนี่นะ จะไม่ค่อยสึก จะอยู่ทน ทำก็ไม่ค่อยเก่ง เขาไปถึง

ไหนๆ  แล้วก็ เออ พวกนี้ไม่ค่อยสึกหรอก อยู่ได้นาน อย่าหลงว่าแน่ละ ไม่แน่หรอก 

ช้าเนิ่นช้า ยังไม่เข้าหลักของพระพุทธเจ้าเท่าไรหรอก   ธรรมใด วินัยใด   เป็น

ไปเพื่อความเนิ่นช้า ธรรมนั้นวินัยนั้น ไม่ใช่ของเราตถาคต    บางทียังไม่เข้าเขต

พระพุทธเจ้าด้วยซ้ำ ยังไม่ใช่ธรรมะของเราตถาคต   แสดงว่า ยังไม่เข้าเขตของ

พระพุทธเจ้านะ  พวกนี้ช้าแล้วไม่ค่อยสึกหรอก ฝากไว้กับอโศกก็พอได้   ไปฝากไว้

กับฤาษีก็พอได้ ไปฝากไว้กับวัดในคามวาสี  ในเมืองนี้ก็ได้  พวกนี้นี่ ไม่ค่อยรู้เรื่อง 

เท่าไรๆทำงานก็ไม่ค่อยเก่ง  ไปอยู่เป็นฤาษีก็พอได้    เพราะว่างานก็ไม่ค่อยมาก

         มาอยู่กับอโศกนี่กลับจะอยู่ยากกว่าด้วย  ถ้าอยู่กับฤาษี อยู่กับแต่จะอยู่กับ

ทางสายโน้นเขาก็ทำงานเหมือนกันนะ  สายคามวาสี   แต่เป็นงานที่มันก็นอกเรื่อง

มากหน่อยละ  ก็เยอะก็งานแบบโลกๆ  ของเขามีลาภ มียศ  เขามีกาม มีอะไรต่อ

อะไรมากเหมือนกัน ล่อแหลมกว่าอยู่กับพวกเรา นับซับซ้อนพวกนี้มีอีกเยอะมีมากมาย

         สรุปแล้ว  อาตมาบอกอธิบายมา แม้แต่คนที่เขาไปมอง  ถ้าเผื่อว่าเรา

เกิดเรียนรู้แล้วไปมองปุถุชนเขา ไปมองฆราวาส   ไปมองคนธรรมดาพื้นฐาน   ก็

ว่าเขาต่ำ  ไปมองผู้ที่ปฏิบัติผิด  จะเป็นสายทำงานหรือเป็นสายนึกคิด สายวิชาการ

กับสายกรรมกร  เรียกให้ชัดๆ  เสียเลย  สายนักวิชาการกับสายกรรมกรก็ไปมอง

เขามีมานะ  ข่มเขา มาอยู่ในหมู่ผู้ปฏิบัติถูกปฏิบัติดี  ก็มามีมานะในนี้อีกด้วย  

         เพราะฉะนั้น   ผู้ที่ใหญ่ๆ อย่างนี้ส่วนมาก  จะอยู่ไม่ค่อยได้  ใหญ่มาก

อย่างนี้      อยู่เป็นหนึ่งในคลองไม่ได้ก็ไปเป็นสองในทะเล     ออกไปอยู่กับหมู่

ส่วนนอกเขา เป็นสองในทะเลก็นึกว่าตัวเองเป็นหนึ่ง    เป็นหนึ่งในคลองไม่ได้นะ

ก็ไปเป็นสองในทะเล  ก็ไปยกตัวยกตนเป็นหนึ่งในทะเลอยู่นั่นแหละ      นี่มันซ้อน

อย่างนี้   ถ้ามีมานะก็อยู่ได้เลย ในโน้นเป็นทะเลก็เราเก่งนี่ก็จากนี้ไปแล้ว ก็ทำไม

มันจะไม่เก่งล่ะ    แต่ก็ไม่รู้ตัวดอก  ว่าตัวเองอยู่อย่างนั้น   แต่ถ้าเผื่อว่าผู้ใดดูดี

แล้วว่า เอ๊ นี่มันไม่ไร้ประโยชน์นะ เรามีเวลาเราก็ไปทำงาน ลาภ ยศ สรรเสริญ

อยู่กับเขานั่นแหละ

         แต่ที่จริงแล้ว  มันมีอยู่ทั้งนัยที่ดี และนัยที่ไม่ดี    ถ้านัยไม่ดีก็คือไปเป็น

ใหญ่ในทะเลนั่นแหละ   ก็สอนรเขาก็อะไร ได้เป็นใหญ่ในฐานะนักปฏิบัติธรรมก็มีภูมิŠธรรมพอสมควร   แล้วเราก็เป็นใหญ่  ใช้วิธีที่เฉลียวฉลาดของตนเอง    จะถนัด

ทางลงมือทำ  หรือทางถนัดวิชาการก็ตาม  ก็เลยไปเป็นระดับอยู่ในนั้นก็เป็นใหญ่ได้  

จะเป็นสายวิชาการ  หรือจะเป็นสายนักลงมือทำ กรรมกรเลย  ก็เป็นใหญ่   เป็น

หัวหน้าสมาพันธ์กรรมกกรไปได้เลย      หรือเป็นนักวิชาการก็เป็นหัวหน้าในนักคิด  

เดี๋ยวนี้ ก็มีนักคิดระดับนำหน้าอยู่เยอะแสดงออกคิดโอ้ย นักวิชาการคิด  แล้วก็ผนวก

เอาเนื้อธรรมเข้าไปด้วย   ก็เลยเป็นนักคิดชั้นสูง   ผนวกเนื้อธรรมะเข้าไปเยอะ   

เป็นนักคิดของสังคม   เป็นนักวิชาการของสังคม  หรือนักลงมือทำจริงๆ  แบกหาม

ทำจริงๆ แต่ก็ซ้อนเชิงอยู่ในนักคิดนั้นแหละ  ก็เป็นนักคิดอยู่ในนักอยู่ในกรรมกร เป็น

หัวหน้าสมาพันธ์กรรมกร  เยอะด้วยน่ะ  ก็เป็นหัวหน้าใหญ่เลย สมาพันธ์กรรมกรก็มี

มากสมาพันธ์   แล้วแถมเป็นผู้นำสมาพันธ์หัวหน้าสมาพันธ์กรรมกรกี่สมาพันธ์ก็แล้วแต่ 

อยู่ในประเทศแน่ะ  ใหญ่ไม่ได้  ซ้อนพวกนี้ซ้อน แล้วจะเอียงไปข้างไหน   ก็เอียง

ซ้อนไปอีก  หัวหน้าสมาพันธ์แต่ก่อนก็เป็นกรรมกรลงมือทำ หนักๆเข้าก็เป็นนักคิดทาง

กรรมกร   หนักเข้าก็ไม่ได้เป็นแค่นักคิด  กรรมกรกไม่ต้องลงมือทำเหมือนกับอย่าง

กรรมกรแท้อะไรอย่างนี้เป็นต้น  ก็ได้น่ะ

         อาตมาวิเคราะห์ให้เห็น     อัตตามานะตัวร้ายพวกนี้   แทรกซ้อนอยู่

เยอะแยะ   เพราะฉะนั้น  เราจะไปอยู่ที่ไหนก็ตาม  ถ้าเราเรียนรู้อัตตามานะไม่

ได้ อาศัยอัตตามานะอยู่และได้สมใจได้นะอยู่รอด นั่นแบบโลกีย์ อาศัยอัตตามานะอยู่

แล้วเอาชนะเขาได้   นำได้ ก็อยู่รอดเป็นหัวโจก  ก็อยู่รอดไม่ว่าจะสายฤาษี  ไม่

ว่าจะสายนักวิชาการ   ไม่ว่าจะสายกรรมกร  ไม่ว่าจะสายนักวิชาการ  ไม่ว่าจะ

สายอะไรก็แล้วแต่ 

         ทีนี้จะอยู่กับพุทธนี่รู้หมด   รู้หมด  ที่อาตมาอธิบายนี่พวกคุณจะค่อยๆรู้ไป

เรื่อยๆ   รู้หมด   ที่พูดไปนี่หลายๆอย่างเราก็พลาด  พลาดในแนวที่พูดทั้งนั้นแหละ  

เอาไปคิด   เอาไปไตร่ตรอง เอาไปตรวจตรา   เสร็จแล้วก็เรียนรู้ในนี้นี่แหละมี

ครบ จะเป็นสายนักวิชาการ  จะเป็นสายลงมือกระทำ จะเป็นอรัญญวาสี  เป็นคาม

วาสี  เป็นพระโยคาวจรปฏิบัติด้วย  หรือว่าไม่เป็นฆราวาสลงมือทำงานอย่างเดียว

ก็ตาม   มันจะพร้อมอยู่ในมุทุภูเต  กัมมนิเย  กัมมนิเย  คือการงาน  มุทุภูเต  ก็

คือนักธรรมะ 

         ฟังให้ดีนะ    มุทุภูเต    คือเราแยกเป็นสัจจะ   ก็เป็นปรมัตถสัจจะ  

กัมมนิเย จะแยกก็คือสมมติสัจจะ  เพราะฉะนั้น  สัจจะ 2 อย่าง นี้นี่อยู่ในนี้มีหมดŠ         เพราะฉะนั้น การงานสมมติสัจจะจะเป็นกุศลทางโลกเป็นคุณค่าทางโลก 

เป็นประโยชน์ทางโลกของการงาน   อยู่ในนี้หมด  รู้การงานดี    รู้จักเศรษฐกิจ 

เศรษฐศาสตร์ รู้วิชาการเรื่องนี้ การงานนั้นการงานนี้พร้อมอยู่ในกัมมนิยะทั้งนั้น

         ส่วนมุทุภูตะ ก็สภาพของปรมัตถ์  เรียนรู้จิตใจ จิต เจตสิก รูป นิพพาน  

เรียนรู้อ่านจิต  อ่านใจ  วิเคราะห์จิต  วิเคราะห์ใจออกพร้อม   รวมกันแล้วเป็น

สองสัจจะอยู่ในอันเดียวกัน  เพราะฉะนั้น  ผู้ที่เรียนรู้ดี รู้จริงก็รู้ทั้งการงาน  รู้ทั้ง

จิตวิญญาณ   รู้ทั้งพฤติกรรมกาย วาจา ใจ รู้ทั้งผัสสะที่เป็นกาโยองค์ประชุมนอกใน  

วัตถุ   พฤติกรรม รูปร่าง   การงาน จนกระทั่งถึงพิธีกรรมต่างๆ     พฤติกรรม

กิจกรรม พิธีกรรมรู้ เข้าใจกรรมหมด เพราะฉะนั้น รวมลงแล้ว  จริงๆมันรวมลงที่

กรรม มุทุภูตธาตุก็กรรม  กัมมนิยะก็กรรม 

         เพราะฉะนั้น  กัมมันตะ นี่จึงบอกแล้วไม่รู้กี่ครั้งว่า กัมมันตะไม่ได้หมาย

ความว่า   กายกรรมเท่านั้น  ก็ถ้าเผื่อว่าจะบอกสังกัปปะ  วาจา  กายกรรมก็ได้ 

สัมมาสังกัปปะ   สัมมาวาจา  สัมมากายาก็ได้ ถ้าท่านจะเอาบอกว่ากรรมนี้คือกาย  

แต่ท่านไม่ได้ใช้ศัพท์คำนี้ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมาวาจา  ก็รู้อยู่แล้ว วาจา

คือคำพูดตรงธรรม  สัมมากายะ หรือ สัมมากายาก็ได้   ไม่ต้องเอาสัมมากัมมันตะ  

กรรมก็คือกรรมนี่แหละ   ไม่ใช่คำอื่นดอก      รากศัพท์มาจากกรรมพยัญชนะตัวนี้ 

นักบาลีอย่างไรก็แล้วแต่   แต่เขาขยายไม่ออก เขาก็บอก  กัมมันตะ รวมแปลรวม

เป็นการงาน   เป็นการงาน การกระทำ แต่เขาขยายการงาน การกระทำไม่ออก  

มันเป็นการงานการกระทำรวมหมด  ทั้งการงานทางกาย ทั้งการงานทางวาจา ทั้ง

การงานทางใจ   

         เพราะฉะนั้น    กัมมนิเย  นี่ก็รวมลงไปในกรรม เพราะพระพุทธเจ้า

ท่านได้เน้นกรรมทุกอย่าง    กัมมโยนิ  กัมมพันธุ กรรมปฏิสรโณ  กรรมนี่แหละพา

เกิด   กรรมนี่แหละพาเป็น กรรมนี่แหละสะสมเผ่าพันธุ์   เผ่าพันธุ์ก็คือเชื้อทุกเชื้อ  

เชื้อปุถุชน   เชื้อสัตว์เดรัจฉาน  เชื่ออสุรกาย  เชื้อสัตว์นรก  เชื้อเปรต   หรือ

เชื้อเทวดา   เชื้อพรหม เชื้อจริงๆเลย เป็นเชื้อของสัตวโลก   พันธุ์ของสัตวโลก   

เผ่าพันธุ์ของสัตวโลก  คุณจะเป็นสัตว์โลกชนิดไหนละ   เป็นพรหมสัตว์ เป็นเทวดา 

เป็นมนุษย์  เป็นสัตว์ชั้นสูง  จิตวิญญาณสูง  เป็นเชื้อวิญญาณทางจิตวิญญาณเลย เป็น

เผ่าพันธุ์จริงๆ   แล้วคุณก็ได้อาศัยกรรม  กรรมเป็นที่พึ่ง   เป็นสรณะ   ปฏิสรณะ  

ปฏิสรโณ  ก็คือสรณะ  เป็นที่พึ่ง 

Š         เพราะฉะนั้น  กรรมใด  เราสร้างได้เป็นพุทธ  กรรมใดเราสร้างได้

เป็นธรรมะเป็นสัจธรรมของพระพุทธเจ้า     เราก็เป็นสงฆ์ที่มีพุทธธรรมเป็นกรรม  

กรรมที่เราสร้างนั้นเป็นพุทธ  เป็นพุทธธรรม  เราก็ได้พึ่งพุทธธรรมที่แท้  คุณพึ่งอื่น

ไม่ได้ดอก  คุณได้พึ่งกรรมทั้งนั้น   กรรมเป็นสรณะนะ

         เพราะฉะนั้น เมื่อกรรมเป็นสรณะ  คุณมีเนื้อของพุทธอยู่ในกรรม กรรม

ที่คุณได้สั่งสม  ได้กระทำได้ฝึกฝน  ได้ทำเองเป็นของของตน   คุณก็พึ่งของของตน  

คุณจะไปเอากรรมของคนอื่นมาพึ่งไม่ได้   คุณทำอะไร  กรรมอันนี้เป็นพุทธ คุณก็ได้

พึ่งธรรมที่เป็นพุทธ   คุณทำกรรมนี้เป็นของฤาษี  ทำกรรมนี้เป็นของปุถุชน  คุณก็ได้

พึ่งกรรมที่เป็นของปุถุชน  คุณทำเป็นกรรมของฤาษี  ได้ขนาดแค่ขั้นฤาษี  คุณก็ได้พึ่ง

กรรมที่เป็นฤาษี   ธรรมเป็นแค่ฤาษีธรรมะ      เป็นฤาษีของนักปฏิบัติในระดับนั้น

ตามความเห็นนั้น  ทิฏฐิอย่างนั้น   แล้วก็สั่งสมได้อย่างนั้น     ตามตความเห็นนั้น  

ทิฐิอย่างนั้น     แล้วก็สั่งสมได้อย่างนั้น  คุณก็ได้พึ่งอันนั้น  เพราะเป็นของของคุณ 

เป็นกัมมัสสกตาของของคุณที่สั่งสมไว้แล้ว  เป็นของของคุณเอง เป็นมารดาของาคุณ 

เป็นกัมมทายาท   คุณก็ได้พึ่งอันนั้น กัมมัง  สัตเต  วิภัชติ  กรรมจะจำแนกสัตว์ไป

ตามกรรม 

         เพราะฉะนั้น   คุณจะได้อะไรคุณก็จำแนกไปตามความจริงของคุณสั่งสม

เป็น  แล้วคุณกก็ได้พึ่งอันนั้นเป็นของของคุณ  พาเกิด พาเป็นพาไปหมด   กรรมจึง

เป็นเรื่องใหญ่

         เพราะฉะนั้น  คำว่ากัมมนิยะ หรือว่ากัมมันตะ หรือว่ากัมมัญญา  พวกนี้ 

มันขยายความชัดเจน   กัมมันตะ  กรรมทั้งหมดทั้งมวลรวมไว้แล้ว  กัมมนิยะก็เป็น

คุณค่าที่คุณกำลังฝึกฝน  กัมมัญญา  ก็มีอัญญาในกรรม อาตมาเคยอธิบายคำว่าอัญญานี่ 

มันเป็นตัวธาตุรู้ที่สูง  ที่ลึก  ที่ละเอียด   ที่เป็นตัวตรัสรู้    เป็นอัญญะแปลว่าธาตุ

เริ่มต้น เป็นธาตุอื่นหรือเป็นธาตุอัญญะแท้  อัญญะนี่แปลว่าอื่นๆ  ก็ได้  หรือเป็นธาตุ

รู้ที่แบ่งรู้ทั้งรู้ ถ้าอื่นๆ ที่มันไปได้อีกทิศทางหนึ่งก็คือรู้ผิด ถ้าอื่นๆ  ขึ้นมาอีก  ทิศทาง

หนึ่ง   ต่างจากอันนั้นอื่นๆหรือต่างจากกันนี่เรียกว่าปร หรือว่า  อัญญะ    มันต่าง

จากกัน    เมื่อต่างกันอย่างไร  เราต้องรู้การต่างจากกัน  ต่างกันอย่างโลกุตระ  

กับต่างอย่างโลกียะ  โดยทางปฏิบัติที่เราก็จะต้องมาทางโลกุตระ  

         เพราะฉะนั้น ถ้าเราได้โลกุตระ  ก็เป็นอัญญะ  เราถือว่าอัญญะ นี่ค่อน

มาทางปัญญา  แปลว่าไม่รู้ก็ได้ อัญญะนี่ นอกจากแปลว่าอื่นๆแล้ว ยังแปลว่าไม่รู้ก็ได้ Šอัญญะ    ก็หมายความว่า   คนปุถุชนไม่สามารถที่จะรู้  ไม่รู้อัญญะ    ไม่รู้ปัญญา

ของโลกุตระ   ถ้ารู้ก็หมายความว่าขึ้นมาอีกโลกหนึ่ง   ต่างจากโลกเก่าที่เรียกว่า

โลกอื่น   แม้ในความหมายลึกซึ้งพวกนี้นี่  มันไม่ใช่เรื่องธรรมดา   อาตมาอธิบาย

สภาวะให้คุณฟังแล้ว    คุณฟังแล้วคุณจะไม่ไปงงเลย  ถ้าไปเจอภาษาพวกนี้  แล้ว

เขากไม่แปลความไว้เยอะแยะ    อะไรต่ออะไรนี่   ยิ่งได้เจอพจนานุกรม    ที่

วิเคราะห์ศัพท์ไว้ แปลโน่นแปลนี่ไว้มากมายเลย คุณไปเจอเข้า ถ้าคุณมีสภาวะคุณจะ

ไม่งง ยิ่งจะรู้สึกลึกซึ้งว่า  อ้อ! ศัพท์นี้มันแปแลได้มากมายถึงขนาดนี้ แปลได้ตรงกัน

ข้ามกันเลย  แปลคนละเรื่องกันเลย  ตัวนี้แปลว่าได้ทั้งชั่วและดี   นี่เมื่อไรเป็นชั่ว 

เมื่อไรเป็นดีล่ะ   ถ้าคนขี้โกงก็เอามาตีกินไปเลยจริงๆ  เพราะแปลได้ทั้งชั่วและดี  

แปลเข้าข้างทั้งชั่วก็ได้  แปลเข้าข้างทั้งดีก็ได้  แปลเข้าข้างผิดก็ได้  แปลเข้าข้าง

ถูกก็ได้  เอามาตีกินเลย

         เพราะฉะนั้น    ผู้ที่ยังมีภูมิไม่ถึงนี่  ให้ได้รู้มากโดยพยัญชนะ    เอา

พยัญชนะไปตีกินหมด     ขี้โกง   ท่านถึงบอกว่าระวัง   สอนกับอนุปสัมปัน  สอน

อนุปสัมปันนี่รู้พยัญชนะเอาพยัญชนะไปขี้โกงกินเยอะ  เสร็จแล้วก็เบี้ยว เพี้ยนไปหมด

ตัวเองก็ไม่สุจริต  อธิบายอะไรก็ลำบากลำบนยุ่งยาก   

         ในธรรมะของพระพุทธเจ้านี่ เรื่องอัตตามานะนี่มันเป็นเรื่องที่เรียนรู้ได้

ลึกซึ้งกว่าใดๆ   หมด จึงมีอนัตตา  คนทั้งโลกนี้เรียนรู้อัตตาไม่รอด  ไม่หมด  ขอ

ยืนยันไม่หมด 

         เพราะฉะนั้น  อนาคามีภูมิ  ไม่มีในศาสนาอื่น   ได้อย่างเก่งวนอยู่แค่

โสดา   สกิทา    ถ้าจะตัดจัดสรร   แต่มันจัดสรรไม่ได้    เพราะเรียนรู้อัตตา 

เอาอัตตานี่แหละ เอาอัตตามานะไปตีราคาไม่ได้เลย  ไปตีไม่ได้อย่างไร  เพราะ

โดยสามัญเขารู้เหมือนกัน   ว่ามารยาทอย่างนี้ นี่ต้องเป็นมารยาทต้องมารยาทดีน่ะ  

เป็นอัตตาตัวตนที่ดี  แต่กิเลสไม่ได้ลดนะ  อัตตาไม่ได้ลด  แต่สร้างรูปแบบข้างนอก  

เป็นคนมีน้ำใจ  เป็นคนไม่เห็นแก่ตัว  แต่ที่จริงตัวยิ่งใหญ่   ข้างในนะ  ซ้อน กลบ  

เขาไม่ได้ดึงตัวอัตตามานะเขาออกมาฆ่าจริงๆเลย

 

.PL34

.LH15

.PN

.FO         #  (กรรมกำหนดโชคชะตา/FILE:3911B.TAP & TIS)

เพราะฉะนั้น ในลักษณะตรง  เขาไม่ดอก  เขากลัวเสียหน้า  เพราะฉะนั้น  เขา

จะไม่ทำให้คนอื่นได้ตำหนิติเตียนข้างนอกเลย   เพราะฉะนั้น  ข้างนอกจะสวยหมด 

จะไม่หยาบเลย  เพราะฉะนั้น  การจะมากระทบสัมผัสกันอย่างพวกเรานี่นะ  ข้าง

นอกนี่ ซื่อจริงใจ  กระทบสัมผัส แหม อย่างนี้มันหยาบกระด้าง  คนข้างนอก  เขา

ถึงมารับพวกเราไม่ค่อยได้      เพราะความจริงใจในรูปหนึ่งแล้ว      นี่มันจะ

ชัดเจนจริงใจ    แล้วออกมากระด้าง   แต่ถ้าจะทำงามให้รูปที่เป็นมารยา  หรือ

มารยาทงาม   กระแทกกระเทือนอย่างไรก็   อย่าออกไปนะ อย่าออกไปน่ะ  รูป

เดียวไม่เคยปล่อยออกมาเลย  กดดันๆ  คนกดดัน  มันจะทุกข์ตัวเอง มันก็ฝัง  มัน

จะทุกข์ตัวเองก็ฝังเลย   ไม่ให้รู้ มันก็เลยไม่รู้  ก็กลายเป็นสภาพฝังลึก ไปสู่จิตใน

ระดับอนุสัย   พอฝังไว้ในจิตอนุสัยเสียแล้ว  ก็เป็นอนุสัยก็ในระดับ  UNCONCIOUS  

จิตไร้สำนึก  ไม่รู้เรื่อง ถ้าในระดับจิต SUB  CONCIOUS  ฐานกิเลสนี่  มันพอจะ

หยั่งถึงรู้ได้   พอเรากดไปไว้อนุสัยแล้ว พวกนี้ก็ยิ่งไม่รู้อนุสัยใหญ่  ไม่เรียนรู้อนุสัย  

ไม่กระแทกอนุสัยออกมาเพื่อเรียนรู้หน้าตา เขายังไม่มีวิธีการ

         เพราะฉะนั้น  คนพวกนี้ได้แต่กด  สะกดจิตเก่ง

         พวกเราก็เหมือนกัน  อย่าได้ไปเที่ยวสะกดจิตตัวเองน่ะ  อะไรๆก็อึ่บๆ  

พวกเจโตน่ฝังเรื่อย   ไม่ค่อยฟื้น   ไม่ค่อยออกมาให้รู้    เป็นวิธีสมถภาวนามาก 

วิปัสสนาน้อย   ถ้าอย่างนี้ก็ช้า วิปัสสสนาให้นำหน้าสมถภาวนาน่ะ  ไม่ใช่ตัวสมถะที่

หมายความว่า  แปลว่าสงบ   ถ้าสงบของพระพุทธเจ้าแล้วนี่จะเรียกปัสสัทธิ   จะ

เรียกสมถะ   จะเรียกอะไรได้  หลายภาษา สงบนี่  สงบอย่างของพระพุทธเจ้านี่ 

ท่านก็ไม่ค่อยเรียกคำว่าสมถะเท่าไร    สงบของพระพุทธเจ้า  ท่านจะเรียกอันอื่น

อีกเยอะ   คำว่าสงบ มีอีกมากมาย แม้แต่คำว่าสันตะ  ท่านเรียกสมะ  ท่านเรียก

สมะเยอะ  ความสงวบของพระพุทธเจ้านี้ก็จะเรียกสมะ  อันคำว่าสมะแปลว่าความ

สงบ สมะมาก  หรือแม้แต่สัมมา  นี่ก็จากรากศัพท์คำว่าสมะ 

         เพราะฉะนั้น  ความสงบน่ะ  ตัวสภาพสงบของพระพุทธเจ้านี่  มันเป็น

ความสงบที่ต้องรู้ว่ามันสงบจากิเลส     สมถะท่านก็เอามาใช้ได้  ทำความเข้าใจ

กับคนอื่น    เหมือนกับท่านอธิบาย  สมาธิกับคนอื่นๆ  นี่ถ้าเขาเจตนาจะมารู้สมาธิ

ทั่วไป       ท่านก็พูดกับเขาเหมือนกับรู้เรื่อง      แต่รู้เรื่องสมาธิของชาวโลก 

ของลัทธิไหนๆ  แต่ไหนๆมา  แต่สมาธิของท่าน   ท่านจะสอนสมาธิของท่าน ท่านก็

จะต้องรู้ว่าควรจะพูดกับใคร   เมื่อใด  เพราะเวลาอธิบายสมาธิมันก็ปนๆๆ   ในŠพระไตรปิฎกนี่มีเยอะ  เพราะเขามาถามสมาธิแบบโลกีย์ ท่านก็อธิบายกับเขา แล้ว

คนก็แยกไม่ออกว่าท่านเมื่อไร  ท่านหมายว่าสมาธิโลกีย์   เมื่อไรท่านหมายว่าเป็น

สมาธิสัมมาสมาธิ    ก็ไม่ค่อยแยกไม่ค่อยจะออก  ความสงบก็เหมือนกัน   ถามว่า

ความสงบเมื่อไร  เป็นความสงบที่เป็นสงบอย่างสัมมา เรียกว่าสัมมาวิมุติ  เมื่อไร

เป็นความสงบสัมมาวิมุติ   หรือว่าความสงบอย่างวูปสโม วูปสมะ  อุปสมะ   แล้ว

ความสงบอุปสมะ  หรือวูปสมะนี่ เมื่อไรเป็นอย่างนี้ ท่านก็อธิบายของท่านสำหรับผู้รู้ 

ผู้ไม่รู้ก็เข้าใจอย่างอื่น  เป็นอย่างอื่นไป  เราเป็นภาษาไทย    เราเข้าใจให้ชัด

ทีเดียวว่า  มันเป็นความสงบจากกิเลส  มันก็มีกิเลสกามกับกิเลสอัตตามานะนี่แหละ  

เป็นกิเลสใหญ่  หรือโลภ โกรธ หลง นี่แหละ โลภ โกรธ หลง และไอ้ความหลงนี่

มันหลงตัวเองมาก  หลงไม่ค่อยรู้เนื้อรู้ตัว  ตัวเรามาชักทำดีหน่อย  พอเรียนรู้มาก

หน่อย  อะไรก็แล้วแต่  ก็หลงว่าตัวเองเป็นคนมีค่า โดยเฉพาะ  พวกทำงานมากๆ

นี่ระวัง    ทำงานแล้วมันเห็นผล เพราะทำงานแล้วมันมีรูป มันมีวัตถุรูป   มันออก

แรงงานมาก  ชัด  ออกแรงงานมาก  พวกนักคิด  นี่ก็รู้ว่าคิด   แล้วตัวเองแค่คิด  

แล้วตัวเองก็แค่พูด  ก็รู้ตัวว่า เราเหมือนไม่ใช่นักทำงาน   

         เพราะฉะนั้น   ไอ้รูปธรรมหรือว่าน้ำหนักของเป็นชิ้นเป็นอัน ก็พูดได้แค่

สอนนี่มันเป็นเนื้อเป็นตัวที่ไหน   มันไม่ค่อยเป็นเนื้อเป็นตัว  มันไม่เป็นแท่งเป็นก้อน  

แต่ลงมือทำงานนี่  โอ้โฮ  ทั้งแบกทั้งหาม  ทั้งปั้นทั้งเหลา   ทั้งกลึงออกมาเป็นตัว

เป็นตน   เป็นก้อนเลยน่ะ   ก็พวกนี้ขี้มักจะตัวตนแยะ  เอ็งอยู่ก็กินของข้า ว้า  ก็

ใช้ของข้า   ก็ใช้ของเขาเหมือนกันนะ คนพูดๆ เอาอะไรมากินล่ะ ได้แต่พูด ได้แต่

สอนนี่ ไม่ค่อยจะมีตัวมีตน 

         เพราะฉะนั้น   พวกนี้ก็มีไหวพริบ  แล้วก็รู้ตัว ก็มีท่าทีไม่ค่อยจะแข็งนัก  

 

         ส่วนพวกที่ทำลงมือทำ  นี่พวกนักทำงานนี่แข็ง  เพราะมันเห็นชัดตัวเอง 

คนอื่นก็เห็นใครก็ยอมรับร่วม  ร่วมรับรอง  เพราะฉะนั้น  พวกทำงานนี่อัตตามานะ

ชักเยอะ  เพราะฉะนั้น  ก็หัดระวัง ระวังรู้ตัวว่าอย่าไปยึดเลยว่า ถึงแม้ว่าเราจะ

ทำดีก็อย่าไปเกิดอัตตามานะกับดีก็จริง  ลงมือทำ ลงมือแบก ลงมือหามก็ดี แต่ที่จริง

พวกที่ยึด   พวกที่พูด   ก็จะว่าเขาไม่ดีก็ไม่ได้  เขาก็มีส่วนดี ส่วนสอน  ส่วนแนะ  

ส่วนนำ ส่วนใช้วิจัยวิจารพูดมากเสียด้วยนะ  พูดแล้วก็ว่าคนนั้นเดี๋ยวก็ติคนนี้  เดี๋ยว

ก็ติงคนโน้น   ตัวคนที่ทำเก่งๆ ก็บอกว่า เอ็งเอาแต่พูด  เอ็งกินก็กินของข้า ซัดกันŠน่าดู  นี่ฉันหาเงินมาเลี้ยงนะนี่  ฉันทำงานข้างนอกน่ะนี่  ฉันออกไปทำงานโน่นแน่ะ  

สวนสามวาโน่นนะ   ฉันทำงานอยู่ชมร.นะ  ฉันทำงานอยู่โรงพิมพ์นะ   ไม่ได้ออก

จากที่เลยดูซินี่  ทำงุดๆๆๆ เป็นชิ้นเป็นอัน นี่ฉันทำงานอะไรก็แล้วแต่เถิด  ไม่รู้งาน

อะไรบ้างละ ลงมือทำเป็นชิ้นเป็นอัน  เป็นของที่ออกมาเป็นรูป  แล้วก็มุ่นอยู่กับงาน  

เราก็แน่ใจว่าเราทำงาน  แล้วมันก็ออกมาเป็นรูปเป็นอะไรต่ออะไรด้วย เสร็จแล้ว

พวกไม่ทำงานก็มองก็คิดว่าก็อ่าน  แต่ลึกแหลมในเรื่องเชิงชั้น  ภาษา  ความหมาย 

เก่ง ก็มองเห็นกิเลสมองเห็นโน่นๆ  แลบๆเลียๆ ก็ติไปซิ  ทำงานก็ยิ่งทำงานก็ยิ่งมี

ช่องให้ติใช่ไหม  ติกันไป ติกันมา เพ่งกันไป เพ่งกันมา โอ้ย  เมื่อย  อาตมาเบื่อ

ไม่ลงนะนา

         พวกเรานี่ดี  ไม่ใช่ไม่ดีดอก แต่ไม่รู้อัตตามานะนี่ขอสอน  ขอเตือน ใน

พวกเราเรียนรู้ไปมากๆ ลดได้มันดี  ถ้าจะดีส่วนใดก็แล้วแต่เถิด  จริงๆแล้ว  มันก็

จะต้องไม่เพ่งโทษกัน  เราจะต้องดูรู้ตัว ผู้ที่นักคิด  นักพูดก็หัดทำบ้างซิ   ลงมือทำ

บ้าง   คนที่ลงมือทำ   ก็หัดคิด   หัดอ่าน  หัดศึกษา  หัดฟังเท็ป   หัดลงทำวัตร  

หัดฟังธรรมะบ้าง  เอาแต่ทำ  มันก็น้อย  ขาดอะไรเราควรเติมอันนั้น  เอาให้ชัด  

ขณะนี้แบ่งให้ฟัง  2 ซีก  ง่ายๆเท่านั้นเอง  ซีกลงมือทำกับซีกคิด   หนักเข้าก็เก่ง

แล้วตอนนี้เรียนลึกซึ้ง   เรียกเจาะอริยสัจ  4   แหม  เจาะกำลังเจาะมุทุภูธาตุ  

เจาะกัมมนิยธาตุ    โอ้โฮ    นี่ธาตุตัวการงานนี่   ธาตุตัวจิตน่ะ   มุทุภูตะธาตุ  

กัมมนิยธาตุ  โอ้ ธาตุ 2 ธาตุนี่น่ะ  ลักษณะอย่างไร  ธาตุกัมมนิยธาตุ  ก็แสดงถึง

กรรมการงาน    กิริยาออกมาทางกาย  วาจา ใจ   โดยเฉพาะออกมาทางกาย

กรรม  เห็นได้ชัดเลย  เป็นรูป เป็นตัว เป็นชิ้น เป็นอัน  เป็นท่อน  เปอ็นแท่งชัด

เลยน่ะ  การงานเก่ง

         พวกที่ได้แค่คิดก็มีแค่มุทุภูตธาตุเก่งน่ะ   คิดเก่งด้วยน่ะ  ไว  แหลมลึก  

อ่านละเอียด สอนเก่ง  ถ้ายอมรับกันมันก็ดี  คนทำงานยอมรับคนสอน คนสอนก็ยอม

รับคนทำงาน  ว่าต่างคนต่างมีดีคนละอย่าง  เคารพกันและกัน  เออ ก็ดี  ไอนี่มัน

กลัวแต่ว่า  เอ็งดี ข้าก็ดี แล้วก็ข่มกัน ไม่ใช่เห็นใจกันหรือว่ายกย่องกัน  ถ้าเห็นใจ

กัน  ยกย่องกันมันก็ดี  ก็อยู่กันรอด  ไม่ข่มกัน ต่างคนต่างเก่งก็ไม่เป็นไร  แบ่งกัน

เก่ง อยู่ด้วยกัน เป็นคู่หูกันไปได้เลย  แต่ถึงอย่างนั้น ก็ต้องหัดฝึกบ้าง ลงมือทำบ้าง  

คนที่คิดเกงก็ลงมือทำบ้าง  คนที่ทำเก่งก็ลงมือคิดลงมือเรียนรู้ทางทฤษฎีบ้าง  แต่ถ้า

เผื่อว่า  คบเป็นคู่หู่กัน  แล้วก็แบ่งกันจริงๆ  มันก็จะร่วมกันนะ  ถ้ายิ่งลงมือฝึกเลยŠจริงๆ  ก็ยิ่งเป็น  ลดอัตตามานะในลักษณะนี้ให้ดีๆ  ในหมู่กลุ่มพวกเรานี่  พยายาม

เถิด    เราได้ดีขึ้นมาไม่ใช่น้อย  แล้วก็พยายามที่จะทำความเข้าใจในเรื่องอัตตา

มานะนี่ให้ดี   กามเราก็พูด ไม่ใช่ไม่พูด  ก็ลดละกันอยู่  ก็พยายามพากเพียรกันอยู่  

ก็ดูไปได้น่ะ   อาตมาก็ดูไม่จัดจ้านอะไร   ในพวกเราจะมีอย่างไรๆ  มันก็พอเป็น

พอไป   ถ้าได้สภาพอย่างนี้ไปอีกนะ อาตมาจะมีอายุยืนอีกร้อยปีตาย ตอนนี้ก็คิดจริง

เสียก็แล้วกัน   อย่าไป  56  อยู่เลยตอนนี้ คิดอายุจริงเสียก็แล้วกัน อีก  40  ปี  

เป็นต้น   56  อาตมาก็จริงเหมือนกันนะ อาตมาตั้งใจจะอิทธิบาทยืดอายุไว้ที่  56  

ดูซิว่า  อาตมาหนุ่มระดับ  56 อายุสัก 70 แล้วนี่ก็สรีระมันจะหนุ่ม 56 ไหม   แต่

แน่นอน มันก็ต้องจริงๆ  มันจะไปคิดจริงมันไม่ได้ดอก  มันจะต้องเสื่อมไปได้แน่นอน  

แต่ว่าถึงอย่างไร    มันก็จะมีคุณภาพที่แท้  อิทธิบาทของอาตมาได้ดีน่ะ  มันจะดูอื้อ  

หนุ่มกว่าอายุจริงๆน่ะ   70  แล้วก็ยังแต่ว่า 56  จริงๆ  มันก็คงไม่ใช่คนระดับนั้น

แน่นอนน่ะ 

         นี่  แบ่งไว้   2  ทางเลย นั่นกัมมนิเย  นี่มุทุภูเต  สายมุทุภูเต   นี่

สายกัมมนิเย   มันเอียงอย่างนี้ อาตมาว่าเอาวิเคราะห์มาให้เห็นอย่างนี้   ไม่ใช่

ดูถูกน่ะ  ให้เห็นสัจจะ  แล้วเราจะรู้ว่า เออ  เราหนักไปทางไหน   เราเครียด

ไปทางไหน  เราเคร่งไปทางไหน  เราหนักไปทางไหน เราก็เอาทางนั้น   เออ 

เอาด้านทำ   ถ้าทำก็เอาเป็นเอาตาย  นี่ก็โอ้โฮ  ลักษณะเหมือนกับที่คิด เอาเป็น

เอาตายเหมือนกัน ยึดติด นั่นยึดทำ แก้ไม่ค่อยแก้ยาก  แก้ความคิดกับแก้การทำ คน

ยึดมาก มันมีลักษณะของมัน  

         เพราะฉะนั้น  เราก็ เออ เอาพยายามลองฟัง  ลองแม้แต่ด้านเราจะ

ถนัดคิด เราก็ฟังความคิด หรือยิ่งสายเขาทำก็ต้องพยายามเข้าใจเขาทำ สายทำ ก็

พยายามฟังพวกคิดบ้าง     หรือแม้แต่ทำด้วยกันก็อย่าไปยึดแต่ของเรานักเราจะทำ

อย่างนี้  จะเอาอย่างนี้  เอาแต่ของกูนี้อะไรอย่างนี้ ก็ดูๆบ้าง  มันจะได้ผ่อนคลาย  

ว่าดูเหตผลอนุโลมบ้างก็ยังได้น่ะ   ยืดหยุ่นกับเขาบ้างอะไรบ้าง   แต่ไม่ถึงกับเสีย

งานเสียการ   ยิ่งมีคนมาก ยิ่งมีจริตมาก ยิ่งมีแนวคิดมาก ยิ่งมีลงมือกระทำหลายๆ

คน   กระทำมากคน มันก็จะต้องมีหลากหลาย ที่เราจะต้องรู้ว่า  เออ มันต้องปรับ

ให้มันได้สมส่วน   สมสัดสมส่วน  ในขนาดนั้นขนาดนั้น ให้ได้พอเหมาะพอดี   นี่มัน

เป็นทั้งการเป็นอยู่   ทั้งสามัคคีธรรมที่จะรวมกันได้อย่างสงบ   เป็นอยู่สุขๆ    ที่

พระพุทธเจ้าท่านสอนเอาไว้  ความเป็นอยู่สุข  ความเป็นอยู่ผาสุก  เครื่องเป็นอยู่Šผาสุก  

         1. มีศีลก็ไม่เอาศีลไปข่มผู้อื่น

         2.ให้มองตน

         3.ไม่มีชื่อเสียง  ก็อย่าอยากไปมีชื่อเสียง

         4.ได้โดยไม่ยากในฌาน

         5.อุภโตภาควิมุติ

         นี่แหละพวกเราเห็นให้ชัดๆเลย  มีศีลก็หมายความว่า เป็นนักปฏิบัติที่จะ

ต้องเรียนรู้ทั้งปริยัติ  และปฏิบัติ ให้เป็นศีลที่แท้จริง  บางคนมีแค่ศีลพัตตุปาทาน  มี

แต่แค่เคร่งจารีตประเพณี   มีศีลพัตตุปาทาน  ข้านี่แหละใหญ่ ข้างนอกจะเห็นเยอะ  

พวกอภิรักษ์จักรี   หรือพวกอะไรพวกนี้น่ะ  ที่จริงไม่ค่อยรู้เรื่อง เรื่องศีลด้วยซ้ำไป  

พวกนี้นี่ไม่มีชื่อเสียงก็อยากมีชื่อเสียง  ไม่มองตนพวกนี้  ศีลก็ไม่ค่อยมี  ในวัดก็มีศีล

เคร่งเป็นพวกที่ท่องสูตรท่องบ่น   ท่องมนต์เขาเรียกว่าศีล   ท่องวินัย   สอนวินัย  

อย่างท่านธรรมนิเทศ     ท่านราชธรรมนิเทศ    ก็ท่านก็สอนวินัยน่ะ    พวกอภิ

รักษ์จักรี   จะรู้จักอะไร ฉันก็เป็นครูอาจารย์ระดับมหาวิทยาลัย  มกุฎราชวิทยาลัย  

สอนวินัย   ท่านสอนวินัยน่ะ  สอนเปรียญชั้นสูงๆด้วย ท่านสอนวินัย  วินัยที่ละเอียด

ลออด้วย  วินัยท่านก็คือว่าศีลแล้ว สอน หลักเกณฑ์เก่ง  รู้ข่มผู้อื่น   หลงตัวหลงตน

ด้วยมานะ

         ทีนี้ไม่มองตน  ควรมองตน แต่ไปมองผู้อื่น   อ่านก็ไม่ได้หมายความว่า  

เราไม่มองผู้อื่นนะ มองตนก็มองแต่ตน คนอื่นไม่รู้เรื่อง ก็อยู่ในภพเท่านั้นเอง  แล้ว

พวกเราก็ขี้มักจะมีเสียด้วย  อยู่แต่ในภพเองแต่ตั้วเอง  คนอย่างนี้ เด๋อ เลย ไม่รู้

เรื่อง  ไม่ได้ ต้องมองผู้อื่น ต้องมองตน แล้วประสานประมาณ  มันจะอยู่เย็นตกอยู่

อย่างผาสุก   ก็เพราะว่าเรามองตนด้วย  เรามองหลักเกณฑ์  เรื่องศีล    มอง

หลักเกณฑ์แล้วก็เอาหลักเกณฑ์มาใช้  พิจารณาเราบ้าง  เขาบ้าง หลักเกณฑ์ ถ้ายัง

อยู่ในนี้   ศีลสามัญญตา   ไม่ได้อยู่ทางเถรสมาคม   พวกเราก็มีหลักเกณฑ์ของศีล

สามัญญตานี้ มีหลักการความหมายอันเดียวกัน  เออ  ประมาณกันให้มันดี  ตนก็ด้วย  

คนอื่นก็ด้วย   มองตนนี่ก็บอกแล้ว อย่าเอาแต่มองตน ก็ประมาณคนอื่นด้วย   แล้วก็

ปรับให้มันได้สัดได้ส่วน

         แม้ที่สุด   เราเองไม่เด่นไม่โด่ง   ไม่ได้ชื่อได้เสียง   ไม่ได้อะไรก็

ระมัดระวัง ไอ้สรรเสริญนี่ก็ส่วนสำคัญมาก

Š         เพราะฉะนั้น     ความเป็นอยู่ผาสุกนี่   พระพุทธเจ้าท่านแบ่งไว้แค่นี้  

เรียนรู้ให้ดีๆเลยว่า  

         1.มีศีลก็อย่าเอาไปข่มผู้อื่น

         2.มองตน  ไม่เป็นตัวผู้อื่น มองตนไม่เป็นตัวผู้อื่น  ผู้อื่นก็เข้าใจเขาให้

ได้   เขาก็ทำอันโน้น  เขาทำอันนี้ เขาทำอย่างโน้น  อย่างนี้  เข้าใจเขาให้ได้  

เขามีกิเลสอะไร ก็ค่อยๆ พยายามประนีประนอม ถ้าสามารถช่วยเหลือเขาได้ให้ลด

กิเลสได้ก็ช่วย   ถ้าช่วยไม่ได้  ก็ต้องปล่อยกันอยู่ด้วยกัน  ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานก็อยู่

อย่างนั้น    หรือเขาทำเด่นกว่า  เขาทำแล้วก็ทำอะไรนิดอะไรหน่อยคนไม่มีบารมี  

บางคนนี่ทำอะไรนิดอะไรหน่อย   ก็ โอ  คนเห็นคนรู้  ได้เกียรติ  ได้หน้า คนทำ

แทบตาย   บางคนทำแทบตาย โอ๊ย  คนทำไมไม่มองเห็นเลย เอาเถิดน่า  บารมี

ของคุณนั่นแหละ  ทำไปเถิด

         อาตมาเคยน้อยใจ  เอ๊ ทำไมเราทำๆ จริงๆนะ  อาตมาทำงานนี่ ทำ

งานมาก  อาตมาเป็นหมากลางตลาดอย่างว่า   ดวงหมากลางตลาด  ทำมาหากิน

ซอกๆๆ  มันหมากลางตลาดไม่ใช่หมาชูคอ พวกหมาเจ้าหมานาย  หมาเจ้าหมานาย

ไม่ค่อยได้ทำงานอะไรดอก   นอนมันยังมีคนกางมุ้งให้เลย มันชูคอได้ตบได้แต่งสวย 

ชื่อเสียง   เอาไปประกวกได้ โอย  สวยงามดีเด่น อย่างโน้นอย่างนี้  หมากลาง

ตลาด ใครจะจับไปประกวดเล่า ถูกเตะเข้าที่ไหนเตะออกมา หากินเอง ซอกแซกๆ  

ซอกแซก  เดี๋ยวเขาก็เอาน้ำร้อนลาด เอาหนังสะติ๊กไล่ เป็นอย่างนั้นแหละ  

         นี่ เขาดูหมอดูนะดู  อาตมาก็มาเอ เออ หมอดู  จะว่ามันไม่มีส่วนมันก็

ดูดีนะ  ทำจริงเลยน่ะ  เอ๊ะ ทำไมเราทำงานอันนี้นี่ เราน่าจะได้ค่าตัวแพงกว่ากัน 

เป็นโฆษณาด้วยกัน  ค่าตัวก็ถูกกว่าเขา  จริ๊งจริงน่ะ   อาตมานี่เป็นโฆษกด้วยกันนี่ 

ค่าตัวก็ถูกกว่าเขา   แต่พวกดาราใหญ่พวกนี้น่ะ  แหม ฉาบฉวย ค่าตัวแพง   เรา 

เออ  ทำมาก อยู่หลังฉากก็เยอะ  ทำเถิด  แต่ได้รายได้น้อย ได้ค่าตัวน้อย  เคย

น้อยใจ  แต่ตอนหลัง  มาคิดออกแล้ว  เออ ก็เรามีบารมีเท่านี้ อย่างนี้ ทำไปเถิด  

สู้ไปเถิด   แล้วมันเป็นของใครละ  มาคิดได้อีกที  ปัดโธ่เอ้ย  ไอ้พวกนี้มันกินแรง

คนอื่น   มันจะไปได้เงินก็ไปเอามาๆ รู้ทฤษฎีกำไรขาดทุนของอารยชนแล้ว  ปัดโธ่ 

ไม่ได้ไปริษยาเขาเลย เข้าใจดีแล้ว ไม่ได้ริษยาเขาเลย เราทำมากก็ทำไปซิ  ทำ

ละเอียดลออ  ทำให้ดี ประณีต  ประหยัดให้ดี อาตมาตั้งใจว่าจะขยายให้ถึงประณีต

ประหยัดวันนี้ ไม่ถึงแล้ว เรื่องประณีต ประหยัด  แล้วก็เรื่องอยู่กับหมู่

Š         พวกเราอัตตามานะ  เสร็จแล้วก็ไม่รู้ตัว    แม้แต่ในเรื่องการบริการ 

บริการทางเจ็บป่วยได้ไข้  

         เพราะฉะนั้น   เราเรียนไปเถิด การฝึกหัดพวกนี้แหละ   ฝึกหัดความ

เป็นอยู่ร่วมกัน  ไม่ได้ฝึกหัดอะไรดอก ฝึกหัดความเป็นอยู่ร่วมกันนี่แหละ  มีการงาน 

มีกัมมนิยะ    มีการมีกัมมันตะ   มีสัมมาอาชีวะพวกนี้แหละ   ไปฝึกสัมมาพวกนี้ไป  

แล้วเราก็ยิ่งมีมุทุภูตธาตุ   มีมุทุภูตธาตุอันดี แววไว   แล้วก็ดับได้ปรบได้เร็วได้ไว 

คล่องแคล่ว   เกิดปฎิภาณ  มีฤทธิ์ทางใจ  มีทั้งวิปัสสนาญาณ  มีทั้งมโนมยิทธิ   มี

ทั้งอิทธิวิธี   หรือเกิดอิทธิวิธีญาณ  มันก็จะคล่องแคล่ว มีอภิญญา มีอะไรในตัวเสร็จ 

เป็นพุทธหมดน่ะ เป็นพุทธหมด เขาอธิบายอภิญญา 6  นี่เขาไม่มีวิปัสสนาญาณ  ไม่มี

ดอก  วิปัสสนาญาณนี่ของพระพุทธเจ้า  เพราะอภิญญา 6   ไม่มีเป็นของฤาษีมาแต่

ไหน  แต่ไหน   มีมโนมยิทธิ  อิทธิวิธี  อิทธิวิธีญาณ   มาเรียกของพระพุทธเจ้าก็

เรียกอิทธิวิธีญาณ  

         นี่ของเก่า   เขาเรียกอิทธิวิธี   มีมโนมยิทธิ  มีอิทธิวิธี   มีโสตทิพย์  

เจโตปริยญาณ  ปุพเพนิวาสานุสติญาณ  จุตูปปาตญาณ  จริงๆแล้วมีอภิญญา 6  มีแค่

นี้ ไม่ 6 ดอก มโนมยิทธิ อิทธิวิธี  ทิพยโสต เจโตปริยญาณ  ปุพเพนิวาสานุสติญาณ

อ้อ  มโนมยิทธิ  เขาก็ไม่มี   อ้า ไป6 ไป 6 ที่จุตูปปาตญาณ  เกิดดับ  ครบ  6  

เอามโนมยิทธิด้วยก็เป็น 6  

         เพราะฉะนั้น   อภิญญา  6  ของเขานี่ มันไม่มีอาสวักขยญาณ   ไม่มี

วิปัสสนาญาณ    หา ยถาภูตญาณ  หรือวิปัสสนาญาณ   ยถาภูตญาณ  หรือวิปัสสนา

ญาณ  กับอาสวักขยญาณ  เขาไม่มี  เขาก็มีอภิญญา 6  

         ทีนี้  ถ้าอภิญญา  6  เขาเอาอภิญญา 6   อาสวักขยญาณไม่มี   ก็ไป

อธิบายกันอยู่ในอภิธรรมนี่ก็มีอภิญญา   6    อภิญญา  5   ก็คือ   มีตั้งแต่อิทธิวิธี  

มโนมยิทธิไม่มี    มีอิทธิวิธี   ทิพยโสต   เจโตปริยญาณ   บุพเพนิวาสานุสติญาณ  

จุตูปปาตญาณ  5-6 ก็คือ  อาสวักขยญาณไม่มี  แม้มาเถียงกันอยู่ตอนหลังๆนี่ เขียน

กัน  หมอ หมอวีรพงษ์  แหม เกือบเรียกหมอชัยภักดิ์  แล้วน่ะ หมอวีรพงศ์  เขียน

โน้ตกับ สะอาด จันดี  ในหนังสือสมาธินี่ สมาธิแกก็ลงเขาก็ลงอภิญญา 5 มาข่มกันนี่

แหละ  มาขู่กันนี่ อภิญญา 5 ของเขาก็คือไม่มีอาสวักขยญาณ  

         เพราะฉะนั้น   ถ้าเผื่อว่าเราเรียนดีๆ  แล้วเราจะรู้ว่า อภิญญา 9 นี่ 

อาตมาว่าวิชา 9 นี่ไม่ต้องเอาไว้แค่ 8 ดอก  แล้วอธิบายให้เป็นพุทธให้หมด  เมื่อŠคุณรู้หมดทั้ง  9 แล้ว  เป็นพุทธทั้งหมด  ตั้งแต่ฌานไปเลยทีเดียว ฌานไม่มีปัญญาไม่

ได้ ไม่มีวิชาไม่ได้  ต้องมีปัญญา หรือมีวิชาตั้งแต่ฌาน มีฌานตั้งแต่ฌานนี่แหละ  ฌาน

ใดไม่มีญาณ ไม่ใช่ฌานของพุทธ  ของพระพุทธเจ้าต้องมีฌาน ต้องมีญาณ ไม่มีญาณไม่

เรียกฌาน   ถ้าเป็นฌานต้องมีญาณ  

         เพราะฉะนั้น  เมื่อมีฌาน แล้วก็ต้องมีญาณ  รู้มุทุภูตธาตุ ต้องรู้กัมมนิยะ  

ต้องรู้ฐีตะ ฐีเต  ต้องรู้อเนญชัปปัตเต  อเนญชัปปัตตะ  มีญาณรู้สภาวะจริงๆเลยว่า 

โอ  อย่างนี้น่ะ เรียกว่ามุทุภูตธาตุ  อย่างนี้รู้ประสิทธิภาพของมุทุภูตธาตุ   อย่างนี้

เอง   กัมมนิยธาตุ    ธาตุกัมมนิยะอย่างนี้  มีประสิทธิภาพ    จนถึงกัมมนิยธาตุ  

กัมมัญญา    มันเป็นอย่างนี้เอง   กัมมนิยธาตุ    จนกระทั่งมันเจริญเป็นกัมมัญญา 

กัมมัญญาธาตุ   กัมมัญญาธาตุ  ธาตุตัวนี้เองทางจิต  นามธาตุ  สิ่งเหล่านี้  พวกนี้

เป็นนามธาตุ  แล้วจะรู้ฐีตธาตุก็รู้ อเนญชัปปัตตธาตุ  ธาตุอเนญชา  อเนญชาธาตุก็

ต้องรู้จริงๆเลย  มันเกิดแล้ว ธาตุก็คือสิ่งที่เกิด  ที่ทรงอยู่ สิ่งที่เกิดมาแล้วมันก็ทรง

อยู่กับเรา ยังไม่สลายไปไหน ยังไม่มีการปล่อยวางอะไรที่ไหน อาศัยอยู่

         เพราะฉะนั้น  อาศัยความเป็นฌาน  ก็เราก็ต้องรู้ความเป็นฌาน แล้วมี

ธาตุทั้ง  4  นี้อยู่  มุทุภูตธาตุ  มีกัมมนิยธาตุ  มีฐีตธาตุ  มีอเนญชัปปัตธาตุ    มี

ธาตุพวกนี้อยู่ คือสิ่งที่ทรงอยู่กับเรา  เป็นนามธาตุ เป็นธาตุทางนามธรรม อ่านออก  

มีญาณรู้อาการ  ลิงคะ  นิมิตของมันจริงๆ เป็นรูปธาตุ   นามธาตุ  อ่านออกจริงๆ  

เมื่อนามธาตุที่ถูกรู้โดยเราเมื่อไร  ญาณนั้นเป็นนาม  สิ่งที่ถูกรู้เป็นรูป   เป็นรูปจิต 

อรูปจิตทันที   ถ้าคุณเข้าใจที่อาตมาอธิบายมานี่ คนคืออะไร  แล้วเราก็อ่านอาการ 

ลิงคะ นิมิตมันออก  แล้วก็วิจัยมันจนละเอียด จนกระทั่งไปสู่จัดที่ดี  จุดที่เจริญที่เป็น

สัมมา  เป็นตัวเจริญ เป็นตัวเสื่อมก็ปราบไม่ใช่ปรับ  ตัวเสื่อมก็ปราบไม่ให้มีอาการ

นั้น  หยุดอาการนั้นได้  

         นี่ต้องเรียนรู้พวกนี้จริงๆ  ไม่ใช่ว่าเราเองเราได้แต่ฟังภาษาเท่านั้นน่ะ  

เอาไปปฏิบัติเอาไปประพฤติ เพียรเข้า

         เพราะฉะนั้น   อัตตามานะอย่างใด  นามธาตุ ที่มันเป็นอัตตามานะ รู้

กิริยา  รู้กาย  อาการ รู้อะไรของมันแล้ววิเคราะห์วิจัยออกจริงแล้วก็ดูปรับปรุงกัน

ไป   เพราะฉะนั้น  การงานนี่แหละ  เมื่อได้อำนาจ  ได้ตำแหน่ง  ก็อย่าเบ่งกัน

นัก   เกื้อกูลกัน  มีน้ำใจกันบ้าง  ผู้ที่ถูกข่มก็ต้องมีความยอม  หรือเอาละ เขาข่ม

เราเราก็รู้ความจริงให้ได้ว่า   เราเพื่องาน เพื่อสิ่งที่เจริญ เราก็ได้ดี  ถึงแม้ว่าŠจะข่มด้วยวัตถุ      จะลดทำให้เสียหน้าเสียตาอะไรก็แล้วแต่     มันก็เป็นมานะ 

เป็นอัตตานั่นแหละ  แม้จะเสียหน้าเสียตา  วัตถุก็ถูกตัดถูกรอน  ถูกข่มถูกแย่ง  ถูก

เอาเปรียบ   เอารัดอะไรบ้าง  ก็เรียนให้ดี  อย่าไปแพ้ภัยตัวอำนาจกิเลส ยิ่งอยู่

ในหมู่ด้วยกันเองนี่ อดทนให้มาก  แล้วก็ปรึกษาหารือผู้รู้ ข้องใจ ไม่เข้าใจละเอียด

อะไรก็มาถึงอาตมา   อาตมาเปิดทางๆปวารณาให้อยู่เสมอ   ปรึกษาหารือข้องใจ  

อย่าเพิ่งฟืดๆฟัดๆ  ไม่อยู่แล้วโว้ย  อาตมาไม่อยากให้ออกไปจากกันน่ะ  อาตมาไม่

อยากให้แตกแยก  อาตมาอยากให้อยู่รวม โถ คนอย่างพวกเรา นี่ไม่ใช่หาได้ง่ายๆ  

คนที่ไม่ต่ำกว่าเกรดนี่นะ   เขาไม่ไล่ออกน่ะอย่าเพิ่งไปเลย เขายังไม่ไล่  เขายัง

อยากให้อยู่น่ะ อย่าเพิ่งไปเลยน่ะ ไปแล้วประเดี๋ยวเกิดไปอย่างเมื่อเช้า  เมื่อวาน

นี้  เทศน์ไปแล้วก็ อื้อ  กูเอ๊ย  จะเข้ามาก็มานะ อัตตาหน้าใหญ่   เข้ามาก็ไม่ได้  

พลาดเสียแล้วกฏู  ออกมาข้างนอกนี่เจ็บปวด  

         เพราะฉะนั้น  ก็หันหน้าเข้าอยู่ทางโน้น  แม้จะเจ็บปวดอย่างไรก็อยู่กับ

หมู่โน่นแหละ  หมู่ที่มิตรดี สหายดี  สิ่งแวดล้อมดี ทั้งหมดทั้งมวล   มันก็อยู่กันไม่ได้  

ก็อยู่กันแค่นี้   มันไม่นำพาไปสู่สูงสุดดอก เพราะผู้รู้ผู้นำ ผู้พาอะไร ก็สำคัญ  ฐานที่

เป็นตัวอย่างที่ดีงาม  ก็สำคัญ  สิ่งแวดล้อมที่ดีนี่สำคัญ  มีผู้รู้ ผู้ไม่รู้ ไล่เลียงรองลง

มาจนกระทั่งสูงสุด   ยิ่งมีพระพุทธเจ้า มีรองพระพุทธเจ้า มีใครเป็นเก่ง   โอ้โฮ  

มีอิติสาวกอีก 82 บ๊ะก็ยิ่งดีใหญ่นะซิ   นี่ถึงแม้ว่าไม่ได้ขนาดนั้นน่ะ    อย่าหาว่าคุย

ตัวล่ะ   มีอาตมามีผู้รองๆอาตมาไป  มีผู้รู้ ผู้นั้นผู้นี้ ช่วยเหลือกัน   มาทั้งฝ่ายหญิง

ฝ่ายชาย   มีทั้งฆราวาส  พูดดี ทั้งอุบาสก อุบาสิกา  มีเอตทัคคะ  แหม  สอบตก

พยัญชนะคิดหาเอตทัคคะเท่านั้นแหละ  ไปอะไรเลอะเทอะ  แม้แต่ฆราวาส ผู้หญิงผู้

ชายก็มีเอตทัคคะ    ทางนั้นทางนี้  ที่จะพึ่งพากันได้    มันก็เป็นสังคมสิ่งแวดล้อม  

เป็นสัมปวังโกที่ดี กัลยาณสัมปวังโก ไม่ใช่หาได้ง่ายๆน่ะ นี่ไม่ใช่คุยตัว ไม่ใช่หลงตัว

         เพราะฉะนั้น   บอกว่าอย่าเอาแต่ใจตัววูบๆวาบๆ  หวือหวา  เดี๋ยวก็

ออกไป   เสียเวลาเป็นชาติๆ   กลับมาได้ก็บุญ     บางคนก็ถูกอีด่างคาบไปแล้ว 

มายากแล้ว   ไปมีอะไรอีรุงตุงนังมากมาย ก็มันจะมาได้อย่างไร  มารอด   กลับ

มารอด  ปลอดภัยก็ดี  ก็ยังไม่รู้ ยังมีเวลาอีกมากน่ะ  พวกเก่าๆนี่ไปแล้วก็  เดี๋ยว

เถิด   ยังไม่รู้สึก   เลือดมันยังออกน้อย  ก็เลยยังไม่เข้ามา  ต้องให้เลือดมากๆ  

โทรมตัวแล้วถึงรู้สึกว่าค่อยพยายามหาทางกลับมา  ก็ได้ถ้าหน้ายังไม่ใหญ่  หน้าใหญ่

ใจโตอยู่ยังลดไม่ลง  เข้ามาไม่ได้ก็อาจจะมี

Š         เอาละ  มีอะไรจะต้องพูดกันต่อไปอีก  เลยเวลาไปมากแล้ว  เรื่อยๆ 

เรียงๆ  แล้วก็ค่อยพูดกันต่อ

         สำหรับวันนี้  หยุดแค่นี้ไว้ก่อน 

 

         ถอด        โดย   จอม  ศรีสวัสดิ์

         ตรวจทาน 1  โดย   สม.  ปราณี  22 ก.พ.37

         พิมพ์        โดย   สม.  นัยนา มาบรรจบ

         ตรวจทาน 2  โดย   โครงงานถอดเท็ปฯ 10 มี.ค.37

         เข้าปก      โดย   สมณะพรหมจริโย

         เขียนปก     โดย   พุทธศิลป์



 

ที่มา ที่ไป

360817 กรรมกำหนดโชคชะตา(อริยสัจ 4) โดย พ่อท่าน โพธิรักษ์ ณ สันติอโศก เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2536


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 09:49:57 )

390301

รายละเอียด

390301 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 1 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์

                    เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2539

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

          ณ พุทธสถาน  ศีรษะอโศก อ. กันทรลักษ์  ศรีสะเกษ

 

         ณ บัดนี้ ก็เป็นเวลาที่เราจะได้อธิษฐาน เรามาปลุกเสกฯ ในครั้งที่ 20 นี้  ก็เป็นจารีต เป็นประเพณีของเราสืบต่อมา เป็นคุณค่า เป็นประโยชน์ที่พวกเรารู้กันดีสำหรับผู้ที่ได้มาปลุกเสกฯ สม่ำเสมอ    หรือว่าได้มาปลุกเสกฯ กันหลายครั้งหลายครา ก็จะรู้ว่าประโยชน์คุณค่าเกิดจากการปลุกเสกฯ นี้  มีประมาณอันหาค่ามิได้อย่างไร  เราตั้งใจมาปลุกเสกฯ เราตั้งใจที่จะมาบำเพ็ญประพฤติศึกษา การศึกษาไม่ใช่มีแต่ฟัง การศึกษาจะต้องมีการปฏิบัติประพฤติสำรวมสังวรไปด้วย   

เพราะฉะนั้น เราก็ต้องพยายามที่จะศึกษาและระลึกรู้  การตั้งใจก็คือตั้งใจเพื่อจะปรับกาย วาจา ใจของเรา  เพราะฉะนั้น เราจะตั้งใจปรับกาย วาจา ใจอันใดที่เราตั้งใจจะทำให้ดีขึ้น   อะไรละเว้นไม่ได้ที่เราจะละเว้นเราก็พึงกระทำ  การประพฤติก็มีอยู่สองหลักใหญ่ๆ  บาปสมาจาร กับอภิสมาจาร สองอย่าง  เพราะฉะนั้น  อะไรที่เป็นบาป  เป็นภัย  เป็นสิ่งที่เราจะงดเว้นให้เกิดอกรณัง  ไม่ให้เกิดให้เป็นให้มีอีก เราก็พึงตั้งจิตตั้งใจเอา สำหรับตนๆ  อะไรที่จะดียิ่งขึ้น  ที่เป็นอภิสมาจาร  ที่เราจะตั้งจิตตั้งใจสมาทานขึ้นมา  ทำให้ยิ่งๆขึ้น  เป็นกุศลเป็นสิ่งที่ดีสิ่งที่เจริญ เราก็พึงตั้งจิตตั้งใจสำหรับตนๆ เอาให้ได้ ตั้งเสมอ ไม่ใช่ว่าเราจะตั้งแต่เฉพาะในงาน  ที่ใดก็ได้  เมื่อใดก็ได้ ควรทำประจำชีวิตไปทีเดียว

         จะเห็นได้ว่า  อาตมายิ่งนานขึ้นนี่นะ อายุยาวมากขึ้นๆนี่ อาตมาจะรู้สึกว่าพูดเล่นมากขึ้น   สนุกสนานมากขึ้น เพราะอะไร?  เพราะว่าอาตมาได้เคร่งมาก่อน  เรียกว่าพยายามที่จะเข้มงวดกวดขันในตอนต้นๆ   มันก็เป็นได้ในตอนโน้นนะ  เป็นได้เพราะว่าคนเราน้อย   แม้แต่เด็กเล็กอะไรก็ไม่มี  อะไรต่ออะไรก็ยังตั้งอกตั้งใจกัน ผู้ที่มากันก็มากันอย่างเข้มข้น  ก็ทำกันเป็นการคัดเลือก   เอาจริงเอาจัง  ในความเอาจริงเอาจัง   ในความที่รู้จักจุดสำคัญ  รู้จักแกนเป้าหมายที่เราจะต้องเข้มงวด  ยืนหยัด  อันนี้เราจะต้องเข้าใจ จุดที่เราจะยืนหยัดให้แก่ชีวิต  คืออะไรเราจะต้องมั่น    สำหรับแต่ละคนนี่หลักใหญ่มี  เราจะได้พูดถึงหลักใหญ่กัน   หลักสำคัญๆ ที่จะต้องกระทำประพฤติแต่ละฐานะ  เราเรียกว่ากรรมฐาน ฐานก็คือ ฐานะนั่นแหละ  ฐานะก็คือ  ตัวแต่ละบุคคล  แต่ละฐานะไม่เท่ากัน   บางคนอินทรีย์อ่อน  บางคนอินทรีย์กลางๆ   บางคนอินทรีย์แข็งแรง  อินทรีย์ในที่นี้ก็คือ สภาพของแต่ละบุคคลมีกำลังเรียกว่าอินทรีย์  มีกำลังหรือมีความเป็นใหญ่  มีสิ่งที่มีนั่นแหละ มันมีได้มากมันมีได้ใหญ่  มันมีได้ดี มันมีได้แข็งแรง  มันมีได้เก่งเท่าไหร่ๆ  ก็นั่นแหละคือ  ในตัวเรา มันเป็นนามธรรม  อินทรีย์ที่ว่านี้ มันไม่ได้หมายความว่า แหม กล้ามเนื้อดี   มาเลย จะมางัดข้อกัน ไม่ใช่อินทรีย์อย่างนั้น (หัวเราะ)  นั่นก็กำลัง  กำลังอย่างนั้นน่ะ ก็ไปสู้กับไมค์ ไทสัน  รู้จักไมค์ ไทสันมั้ย เด็กๆ  (พ่อท่านถาม)

เด็ก : รู้จัก

พ่อท่าน : นั่นแน่ะ  โอ้โฮ!  รู้จัก ไมค์ ไทสัน แล้วรู้จักพระธรรมปิฎกมั้ย ?  (คนฟังหัวเราะ)  รู้มั้ย? รู้มั้ยล่ะ พระธรรมปิฎก รู้มั้ย?

เด็ก : ไม่รู้จัก

พ่อท่าน : ไม่รู้จัก  (คนฟังหัวเราะ)  เหลว  (คนฟังหัวเราะ)  ของไทยด้วย คนดังของไทยด้วย แล้วกลับไม่รู้จัก เหลวเลย  นี่แสดงว่า  ความรู้รอบตัวตก

         พระธรรมปิฎก คือ มหาประยุทธ์  ปยุตโต   เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ในระดับปราชญ์ทางพุทธศาสนาของไทย    ขณะนี้ถือเป็นอันดับหนึ่งเลยนะของประเทศไทยตอนนี้   พระธรรมปิฎกนี่  เป็นที่ว่าทางธรรมน่ะ    ทางศาสนาท่านมีตำแหน่งเหมือนกับผู้ว่าฯ เหมือนกับนายอำเภออะไรอย่างนี้ในทางโลก  ในทางธรรมนี่ ก็มีเป็นที่ คุณคุณ  เจ้าคุณอันนั้นเจ้าคุณอันนี้ นี่ก็ตำแหน่งเจ้าคุณ แต่เจ้าคุณในระดับสูง ถึงชั้นระดับธรรม   ทางศาสนานี่ เขามีพระครู  นี่เริ่มต้นจากเจ้าอธิการนี่หมายความว่า   เป็นเจ้าอาวาสนะ   เป็นพระที่มีตำแหน่ง    อย่างน้อยตำแหน่งเจ้าอาวาส  เรียกว่าเจ้าอธิการ   จากนั้นสูงขึ้นไปก็มีตำแหน่งที่จะอย่างโน้นอย่างนี้ อะไรขึ้นมาหน่อย   มีตำแหน่งเบื้องต้น ชั้นต้น  เหมือนกับทางราชการ  เขาก็มีตำแหน่งชั้นต้น แต่ก่อนนี้มีแต่ก่อนนี้เรียกชั้นจัตวา  ชั้นตรี ชั้นโท  อะไร เดี๋ยวนี้เรียกซี  ลำดับ จัดลำดับซีเลยไม่มีชื่อ   แต่ก่อนนี้มี ยิ่งแต่ก่อนโน้นยิ่งมีใหญ่เลย  มีขุน มีหลวง  มีพระอะไรไปตามลำดับ  นั่นน่ะคล้ายๆกัน

         ก็มีพระครู   พระครูก็ยังมีลำดับนะ  ยังมีซ้อน แหม เหมือนกันกับซีนี่แหละ   มีซ้อน  ซีนั่น  ก็ยังมีซ้อนขึ้นไปอีก ซีสาม ซีสี่อะไร  ก็มีซ้อนเหมือนกัน  พระครูก็มีขั้น  จนถึงพระครูชั้นเอก  พอจากพระครูแล้วก็เลื่อนขึ้นมาเป็นเจ้าคุณ เจ้าคุณสามัญ  จะมีตำแหน่งเรียกเจ้าคุณนี่ ไม่เรียกพระครู ต้องเรียกพระ  ถ้าเรียกคำว่า “พระ” นำหน้านี่ เป็นเจ้าคุณแล้ว ถ้าเรียกพระครู  นี่ยังไม่ถึงเจ้าคุณ สูงกว่าครูนี่เป็นพระ ชื่อพระเฉย ๆ  ไม่มีครู  พระนั่นพระนี่ พระนี่พระโน่นธรรมดา จากพระก็จะต่อขึ้นไปเป็นชั้นราช เจ้าคุณสามัญนี่ ก็มีซ้อนเหมือนกัน มีตำแหน่งซ้อนเหมือนกัน  มีซ้อน

         จนเลื่อนจากเจ้าคุณชั้นต้นนี่ไปเป็นชั้นราช   ก็มีคำว่า “ราช” นี่  นำหน้าเสมอ  ราช นั่น ราช นี่อะไร ราช อะไรต่างๆ นานา  คำว่า ราช  ราช อะไรก็แล้วแต่  มีได้หลายอย่าง   ราชศรี ราชไอ้นั่น ไอ้นี่ หลายๆราช ไม่ใช่ราชสีหะใน  (หัวเราะ)  แหม อาตมานึกถึงศรี ศ. คอ  ร.เรือ  สระอี  นะเมื่อกี้นี้ พอพูดไปแล้ว  เอ๊ะ!   ทำไมราชศรี  มันออกไปเป็นอย่างโน่น  มีราชอะไรต่ออะไรต่างๆ นานานี่ อาตมาก็ไม่อยากจะกล่าวขึ้นมาซักชื่อหรอก  แต่ก็ผ่านๆไปนะ จากราช แล้วจึงจะมา  ถึงชั้นราช  แล้วก็มาชั้นเทพ   ก็มีคำว่า “เทพ”  นำหน้านี่  พระเทพนั่น พระเทพนี่ เทพอะไรต่ออะไร   เทพกวี เทพเวที เทพอะไรต่างๆ  เทพยาวๆ ก็มี  ที่หลายๆ ก็เยอะเหมือนกัน  ชั้นราช  แล้วมาชั้น เทพ

         ชั้นเทพ   แล้วก็มาชั้น “ธรรม”   อย่างพระธรรมปิฎกนี่  ถึงชั้นธรรมแล้ว เจ้าคุณในระดับสูงขึ้นมา   ธรรมดามาถึงชั้นราชแล้ว  สูงขึ้นมากว่าชั้นเทพ  ขึ้นมาถึงชั้นธรรมแล้ว   ชั้นธรรมนี่  แล้วก็ต่อไปจะเป็นชั้นพรหม  ชั้นธรรม  แล้วก็ไปชั้น “พรหม”  ชั้นพรหมนี่ คือชั้นรองสมเด็จ  จากชั้นพรหมขึ้นไป  ก็เป็นสมเด็จเลยอีงวดนี้ จากชั้นธรรม   จะเป็นชั้นพรหม   พระธรรมปิฎก นี่ขึ้นไปเป็นชั้นพรหมอีก หนึ่งแล้วก็จะเป็น “รองสมเด็จ”   จะรองสมเด็จ   พอรองสมเด็จ แล้วก็ขึ้นไปเป็นสมเด็จ  พอสมเด็จก็ขึ้นเป็น  Candidate  ของสังฆราช    พอเป็นชั้นสมเด็จแล้วก็เป็นผู้ที่มีสิทธิ์ที่จะได้รับเลือกขึ้นไปเป็น “สังฆราช”    สังฆราชสูงสุด   นะ   นี่ลำดับชั้นของตำแหน่งทางพระ  ของเรานี่ก็ไปเรื่อยๆ

         อย่างอาตมานี่ แค่เป็นแค่พระลูกวัด  พระครูยังไม่ได้เป็นเลย แล้วพวกเรา  ก็เป็นไปตามลำดับ  แล้วก็พัฒนาขึ้นไปให้มีความรู้  ความสามารถในทางที่จะเป็นคนเจริญ เรียกว่า เป็น “อาริยะ”  เป็นคนเจริญขึ้นไปแล้วมันจะเป็นประโยชน์ของมันจริง  ถ้าเป็นอาริยะจริง จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นแท้จริง หากได้ปฏิบัติธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นสัมมาทิฏฐิ  เดินสัมมาอริยมรรคได้   

          เพราะฉะนั้น  ผู้ใดที่จะปฏิบัติก็จะต้องรู้จักกรรมฐาน   แต่ละคนไม่ว่าใครนะ  จะว่าเป็นฆราวาส หรือจะว่าเป็นพระก็ตาม  เมื่อปฏิบัติธรรมของพระพุทธเจ้าแล้ว  ก็จะต้องรู้จักตัวเอง  รู้จักฐานะของตัวเอง   เรามีฐานะหมายความว่า เราเองเรามีภูมิ    เรามีอะไรแค่ไหน   มีอินทรีย์พละแค่ไหน   แข็งแรงแค่ไหน  เราอยู่กับโลกเขานี่  คำว่า แข็งแรง คำนี้บอกแล้วว่า  ไม่ใช่ว่าไปมีกล้ามเนื้อแข็งแรง  มีกำลังแบบกำลังทางกาย   อินทรีย์พละนี่ แปลว่ากำลังก็จริง  แต่ไม่ได้แปลว่ากำลังแบบทางกาย   แต่หมายถึงกำลังทางภูมิธรรม  กำลังทางภูมิธรรม  ขยายความอีกหน่อยก่อนนะ  อินทรีย์ก็มี  5  พละก็มี 5  ที่หมายถึงกำลังนี่นะ  หมายถึง กำลังนี่ อินทรีย์ก็มี 5 พละก็มี 5  อันนี้สำคัญมากนะ  เราจะตรวจดูว่าฐานของเรา หรือ  ฐานะของเรา มีอินทรีย์  หรือมีพละ ก็คือตรวจ 5 ประการนี้    มีศรัทธา  วิริยะ  สติ สมาธิ ปัญญา  ได้ด้วยเหรอ  ท่องได้ด้วยเหรอเด็กๆ   (เด็กตอบว่าได้)ได้ซะด้วยเหรอ นี่มีเด็กๆ มานั่งขมีขมัน เป็นที่น่าอุ่นใจนะ   น่าชื่นใจ  เด็กๆก็มาฟังธรรม  มาปลุกเสกฯ   นี่ธรรมะในระดับลึกนะ   ในระดับเข้ม  เป็นการติวเข้ม  ไม่ใช่ติวพื้นๆฐาน  เด็กๆ ขนาดนี้ บางคนยังเป็นเด็กหญิง เด็กชายอยู่นี่ ก็ยังมาฟังธรรมกันระดับนี้ได้นี่ มันเป็นนิมิตหมายที่ดี เป็นนิมิตรหมายที่เห็นได้ว่าโลกครอบงำโลกสังคมนี่ ครอบงำ  ดึงดูดเอาคนนี่ไปติดแร้วติดบ่วง    เด็กๆ  โอ้โฮ!   เขาหาวิธีอย่างเห็นได้   พวกคอนเสิร์ต   พวกอะไรต่ออะไรนี่  ไปกันแน่นจริงๆเลยนะ มีแต่เด็กๆ   มีแต่วัยรุ่น  คอนเสิร์ตเมื่อไหร่ เขามีถ่ายทอด อาตมาสังเกตวัยรุ่นทั้งนั้นไปนั่งกัน  แล้วก็ทำกันได้ จัดกันได้ตลอดเสมอๆนะ   หาเงินหาทอง แล้วแพงนะ ไม่ใช่ถูกๆ จ่ายเงินจ่ายทองกันไป  ไปนั่งโยก  นั่งสั่น  นั่งคลอน อะไรกันอยู่นั่นน่ะ  จริงๆ  คอนเสิร์ตไปก็ไปนั่งแย้วๆ  อย่างนั้นน่ะ   บางคนนี่ตลอดทั้งรายการเลย   เขาก็แย้วของเขาได้อยู่ตลอดเลยกี่ชั่วโมงก็แล้วแต่  คนแก่ไปทำก็น็อตหลุดเลย (หัวเราะ)  ถ้าขืนคนแก่ไปเย้วอย่างนั้นทั้งรายการกับเขา   น็อตเนิตหลุดรวนหมดเลย  มันไม่ได้หรอก   แต่พวกนี้เขากำลังแข็งแรง เขาก็ไปกัน  เขาก็ โอ๊! น่าดู  เพราะฉะนั้น  ของเรานี่ เด็กของเราก็มาทางนี้ ซึ่งเราไม่ครอบงำทางความคิดนะ  เราพยายามที่จะแนะนำ สอน  เปิด  เปิดกว้าง เปิดอิสระ  แล้วก็เปิดเผยความจริง  อะไรดี  อะไรไม่ดี เทียบเคียง   มีหลักฐานยืนยันอะไรบอกกัน  เด็กๆ  เขารู้ได้ เขาก็รับเอา  ใครพอใจก็เอา  อิสรเสรีภาพ ใครไม่พอใจ ก็แล้วไป  ใครตั้งอกตั้งใจเอา เห็นว่าดี ก็พากเพียร  หลักใหญ่ก็คือ ต้องพากเพียร

         ทีนี้ศรัทธา  5 หรือ อินทรีย์  5   พละ 5 เหมือนกัน  มี 5  อย่าง นี้เหมือนกัน อินทรีย์ 5  ก็มีศรัทธา วิริยะ  สติ สมาธิ ปัญญา พละก็มีศรัทธา วิริยะ สติ  สมาธิ ปัญญา เหมือนกัน  5 อย่างเหมือนกัน  แต่ต่างกัน   อินทรีย์ก็เป็นใหญ่เป็นกำลัง   ส่วนพละนั้นเน้นเลย เป็นตัวปลาย เป็นตัวปลาย เป็นลำดับหลัง ลำดับธรรมดา  เราก็เรียกธรรมดา  ศรัทธาธรรมดา แล้วก็มาถึงศรัทธินทรีย์   ก็หมายความว่าศรัทธาที่เป็นอินทรีย์  เป็นกำลังระดับหนึ่ง  ต่อมาก็เป็นศรัทธาพละ  อย่างนี้เป็นต้น  ก็เป็นกำลัง ที่เป็นลำดับ  ท่านเรียกว่า “ศรัทธา”  มีศรัทธา  นี่เป็นศรัทธา ความหมายของสิ่งนั้น  สูงขึ้นไประดับกลาง ก็เรียกว่าเกิดพละกำลัง   หรือว่าเกิดอินทรีย์   เกิดความเจริญขึ้นมา มีความแข็งแรง มีความเจริญ  จึงเรียกว่าอินทรีย์  ก็ศรัทธา ศรัทธินทรีย์ ศรัทธาพละ

         “วิริยะ” ก็เหมือนกัน  วิริยะก็เพียร  ความเพียร  เพียรแล้วก็มีวิริยินทรีย์  วิริยะพละ  เพิ่มขึ้นไปเป็นลำดับเหมือนกัน  แบ่งเป็นสามขั้นง่ายๆ  แต่ที่จริง  ก็จะซอยละเอียดก็ซอยไปนะ   มีมากมีน้อย  ก็แต่ละคนก็รู้กำลัง  รู้ความเจริญของเรา วิริยะ วิริยินทรีย์  วิริยพละ  “สติ” ก็เหมือนกัน สติธรรมดา แล้วก็มีสตินทรีย์  สติพละ “สมาธิ” ก็เหมือนกัน  สมาธิก็มีความหมายรู้แล้วว่าสมาธิคืออย่างนั้น แล้วเราก็ศึกษา เล่าเรียน   สั่งสมสมาธินั้นเข้าไปเสร็จแล้ว ก็เป็นสมาธินทรีย์ แล้วก็สมาธิพละ  "ปัญญา” ก็เหมือนกัน  ปัญญาก็คือความรู้  ปัญญานั้นแตกต่างกันกับโดยจริงๆโดยเนื้อแท้เลยนะ

         คำว่า “ปัญญา” นี่น่ะ แตกต่างจากความรู้ที่เขาเข้าใจทั่วไปอยู่เดี๋ยวนี้  ความรู้ที่เข้าใจอยู่ทั่วไปเดี๋ยวนี้นี่จริงๆ   ไม่เรียกว่าปัญญา  ความรู้อย่างนี้   เป็นความรู้ไม่ใช่ความรู้ทางธรรม  ไม่ใช่ความรู้ที่ แปลในภาษาไทยเขาแปลปัญญา  ว่าเป็นความรู้ความจริงตามความเป็นจริง   ที่จริงความหมายมันลึกซึ้งคำพูดนี้ รู้ความจริงตามความเป็นจริง  คำแปลนี้   หมายความว่า สิ่งนั้นที่ไร้สังขาร รู้สิ่งนั้น ตามสิ่งนั้น  ชนิดไม่มีสังขาร จริงๆ แล้วนี่ หมายถึงความรู้ในระดับรู้จักสัจจะเพียวๆ ยกตัวอย่างเช่นว่า  แดง สีแดง  ก็รู้สีแดงนั้น มีความรู้รู้ว่า  แดง  คือแดงเพียวๆ โดยไม่มีอารมณ์ว่าชอบ ไม่มีอารมณ์เปรียบเทียบว่าสวยกับไม่สวย แดงนี้สวย แดงนี้ไม่สวย ไม่มี  แดงมากแดงน้อย แดงต่างกันก็รู้ว่ามันต่างกัน  แต่ไม่รู้ว่า แดงที่ต่างกันนี้  เออ ไอ้แดงนี้สวยกว่าแดงนี้ ไม่มีสังขาร ไม่มีความเปรียบเทียบอย่างนั้น  นี่เรียกว่ารู้ความจริงตามความเป็นจริง   รู้ว่าแดงนี้อย่างนี้ แดงนี้อย่างนี้ ก็รู้ความจริงว่า เออ ไอ้แดงนี้อย่างนี้ ไอ้แดงนี้ อย่างนี้ มันต่างกัน มีลิงคะ  ต่างกันเท่านั้น แต่ไม่มีอารมณ์เป็นอารมณ์ชอบ อารมณ์ไม่ชอบ หรืออารมณ์เปรียบเทียบโดยที่เรียกว่าเกิดอารมณ์เกิดกิเลสจริงๆแล้ว  ปัญญาจริงๆ มันหมายความว่าอย่างนั้น  ที่แปลว่ารู้ความจริงตามความเป็นจริง  รู้ความเป็นที่มันเป็น 

เพราะฉะนั้น  ถ้ามีสังขารเข้าไปปรุงร่วมก็เรียกว่า เออ   แดงนี้สวยกว่านี้แดงนี้แฮ่ะ     เพราะฉะนั้น แดงนึ้จะต้องสูงกว่าแดงนี้  แดงนี้ต่ำกว่าแดงนี้  หรือ ชอบแดงนี้ แดงนี้ไม่ชอบ   นี่อย่างนี้ เรียกว่าเกิดสังขารขึ้นแล้ว เกิดการปรุง เกิดการเปรียบ เกิดการแบ่งแยก ไม่ใช่รู้ความจริงตามความเป็นจริง นี่ หนึ่ง

          2.  รู้ความจริงตามความเป็นจริงซ้อน  รู้ความเปรียบเทียบด้วย นี่เป็นอาริยะแล้วตอนนี้  เป็นปัญญาชั้นอาริยะ  ชั้นที่รู้ความจริงตามความเป็นจริงนั้นน่ะ เป็นปัญญาที่รู้พื้นฐานนะ  แต่คนทุกวันนี้ไม่มีปัญญา มีแต่ความรู้อื่น ซึ่งเรียกโดยภาษาบาลีก็เรียกเฉกะ หรือ เฉโก  หรือเฉกาก็ได้ เฉกตาก็ได้  ภาษาบาลีท่านผันไปหลายอย่าง  เพราะฉะนั้น เป็นความรู้นี่มาแปลเป็นภาษาไทย ก็คือมีความรู้ แต่รู้นี่ปรุงไปหลาย เยอะเลย ปรุงไปเป็นโลกๆเลย  ปรุงไปเปรียบเทียบ ปรุงไปอย่าง พอรู้ปั๊บ  มันอัตโนมัติเลย  ชอบไม่ชอบ ทันทีเลย พอรู้ปั๊บ นี่ชอบหรือไม่ชอบ มันปรุงเร็วใช่มั้ย   มันชำนาญมาก 

 เพราะฉะนั้น ความรู้อย่างที่ปรุงอย่างนั้นน่ะยังไม่ใช่ปัญญา   แม้ปัญญาพื้นฐาน  ทีนี้ปัญญาที่สูงกว่าปัญญาพื้นฐานเมื่อกี้นี้ ขนาดพื้นฐานนี่พวกเรายังไม่มีเลย   หรือมี? (พ่อท่านถาม)  มันมีแต่เฉกะ มีแต่เฉโก   พอสัมผัสปั๊บ  เฮ้ย! สวย มันไปแล้ว มันมีแต่เฉโกทั้งนั้นแน่ะ  มันไม่มีพื้นฐานหรอก  ไม่มีปัญญาพื้นฐานหรอก  พื้นฐานมันยังไม่เป็น  ต้องมาฝึกหยุด ให้จิตให้มันเกิดความสงบ อย่าเพิ่งปรุง   อย่าเพิ่งโกรธ อย่าเพิ่งโลภ อย่าเพิ่งชอบ อย่าเพิ่งชัง  เพราะฉะนั้น เราจะฝึกมาให้วางเฉย  พวกนี้ให้มากลาง ไม่ใช่วางเฉย  วางเฉยนี่ จนกระทั่งกลายเป็นความผิด   อุเบกขาแล้วไปแปลว่าเฉยนี่  จนไปแปลเป็นความผิด  แปลเป็นว่าไม่รู้  เฉยนี่  คือ เป็นไง?  บื่อมะลื่อทื่อ  ไม่รู้อะไรเลย  เขาจะต้องรู้ความจริงตามความเป็นจริงให้ชัด

         เพราะฉะนั้น  ในนัยของความรู้ที่มันลึกเข้าไปอีกนี่ เราดูสมมติว่าเราดูผักนี่  โอ้!  นั่นสีเขียว  นั่นผลไม้มะเขือเทศสีแดง  พอดูโดยเฉโก   พอสัมผัสสิ่งเหล่านี้  พอสัมผัสปั๊บ  คนมันชินสังขารอยู่แล้วใช่มั้ย  สัมผัสปั๊บ เฮ้ย! สวย  ใบโต  สี  โอ้โห! สด มะเขือเทศสด  นั่นหยิบมาซิ  ตรงโน้น (พ่อท่านสั่ง)  ไกลๆไม่รู้เรื่อง นี่มันต่ำ หยิบมะเขือเทศ พอ พอ พอ ไม่ต้องหอบมามาก  แหม พอหยิบก็หยิบใหญ่เลย  มันต้องมีอุปกรณ์การสอนนิดหน่อย  ประกอบแล้วมันเห็นชัดใช่มั้ย   คนตาบอดมาคงยากหน่อยอีงวดนี้  นี่คนตาดีไม่เป็นไร เห็นด้วย  พอสัมผัสปั๊บ อู๊ย! สีแดง สด สวย ชอบ  บางคนอาจจะบอก อู๊ย! สีแดงแปร๊ดไม่ไหว แสบตา แรงไป จัดไป แล้วแต่  แล้วแต่รสนิยม   มันรสนิยมแบบไหน มันก็นิยมแบบนั้น  นิยมนี่แปลว่าเที่ยง เพราะฉะนั้น  ถ้าเราเที่ยง หมายความว่า อารมณ์ของจิตเรา  สังขารจิตของเรา หรือว่าจิตของเรา  มันเป็นอย่างไร  มันมีกิเลสอย่างไร  ประกอบอยู่อย่างเที่ยง  คือยังไม่เปลี่ยนนะ  ยังมั่นคงอยู่เลย มันปรุงเก่ง  พอสัมผัสไอ้แดงแปร๊ดนี่ ถ้าขนาดอย่างนี้แล้ว  มันอุปาทานของตัวเองนะ  ไอ้ที่รสนิยมว่าไม่ชอบมันก็ เอ๊ะ ! ไม่ไหว  แปร๊ดไม่ชอบ ถ้ามาบอก โอ้โหย! สดนี้น่ากิน ชอบ มันก็ปุ๊บปั๊บไปเลย มันนิยม มันเที่ยง มันปรุงปรู๊ด ถึงเลย เร็ว

         เพราะฉะนั้น  คนเราจะมาศึกษาจิตนี่  ยาก ไม่ง่ายๆเลย    เพราะฉะนั้น  อย่างน้อยที่สุด  ก็ต้องพยายามมา ยัง อย่าเพิ่งรีบปรุง  ต้องรีบสัมผัสแล้วก็ให้จิตเป็นกลาง ๆ    ไม่ใช่ว่าเฉย  พอสัมผัสปุ๊บ  สัมผัสอะไรก็เอาลูกดื้อ  ลูกบื่อ ลูกทื่อเข้าว่านะ สัมผัสอะไรก็เฉย ...ไม่ปรุงทั้งนั้นน่ะ ไม่รู้ มันจะแดง มันจะเขียว มันจะสด  มันจะสะอาด   นอกจากมันสด หรือไม่สดแล้ว มันยังมีว่า สะอาด  หรือไม่สะอาด   สกปรก  หรือสะอาดก็ได้  รูปร่างก็ได้ อะไรๆ  อีกก็ได้   อีกหลายนัยมากมายเลยนะ  ที่จะปรุงไปให้ว่า เออ อย่างนี้เราชอบ  อย่างนี้เราไม่ชอบ นี่อีกมากมาย ไอ้นี่เล่นระงับแบบบื้อเลยนะ สัมผัสอย่างนั้นก็เจาะลูกกะตาไม่เห็นซะเลยงั้นน่ะ มันก็ไม่รู้เรื่องอะไรแล้ว มันก็ไม่ปรุงอะไรแล้ว เพราะมันไม่เห็น  อันนี้มีเลย  ในพระสูตรนี่  เดี๋ยวจะอ่านให้ฟัง   ที่เตรียมมาในหนังสือนี้  อาตมาไม่อ่านให้ฟังนะ ไปอ่านกันเอง อาตมาจะหยิบในบางอันที่อาตมาจะพูดถึงเท่านี้นะ หน้าหก หน้าเจ็ด  นั่นแหละนะ   หน้าหก หน้าเจ็ดก็อินทรีย์ภาวนาสูตร   นี่เรากำลังพูดถึงอินทรีย์ พูดถึงพละกันอยู่นี่นะ

         "สมัยหนึ่ง  พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ป่าไผ่   ในนิคมชื่อ  กัฏชังคลา  ครั้งนั้นแล อันตรมานพ  ศิษย์พรหมปาราสิริยะ  เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค  ครั้นผ่านการทักทายปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง "  นี่เป็นสำนวนในพระไตรปิฎกจะมีเยอะ  พอเจอกัน   ก็แทบจะยกพระสูตรนี้ขึ้นมา  ปั๊บ   ก็ก็อปปี้มาแล้วก็เพจปุ๊บเข้าไปเลย  พัวะเลย  หมายความว่า   นี่ภาษา Computer  เขา คือ หมายความว่า  Copy  จากตัวนี้นะ  เสร็จแล้วก็มาถึงตรงไหน กด เรียกว่า ทับขึ้นมาปุ๊บ  ไอ้เจ้านี่ก็มาทั้งกะบิเลย  เรา เอาเท่าไหร่ล่ะ  ไอ้นี่มันสำนวนซ้ำกันน่ะ มันซ้ำกันไปหมดเลย  มันเอ้า ต้องการอันนี้มา Copy กี่ Copy  คุณจะเพจกี่ทีก็เอามาเลย มันจะมาทั้งขบวนเลย   นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง นี่ พอนั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาค ก็ได้ตรัสถามดังนี้ว่า "ดูกร อุตตระ ปาราสิริยะพราหมณ์ แสดงการเจริญอินทรีย์แก่สาวกหรือเปล่า?" พระอุตตระ  ก็ตอบว่า "แสดง  พระโคดมผู้เจริญ"   แสดงว่างั้นนะพระพุทธเจ้าก็ตรัสถามอีกว่า  "ดูกร  อุตตระ  แสดงอย่างใด  ด้วยประการใด?"  ท่านอุตตระก็บอกว่า "ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ในเรื่องนี่น่ะ ท่านปาราสิริยะพราหมณ์แสดงการเจริญอินทรีย์แก่สาวกทั้งหลายอย่างนี้ว่า  อย่าเห็นรูปด้วยจักษุ  อย่าได้ยินเสียงด้วยโสต" นี่คือเนื้อหา  ก็แสดงว่างั้น  แสดงยังไง ก็บอกว่าก็แสดงว่าอย่าเห็นรูปด้วยตา อย่าได้ยินเสียงด้วยหู พระพุทธเจ้าก็บอกว่า "ดูกร อุตตระ  เมื่อเป็นเช่นนี้   คนที่เจริญอินทรีย์แล้ว ตามคำของปาราสิริยะพราหมณ์  ต้องเป็นคนตาบอด   ต้องเป็นคนหูหนวก  เพราะคนตาบอด ไม่เห็นรูปด้วยจักษุ  คนหูหนวกไม่ได้ยินเสียงด้วยโสต" 

         เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว    ตรัสแล้วอย่างนี้   อุตตรมานพศิษย์ปาราสิริยะพราหมณ์  นั่งนิ่งเก้อเขิน คอตก ก้มหน้า ซบเซา หมดปฏิภาณ  สมัยโน้นเขาง่ายนะ  เพราะเขาฟังแล้วเขาก็ยอมรับ ไม่มีความดื้อด้าน  สมัยนี้คงจะหาเรื่องเถียงนะ  (คนฟังหัวเราะ)  ไม่ลงง่ายหรอก  พอฟังแล้ว   นี่ไม่คอตกหรอก มีแต่จะคอตั้งใหญ่ล่ะ    หาเรื่องเถียงใหญ่น่าดู    ไอ้ความดื้อด้านของคนมันเยอะ ลำดับนั้น  พระผู้มีพระภาคก็ทราบว่า อุตตรมานพ  ศิษย์ปาราสิริยพราหมณ์ นั่งคอตก   ก้มหน้า ซบเซา  หมดปฏิภาณ  จึงรับสั่งกับท่านพระอานนท์ว่า  "ดูกร อานนท์ปาราสิริยพราหมณ์   ย่อมแสดงการเจริญอินทรีย์แก่สาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง"  คือแสดงอย่างที่พราหมณ์ผู้นั้นแสดง  "ส่วนการเจริญอินทรีย์อันไม่มีวิธีอื่นยิ่งกว่า ในวินัยของพระอริยะ”  พระพุทธเจ้านี่ยอดคุยโม้เลยนะ  พระพุทธเจ้าตรัสของท่านอย่างนั้นจริงๆ   แล้วท่านก็ตรัสซื่อๆ  ด้วยใจบริสุทธิ์นะ แต่คนฟังนี่จะเห็นว่าคุยตัว   ขนาดอาตมานี่  ก็ว่าอาตมาพูดซื่อๆนะ  อันนั้น อันนี้  แต่คนเขาหาว่าคุยตัวจัง  มันคุยข่มคนอื่น  มันคุยอวดอ้าง  คุยใหญ่  แหม คุยเขื่องจริงๆเลยนะ  แล้วก็ข่มยก..   ที่จริงน่ะเราพูดความจริง  เหมือนพระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสอย่างนี้  ท่านบอกว่า  การแสดงอินทรีย์พละของปาราสิริยะพราหมณ์   นั้นก็ย่อมแสดงอย่างหนึ่ง  แต่ของท่านนี่ ท่านบอกว่า "ส่วนการเจริญอินทรีย์พละอันไม่มีวิธียิ่งกว่า"  แน่ะ!   บอกว่าของท่านนี่อย่าให้คุยเลยว่างั้นนะ  ต้องแปลสมัยใหม่ ว่าอย่าให้คุยเลย ไม่มีใครเทียบ  ไม่มีวิธีอื่นยิ่งกว่า  "ในวินัยของพระอริยะ ย่อมเป็นอีกอย่างหนึ่ง"  ท่านก็บอกของท่านนี่เป็นอีกอย่างหนึ่ง   ของพราหมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง  ส่วนของท่านนี่  เป็นชนิดที่เรียกว่า ไม่มีใครเทียบหรอก  ไม่มีวิธีอื่นจะยิ่งกว่าไปอีก  ของท่านนี่ อีกอย่างหนึ่ง

         ท่านพระอานนท์  ก็ทูลว่า "ข้าแต่พระผู้มีพระภาค  ผู้สุคต   ผู้สุคตะ เป็นการสมควรแล้ว  ที่พระผู้มีพระภาค จะทรงแสดงการเจริญอินทรีย์ อันไม่มีวิธีอื่นยิ่งกว่า  ในวินัยพระอริยะ" ยังกำกับลงไปอีกนะว่า ในวินัยของพระอริยะ  ในแบบอย่าง นัยอันยิ่ง  อาตมาเคยแปลให้ฟังว่า วินัยนี่แปลว่านัยอันยิ่ง ไม่ใช่ว่านัยอันไม่มีนัย    ไอ้อย่างนั้น   มันคนไม่รู้เรื่อง  คนโง่   นัยอันไม่มีนัยนั่นมันคนโง่ (หัวเราะ)  นัยอันยิ่ง  ยิ่งวินัยนี่นะ วินัยนี่นัยยะอันยิ่งของพระอริยะ  "ภิกษุทั้งหลายฟังต่อพระผู้มีพระภาคแล้วจักทรงจำไว้"    พระพุทธเจ้าก็ตรัสไปต่อ "ดูกรอานนท์ ถ้าเช่นนั้น เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านพระอานนท์ ทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้วพระพุทธเจ้าข้า"   เพราะฉะนั้น  ท่านก็เอาเค้ามาจากลูกศิษย์ของพราหมณ์ปาราสิริยะ  ปาราสิริยะพราหมณ์มาเป็นเค้าเงื่อนว่าเขาสอนกันเขาสอนแบบนั้นน่ะ   เหมือนอย่างอาตมา ก็เอาเค้าเงื่อน เขาสอนกันอยู่ทุกวันนี้เขาสอนอย่างนั้นน่ะ   เราก็อีกอย่างหนึ่ง  ส่วนคำสอนของพระพุทธเจ้านั้นอีกอย่างหนึ่งนะ   หมายความว่า อย่างนี้มีนัยอย่างนี้   เป็นอาริยะ  เป็นวินัยที่เป็นอย่างอาริยะ  เป็นนัยอันยิ่ง  นัยอันไม่เหมือนกัน

         อาตมาก็ว่าอาตมาสอนแบบนี้เหมือนกัน  แต่ว่าก็ไม่เท่าท่านหรอกนะ ไม่เท่าพระพุทธเจ้าหรอก   แต่ว่าก็อย่างพระพุทธเจ้าทำนั่นแหละ ไม่เก่งเท่าก็ไปตามประสาเรา ได้ขนาดนี้ เพราะฉะนั้น ถ้าเผื่อว่าจะสอน ที่อาตมาก็เคยพูดว่าอุเบกขานี่  เราก็สอนอย่างอุเบกขาเดี๋ยวนี้แหละ  ยิ่งโดยเฉพาะไปมีหลายสูตร ท่านบอกว่าผัสสะเป็นปฏิปักษ์ต่อเสียงว่างั้นนะ  เขาก็เลยแปล “ผัสสะ” ก็คือสัมผัสทางหู  ทางหูทางตา จมูก  ลิ้น กาย ผัสสะทางไหนก็แล้วแต่ มันเป็นปฏิปักษ์ เพราะฉะนั้น  เมื่อได้ผัสสะทางเสียง เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อฌาน   มันก็เข้าหูไปเป็นปฏิปักษ์ต่อฌาน หา? (พ่อท่านถาม)  ปฐมฌาน เออ เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน 

 เพราะฉะนั้น เมื่อเขาบอกว่าเสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน  เขาก็ไม่สัมผัสเสียง ปิดหู  ทำให้หูไม่ได้รับเสียง  เพราะว่า ภาษาบอกแล้วว่า เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน คนก็พาซื่อไปบอก  โอ๊! ถ้าอย่างนั้น  ก็จะต้องไม่เปิดหูให้รับเสียง   เพราะถ้าขืนเปิดหูรับเสียง   เสียงมันเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน  อย่ากระนั้นเลย จงไปอยู่ในห้องอัดเสียง (คนฟังหัวเราะ)   แล้วก็อย่าให้เสียงเข้าไป   ห้องอัดเสียงนี่  เป็นห้องเขาเก็บเสียงเลยนะ  เสียงอะไรก็ไม่เข้า ห้องอันนั้น ก็จะไม่มีปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน  ก็พาซื่อไปหาที่ๆอย่างนั้นน่ะ สงัดที่ๆเงียบเสียง ที่เงียบรูป  ก็นัยเดียวกัน ตาก็ไม่ได้เห็นรูปจมูกก็ไม่ได้กลิ่นอะไรคือมันพาซื่อ มันชั้นเดียว มิติเดียว  ก็เลยทำอย่างนั้นกัน ก็เลยกลายเป็นความเข้าใจว่า พระพุทธเจ้าสอนแบบนั้น ก็จะไปหาพราหมณ์ผู้นี้เหมือนกันน่ะ เหมือนผู้นี้ เพราะฉะนั้น  ก็เลยกลายเป็นนักปฏิบัติธรรมตาบอด หูหนวกกันไปหมด  จริงๆ   เป็นตาบอด  หูหนวกกันไปหมด   เพราะมันพาซื่อ   ธรรมะของพระพุทธเจ้านี่คัมภีรา   ทุทสา ทุรนุโพธา  หลายคนก็ท่องได้แล้วอันนี้น่ะ   เพราะอาตมาพูดมานาน    พูดมาจนกระทั่งอาตมาก็คล่อง   คัมภีรา ทุทสา ทุรนุโพธา สันตา   ปณีตา    อัจฉราวจรา  นิพปุณณา   ปัณฑิตเวทนียา   แน่!  มับ   จบ คล่องปิ๊ดเลย

         ลึกซึ้ง “คัมภีระ คัมภีรา” เป็นความลึกซึ้ง “ทุทสา”  มันไม่สามารถที่จะตามเห็น   “ทัสนะ” นี่แปลว่า เห็น ไม่ใช่จะเห็นได้ด้วยง่ายๆ  “ทุ” ก็คือ มันลำบาก ทุไม่ดีมันไม่ใช่ว่ามันจะตามรู้กันได้  “ทุรนุโพธา”  รู้  รู้อย่างโพธะนี่ ก็ยิ่งสูงกว่าปัญญาขึ้นไปอีก “โพธะ  โพธิ” นี่แปลว่าตรัสรู้  รู้อย่างพระพุทธเจ้าท่านตรัสสอนไว้เลย   ตามทางอย่างถูกต้อง   เพราะฉะนั้น ผู้ใดที่รู้ขั้นโพธิ  ถือว่าเป็นการรู้ตรงตามพระพุทธเจ้าตรัสไปแล้ว  คำว่าโพธิ โพธะนี่ หรือโพชฌะ โพชฌงค์  ในองค์โพชฌะ นี่ แปลเป็นภาษาไทยก็แปลว่าตรัสรู้กัน    ตรัสรู้แปลซ้อนลงไปอีกว่า  รู้อย่างไร   รู้ตามตรง  ตามที่พระพุทธเจ้า  คำตรัสคำสอนพระวจนะของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าตรัสรู้  ไม่ได้ใช้กับพระพุทธเจ้าเท่านั้น   ตรัสรู้ก็ไปบอกว่าพระพุทธเจ้ารู้อย่างไร  ตรัสอย่างนั้นก็ใช่  แล้วเรารู้อย่างไรล่ะ  เรารู้อย่างพระพุทธเจ้าท่านตรัสก็คือ  ตรัสรู้อย่างเรา   เพราะฉะนั้น เราลูกศิษย์เราก็รู้ ใช้คำว่าตรัสรู้ได้เหมือนกัน  ได้อย่างโพธิ ได้อย่างพุฌะ   หรือ   พุทธะ   หรือ   โพชฌงค์    โพชฌงค์นี่มี   โพชะ+องค์ เป็นองค์ของโพชฌะ  หรือโพธินี่แหละ  เป็นผู้ให้การตรัสรู้ องค์แห่งการตรัสรู้ หรือหน่วย    มีหน่วยแห่งการตรัสรู้นั้นจริง เป็นความรู้ที่เหนือชั้นกว่าปัญญาขึ้นไปอีกด้วยซ้ำนะ

         เพราะฉะนั้น ผู้ที่เข้าใจยังไม่ถูกต้อง  มันพาซื่อ อย่างที่กล่าวแล้ว ก็จะกลายเป็นแบบนี้   เดี๋ยวนี้  ศาสนาพุทธกำลังเพี้ยนไปหาอย่างปาราสิริยพราหมณ์กำลังจะเข้าไปเป็นแบบนี้ เข้าใจเพี้ยนๆ  เป็นปิดหูปิดตา ทิ้งไปเลย มีทั้งประเภทที่ทิ้งแบบลืมตา    ไอ้แบบหลับตาน่ะ  ทิ้งแน่   นั่งเข้าภวังค์  ฌานนั้น  อะไรอื่นจะเป็นปฏิปักษ์ก็อย่างนั้น  เพราะฉะนั้น  จะเอาฌานในภวังค์เท่านั้น  นี่แบบฤาษีเก่าๆ เขาเรียนมามาก  เรียนมาเยอะ  ก่อนพระพุทธเจ้าเกิดด้วย  ก็ตัด ตาหลับเลย หูไม่มีอะไรปิด ก็พยายามที่จะทำให้ตนเองไม่ต้องรับเสียงทางหูเหมือนคนนอนหลับเข้าไปอยู่ในภวังค์    เข้าไปอยู่ในภพข้างใน   เพราะฉะนั้น   เมื่อเข้าไปอยู่ในภพภวังค์ข้างในได้สำเร็จ   หูก็ไม่รับเสียง  ไม่ได้รับรู้ ไม่ได้เอาอะไรอุด แต่ก็ไม่ได้รับ   กลิ่นก็ไม่ได้รับ  กลิ่นจะเข้าจมูกก็ไม่เอาเวทนาเข้ามารับร่วมรู้ด้วย   ตัด ตัดเวทนาทางหู  ตัดเวทนาทางตา ตัดเวทนาทางจมูก  ตัดเวทนาทางลิ้น ทางกายสัมผัส  ไปอยู่ในภพ เรียกว่าภวังค์  ภวังค์ก็คือองค์ของภพ  เข้าไปอยู่ในข้างในจิต จิตในจิตเท่านั้น  ก็รู้แต่จิตในจิต  ข้างนอกไม่รู้แล้ว เรียกว่า ตัดกายทวาร  ตา หู จมูก ลิ้น กาย ตัด

         เมื่อตัดอย่างนี้แล้ว  ก็ถือว่าเป็นฌานเข้าไปเลย นี่เข้าใจตื้นๆ  อย่างนี้ซึ่งผิด  เข้าไปอยู่ในภวังค์นั้น ยังมีกิเลสนิวรณ์ 5  อารมณ์กิเลสนิวรณ์ 5 ยังมีอยู่ในจิต   อย่างนั้นไม่เรียกว่าฌาน  ฌานไม่ได้นับเอาอีตรงที่ไปอยู่ในภวังค์   อย่างนั้นเรียกว่าภวังค์ อันนี้ต้องไปอ่านในหนังสือ “คนคืออะไร”  ซึ่งอาตมาแยกภวังค์บ้าง ฌานบ้าง   หลับบ้าง อะไรพวกนี้ แยกวิเคราะห์อธิบายไว้ให้ฟังชัดๆ ว่ามันมีนัยที่ต่างกันอย่างไร   ต้องไปอ่านหนังสือคนคืออะไรได้เขียนไว้อยู่แล้ว เพราะฉะนั้น เมื่อเข้าไปอยู่ในภพแล้ว   ถ้าเราไม่รู้จักนิวรณ์   แล้วก็ทำให้นิวรณ์ลด    แม้นั่งหลับตาอยู่ในภวังค์  ยังมีนิวรณ์อยู่ก็ไม่เรียกว่าฌาน  เรียกว่าอยู่ในภวังค์   หรือไม่ก็นอนหลับธรรมดาก็คนเราก็มีนิวรณ์มีกิเลสไปตามธรรมชาติ  แต่ไม่ได้ยินแล้ว    ยิ่งนอนซี้เซาแล้ว โอ้โฮ! เอาน้ำราดยังนอนเฉยเลย อย่างนั้น มันก็นอนขี้เซาธรรมดา ไปอยู่ในภวังค์ อยู่ในภพ  อย่างนี้เป็นต้นนะ

         เพราะฉะนั้น  อินทรีย์ห้า พละห้านี่  เราก็จะต้องรู้ทั้งตา หู จมูก  ลิ้นกาย  ใจ  คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ท่านเรียกอินทรีย์เหมือนกันนะ  อินทรีย์หกหมายถึง  ทางตา  หู  จมูก  ลิ้น กาย  และก็ใจด้วย  เรียกว่าหก   ส่วนคำว่าอินทรีย์ห้านี่  ท่านจะไม่หมายถึงศรัทธา  วิริยะ  สติ สมาธิ ปัญญานะ  อินทรีย์ห้านี่ ท่านไม่หมายถึงอันนี้  ถ้าเรียกว่าอินทรีย์ห้านี่จะหมายถึงศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิปัญญา  เพราะฉะนั้น  ถ้าเรียกอินทรีย์หก ก็จะไปหมายถึงตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พยายามฟัง ศัพท์มันซ้ำกัน  คำว่าอินทรีย์นี่ คือกำลังทางตา กำลังตาหู กำลังทางจมูกกำลังทางลิ้น  กำลังทางกาย  กำลังทางใจ มันซ้อน ถ้าหมายถึงทวารนี่  หมายถึง อินทรีย์ซ้อนอยู่ในตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ “อินทรีย์ห้า” จะซ้อนอยู่ที่ตา  ตาจะมีกำลังเท่าไหร่  จะมีกำลังในความเชื่อ  จะมีกำลังของวิริยะ   จะมีกำลังของสติ  จะมีกำลังของสมาธิ   จะมีกำลังของปัญญา 

          เพราะฉะนั้น  คนไม่มีปัญญาพอสัมผัสทางตา  สัมผัสแดง  มะเขือเทศลูกแดง    พอสัมผัสทางตาปั๊บนี่  วางเลย  ไม่มีวิริยะ  เพียรศึกษา  เพียรปฏิบัติเพียรรู้เพียรทำความกระจ่าง  ไม่คิดเป็นปุญญาภิสังขารอะไรอีก ไม่มีวิสังขาร คือไม่ชนิดไม่ไปเลยนี่ เป็นสุดโต่งไปอีกทางหนึ่ง ไม่ไปทางตัดทิ้งไปเลย อุเบกขาซื่อบื้อ   เจอไอ้นี่เข้าปั๊บก็ตัดพัวะไม่อะไรเลย  อย่างนี้เรียกว่า ตัดซื่อบื้อ   ส่วนวิ ปรุง วิสังขาร   ปรุงอย่างยิ่งนี่ ก็ปรุงอย่างมีปัญญา  ปรุงอย่างมีโพธิ  อ๋อ!  แดง แต่ไม่เอาอัตตา  ไม่เอาความชอบความชังของเราเข้าไปร่วมปรุง แต่ก็รู้ตามโลกเขาเรียกว่าแดงนี่เขานิยม  หรือไม่นิยม  เขานิยมนะ ไม่ใช่เรานิยม  เขานิยม นิยมนี่  มีความหมายอีกนัยหนึ่ง  ภาษาไทย เราเข้าใจว่าชื่นชอบ   คำว่านิยมนี่นะ  มาแปลเป็นภาษาไทยนี่มาแปลว่าชื่นชอบ เห็นดีว่างั้นเถอะ นิยมนี่ เห็นดี  หรือชื่นชอบด้วย

         ก็รู้ตามสมมติสัจจะ  ว่าโลกเขาชื่นชอบหรือเปล่า    คนทั่วไปส่วนใหญ่เขาชื่นชอบหรือเปล่า   คนกลุ่มนี้ ชอบหรือเปล่าอย่างนี้  แล้วคนกลุ่มอื่น  ชอบหรือเปล่า   นี่มีปฏิภาณปัญญานี่ มีปฏิภาณเยอะ  เพราะคนวิสังขาร  ก็เอาปฏิภาณปัญญาเหล่านั้นมาปรุงร่วมเป็นวิสังขารได้  แต่ไม่เอาเราเข้าไปปรุงร่วม ไม่มีอัตตา ไม่มีตัวกูของกูเข้าไปปรุงร่วม  ฟังให้ดีนะ ไม่ใช่เอาเรา ตัวเราชอบหรือตัวเราไม่ชอบ ไปกำหนด  นี่เรียกว่า อุเบกขาแล้ว นี่อุเบกขาแล้วคือหมายความว่า เป็นกลางแล้ว โดยที่เราไม่มีตัวเราเข้าไปร่วมปรุง   แต่รู้จักโลก  รู้จักโลกวิทู  รู้จักสังคม รู้จักมนุษยชาติ    รู้จักอะไรเกิดอยู่จริง  ในมนุษย์นี้ในโลกนี้   รู้จักอันอื่นเข้าใจอันอื่น  เพราะฉะนั้น เราก็จะต้องฝึก  อย่าให้มีอัตตาเข้าไปร่วมปรุง  แต่ไม่ใช่ไม่รู้ รู้ รู้ดี  อ๋อ!  อย่างนี้ หรือให้ชัดในขณะฐานะพวกเราเป็นนักปฏิบัติ  พอรับสัมผัสปั๊บ เรานั่นแหละตัวดี   มันชอบหรือไม่ชอบ  พอสัมผัสปั๊บ  มันปรุงปั๊บ  จับตัวปรุงได้  นั่นละ คือตัวเกิดญาณล่ะ   มีปัญญารู้เลย   เอาละ ไอ้เจ้าแหลม  เจ้าแหลม   เจ้าที่ไม่ปรากฎตัว  ต้องจับตัวมันให้ได้ ที่จริงก็ตัวเรานั่นแหละมันเข้าไปปรุงร่วม นี่มันชอบนี่มันไม่ชอบ มันเร็วนะ ใจมันเร็วนะ มันปรุงเร็วใช่มั้ย พูดอย่างนี้แล้ว นึกออกมั้ย  เด็กๆ ฟังรู้เรื่องมั้ย เด็กๆ ฟังรู้เรื่องมั้ย  หลับตาฟังน่ะ  จะไปแล้วนั่นน่ะ (คนฟังหัวเราะ) หา? ไหวมั้ย ? (หัวเราะ)  ดี อุตส่าห์เพียรนะ ไหวมั้ย  รู้มั้ย เอายาหม่องทาเพื่อแก้ไม่ให้มันหลับนะ เอ้า! ดี อุตสาหะไป ระวัง ทามากๆ  เข้าบวมจริงๆ นะ  เอาแต่พอสมควร

         เอ้า! ก็ฟังเข้าใจมั้ย?  มันชอบหรือไม่ชอบนี่ ฟังรู้มั้ย  แต่ตัวจริงของตัวเองนี่จะชอบหรือไม่ชอบ ไม่รู้นะ  แต่อาตมาอธิบายตามลักษณะธรรม  เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่า เราเข้าไป ตัวเรา  ตัวเรานี่เร็วเหลือเกิน  ตัวเรานี่ มันเข้าไปร่วมเร็วเหลือเกิน  ชอบหรือไม่ชอบ มันปุ๊บเลย  เพราะฉะนั้น เราจับให้ทัน  รู้ให้ได้ว่า  เกิดอาการปรุงแล้ว  สังขารแล้ว เราปรุงร่วมแล้ว  ไม่อุเบกขาแล้วนะ แบบนี้เราเอาเราเข้าไปปรุง ฟังให้ดีนะ  เอาเราเข้าไปปรุงกับเราปรุงเหมือนกัน วิสังขารชนิดที่ ของสังคมอื่น เป็นสัจจะ สมมติสัจจะ  รู้ร่วมกัน ใครเขาก็เป็นอย่างนี้  ใครเขาก็รู้อย่างนี้ แล้วเขานิยมหรือไม่นิยม  นี่สังคมเขานิยมอยู่นะนี่   ค่านิยมของสังคมนะ   สังคมเขาชอบอย่างนี้ ไม่ชอบอย่างนี้   เราสามารถรู้โลกเขาได้นี่ เราจะรู้ประมาณ  เราจะรู้กำหนด  โดยไม่เอาตัวเราเข้าไป  

เพราะฉะนั้น เราล้างกิเลสของเรา  ก็คือส่วนของเรา ถ้าเราไปชอบไปชัง ล้างตัวนี้ ส่วนสังคมชอบหรือสังคมไม่ชอบ  เราไปบังคับเขาไม่ได้หรอก  แต่เราจะมีฝีมืออย่างไรว่าสังคม อย่าไปหลงใหลมากเลย   จะทำยังไงสังคมจะลดความชอบนี้ลง ก็ต้องมีศิลปะในการที่จะสอนแต่ละคนแต่ละคนให้ลดลงมา  เมื่อหน่วยของคน หน่วยของบุคคลแต่ละคนนี่  ลดลงมาเหมือนเราอีก ก็คือลดความหลงใหลในสังคมนั้นลงไปได้  ก่อนอื่นเราต้องทำตัวเราให้มันไม่ปรุงแล้วให้มันลดให้ได้เสียก่อน  ลดลงไปได้แล้วเราก็ถึงจะรู้จักธรรมรส  รู้จักวิมุติรส  เป็นรสที่มันระงับการปรุงได้  ว่ามันอร่อยอย่างไร

คนฟัง  : ที่เรียกว่ารูป    เวทนา  สัญญา  สังขาร   นี่มันเป็น  เขาเรียกอะไรละศัพท์

พ่อท่าน : เจตสิก รูป เวทนา อ๋อ! ขันธ์ 5  รูป เวทนา  สัญญา   สังขาร  วิญญาณ  นี่เรียกว่า ขันธ์ทั้ง 5  

         ใช่  ใช่  เราก็ใช้เวทนา  อาตมาไม่ได้หยิบตัวคำว่าเวทนา  แปลว่าความรู้สึก  สัญญาแปลว่าตัวกำหนด  สังขารแปลว่าตัวปรุง   ไม่ได้หยิบตัวนั้นมาพูดก่อน   ก็เลยมีผู้ที่ท้วงขึ้นมา  ใช่  ในคนเรามีขันธ์ 5 นี้  มีรูป มีเวทนา   สัญญา สังขาร   วิญญาณ  ใน “คนคืออะไร” อธิบายขันธ์ 5 พวกนี้ไว้ละเอียดดี  พวกเรานี่ศึกษาแล้ว ควรจะต้องอ่าน "คนคืออะไร"  ท่านเมืองฟ้า นี่  ตั้งใจว่าจะอ่านร้อยเที่ยว  แต่ไม่รู้ว่า ได้ไปเท่าไหร่แล้ว  ถึง 99 หรือยัง? ยังไม่ทราบนะ  ท่านว่า

ท่านเมืองฟ้า :ได้สามเที่ยว

พ่อท่าน : สามเที่ยวแล้วเหรอ  เอ้า! ใกล้เข้าไปแล้ว  ขาดอีก 97 เที่ยวเท่านั้นเอง (คนฟังหัวเราะ)  ได้สามเที่ยวแล้ว เอ้า ทำเป็นหัวเราะ  แล้วคุณละ  นั่นเที่ยวหนึ่งจบหรือยังที่หัวเราะ นั่นน่ะ หา?

คนฟัง : ห้าเที่ยว

พ่อท่าน : ห้าเที่ยวแล้ว ห้าเที่ยว

คนฟัง : เที่ยวเดียว

พ่อท่าน : เที่ยวเดียว เอ้า ห้าเที่ยวก็ดี ก็ดี ไม่มีปัญหาหรอกน่ะ  

         เพราะฉะนั้นรูป  เวทนา    สัญญา  สังขาร  วิญญาณ   นี่ถ้าใครอ่าน "คนคืออะไร?" แล้วก็จะรู้ว่าจริงๆแล้ว เจตสิกสามนี่แหละเป็นเจตสิกหลักๆ เลย ขยายความออกไปจากเจตสิกสามนี่แหละ    แล้วจะเป็นอะไรต่ออะไรออกไปอีกเยอะแยะ  เวทนาเป็นความรู้สึก  แต่ความรู้สึกนี่ปรุงกันไปได้หลายเลย  ปรุงเป็นสุขเป็นทุกข์   ปรุงเป็นอุเบกขา ไม่ปรุงคือเป็นอุเบกขาไปอทุกขมสุข  นี่ก็เป็นหลักเหมือนกัน   หลักแค่สาม   แต่ที่จริงเวทนานี่ อาตมาอธิบายไม่ถึงร้อยแปดเวทนา  พระพุทธเจ้าอธิบายไม่ใช่อาตมาอธิบาย  พระพุทธเจ้าท่านแจกไว้ให้ฟังหมดแล้วเรา ก็ได้เอามาอธิบายสู่กันฟังแล้ว ก่อนจะเป็นร้อยแปดนี่ ไปตรงที่เวทนา 36 นี่สำคัญ   แยกเนกขัมมะ  แยกเคหสิตะออก คนไม่มีพื้นฐานยากหน่อยนะ  บอกแล้วว่า มางานนี้นี่เป็นงานยิ่งนานวันอาตมาถือว่าพวกเรามีพื้นฐานนะ  ไม่มีพื้นฐานนี่จะต้องไปเตรียมมา  เพราะว่างานปลุกเสกฯ จะมานั่งพูดอยู่ตรงเก่า อาตมาไม่ไปถึงไหนพอดี  ถือว่ามีพื้นฐาน 

  เพราะฉะนั้น  มาพูดถึงเวทนา  พูดไปเรื่อยๆนี่ อธิบายไปก็แสดงว่าพวกคุณต้องมีทุนมาเก่า  พูดถึงอันนี้ ก็พอรู้ว่าอันนี้มันหมายถึงอะไรบ้าง ไม่เช่นนั้นแล้ว ก็อาตมาต้องมาอธิบายใหม่พื้นฐานใหม่ ก. ไก่ใหม่ ข.ไข่ใหม่ แล้วก็ยุ่งกันใหญ่

         เพราะฉะนั้น  เมื่อเรามีเคหสิตะ มีเนกขัมมะแล้วนี่   เราจะเข้าใจ

เวทนาพวกนี้ เวทนาตั้งแต่เวทนาสาม เวทนาห้า เวทนาหก เวทนาสิบแปด เวทนาสามสิบหก  เวทนาร้อยแปด ร้อยแปดนี่ บวกกับกาละ  บวกกับอดีต ปัจจุบัน อนาคต คูณกับสามสิบหก   เข้ากันเป็นร้อยแปด  เพราะฉะนั้น อดีต ปัจจุบัน อนาคตนี่ ก็ไม่ยากเท่าไหร่   มันยากตรงที่สามสิบหก    สามสิบหก  จะแบ่งยาก   ก็ยากตรงที่เป็นเคหสิตะ  หรือเป็นเนกขัมมะ เคหสิตะก็คือเวทนาอย่างคนทั่วไป อย่างชาวบ้าน  อย่างมนุษย์ปุถุชน พอมันสัมผัสเวทนามันจะรู้สึกไม่ชอบ รู้สึกเฉยๆ แบบเคหสิตะด้วยนะ แบบคนโลกๆ เฉยๆบื้อๆไป ทิ้งมันไปดื้อๆ อย่างนั้นน่ะ มันไม่ได้เป็นอุเบกขาชนิดปัญญายอดหรือมีประสิทธิภาพแห่งอินทรีย์พละสูงด้วยนะ อุเบกขาที่มีอินทรีย์พละสูง มีกำลังสูง  ก็เพราะว่าเป็นอุเบกขาที่มีความบริสุทธิ์ ปริสุทธา อุเบกขาที่แม้บริสุทธิ์แล้ว  จะคลุกคลีเกี่ยวข้อง   จะแตะจะสัมผัสก็ยังปริโยทาตา     ก็ยังจะมีตัวบริสุทธิ์นั้นอยู่     แต่ก็ปรุงร่วมได้     อนุโลมได้ ปฏินิสสัคคะ สลัดคืนมาปรุงแต่งกับเราก็ยังได้  วิสังขารนี่ สังขารอย่างชนิดปรุงแต่งอย่างวิเศษเลยได้  ปรุงแต่งกับคุณด้วยก็ได้  ร่วมรู้ร่วมอะไรกับคุณด้วยก็ได้  แต่ไม่มีอัตตา  ไม่มีตัวเราเข้าไปร่วมเสพย์   ไปร่วมอร่อย  ไปร่วมเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ปรุงฟรีๆ  ปรุงกับคุณ โดยไม่มีตัวเราไปปรุงร่วมเลย  ภาษามันยากนะ  สภาพจริงจะเป็นยังไงคุณก็ต้องฝึกฝนให้เห็นตัวนี้ให้ได้   ให้เกิดตัวนี้จริงๆ   ไม่มีตัวเรา  นี่ เรียกว่าไม่มีตัวกูของกู  เป็นอนัตตา เป็นสุญญตา  เพราะฉะนั้น ปริโยทาตา  เป็นความบริสุทธิ์อยู่  ทั้งๆที่มีอื่นๆ มีโลก อยู่กับโลก เหนือโลก  ไม่ใช่อยู่อย่างแบบโลกแล้วก็เป็นไปตามโลก  โลกครอบงำไม่ได้ โลกมาซึม  มาแทรก   มาทำให้แปรปรวน    มาทำให้เป็นอื่น   มาทำให้ตกต่ำอะไรไม่ได้อีกแล้ว ปริโยทาตา  

 เพราะฉะนั้น  อุเบกขาไม่ได้มีอุเบกขาธรรมดา  อุเบกขามีความสามารถมาก  มีความบริสุทธิ์  มีความสะอาดซ้อนอยู่เป็นปริโยทาตา   จะคลุกคลีเกี่ยวข้อง  จะถูกโลกโลกีย์อยู่กับเขายังไง ผุฏฐัสสะ โลกะ ธัมเมหิ  จิตตัง ยัสสะ นกัมปติ  อโสกัง วิรชัง เขมัง  โน่นคล่องปรื๊ดเลย  ตัวท้ายนะ จะสัมผัสกับโลกธรรมอย่างไร  ก็ไม่หวั่นไหว   อย่าง อโสกะ อย่างไม่มีธุลีหมอง   อย่างวิรชะ  ไม่มีธุลีเริง เขมัง สุขเกษมเปรมปรีดิ์อยู่ ยังสบายอยู่ทุกอย่าง

         เพราะฉะนั้น  เมื่อสัมผัสแล้ว   มีปาริสุทธา   มีปริโยทาตา   มีมุทุ มีกัมมัญญา  มุทุก็คือ มอล อย่างที่ว่านี่ จิตคล่องแคล่วรอบตัว ง่าย สบาย  เป็นเองเลย   เป็นอัตโนมัติ  จิตทั้งมีทั้งเชิงปัญญา และศรัทธาที่เป็นอินทรีย์   ศรัทธาก็คือความเชื่อมั่น   เชื่อมั่นนะ  ไม่ใช่เชื่อฟัง ไม่ใช่เชื่อถือเท่านั้นนะ   เชื่อในตนเอง เชื่อในความจริง   เห็นความจริงอยู่ด้วยปัญญา  ธาตุรู้  รู้ว่าโอ๊ย!  เราแข็งแรง  ศรัทธานี่  คือ STATIC  ปัญญานี่ก็คือ DINAMIC  เป็นตัวแกนของขั้วลบอยู่พร้อมกันเลย   ตัววิ่งๆไป  ตัวหลักแข็งแรง  เป็นอัปปนา   พยัปปนา  เจตโสอภินิโรปนาแข็งแรงอยู่เลย   ตัวปรุงๆไป  สังขารปรุงไป  จะวิสังขารอย่างไร ขนาดไหนก็ปรุงไป ตัวทำงานของตัวปัญญา มีตักกะ  วิตักกะ  สังกัปปะ  จะนึกจะคิดจะปรุงยังไง  ก็คล่องแคล่วหมดเลย   คุณธรรมพวกนี้ ก็ฝึกมาจากการปฏิบัติมรรคองค์แปด สังกัปปะ  ได้ฝึก ตักกะ วิตักกะ  สังกัปปะ  อัปปนา พยัปปนา  เจตโสอภินิโรปนา วจีสังขารา   ได้ฝึกมาเก่ง เยี่ยมแล้ว  มีมุทุ  มุทุนั่นคือ  ความแคล่วคล่องของตรรก  วิตรรก  สังกัปปะ  พยัปปนา  เจตโส อภินิโรปนา  วจีสังขาร  สังขารปรุงได้คล่อง   กระทบสัมผัสอย่างไร  ก็มีความแข็งแรง   ปรุงอย่างไรกั้บโลก   จะร่วมยังไง  คิดนึกยังไง  ดีไม่ดีออกมาทำยังไง

          แหม! อาตมายกตัวอย่างในใจ วจีสังขารมันบอกแล้วว่า 

อรหันต์จี้กง น่ะ มันบอกอย่างนั้น  ซึ่งอาตมาบางที ก็ไม่อยากยกเท่าไหร่  เพราะว่าในหนังจี้กงน่ะ   มันเลยเถิดไปหน่อยหนึ่ง   มันปรุงมากเกินไป   เหมือนอย่าง อาตมาเมื่อวานนี้ ก็โดนเพ่ง ที่อาตมาพูดไปแล้วก็ทำสำเนียงสรภัญญะ  นโม ตัสสะ  นี่ว่าอาตมาไปล้อเลียนเขา  อาตมาบอกอาตมาไม่ได้ล้อเลียน  อันนี้เป็นของจริง ที่เขาเป็น  มายกตัวอย่างให้ฟัง ไม่ได้มีจิตใจล้อเลียน แต่เขาบอกว่าไปล้อเลียนเขา  เขาจะถือสา บอกถือสาก็ไม่เป็นไร เขาไม่ถือสาหรอก เพราะว่าอันนี้เขาถือว่าเป็นธรรมดา เขาร้องเรียนอันนี้เป็นธรรมดาจริงๆ อาตมาไม่ได้ร้องเป็นแค่นี้ อาตมาไม่ได้อนุโลมแค่นี้ แต่ในกลุ่มนี้ ในกาละนี้ พูดกับที่นี่น่ะ อาตมายกตัวอย่าง อันนี้ได้  ทำได้  นโม ตัสสะ (ทำสำเนียงสรภัญญะ)ที่จริงอาตมาร้องเพลงเลยก็ได้ ใช่มั้ย  ทีนี้อาตมาร้องเพลงเลยนี่ อาตมาก็เคยร้อง แม้เป็นพระแล้วนี่อาตมาก็ร้อง  แต่อาตมาร้องในที่ๆ สมควรกว่านี้ แล้วก็จำเป็นกว่านี้  แล้วทำในที่นั้นไม่มีปัญหา   ทุกคนเข้าใจ  เช่น อาตมาไปซ้อมเพลง  ไปทำเพลง  อัดเพลงกับเขา อาตมาก็ซ้อมต่อให้นักร้องแนะนำอะไรนี่ อาตมาทำ อาตมาร้อง   แต่อาตมาไม่เคยมาร้องกับอย่างนี้ซักทีหนึ่ง  อาตมาร้องไม่ไหวหรอก  อย่างนี้มันเกิน   อาตมาร้องไม่ได้   อย่างนี้มันเกิน  อาตมาไม่สังขารแล้ว อาตมาตัด อาตมาไม่เอา  แต่ขนาดสังขารแค่นี้   อาตมาสังขารกับคุณได้  สังขารแค่สรภัญญะ แค่นโม ตัสสะ (ทำสำเนียงสรภัญญะ)   เดี๋ยวนี้ ก็ยังทำได้อยู่เห็นมั้ย  คุณก็ไม่ได้เดือดร้อนอะไร  คุณก็ไม่มีปัญหาอะไร   คุณก็เข้าใจชัด มันไม่ได้มีความเสียหายอะไรนะ  เราไม่ได้ไปคิดร้ายอะไรกับใคร  เรากำลังสาธยายธรรม เรากำลังชี้แจงยกตัวอย่างอะไรอย่างนี้ เป็นต้น  เพราะฉะนั้น การสังขารการปรุง การอนุโลมนี่ 

คนฟัง : เขาเรียกว่าเป็นวิภวตัณหา

พ่อท่าน : ไปไหนถึงไหนแล้วคุณน่ะ วิภวตัณหา (คนฟังหัวเราะ) หา?

คนฟัง  : โดยเป็นการปรุงเพื่อผู้อื่น เป็นสังขารที่จะทำเพื่อผู้อื่น

พ่อท่าน  :  ปรุงเพื่อผู้อื่นนั่นแหละ มันไม่ได้เพื่อตัวเองหรอก ไม่ใช่ทำเพื่อตัวเอง ไม่ใช่อาตมาทำอย่างนี้  เพื่ออาตมามีกิเลสราคะ หรือมีกิเลสโทสะ   อาตมาปรุงอย่างนี้จริง คนที่มองอาตมาว่าอาตมาไปล้อเลียนเขาน่ะ  ถ้าอาตมาล้อเลียนเขา  จิตใจมีล้อเลียนนี่  จิตใจล้อเลียนแล้ว มันเร็วนะ  มันละเอียดนะ  ผิดจริงๆ เราล้อเลียนเขาแล้วเราก็สะหัวใจ  อาการอย่างนั้น ก็เป็นกิเลสของเรา  สะสมลงไปในกิเลสของเรา   มันละเอียด  เรา ตัวแทรกนะ  มันแทรก ล้อ  จริงตัวเจตนาตรงๆนะ เจตนาเพื่อที่จะอธิบายธรรม  แต่ลึกๆมันมีแฝง   มีผีแฝง  มีคนธรรพ์แฝงไปในครุฑเข้าไปเสพย์กากี  มีคนธรรพ์เป็นตัวหมัดตัวเล็น คนธรรพ์มันแปลงเป็นเล็นเป็นหมัดติดไปในตัวครุฑ แล้วก็ไปในวิมานฉิมพลี   แอบไปเสพย์กากี นี่ ตัวนี้น่ะ  ตัวนี้น่ะ  ถ้าใครไม่รู้จักคนธรรพ์  ไม่รู้จักตัวเสพย์ตัวนี้เสร็จ   เสร็จอีด่างอีแดงมาเยอะแล้วเสร็จ สะสม นี่มันก็เกิดกิเลส อาสวะเจริญยิ่ง  สั่งสมมาเรื่อยๆ  แล้วฟังธรรมะฟังดีๆ

         เพราะฉะนั้น ต้องอ่านใจเราให้ชัดๆ  ผู้เพ่งอาตมา ติเตียนว่าอาตมาไปล้อเขานะ   ก็มีเจตนาดี  แล้วก็ดีเหมือนกัน ท้วงไว้ก็ดีเหมือนกัน  แต่อาตมาว่าอาตมาไม่ได้เป็น อาตมาไม่ได้ไปล้อเลียน ไม่ได้ไปเจตนาที่จะไปย่ำยีดูถูกดูแคลนอะไร อาตมาอธิบายให้ฟัง เมื่อวานนี้ก็ได้เอาเท็ป มาเปิดก็ได้ ไม่มีปัญหาอะไรนะ ไม่ได้เป็นอย่างนั้น  อาตมาพูดถึงมาถึงตรงนี้ก็เลยบอก เอ้า! ให้พวกเราได้เข้าใจชัดๆ  อาตมาก็ทำให้ฟังทำให้ดู  เมื่อทำให้ดูด้วยเจตนาให้เห็นชัดเท่านี้  แล้วอาตมาอนุโลมนี่เรียกว่า วิสังขาร อาตมาปรุงได้ปรุงนี่แต่ไม่ปรุงเต็มที่นะ ถ้าอาตมาจะตั้งใจ แหม เหมือนนักร้องที่จะตั้งใจสวดให้มันเพราะกว่านั้น  อาตมานักร้องเก่านะ ใช้แค่ทำนองสรภัญญะ  นี่ก็ โอ้โห!  ทำให้เหมือนนักร้องลูกทุ่งเลย นักร้องนี่  แหม ทำให้ นโม ตัสสะ ภควโต (ทำสำเนียงสรภัญญะ) นี่ ประคองเสียง ประคองอะไรไปยิ่งกว่านั้นก็ได้   มันก็มากไปอีกได้นะ ถ้าจะตั้งใจ นี่ก็พอทำให้มันรู้เท่านั้นเอง อาตมาก็ปรุงเล็กน้อยนะ ไม่ได้ตั้งใจเต็มที่อะไร  ไม่ตั้งใจปรุงมากกว่านั้น แต่ก็พอรู้กัน อย่างใดเป็นต้น

         การปรุงอย่างนี้นี่ถ้าเราไม่มีเรา  เราไม่มีอัตตา ไม่มีมานะ ไม่มีกิเลสชอบ  กิเลสชัง  กิเลสโทสมูล  หรือกิเลสราคมูล  ปรุงเพราะว่า แหม เราอยากร้อง   ได้ทีเราว่ะ   อีงวดนี้ละ  ร้อง ร้องอีงวดนี้   ได้ปล่อยเปรตของเราเอง เพราะมันอยากร้อง  แหม มันได้โอกาสแล้วนี่ก็เลยร้อง  สวดไปแล้ว โอ้โฮ !โล่ง  แหม   สบายใจเลย  ได้ร้องซะที  อยากร้องมานานแล้วนี่ ก็ได้ร้องสมใจ  ไอ้นี่ก็เป็นราคะมูล   ถ้าร้องออกไปแล้วล่ะ  ร้องออกไปได้ดี  ไอ้คนนี้ได้ประชดประชันนั้น ได้แดกดันมัน  ได้ล้อเลียนมัน  มันก็เป็นกิเลสโทสมูล  ซึ่งไม่ใช่โกรธใหญ่ๆนะ  แต่มันเป็นลูกน้อย     เป็นอย่างคนธรรพ์เสพย์กากี ก็เสพย์ climax ของเราเองเสพย์ความใคร่ความอยากของเราสมกิเลสของเรา  สำเร็จความใคร่ของเรา  ที่เราอยากจะเป็นอันนี้น่ะ   อยากจะได้อันนี้สมใจเรา  แม้มันเล็ก มันน้อย  มันก็คือยากขึ้น   มันละเอียดขึ้น  มันแฝงขึ้น  อันนี้ต้องอ่านตัวพวกคนธรรพ์พวกนี้ให้ได้  ที่อาตมาใช้คำว่าอย่าแอบเสพย์  แฝงเสพย์  พวกแอบจิต นี่ต้องใช้สำนวนสมัยใหม่ พวกนี้มันไม่ตรง  มันแอบจิต   พวกนี้เราต้องเรียนรู้แล้วจับล้าง   อย่าให้มันเหลือ ต้องรู้ตัว ต้องรู้  ต้องมีปัญญาเข้าใจให้ชัด

         เพราะฉะนั้น  ในคำว่า สังขารนี้ จึงจะต้องเรียนรู้ให้ชัดว่า เราไม่ได้สังขารซื่อบื้อ  โดยไม่สังขารเลย เพราะฉะนั้น  ดับสังขารก็เลยไปดับไม่ปรุงอะไร เป็นซื่อบื้อนี่ก็อุเบกขาซื่อบื้อ   สังขารดับหู ดับตา อย่างที่พระพุทธเจ้าท่านว่า อย่างนั้น ก็คนตาบอด หูหนวก  ไอ้อย่างนี้ ใช้ไม่ได้  ตายิ่งใส  หูยิ่งวิเศษ เป็นโสตทิพย์ รู้เสียงหนึ่ง  เสียงสอง  รู้สีแดงนี่เป็นเสียงหนึ่ง เสียงสอง มีปรุงด้วยกิเลสหรือไม่ นึ่เป็นเสียงทิพย์   เอ๊ย! ขออภัย  นี่พูดถึงเสียงแล้ว ก็มาอธิบายรูป   (หัวเราะ) มันก็พอกันน่ะ   มันก็ได้นะ  โสตทิพย์ ไม่ได้หมายถึงเสียงอย่างเดียว  โสตะนี่แปลว่ารู้   มีรู้ทิพย์  เพราะฉะนั้น  รู้ด้วยตา  ก็เห็นรูปธรรมดา กับรูปทิพย์   เพราะฉะนั้น   เราเห็นสีแดงนี่ แดงมันก็แดงอย่างนี้น่ะ ธรรมชาติของมัน ถ้าเรารู้  บอกแล้วว่า ถ้าเรามีญาณปัญญาสูงขึ้นไปอีก รู้ไปถึงสังคมว่า อ๋อ!นี่ เขานิยม  ตอนนี้เขาชอบอย่างนี้นะ   สังคมเขาชอบนะ เรารู้กับสังคมเขา  แต่เรานั้นไม่ได้เป็นไปตามสังคม หรือตามโลกเขาหรอก  เราชอบหรือไม่ชอบ เราก็ไม่มี เรารู้ความจริงว่าเราชอบหรือไม่ชอบด้วย แล้วเราก็รู้ความจริงว่าคนอื่นเขาชอบสังคมเขาชอบแล้วเราก็ประมาณจะอนุโลมแก่เขาแค่ไหน  

          เพราะฉะนั้น  พระอริยะที่สูงแล้วนี่จะต้องอนุโลมผู้อื่น  ช่วยเหลือผู้อื่นและตัวเองก็ไม่เป็นทาส   ตัวเองก็ไม่เสียแต้ม ไม่เสียท่า ไม่มีกิเลส นี่ เรียกว่าวิสังขาร   แปลสังขารวิสังขารกันสุดโต่งไปท่าเดียวว่าไม่ปรุง แล้วก็ไม่ปรุงอะไรเลย กลายเป็นอุเบกขาเด๋อ อุเบกขาเฉย มันดื้อๆ  อะไรก็ไม่รู้ แบบนี้ง่าย  ง่ายง่ายกว่าที่อาตมาพูดใช่มั้ย  ง่ายกว่าเยอะ เพราะฉะนั้น เราจะต้องรู้สังขารลงไปซ้อนลงไปในสังขารอีก   แล้วก็ดับไอ้ส่วนที่ควรจะดับ  อย่าให้มีกิเลสเข้าไปปรุงร่วมเมื่อไม่มีกิเลสของเราแล้ว  แต่เรามีความรู้ มีพหูสูต  มีโลกวิทู  รู้โลกเขา แล้วก็ปรุงกับโลกเขา อนุโลมกับโลกเขา ช่วยแล้วมีประมาณเก่งเท่าใดๆ   ก็แล้วแต่พระอริยะแต่ละองค์  ท่านจะรู้ว่า  เออ  อันนี้ประมาณให้คนนี้  ประมาณให้กลุ่มนี้อนุโลมแค่นี้   จะปรุงแต่งแค่ไหน  จะปรุงแแค่ไหนก็ เอ้า!   ปรุงให้แก่เขาพอสมควร   ถ้ามากกว่านี้ ปรุงมากเกินไป มันไม่ไหวหรอก   กิเลสเอาใจเขาเกินไปถ้าปรุงเข้มข้นเกินไป ปรุงแล้วมันเคร่งหน่อย  ปรุงน้อยไปหน่อย  ฝืด จนกระทั่งเขารับไม่ไหว เขาก็ไม่มา  ทนไม่ไหวแล้ว  เขาได้แค่นี้ เพราะฉะนั้น  มันจะต้องยืดหยุ่นอยู่ตลอดเวลา

         ยืดหยุ่นรู้กลุ่มบุคคลกาละ  แม้แต่คนกลุ่มเก่านี่ บางกาละต้องนี่มากหน่อย คราวนี้ชักจะไม่ค่อยดีแล้ว  ปรุงให้มากหน่อย  คราวนี้เข้มขึ้นได้  ตอนนี้ แหม  ไฟแรง   ตอนนี้เข้มขึ้นมากๆ  หน่อยอะไรอย่างนี้ ต้องรู้ลมเพลมพัด แหม เป็นนักอุตุนิยมวิทยาชั้นหนึ่ง  ต้องรู้ลมเพลมพัดของคน โถ! อารมณ์ของคนนี่ มันยิ่งกว่าอุตุนิยมวิทยานะ  ต้องรู้ อย่างนี้ ผู้ที่จะช่วยผู้อื่น ต้องมีความรู้จริงๆ  แล้วประมาณผู้อื่นได้    เพราะฉะนั้น ก่อนจะประมาณผู้อื่นได้ ต้องมีความรู้ของตนให้ครบครัน จนกระทั่งเราสามารถที่จะฝึกตนได้   มีสติ  มีสมาธิ  มีปัญญา   เพียร   พากเพียร วิริยินทรีย์ มีสติเป็นตัวปฏิบัติ  สติเป็นตัวหลักปฏิบัติ  ความรู้ที่เราเรียนไปนี่ คือเรียนทิฏฐิ เรียนความรู้ความเห็น เป็นประธานของการปฏิบัติมรรคองค์ 8 ต้องมีสัมมาทิฐิเป็นประธาน    ทำความเข้าใจ ความเห็นให้แจ้งให้ชัด เป็นปริยัติ เป็นการเรียนรู้โดยภาษา  โดยทฤษฎี โดยหลักการ  เมื่อเรียนรู้หลักการให้เห็นว่า ไอ้อย่างนี้ถูกต้อง   สัมผัสด้วยตา  ด้วยหู จมูก  ลิ้น กาย   เมื่อสัมผัสด้วยตา  หู จมูก   ลิ้น  กาย แล้วมันจะเข้าไปถึงใจ  ถ้าเราแม้แต่ตา หู จมูก ลิ้น กาย  ไม่สัมผัส   แต่ใจเราก็ปรุงเราก็ต้องรู้ ทุกอย่างก็จะไปถึงใจหมด  แม้ตา หู จมูก ลิ้น กาย   สัมผัสแล้ว ก็ไปถึงใจ  เพราะฉะนั้น หลักการ ก็ต้องพยายามมีปฏิภาณ   มีความรู้ทางจิต  เมื่อไหร่ก็จะต้องพยายามรู้จิตของเรา ๆ 

         เพราะฉะนั้น เวลานักปฏิบัติธรรมเดี๋ยวนี้ นี่บอกว่าอะไรๆ  ก็เอาที่จิตนี่แหละ   เอาที่จิตนี่แหละ เสร็จแล้ว ก็ตัดไปเลย  อย่างสมัยนี้  ครูบาอาจารย์ทางปฏิบัติธรรมนี่  ส่วนมาก ก็ให้มานั่ง  ไปอยู่อย่าไปเอาตา หู จมูก ลิ้น กาย อย่าไปยุ่ง  อย่าไปเอาใจใส่ อย่าไปวุ่นวาย  เบื้องต้นใช่ สำหรับคนที่อ่อนแอ  ตาเห็นรูปนิดเดียว มันก็ไม่ไหวแล้ว  ไปกับเขาแล้ว ถูกโลกดูดไปหมด หูได้ยินเสียง ก็ไม่มีกำลัง  ไม่มีอินทรีย์  ไม่มีกำลังพอ  แล้วได้ยินเสียงก็  โอ๊ย!สู้ไม่ได้  ปรุงไปกับเขาติดไปกับเขา  มันจะทำจิตให้ว่าง  จะทำจิตให้ไม่ไปอะไรกับเขา ไม่ไปอะไรกับเขาให้มัน  จิตมันโปร่ง  ไม่ใช่เรียนรู้ว่า ไอ้นี่เป็นกาม  เป็นพยาบาท   เป็นถีนมิทธะ เป็นฟุ้งซ่านขนาดไหน    มันฟุ้งไปจนกระทั่งจับไม่ติด  ตามเขาไปหมด  ไม่มีกำลังเลย   อย่างนี้ต้องพรากไม้ที่ชุ่มด้วยยางออกจากน้ำ  ต้องอย่าไปรับ  หาในที่ๆ ไม่ได้ยินอันนั้น นี่เป็นเบื้องต้น  จริงๆก็ใช่

         เพราะฉะนั้น  คนที่จะปฏิบัติธรรมนี่ มันมีอยู่สองอย่าง   คนที่จะมาบวชแล้วนี่นะ   ต้องอินทรีย์พละสูง  อาตมาเคยบอก  จริงๆแล้วบวชนี่  ระดับอนาคามีจริงๆ  ผู้มาบวช   ระดับอนาคามี ไม่มีบ้านช่องเรือนชาน ไม่มีกาม  ไม่มีอะไรต่ออะไรพวกนี้   เพราะพวกนี้แล้วจะมาปฏิบัติภายในจิตเป็นหลัก  เพราะฉะนั้น   จะต้องมาลองต่อสู้   เอ้า! กินข้าวอิ่มแล้วเสร็จแล้ว กำลังอิ่มๆนี่ไปเลย ไปนั่งเดี่ยวๆ ด้วยนะ   โน่นน่ะ  ที่แจ้ง ลอมฟาง   ถ้ำเขา ไปนั่งหลับตาตั้งกายตรงดำรงสติคงมั่น   คุณคิดดูเเอาแล้วกัน   กำลังกินอิ่มๆ แล้วไปนั่ง ไม่มีใครเลย   เสียงก็ไม่มีอะไรก็ไม่มี   ไม่มีใครรู้ใครเห็นด้วยนี่ ช่วยตัวเองเต็มที่เลยนะ  ต้องแข็งแรงสู้ตัวเองนะ   ไม่ฟุบ ก็ให้มันดูไปเถอะ  มันไม่ง่ายนะ  มันยากนะ  เพราะฉะนั้น คนระดับต้นนี่นะ จะไปปฏิบัติอย่างนี้นี่  อย่า อย่าแหยม   อย่าแอ๊ค   มันเกินฐานะ เพราะฉะนั้น ยังเป็นฆราวาสนี่ ไม่ใช่ฐานะนี้ ไม่ใช่ พระพุทธเจ้าท่านสอนภิกษุท่านก็สอนอย่างนี้ล่ะ  อานาปาณสติ  หรือว่าสอนอะไรต่ออะไรพวกนี้ ก็  ประเดี๋ยวท่านก็บอก  เอาไป ภายหลังภัต คือ  หมายความว่า กินข้าวอิ่มใหม่ๆ  แล้วไปเลยโน่น ปลีกเดี่ยวไปเลย  ที่แจ้ง ลอมฟาง  เขาถ้ำ  ที่อันสงัด   แล้วก็นั่งตั้งกายตรง ดำรงสติคงมั่น  ตื่นให้ได้  นั่งตื่น ยิ่งหลับตาลงไปด้วยแล้วก็ให้ตื่นอยู่ในภายในด้วย (หัวเราะ)นั่น เรียบร้อย  หลับตาด้วยแล้วยิ่งเรียบร้อยเลย  แล้วไม่มีใครรู้ใครเห็นด้วย เงียบๆ ด้วย  ทุกอย่างด้วยนี่ไม่มีอะไรกวนเลยนี่นะ  โอ๊ย!  เสร็จอยู่ตรงนั้นน่ะ รับรอง งอก่องอขิงอยู่ตรงนั้นน่ะ ใช่มั้ย  มันไม่ใช่ฐาน  เพราะฉะนั้น อย่าข้ามขั้น พระที่จะทำอย่างนั้นแล้วนี่จะต้องมีอินทรีย์พละแข็ง ฐานอนาคามีภูมิไปเรียนรู้

         เพราะฉะนั้น  ในชาคริยานุโยคะ  ในอปัณณกธรรม 3  นี่อาตมาก็ข้ามไปหน่อยหนึ่ง    ในสูตรต้นๆนี่   มาตั้งแต่สูตรนี่  ท่านเรียงเอาไว้   อปัณณกสูตรอุปัชฌายสูตร    รัฏฐสูตร นันทสูตร อะไรพวกนี้ หรือสารีบุตรสูตรนี่ เป็นกลางๆว่าอาตมา  ไปอ่านดูเองได้นะ เป็นกลางๆ คำนี้  ก็เป็นคำกล่าวบอกให้รู้จักกรรมฐานสาม  คืออปัณณกธรรม 3 อาตมาเมื่อกี้นี้ ขอตัดไปเลยนะ   เดี๋ยวค่อยขยายความแทรกอีก    อุเบกขาที่อธิบายไปถึง  เมื่อแทรกเมื่อกี้นี้แล้ว  อุเบกขาอธิบายถึงมุทุกัมมัญญา   เป็นตัวแคล่วคล่อง  เป็นตัวที่การงาน  ส่วนปาริสุทธา  กับปริโยทาตา นี่เป็นตัวหลักแล้ว  เป็นตัวบริสุทธิ์สะอาด  อย่างไรก็สะอาด  เพราะฉะนั้น  มันมีคู่กันสองตัวสองสภาพ    เป็น static กับ dinamic เป็นตัวยืนหยัดกับตัว  นี่เป็นประสิทธิภาพของจิต ตัวหนึ่งตัวปัญญา ตัวหนึ่งตัวศรัทธา ศรัทธานี่ มั่นคงแข็งแรง หยุด เจโต หรือ ศรัทธานี่จิตตัวนี้ ส่วนปัญญา นั่นเป็นตัวรอบรู้  จะรู้อย่างเร็ว ไม่ใช่ว่าไปดับปัญญา ไม่ใช่ไปดับความรู้ ไม่ใช่ไปดับสัญญา ไม่ใช่ไปดับสังขาร ไม่ใช่ไปดับเวทนาไม่ได้ดับ แต่ดับส่วนที่เป็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา  ที่มีตัวเราไปสุขไปทุกข์ร่วม  ไปสุขไปทุกข์ ไปปรุงเป็นสุขเป็นทุกข์  หรือแม้แต่ไปอุเบกขาเด๋อ  ไปอุเบกขาแล้วก็เฉยเด๋อ   หรือแม้ที่สุด  เราเป็นอุเบกขาที่วิเศษนี้ได้  อันนั้นเป็นขั้นปลายของพระอรหันต์

คนฟัง  :  ก่อนที่จะอุเบกขานี่มันต้องอยู่ในนิวรณ์ห้าก่อน

พ่อท่าน : ใช่  ต้องรู้นิวรณ์ห้านะ  ก่อนจะอุเบกขานี่ ต้องรู้นิวรณ์ห้า  แล้วก็ไม่ให้อาการของกาม ของพยาบาท หรืออาการของถีนมิทธะ   มีอาการขนาดไหนล่ะ ถีนมิทธะ   แล้วอาการฟุ้งซ่าน รำคาญใจ มันขนาดไหนล่ะ  ต้องรู้ให้ชัดเจน  ไม่มีวิจิกิจฉา   จนไม่ลังเล ไม่สงสัย จนรู้แจ้งแทงทะลุรอบ  ว่าเราทำได้แล้ว   ไม่มีอาการกาม  ไม่มีอาการพยาบาท  แม้หยาบ กลาง ละเอียด  ไม่มีอาการถีนมิทธะ ตื่นเต็ม    

   อาตมาเคยอธิบายว่าถีนมิทธะนี่ แม้แต่หรี่ลงมานิดหนึ่ง   ยังไม่สมบูรณ์นะ อย่าว่าแต่ง่วงไปแล้วเลย  ไอ้นั่นมันถีนะ  มันถีหนัก  ถีหนัก ไม่ใช่ถีนะธรรมดา มันหรี่ลงไปจาก   เราต้องรู้ว่าร้อยเปอร์เซ็นต์เต็ม   สติตื่นเต็มนี่  ร้อยเปอร์เซ็นต์นี่ อย่างไร เราต้องรู้ อ๋อ! อาการอย่างนี้ เราเต็มนะนี่ สติรู้ตื่นเต็ม  จะลืมตา หรือหลับตาอยู่ในภวังค์ก็ตาม   นี่ร้อย สติเต็มร้อย  ถ้ามันเริ่มหงึดๆๆ ไม่รู้จะอธิบายว่ายังไง มันงุนๆ  ง่วงๆ ซึมๆ ลงไปของคุณนั่นล่ะ  ภาษาไทย ไม่รู้จะเรียกว่าไง มันไม่เต็ม  ไอ้นี่มันไม่ใช่สติร้อย นี่มันไม่สติร้อยนี่  หา?  มันไม่สติร้อยหรอกนี่   คุณต้องไปรู้ของตัวเอง   พอเริ่มต้นหรี่ลงไปนิดหนึ่ง   ไม่สติเต็มร้อย   นี่ก็ถือว่า เริ่มถีนมิทธะแล้ว  ต้องอ่านให้จริง แล้วอย่าให้มันเป็น  ให้เต็ม ให้เต็ม   สติร้อย สติร้อยให้มันเต็ม หรือมันสติร้อยแล้ว มันไม่เป็นเอกัคคตา  มันฟุ้ง  พอจะอยู่ในท่ารู้ที่เรากำหนด    ให้มันรู้เต็มร้อยอย่างนี้  มันไม่แล้ว แวบ !  แวบ !  นี่  อุทธัจจะ  มันฟุ้ง  แหม! แหม ไอ้เจ้าแวบนี่ มันก็คือตัวไอ้แวบ ไอ้ตัววูบ   แน่! ระวัง ตัวแวบ กับไอ้ตัววูบ

         เพราะฉะนั้น   ก็อ่านให้ละเอียดเลย  จนพ้นวิจิกิจฉา   ไม่วิจิกิจฉา  เมื่อใดก็เราไม่มีกาม ไม่มีพยาบาท  ไม่มีถีนมิทธะ ไม่มีอุทธัจจกุกกุจจะ เมื่อนั้นแหละ เรารู้ชัดรู้เจน เมื่อนั้นคือ คำว่า "ฌาน" ไม่มีนิวรณ์ห้าเมื่อใด  ไม่ว่าจะลืมตา  หรือหลับตา หรือเมื่อใด   ไม่มีนิวรณ์เป็นเครื่องกำหนดอาการของนิวรณ์เป็นอย่างไรก็ต้องรู้นะ  ต้องไปฝึก  ฝึกลืมตา หลับตา ฝึกตลอดเวลา มรรคองค์ 8  น่ะ ไม่ได้ไปนั่งหลับตาเท่านั้น  แม้แต่กำลังคิด กำลังพูด กำลังทำงาน กำลังทำอาชีพ ก็ฝึกฌาน ฌานลืมตา ฝึกสมาธิลืมตา ฝึก จิตเราจะต้องมุทุภูเต ต้องฝึกให้ได้  ฝึกฌานให้มีองค์ธรรมสี่ มุทุภูเต  ฐีเต   อเนญชัปปัตเต    อันนี้แบ่งไว้ชัด ฐีเต  อเนญชัปปัดเต  นี่คือ สแตติค  มุทุภูเต  กัมมนีเย  นี่คือไดนามิก   คือตัวเคลื่อนไหว คือตัวเร็ว คือตัวปัญญา  ไอ้นี่คือตัวเจโต  ฐีเต   อเนญชัปปัตเต ฐีเตตั้งมั่น  อเนญชา ไม่หวั่นไหว  แม้แต่ถูกกระทบ กระแทก  กระเทือนอะไร  ก็ไม่หวั่นไหว  อเนญชา  ฐีเต  นี่คือตัวหลัก  ตั้ง  ส่วนมุทุภูเต  กัมมนิเย  นี่คือตัวจิต   นี่มุทุภูตธาตุตัวนี่  นี้แววไว  คล่องแคล่ว แล้วก็สามารถดัดได้  ปรับได้  ดับกิเลสได้ง่ายๆเร็วๆ  พร้อมไปกับกัมมนิเย   การงานอะไร   ก็ทำงานอะไรก็ฐีเต  มุทุภูเต นี่พร้อม มันจะทำงานอะไรอยู่ ทำอะไรต่ออะไรอยู่ รู้รอบ ชัดเจน คล่องแคล่วว่องไว จิตจะเกิดมุทุภูเต เก่งงานการเก่ง ทำอะไรต่ออะไรอยู่ร่วมกับโลกสังคม แล้วก็แข็งแรง ฐีเต ตั้งมั่น อเนญชา   ไม่หวั่นไม่ไหว  อะไรจะกระแทกกระเทือนยังไงไม่มีล้ม  แข็งแรงยิ่งกว่าภูเขาหิน   นี่คือฌานองค์สี่ มุทุภูเต  กัมมนิเย  ฐีเต อเนญชัปปัตเต  ฝึก ลืมตานี่ ถ้าไม่ลืมตา มันจะไปทำการงานอะไรได้  นี่มันสองหลักนี้ง่ายๆชัดๆ  

         เพราะฉะนั้น   แม้แต่ในตัวอุเบกขา  ก็มีมุทภูต  กัมมนิยะ ก็คือ  ธาตุเดียวกันน่ะ  มุทุกับกัมมัญญา   ก็คือมุทุภูเต  กัมมนิเย  ธาตุสองตัวนี้อยู่ด้วย อันเดียวกัน ตัวฐีเต อเนญชัปปัตเต  ก็ไม่เป็นปาริสุทธา  ปริโยทาตา  แล้วเป็นตัวที่สะอาด บริสุทธิ์อยู่ เป็นตัวที่จะอเนญชา  กระแทกกระเทือน อาบ พอก หุ้ม ลอกยังไงมันก็ปริโยทาตา   สะอาดอยู่  รวมแล้วปภัสสรา  ไม่มีจิตหมอง  สะอาดตลอดนิรันดร  ปภัสสรา แล้วนอกจากสะอาดแล้ว  เขาแปลตัวปภัสสรา นี่ว่าผุดผ่อง หรือผ่องแผ้ว ไม่รู้ พระไตรปิฎกนะ  สำนวนภาษาที่เขาแปลในพระไตรปิฎก เขาแปลว่า ผุดผ่อง  หรือ ผ่องแผ้วนี่ อาตมาจำได้ว่าเขาแปลปริโยทาตากับปภัสสรา  สองตัวนี้ว่าผุดผ่อง  กับผ่องแผ้ว  แต่ไม่รู้ว่าปริโยทาตา นี่ผุดผ่อง หรือผ่องแผ้ว  

คนฟัง : ปริโยทาตา  ผุดผ่อง

พ่อท่าน :  ปริโยทาตา  ผุดผ่องใช่มั้ย

คนฟัง  :  ปภัสสรา ผ่องแผ้ว

พ่อท่าน : ปภัสสรา  ผ่องแผ้ว ใช่มั้ย   ก็คือภาษาไทยน่ะ  เอาผุดผ่อง  กับผ่องแผ้ว   คือมันสะอาดอยู่อย่างนั้น   แล้วก็เบิกบาน โปร่งใส  รู้แจ้ง  รุ้งเรือง  วาววาม    ปภัสสรา   อยู่อย่างนั้นน่ะ   อยู่อย่างรู้แจ้ง  รู้เต็มหมด    จิตตัวนี้  เพราะฉะนั้น  คุณลักษณะอุเบกขานี่ อาตมาบอกแล้วว่าคือฐานนิพพาน    อุเบกขานี่ คือฐานนิพพาน   คือจิตของพระอริยะที่ฝึกแล้ว  ได้ฐานนี้แล้ว จะเป็นจิตที่อาศัย จิตอาศัยของพระอริยะ   ท่านอาศัยแล้วท่านก็ทำงานไปตามนั้น  ไม่มีตัวเรา ไม่มีตัวของท่าน  อุเบกขามันว่างจากตัวเรา  อุเบกขาถ้าแปลเป็นภาษาง่ายๆ อุเบกขา คือจิตที่วางเฉยได้  เพราะว่างจากตัวเรา ว่างจากตัวกูของกู นอกนั้นทำงานได้เก่ง  เพราะมีกัมมัญญา  มีฌานในตัว  มีความแข็งแรงของฌาน  เพราะว่ามีมุทุภูตธาตุ  มีมุทุภูเต  กัมมนิเย  ฐีเต  อเนญชัปปัตเตสมบูรณ์  มีฌาน เป็นสมาธิที่มีฌานสมบูรณ์

         เพราะฉะนั้น  เวลาไปฝึกอินทรีย์พละนี่  ก็ต้องเข้าใจว่า  เราเองจะต้องรู้ว่า  อาการของศรัทธานี่ มันก็สั่งสม  วิริยะก็พากเพียร ปฏิบัติในมรรคองค์ 8 ไปเรื่อยๆ  ฝึกฝนไปให้มันถูกทางนี่แหละ  เสร็จแล้วเราก็มีสติเป็นตัวปฏิบัติ เป็นตัวนำในการปฏิบัติ   ก่อนจะไปปฏิบัติก็มาเรียนรู้นี่ ปริยัตินี่ สัมมาสัมมาทิฏฐิ  ทำความเข้าใจให้ดี  รู้ตัวฐานะของเรา  รู้กรรมฐานว่าเราจะทำ  กรรมะนี่คือจะทำกับตัวเราขนาดไหน   เราฐานะขนาดไหน  อย่างอาตมาบอก  พูดมาตัวอย่างเมื่อกี้นี้ว่า ถ้าเราอ่อนแอ  จนกระทั่งไม่ไหวหรอก อยู่ในสังคมโลกเขานี่  มันดูดดึงเราไปหมดเหมือนม้าได้กลิ่นเสือ  นอนรอให้เสือกินเลย เขาบอกว่าเหมือนกับงูเจอเชือกกล้วย จริงไม่จริงอาตมาไม่รู้นะ  เขาว่างูเจอเชือกกล้วยนี่ ยอมเหมือนกัน อ่อนเลยว่างั้น  เอ๊!  มันจริงหรือ อาตมายังงงๆ ไม่เชื่อ   แม้แต่ม้าได้กลิ่นเสือนี่  อาตมาก็ไม่ค่อยเชื่อเท่าไหร่   ม้าได้กลิ่นเสือนี่ มันจะนอนอ่อนลงไป   หรือมันจะรีบวิ่งหนีนะ  อาตมาว่า    มันจะรีบวิ่งหนีกว่านะ        (หัวเราะ) แต่เอาเถอะ ไม่เป็นไร  เราก็เอามาใช้ในการอธิบาย    มันอ่อนแอปวกเปียกไปเลย    เสร็จกับเขาไปเลยอย่างนี้  

  เมื่อเรารู้ตัวอย่างนั้นอย่าเข้าใกล้   หนี อย่างนี้ก็ถูกฐานต้น   หนีมาอยู่กับกลุ่มหมู่ที่ เป็นสัปปายะ   มีบุคคลสัปปายะ   มีมิตรดี สหายดี  สังคมสิ่งแวดล้อมดี   มีปฏิรูป เทสวาสะ  หรือมีเสนาสนะอันสัปปายะ  มีที่ๆอยู่อันควรอยู่ อย่าไปอยู่ในที่ๆ ไม่ควรอยู่  ไปอยู่กับโลกียะเขาแล้วก็ โอ้โห !  ทุกอย่างเขาปรุงแต่ง เขาโลกีย์   เขาย้อมคุณ   แล้วคุณก็สู้ไม่ได้   แล้วบอกว่า โอ้โฮ! เราจำเป็น  แล้วก็สู้ไม่ได้ คุณก็ตายอยู่ตรงนั้นแน่ะ  ขึ้นมาจากหลุมนรกนั้นไม่ได้หรอก  หลุมโลกียะอย่างนั้นขึ้นมาไม่ได้   มันร้อนแรงนะ   ร้อนแรงจริงๆทุกวันนี้น่ะมัน โอ้โห! ลาภ  ยศ  สรรเสริญ  โลกียสุข  อะไรนี่ มันจม เพราะฉะนั้น เราจะต้องหาหมู่หาพวก  หาให้มาก  แล้วก็พยายามมาสัมผัสสัมพันธ์  เอาล่ะคุณจะบอกว่าเราเองมีภาระ  เราเองมีความจำเป็น    คุณก็ต้องพยายามทำตัวให้ปลีก ทำตัวให้ออกมาสู่มิตรดี สหายดีสังคมสิ่งแวดล้อมดี หาสัปปายะ 4 

          1. เสนาสปายะ มาในสถานที่ที่ควรอยู่ หรือเรียกว่าปฏิรูปเทสวาสะ

          2. มาหาบุคคลอันควรคบ คือ บัณฑิต  อย่าไปคบ อย่าไปสังสรรค์  เสวนาอยู่แต่ถ้าต้องให้ เสวนาจพาลานัง นี่ก็ไม่ใช่ให้พาลานัง ให้บัณฑิต      

คนฟัง : อเสวนา

พ่อท่าน : อเสวนา จ พาลานัง  ต้องเสวนากับบัณฑิตา  ต้องเสวนากับบัณฑิต ต้องมาสังสรรค์หรือว่าสัปปายะ  หรือว่าที่จะพาเจริญ สัปปายะ จะพาเจริญนะ ต้องหาบุคคลที่เป็นมิตรดีสหายดีหรือสังคมสิ่งแวด ล้อม ดี นี่เรียกว่า เสนาสนาะสปายะเป็นการงาน  ไม่ใช่อาหาร ก็คือเครื่องอาศัย  จะเอาแต่กินท่าเดียว  ไม่ใช่อย่างนั้นแค่นั้น  อาหาร เครื่องอยู่เครื่องยังอยู่นี่ รวมหมดเลย

         มันจะมีอาหารอะไรบ้างในนี้  หนังสือนี้ก็มีลอกไว้ให้เหมือนกันว่า  มีอาหาร

         1.กวฬิงกราหาร

         2.ผัสสาหาร

         3.มโนสัญเจตนาหาร

         4.วิญญาณณาหาร    

          มีอาหารพวกนี้เรียนรู้  อาหารกินเข้าปาก เข้าท้อง กวฬิงกราหาร ก็เอาล่ะ   ตกลง อาหารกินเข้าปากเข้าท้อง ผัสสาหารนี่ ทั้งนั้นเลย  ไม่ว่าจะเป็นวัตถุที่จะผัสสะ  ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่ผัสสะ  ไม่ว่าจะเป็นกรรมกิริยา เสียง รูป รส กลิ่น  เสียง สัมผัสที่เป็นผัสสะทั้งหลาย ผัสสะทั้งหก  หรือผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจด้วย

        แล้วก็มีจิตมโนสัญเจตนา   มีจิตที่มันมีทั้งเจตนาไปในกุศลเจตนา  หรือ อกุศลเจตนา  ที่มันกำหนดสัญเจตนานี่  มันไปกำหนดแล้วเราก็ไม่รู้สัญญากำหนดสัญญามันกำหนดและมีความชอบ   มีความไม่ชอบ   กำหนดโดยกิเลส   เราก็ไม่รู้  เพราะฉะนั้น   เมื่อมันมีกำหนดที่เป็นสัญญาที่เป็นตัวกิเลสไปสัญญากำหนด  เราก็จะต้องอ่านตัวกิเลสพวกนี้ให้ออก  เอาให้เป็นเจตนาบริสุทธิ์  สัญญาบริสุทธิ์   เพราะฉะนั้น เราดับสัญญา ก็ดับสัญญาทึ่มันไปกำหนดอย่างผีๆจะเอาอันนี้นิ่มๆ  จะเอาอันนี้มีสีอย่างนี้   จะเอาอันนี้กลิ่นอย่างนี้ จะเลือกแฟนก็จะต้อง…เมื่อวานนี้ ใครหนอพูดถึงว่าจะแต่งงาน  ใครนะเล่า?  ท่านวินยธโร  เมื่อคืนนี้ ใครเล่าแต่งงานก็จะต้องแต่งงานกับผู้หญิงอย่างนี้ อะไร มันก็กำหนด  นั่นน่ะสัญญา  สัญญาเวรๆ (คนฟังหัวเราะ)   สัญญามันเวรๆ    มันหาเวรให้ตัว มันก็กำหนดเอา ถ้าได้อย่างนี้  แล้วก็เหมาะตามสเป๊ก  เหมาะตามสเป๊ก   เราจะต้องกำหนดให้ตรงตามสเป๊คอันนี้แหละ ฉันชอบ ฉันเอา อย่างนี้เราก็ต้องรู้ว่าไอ้นี่กุศล หรืออกุศล อันนี้กำหนดเพื่อเสพย์  กำหนดเพื่อปรุงเสพย์  หรือว่ากำหนดรู้ ตามความจริงเป็นจริงกำหนดรู้ตามผู้อื่นเขาเท่านั้น   เป็นสมมุติสัจจะ   จิตเราไม่ได้ไปกำหนดเพื่อเราหมดตัวกูของกู  นี่ต้องรู้ว่าสัญญามันขนาดไหน  มโนสัญเจตนา   มีเจตนาอย่างไร  เจตนาเป็นกุศลหรืออกุศล เจตนาเพื่อตัวเราอยู่หรือ เจตนาเพื่อประโยชน์ พหุชนะ  หิตายะ พหุชนะ สุขายะ  โลกานุกัมปายะ เพื่อประโยชน์แก่มวลชนมหาชน ไม่ได้เพื่อเราหรอก  ไม่ได้มีตัวมีตนอะไร  เจตนาอย่างไร  นี่ต้องรู้มโนสัญเจตนาพวกนี้

         วิญญาณาหาร   มีวิญญาณอันเป็นเครื่องอยู่  สุดท้ายก็มีเมตตา อุเบกขา  เป็นวิญญาณพระเจ้า  เป็นวิญญาณพระพรหม  เป็นวิญญาณผู้ยิ่งใหญ่ เป็นวิญญาณที่อยู่เหนือโลกแล้ว แต่มีคุณลักษณะแห่งเมตตา  กรุณา มุทิตา อุเบกขา   เป็นวิญญาณที่วิเศษแล้ว  แม้วิญญาณขั้นนี้ แม้อุเบกขาเลยก็ไม่ใช่ตัวตนเราของเรา  นี่ศาสนาพุทธสอนแล้ว  ศาสนาอื่นนี่ นี่คือ พระเจ้า อยู่กับพระเจ้านิรันดรเลยนะ นี่อยู่กับพระเจ้านิรันดรเลย   ทั้ง  INFINITY ทั้ง INTERNITY ด้วยนะ  อยู่กับพระเจ้านิรันดร ไม่มีการสิ้นสุด   มีแต่จะมากจะใหญ่ไม่มีที่สิ้นสุด infinity ทั้งไม่มีจบ ไม่มีสิ้น INTERNITY  นิรันดรเลย ไม่มีขอบเขตกำหนดซักอย่าง ทั้ง  INFIMITY ทั้ง INTERNITY นี่พวกนี้ ของศาสนาที่มีพระเจ้า  เพราะฉะนั้น จิตวิญญาณที่ใหญ่ของเขา  นี่จะเป็นปรมาตมัน  ไม่มีจบ  แต่ของพุทธอย่าไปคิด  ใครจะมีปรมาตมัน  ก็เรื่องของเขา   เราอย่าเอาเรา เราไปเป็นอย่างนี้ได้   แต่เราอย่ายึดว่านี่เป็นเราเป็นของเรา   ยิ่งใหญ่แค่ไหน  ก็แล้วแต่ มันไม่ใช่หรอก   พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว โอ้! นี่ศาสนาพราหมณ์  ศาสนาปรมาตมัน  มีเยอะแยะในอินเดีย พระพุทธเจ้า   ตรัสรู้แล้ว ก็ อ๋อ! มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา แล้วเราก็สามารถปลีกแยกออกจากตัวปรมาตมันนี้ได้   โดยเห็นจริงเลยว่า ที่จริงจิตวิญญาณไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา  ไม่ใช่ของเราอะไรจริงๆ  เสร็จแล้วเป็นไง พอเราวางเมื่อเวลาปรินิพพานตาย เมื่อปรินิพพานตายแล้วก็จบ แม้ว่า เราจะมีประสิทธิภาพทางจิตวิญญาณเก่งเท่าพระเจ้า   ฟังดีๆนะ  ถ้าศาสนาอื่นนี่ เขายังจะเอาเรื่องอาตมาเลยนะนี่  โอ้โห! ไอ้นี่อาจเอื้อมเก่งเท่าพระเจ้า  มันมากไปมั้งนะ  ผู้ที่อื่นน่ะ  ผู้ที่ศาสนาพระเจ้าให้มีจิตวิญญาณนี่เก่ง เราก็ใช้เพียงเป็นวิญญาณาหาร เป็นเครื่องอาศัยประโยชน์ผู้อื่นไม่ใช่อาศัยเพื่อสร้างความใหญ่ ความโต ความหลงติดยึดให้แก่ตัวเรา ไม่ใช่ เพราะฉะนั้น ในศาสนาอื่นนี่เขาติดยึดวิญญาณ เขาเก่งเหมือนกัน ต่อให้เขาเก่งลดกิเลสเป็นด้วยนะ  สมมุติ รู้จักกิเลสและลดกิเลสได้เป็นด้วย  แล้วก็ใหญ่เป็นพระเจ้าเลยนะ  สร้างอยู่ เขาก็จะอยู่กับพระเจ้านิรันดร์  เขาก็จะอยู่ ไม่มีสูญ เพราะฉะนั้น พวกนี้สัสสตทิฐิ เป็นทิฏฐิที่ไม่มีสูญ  สัสสตทิฐิ

         ส่วนพุทธนั้นนี่   คุณจะอยู่ไปนานอีกเท่าไหร่จนกว่าคุณจะเบื่อ    คุณจะอยู่นิรันดร์นานเท่าไหร่   แล้วคุณจะให้ยิ่งใหญ่เป็นสัสสตะ หรือว่าเป็นปรมาตมันที่ยิ่งใหญ่    เป็นพระเจ้าที่ยิ่งใหญ่มีประโยชน์คุณค่าใหญ่โอ้โห!  ช่วยมนุษย์โลกได้เยอะ ช่วยจริงๆเลย   เท่าไหร่ ไปอีกนานเท่าไหร่  ถ้าคุณสมัครใจคุณก็อยู่ไปซิ   ถ้ามันจริง จิตวิญญาณที่สร้างได้จริง สะอาดจริง ไม่มีกิเลสเห็นแก่ตัวได้จริง  ถ้าคุณทำได้จริง  เพราะฉะนั้น  พุทธเรามี พุทธเราล้างกิเลสออกจริงๆ  จนกระทั่งสะอาดจริง แต่คุณยังไม่ยอมที่จะปรินิพพาน  ไม่ยอมสิ้นภพจบชาติ   คุณจะเวียนมาเกิดอยู่อีกเป็นพระโพธิสัตว์รื้อขนสัตว์   ช่วยทำอะไรต่ออะไรขึ้นไปอีก  แข่งกับพระอวโลกิเตศวร ขณะนี้พระอวโลกิเตศวรเขาก็บอกว่า  ทางมหายาน บอกว่าท่านจะรื้อขนสัตว์ให้หมดทุกคนก่อนในโลกนี้  เมื่อทุกคนไปนิพพานหมดแล้ว  ท่านถึงจะนิพพานคนสุดท้าย   นี่เป็นอุดมการณ์อันอื้อฮือ! อาตมามองไม่เห็นทางว่าเมื่อไหร่มันจะเป็นเช่นนั้น อาตมาไม่รู้ว่ามันจะเอาไปหมด ก็มันมีอเวไนยสัตว์อยู่น่ะ  แล้วมันจะไปเอาอเวไนยสัตว์ไปนิพพานหมดทุกคนนี่  อาตมาก็เลยไม่เอาอย่างพระอวโลกิเตศวร

คนฟัง :  ท่านอาจจะหมายถึงพวกเวไนยสัตว์   อเวไนยสัตว์ถ้าใจเป็นกุศลก็ได้

พ่อท่าน : ท่านบอกมนุษย์ แต่บอกหมดทุกคนน่ะ  ท่านบอกจะได้ช่วยคนทุกคนให้ไปนิพพานหมด   เอาล่ะคุณจะหมายอย่างนั้นก็ตามใจคุณเถอะ   ก็เข้าใจได้   ไม่แปลกอะไรหรอก  

คนฟัง : เป็นสำนวนซะมากกว่า

พ่อท่าน  :  เป็นสำนวน มันเป็นสำนวนน่ะ  มันเป็นอะไรอันหนึ่ง    

        เพราะฉะนั้น เราเข้าใจความหมายพวกนี้  เราจะเอาอย่างนั้น อาตมาก็อนุโมทนานะ อาตมาไม่ได้ไปลบหลู่อะไรนะ  ถ้าจะไปบอกว่าจะเอาอย่างนั้น ก็ทำไปซิ  จนกว่าจะถึงวาระนั้น ท่านก็ปรินิพพานของท่านไปเองแหละเมื่อหมดแล้ว หรือว่า จะหมายแค่อย่างหินอ่อนหมายว่าจะเอาแค่เวไนยสัตว์   แล้วก็ให้เวไนยสัตว์นี่ปรินิพพานหมด  ส่วนอเวไนยสัตว์  ยังไงมันก็นิพพานไม่ได้ ก็ปล่อยเขา  จะเอาแค่นั้น  ตามที่ว่านั้นแล้วก็ค่อยปรินิพพาน ก็เอา  แต่ถึงยังไง ก็เป็นคุณค่าประโยชน์  ใช่มั้ย ใครจะเอาก็เอาซิ   แต่อาตมว่าอาตมาคงไม่ขยันขนาดนั้นหรอก อาตมาเอาแค่พอช่วยโลกได้ประมาณหนึ่ง เสร็จแล้วก็พอ  ช่วยขนาดหนึ่ง   ได้วาระว่านี่เรามีคุณภาพพอเป็นพระพุทธเจ้าได้แล้วล่ะไม่ bye เป็นพระพุทธเจ้า ได้สมควรแล้ว  ตำแหน่งหน้าที่ ฐานะตามสัจจะมันต้องเป็น ไม่บายหรอก  ไม่บายเหมือนพระอวโลกิเตศวร ไม่บาย  พระอวโลกิเตศวร   นี่ท่านบายพระพุทธเจ้า   องค์อื่นจะไปเป็นพระพุทธเจ้าก็ไปซิ  แต่ฉันจะขออยู่ช่วยรื้อขนสัตว์นี่    พระอวโลกิเตศวรก็บายให้องค์อื่นขึ้น  อาตมาไม่บายล่ะ   ถึงตำแหน่งเมื่อไหร่ ขึ้นแล้วก็ว่าที่พระพุทธเจ้าแล้วขอเลิก พอ เอาแค่นั้นน่ะ ทำหน้าที่พระพุทธเจ้าแล้วก็ปรินิพพานแล้ว   ไม่เอาแล้วตั้งใจอย่างนั้นจริงๆ  อย่างพระอวโลกิเตศวร  แต่ใครจะเอาอย่างพระอวโลกิเตศวรก็เอานะ มันมีสิทธิ์อันนี้ อิสรเสรีภาพนี่รับรองว่าไม่มีใครละเมิด(หัวเราะ)ไม่มีใครไปกล้าละเมิดได้เลยอันนี้นี่  รับรองเลย   ศาลไหนก็ไม่มีทางตัดสินให้เข้าคุกได้เหมือนอย่างเราหรอก (หัวเราะ) อันนี้รับรองไม่มีใครไปล่วงสิทธิอันนี้ได้ เอาเลยนะ

คนฟัง : มีอรหันต์เป็นทุนแล้วนี่คะ

พ่อท่าน :มีอรหันต์เป็นทุนแล้ว ตั้งแต่รากฐานแรก มีอรหันต์เป็นทุนแล้วเสร็จ  ขอให้อรหันต์จริง  มีสิทธิ์ปรินิพพานแล้วตั้งแต่เป็นอรหันต์ 

      เพราะฉะนั้น  คุณจะเป็นอรหันต์ไปเป็นโพธิสัตว์ไปอีกขนาดไหน  อย่างที่อธิบายให้ฟังนี่ แม้ที่สุดถึงตอนนี้ท่านเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว ยัง ยัง ไปเหอะ ให้น้องๆ เป็นไปก่อน  ยังจะขอรื้อขนสัตว์อยู่อีกอย่างพระอวโลกิเตศวร  นิมนต์ นิมนต์  ไม่มีปัญหา แล้วไม่ได้เป็นพิษเป็นภัยอะไรกับโลก  ไม่มี มีแต่คุณอย่างเดียว   จะต่อไปอย่างนั้นอีกก็ไม่ว่า เพราะฉะนั้น  จะเห็นได้ว่าของศาสนาพุทธนี่  ท่านรู้รอบทุกอย่างเลย ไม่มีที่กั้นหรอก คุณจะอิสรเสรีขนาดไหน   จะยิ่งใหญ่ขนาดไหน  เชิญเลย  แล้วก็จริงนะ  ท่านยิ่งทำทั้งอินทรีย์พละ  ก็ยิ่ง โอ้โห!  ไม่รู้ฤทธิ์ขนาดไหนนะ    ถึงบอกว่าฤทธิ์ของพระอวโลกิเตศวร  นี่เห็นมั้ย  ปางต่างๆของพระอวโลกิเตศวร  นี่เยอะเหลือเกินปางต่างๆ   เหมาแม้กระทั่ง ปางไม่น่าจะเป็นปางของพระอวโลกิเตศวร   ก็ไปยัดให้ท่าน   คนน่ะยัดให้  นี่พระอวโลกิเตศวร อวตารมาปางนี้อย่างนั้นอย่างนี้  ไปหมดเลย     เป็นแม้กระทั่งผู้หญิง    เป็นกวนอิมกวนเอิมอะไรไปโน่น   นี่เหมาพระอวโลกิเตศวรทั้งนั้น    เอ้า!   ก็ไม่ว่ากัน   ถ้ามันมีประโยชน์ในส่วนที่เป็นประโยชน์ได้  เราก็ไม่ว่ากันนะ นี่ ก็ แหม  กว้างนะ  นี่ไปถึงอจินไตยไปถึงไหนๆ แล้ว

         เอ้า! หันกลับมาหาอินทรีย์ห้า พละห้าใหม่ (พ่อท่านและคนฟังหัวเราะ) อย่างนี้   ถ้าไม่มีพื้นฐานนี่เมานะพวกนี้  เมาหนัก อาตมาไม่รู้มันเยอะน่ะ  ไม่รู้จะทำยังไง   ยังนึกอยู่เลยว่า นี่  อายุร้อยปีหนึ่งมันจะพูดหมดเหรอ  นี่พูดไปวนไปวนก็แซะเข้าไปอีก  ตรงนี้แซะเข้าไปอีก  นี่ก็เข้าใจขึ้น ชัดขึ้นมาใช่มั้ย  ยืนยันมากขึ้น ไม่สับสนขึ้นยังมีละเอียด มันยิ่งยากนะ เอ้า!ทีนี้เข้ามาหาอินทรีย์พละใหม่  เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่า เรามีสัมมาทิฏฐิเป็นประธานตามหลักมรรคองค์ 8  แล้วก็ปฏิบัติโพชฌงค์เจ็ดเป็นหลัก  โพชฌงค์เจ็ด กับมรรคองค์แปด  นี่ต้องคู่กันไปเสมอนะ ท่านสรุปว่า มรรคองค์แปด  เป็นทางเอกก็จริงอยู่  แต่เวลาปฏิบัติแล้ว ตัวเราต้องไปกับโพชฌงค์   ถ้าเราไม่มีองค์แห่งโพชฌงค์  ปฏิบัติไม่สำเร็จ   เพราะเราไม่มีสติสัมโพชฌงค์ตัวแรก แล้วก็ไม่มีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ตัวที่สอง ไม่มีวิริยสัมโพชฌงค์ตัวที่สาม  เพราะฉะนั้น โพชฌงค์สาม นี่เป็นตัวสำคัญ  เวลาปฏิบัติแล้วนี่ เมื่อคุณมีสัมมาทิฏฐินี่ก็คือ  ทำความเห็น ทำความเข้าใจไปให้ได้  เป็นทฤษฎีเป็นหลักการที่ดี เสร็จแล้วก็ไปปฏิบัติเมื่อรู้กรรมฐานของตน   รู้ฐานะของตน แล้วก็ตั้งกรรมฐานของตนว่า  เอาละ เราจะเลิกอันนี้ เราจะทำอันนี้ อันนี้ทำให้ดี เป็นอภิสมาจาร  ก็ตั้งใจทำอันนี้ให้ดี  อันนี้จะเลิกจะละจะลดเป็นบาปสมาจาร   ตั้ง อันนี้จะเวรมณี  อันนี้จะทำให้ยิ่งขึ้นเป็นอธิ   คุณก็ทำอะไรของคุณตามฐานะ

         เสร็จแล้ว เมื่อเรารู้แล้วว่า ไอ้นั่นคือหลักเกณฑ์ที่เราตั้งให้ตัวเอง ก็คือ ศีล หรือเรียกตรงตามที่เราจะทำตามฐานะ   ก็เรียกว่ากรรมฐานนั่นแหละ เราก็ไปพึงสังวร  สังวรก็คือให้มีสติสัมโพชฌงค์   ให้มีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์  มีวิริยสัมโพชฌงค์  ธรรมวิจัยก็คือจะต้องสัมผัส  มีสัมมัปปธาน 4 ธรรมวิจัยนี่   ขยายมาเป็นโพธิปักขิยธรรม แล้วก็คือสัมมัปปธาน 4 มีสังวรปธาน ปหานปธาน  ภาวนาปธาน อนุรักขนาปธาน สังวรก็รู้แล้ว  ต้องคอยสังวรระวังนะนี่กระทบสัมผัสตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อไหร่แล้วก็  เราก็จะต้องพยายามฝึกอ่าน  อ่านทั้งนอก อ่านทั้งใน  อ่านพฤติกรรมอย่างนั้นอย่างนี้ นี่ นี่มือมันทำอย่างนี้ ปากมันพูดอย่างนี้   เพราะใจมันมีกิเลสผสมไปสังขาร ใจมันมีชอบ ใจมันมีไม่ชอบเข้าไปร่วมปรุงด้วยอยู่ วิจัย วิเคราะห์ไอ้ตัวชอบไม่ชอบนี่ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์   เพียร วิริยสัมโพชฌงค์ ถ้าคุณเพียรจนกระทั่งคุณอ่านตัวเองออก  รู้ว่า โอ!  ขณะนี่เราอยู่ในภาคเนกขัมมะ  อยู่ในภาคที่ เออ เรารู้ กาย วาจา ใจ มีสัมผัสสทั้งหก  ตา หู จมูก  ลิ้น กาย ใจ  มีสัมผัสทั้งหกตามมิจฉาทิฐิสูตร สักกายทิฐิสูตร   อย่าพึ่งไปถึงอัตตานุทิฐิสูตร สักกายทิฐิสูตร  สูตรที่รู้แล้วจับกิเลสออกแล้ว

         อาตมาอธิบายมามากแล้ว  มิจฉาทิฐิสูตร  กับสักกายทิฐิสูตร  นี่มีตา หู  จมูก ลิ้น กาย ใจ มีสัมผัสเป็นปัจจัยแล้ว รู้เป็นอนิจจัง   รู้เป็นทุกขัง   รู้เหตุแห่งทุกข์  ก็คือกิเลส ตัณหา ไอ้ตัวที่ไปร่วมปรุงนั่นแหละ   แล้วก็มีวิธีสมถวิธี หรือว่าวิปัสสนาวิธีก็ตาม   คุณก็มีวิธีทำให้กิเลสนั้นจางคลาย   มีปัญญาอ่านตามเห็นตามเห็นความจางคลายลดลงได้ ถ้าเห็นอยู่ว่ากิเลสมันก็เกิดอยู่ คุณก็ยังวิเคราะห์ออกนะ  โอ๋!  กิเลส แหม กิเลสมันเล่นเรา  แต่มันเล่นเรา คือมันเล่นเรา เราเล่นมันไม่ได้   กิเลสมันเล่นเรา มันโตขึ้นหนาขึ้น  นั่นคือกำลังเป็นปุถุ  คุณกำลังรู้ความเป็นปุถุชนของคุณ   กิเลสคุณหนาขึ้น  โอ๊!  สู้มันไม่ได้  โอ้! กิเลสมันเอาเรา  คุณแพ้  แต่คุณพ้นมิจฉาทิฐิแล้ว  ในภาคผู้ปฏิบัติพระโยคาวจรขณะนั้น คือผู้พ้นมิจฉาทิฐิ  เพราะฉะนั้น   การพ้นมิจฉาทิฐิไม่ได้พ้นได้ง่ายๆ   คุณฟังเหตุผลแค่นี้   แล้วก็พ้นมิจฉาทิฐิ ไม่ใช่  พ้นมิจฉาทิฐิต้องถึงขั้นภาคปฏิบัติ  แล้วก็มีญาณอ่านนะ  เกิดญาณ  ต้องมีญาณนะ  มีอธิปัญญานะ

         ศีล  สมาธิ ปัญญา นี่ต้องมีแล้ว  ศีลคือหลักกรรมฐาน หลักกำหนดปฏิบัติ สมาธิก็ไปถึงจิตมีปรมัตถธรรม  อ่านจิต วิจัยจิตออก  แยกกิเลสออก  อ่านกิเลส รู้หน้ากิเลส   นี่คือปัญญา  เมื่อรู้หน้ากิเลส  แต่คุณสู้กิเลสไม่ได้   กิเลสมันก็หนาขึ้น โตขึ้นๆ อยู่เรื่อยๆ   คุณพ้นมิจฉาทิฐิ   เห็นอนิจจัง เหมือนกัน  แต่อนิจจังตัวฟู  อนิจจังตัวหนาขึ้นอยู่ รู้ความเป็นปุถุชนของตนเอง เรายังไม่ใช่อาริยะ เรายังไม่ลดสักกายะ   เราลดมันยังไม่ได้   มันยังไม่สามารถ  แต่ขณะนี้  เป็นปรมัตถ์แล้วปฏิบัติสู่ปรมัตถ์เป็นพระโยคาวจร ที่มีปรมัตถสัจจะแล้วของตนเป็นปรมัตถธรรม  แล้วเราก็อ่านออกเห็นจริงๆ   พ้นวิจิกิจฉา  นี่สังโยชน์สามก็สมบูรณ์    อ้อ!  ขออภัย  สังโยชน์สามยังไม่สมบูรณ์  ตรงที่ว่าคุณลดสักกายะยังไม่ได้  คุณทำศีลพรตของคุณยังไม่พ้นสีลัพพตปรามาส   คุณทำศีลพรตของคุณปฏิบัติตามกรรมฐาน  วัตร  หรือพรต ประพฤติอยู่  แต่ประพฤติอย่างไม่มีประสิทธิภาพพอจนลดกิเลสได้  สักกายะจึงยังไม่ลด   แต่คุณไม่วิจิกิจฉา  คุณพ้นวิจิกิจฉาสังโยชน์ตัวนี้ได้ โอ๋ย!  ชัดหนอ   ชัดหนอ อันนี้ไม่มีใครหลอกเราเห็นมั้ย   ศาสนาพุทธท่านเปิดช่องตรงนี้   ไม่หลอกนะ เห็นจริงของตนของตนนะ  ใครหลอกเราไม่ได้หรอก  จนคุณสามารถลดสักกายะ ลดตัวกิเลสนั้นได้  นี่ แน่ะ!  ไอ้เจ้านี่ร้อยเหลือเก้าสิบเก้าจุดเก้าเก้า  แหม ยังเก่งนะ (หัวเราะ)  ลดได้จุดศูนย์หนึ่ง (หัวเราะ) หรือ ได้จุดหนึ่ง  ถ้ายิ่งลดได้สิบ  ร้อยลดลงได้เหลือเก้าสิบ   คือลดสักกายะลงมา คุณต้องเห็นเอง พ้นวิจิกิจฉา คุณต้องมีอธิปัญญา

         เพราะฉะนั้น ศีล สมาธิ ปัญญา ต้องทั้งสามตัว   ไม่ใช่มาปฏิบัติศีลก็อยู่ตัวหนึ่ง จิตหรือสมาธิ   ก็ไปนั่งหลับตาเอา  ปัญญาก็ไปเรียนกับมหาวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยสงฆ์ด้วยนะ  เรียนใหญ่เลยนะ หรือไปเรียนกับอาจารย์ใหญ่ที่ไหนก็แล้วแต่   เดี๋ยวนี้สอนปริยัติกันเต็มไปหมด   อยู่แต่ปริยัติ   ไม่ใช่ปัญญาไม่ใช่ตรรกศาสตร์อย่างนั้น    นี่คือ  เห็นของจริงตามความเป็นจริง  อย่างที่อาตมาอธิบายแล้ว   เห็นของจริงว่าอะไร กิเลสแล้วลดกิเลสได้หรือไม่ได้   ชอบหรือไม่ชอบ  อึดอัด ขัดเคือง  หรือว่าโล่งแล้วว่างแล้ว  สบายแล้ว เป็นอัตโนมัติแล้ว คุณจะรู้ความจริงเหล่านี้ละเอียดลออไปอีกเยอะ ฝึกไป เก่งขึ้นก็สามารถได้ขึ้นเรื่อยๆ

         นี่คือความเป็นจริง  ปรมัตถ์ที่เราจะต้องเรียนรู้  พ้นสักกายทิฏฐิตรงนี้ก็  

         1.อนิจจัง รู้แล้ว

         2.ทุกขัง แล้วก็  ลดทุกขังไปเรื่อยๆ แต่ยังไม่ถึงอนัตตาง่ายๆนะ พ้นอัตตานุทิฐิยังไม่ถึงนะ  หรือเราจะได้สาธยายพวกนี้กันให้เห็นเลยว่า กรรมฐานของอโศกนี่ อาตมายังไม่ได้พูดด้วยซ้ำไป  คนมาใหม่นี่ไม่รู้นะ  อ่านไปนี่อาตมาตีกิน ไปแล้วบอกว่าอาตมาไม่อ่าน  แต่อาตมาบอกแล้วว่า ในเบื้องต้นนี่  สูตรต้นๆ นี่ เป็นอปัณณกธรรมสามคือ 

           1. สำรวมอินทรีย์

           2.โภชเนมัตตัญญุตา

           3. ชาคริยานุโยคะ

         สำรวมอินทรีย์   นั่นแหละ    ที่อาตมาอธิบายอยู่ในภาคสำรวมอินทรีย์  เดี๋ยวพรุ่งนี้ จะได้ต่อโภชเนมัตตัญญุตาผสม  ส่วนชาคริยานุโยคะนั้นเป็นภาค...เมื่อกี้ขึ้นให้ฟังหน่อยหนึ่งแล้ว    โอ้ละหนอ   ขึ้นมาขึ้นให้ฟังหน่อยหนึ่งแล้วว่า     ถึงขั้นอนาคามีน่ะ  นั่งตั้งกายตรง ดำรงสติคงมั่น  นั่นก็จะตื่นไม่ตื่น นั่นค่อยว่ากันอีกนะภาคหลัง  ชาคริยานุโยคะ น่ะภาคหลัง เพราะฉะนั้น  พวกเรามาเจอพระพวกเรานี่  นั่งโงกนั่งง่วง นี่ มันเรื่องธรรมดา ทางนี้โภชเนมัตตัญญุตา   ท่านก็พอสมควรแล้ว  สำรวมอินทรีย์หก ไอ้เรื่องวัตถุ  ลาภ ยศ สรรเสริญ ท่านก็มาพอสมควรแล้ว อย่ามานั่งตู่พระอาตมาให้เสียพระหน่อยเลยน่า    พูดอย่างนี้เลยนั่งหลับกันใหญ่ (คนฟังหัวเราะ)   อาตมาก็เลยเน่าเลย  ระวังนะขายขี้หน้า   พอเปิดช่องแล้วก็เอาเลยนะ   พวกอะไรล่ะเปิดช่องนี่?

คนฟัง :  ชี้โพรงให้กระรอก

พ่อท่าน  :  ชี้โพรงให้กระรอก  กระรอกยิ่งเยอะ อยู่ที่สันติก็เยอะ  ชี้โพรงให้กระรอก   กระรอกเลยหม่ำใหญ่เลย  ระวังเหอะ  เพราะฉะนั้น   ไอ้นี่น่ะไม่ถูกฐานะนี่  ยากๆ  แต่ค่อยๆ เรียบเรียงกันไป อาตมาก็เทศน์มันไม่เก่งยังไงไม่รู้นะ   สับสนอยู่เรื่อยเลย เอาเถอะ  ตั้งใจฟัง ก็จะค่อยๆ ชัดขึ้นเรื่อยๆนะ 

          เพราะฉะนั้น     แม้แต่พวกเราเองก็ตาม   ฆราวาสของพวกเรานี่ขนาดทิ้งทรัพย์ศฤงคารมาอะไรต่ออะไรมา   แล้วก็มานั่งง่วงๆ  กันบ้างก็เอาเถอะ  เสร็จแล้ว ก็มานั่งตู่กัน ดูซิมาแล้ว ก็มานั่งง่วงนั่งหลับ นั่งอะไรต่ออะไร โถ!  เขาก็มาแล้ว  ทิ้งครอบทิ้งครัว  ทิ้งเงินทิ้งทอง ทิ้งสวย แต่ก่อนนี้  สวยยังกับอะไรใคร นางงามก็ยังสู้ไม่ได้เลย    เดี๋ยวนี้ มันมาเป็นนางงอมแล้วอะไรอย่างนี้  ก็  โอ๊! เราก็เข้าใจมั่งในฐาน   แต่พูดไปนี้ก็กำกับนะว่า  แล้วอย่ามาตีกินนะ มานี่เราก็มา เออ นี่พ่อท่านบอกแล้วนี่ชี้โพรงให้กระรอก    ฉันก็มานั่งง่วงเอาง่วงเอาอย่างนั้นน่ะ  ไม่ได้นะ  แต่ต้องไล่กัน  วันนี้จะไล่   มางานนี้ปีนี้  จะไล่ให้ละเอียด ให้เป็นชั้นที่ชัดเจนเลยว่าลำดับมันเป็นอย่างไร?   เพราะฉะนั้น ใครปฏิบัตไม่ถูกลำดับ อปัณณกธรรมนี่นะ   มันสับสน   แต่มันก็ซับซ้อนน่ะ  เอาอะไรก่อน  บางทีก็ซับซ้อน ถ้างั้นผู้ที่ไม่มาแล้วเขาก็ไม่สูงเหรอ คนอยู่ที่ในสังคม นั่นน่ะ ยิ่งสูง   อยู่ในสังคมแล้วสามารถอยู่ได้  โดยพวกนี้ เขาไม่หลับหรอก  ถ้าขืนหลับเขาปล้นหมดน่ะพวกอยู่ในสังคม  เอ้า!  จริงๆล้วงกระเป๋าหมดน่ะ  ปล้นหมด หลับไม่ได้เลยนะ  เพราะฉะนั้น คนในสั้งคมนี่เขาจะต้องตื่น  เขาหลับเก่งกว่าคนในนี้ โอ้โห! พวกนี่ตื่นแฮะ   ไม่มีหลับเลยพวกนี้ ตาโพลงหมดเลย  เพราะฉะนั้น  พวกทางโน้นนี่บางทีถ้าเขาสามารถตื่นอย่างนั้นด้วย แล้วเขาก็สำรวมอินทรีย์ และโภชเนมัตตัญญุตาเขาก็เก่งด้วย  เขาเหนือชั้นกว่าคนในวัดก็ได้  อย่างนี้เป็นต้น  นี่ มันซับซ้อนสับสนกันไปมาก  

          เอ้า! เลยเวลาแล้วเอาไว้แค่นี้ก่อน สำหรับวันนี้

 

                  จัดทำโดย โครงงานถอดเทปฯ

         ถอดเทปโดย       ศิริวัฒนา  เสรีรัชต์

         ตรวจทาน 1 โดย   นส.เทียนฟ้า   บูรพ์ภาค   29  พ.ค.2539

         พิมพ์โดย          สม. มาบรรจบ เถระวงศ์

         ตรวจทาน 2 โดย   สม.ปราณี              21 ก.ค.2539

         printed โดย     ปญ.ใจขวัญ เบญจโศภิษฐ์

         เข้าปกโดย        สมณะแดนเดิมพรหมจริโย

         เขียนปกโดย       พุทธศิลป์  RW2+!@88@@@

 

ที่มา ที่ไป

เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 1 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์  เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2539 ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

                   

         

          


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 10:04:53 )

390302

รายละเอียด

390302 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 2 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ ศีรษะอโศก

                 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2539

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

           ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก  อ.กันทรลักษ์ ศรีสะเกษ

ใหม่

เริ่มหน้า 8 เข้าเนื้อหากรรมฐานของอาริยชน         

หน้า 1-7 ปีกาญจนาภิเษก การฉลองพระบรมสารีริกธาตุที่บรรจุในพระสถูป

 

พระองค์ทรงครองใจราษฎร์

 

         ก่อนจะได้เทศน์กรรมฐานของอาริยชนต่อนะ    ก็ขอบอกข่าวพวกเราซะก่อน  ข่าวที่ว่านั้นก็คือ  เราได้มาคิดกันว่าพวกเราอยู่ในเมืองไทย  เป็นคนไทย เป็นผู้ที่เกิดมาในภายใต้ร่มโพธิ์ของพระบรมโพธิสมภาร   พระเจ้าอยู่หัว    ยุคนี้ก็รัชกาลที่  9 นี่ ซึ่งพระองค์ได้ครองราชย์มาถึง 50 ปี  ซึ่งเป็นการครองราชย์ที่ได้ยาวนานที่สุด   ยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์องค์ใดๆ เท่าที่เคยมีมา แล้วก็พระมหากษัตริย์พระองค์นี้  นี่ อาตมาซาบซึ้งในพระองค์มากนะ  ที่เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเอาภาระกับพสกนิกร      โดยการทรงพระราชกิจในเรื่องที่จะพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือประชาชนราษฎร    ไม่เหมือนกับองค์ใดๆ   เท่าที่อาตมาเห็นมาในยุคนี้ด้วยกันเลย  เราก็มีความเห็นนะ  เห็นได้วา มีกษัตริย์หลายๆประเทศ อาตมาเห็นว่าเป็นกษัตริย์ที่น่าเคารพบูชาจริงๆ   อาตมาก็ไม่อยากจะตำหนิกษัตริย์ที่อื่นๆนะ ไม่อยากจะกล่าวตำหนิ   แต่ว่าเท่าที่ดูๆ แล้ก็ขอให้พวกเรา  ใครที่ได้ศึกษาในความรู้รอบตัว เท่าที่มี ก็ดูๆ เถอะ เพราะว่าทุกวันนี้  มันยิ่งเป็นสมัยข่าวสารสนเทศ  มันรู้กันได้ทั่วโลก   ใครเป็นใคร  เป็นอยู่อย่างไร  ประพฤติอย่างไร  กระทำอะไรอย่างไร    เราก็รู้กันได้  เปรียบเทียบแล้วน่าภาคภูมิใจ  ที่เรามีกษัตริย์ที่น่าบูชา เคารพ เทิดทูนอย่างนี้นะ  ซึ่งพวกเรา ก็เป็นนักธรรมะ ก็รู้ว่าเนื้อหาสัจธรรมที่เป็นสัจจะสาระของมนุษย์มันอยู่อย่างไร  เราก็คงจะเข้าใจสิ่งเหล่านี้ได้นะ

         ปีนี้เป็นปีที่ฉลอง 50 ปีหรือ 50 พรรษาที่พระองค์ได้ครองราชย์  เราก็เลยเห็นว่าคนอื่นๆเขาก็มีอะไรต่ออะไรที่ผนวกรวมเข้าไป  ว่าเป็นการเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนี้กันทั้งนั้น  เราจะมีอะไรบ้าง  ก็เลยมาคิดได้ว่า   เอ๊!เราก็มีสิ่งที่สุดยอดของพวกเราอยู่อย่างหนึ่งเท่านั้นเอง  ในสิ่งที่จะประกาศขึ้นไปได้  ที่จะเป็นสิ่งที่น้อมเกล้าฯ ผนวกเฉลิมพระเกียรติ   ในฐานะที่เป็นราษฎรของพระองค์  ก็คือพระวิหาร"พระวิหารพันปี เจดีย์บรมสารีริกธาตุ"  ก็มาคิดกันว่า     เอ๊!แล้วเราจะทำได้อย่างไร   ปีนี้เป็นปีฉลอง 39 นี่ ในวันที่ 9 มิถุนายน   2539  นี่เป็นวันครบวันที่ครองราชย์วันประจบเป็นวันประจบ   เขาไม่พยายามที่จะให้เรียกคำว่าครบนะเป็นวันประจบ  หรือว่าเป็นวันนที่มาชน 50 ปีพอดี  เพราะครองราชย์วันที่ 9 มิถุนายน

 

ใช้เครื่องพ่นทองคำ

 

         เพราะฉะนั้นก็มาคิดๆกันแล้วมันก็น่าจะทำได้นะสำหรับพวกเรา    พอดี อาตมาได้พยายามดูเรื่องของพระเจดีย์นี่  พระเจดีย์เราจะหุ้มทองคำ  แล้วก็หาวิธีจะหุ้มหากันจนสุดท้ายเราก็มาได้ทดสอบ  ด้วยเครื่องมือที่จะพ่นทองคำนี่เข้าไปหุ้มนะ เป็นการพ่นละลายโลหะซึ่งเป็นกรรมวิธีของทางเทคนิคนี่แหละ   ต้องซื้อเครื่องมือมาทำ  ก็ให้เขามาสาธิตให้ดูก่อนจะมานี่วันที่ 24  ก็มาสาธิตเอาเครื่องมือมาสาธิตให้ดู   สรุปแล้วเป็นที่พอใจมากนะเครื่องมือที่เขามาสาธิตให้ดูผลโลหะนี่   ก็คิดว่าเป็นไปได้ที่เราจะทำสำเร็จ  ตอนแรกก็หาวิธีกันมันมีวิธีโบราณอยู่ซึ่งพวกช่างทองรู้ดี ก็คือตีทองคำนี่เป็นแผ่นบางเท่าที่เราจะมีทุน  ถ้ามันมีมากก็ไม่บางนักหนาหน่อย  ถ้ามันไม่มีทองคำมากก็เอาให้บางเท่าที่จะบางได้   แต่บางมากนักก็ติดยาก   เอาหุ้มเลยแล้วก็ติดทำหมุดตอกย้ำติดๆๆๆไป  เป็นวิธีของช่างทองเขาก็ทำได้ แต่กว่าจะทำเสร็จก็ต้องใช้เวลาเป็นปีๆ   ช่างก็ต้องทำไปกว่าจะเสร็จก็เป็นปี  บุลายโน้นลายนี้ ตรงไหนก็ต้องทำตามเจดีย์ที่มีโครงสร้างอย่างนั้นไป   ซึ่งก็เป็นวิธีที่ทำมาแล้วเขาก็ทำมาแล้ว  ก็ได้อย่างนั้นเป็นวิธีสุดท้าย  เราก็คิดว่า แหม!วิธีนี้มันไม่สมยุคสมสมัย แล้วอีกอย่างหนึ่งมันก็แกะได้   ถ้าเผื่อว่าไอ้โจรมันคิดจะนั่นมันก็ขึ้นมาขโมยแล้ว กรรมวิธีนี้ก็แกะได้ลอกเอาไปได้  เหมือนกับอย่างพระเจดีย์ต่างๆที่สมัยอยุธยาที่พม่ามาลอกไปได้  เผาไปหมดได้มาลอกเอาไปได้วิธีเก่าแก่นี่

         กระทั่งมาถึงยุคนี้เราน่าจะมีวิธีก็เลยไปได้อย่างนี้    ได้วิธีที่เล่าแล้วนี่เขามาสาธิตเป็นเครื่องมือ    เครื่องมือมันเป็นเครื่องพ่นใช้วิธีหลอมละลายโลหะนี่ แล้วก็พ่นโลหะนี้ออกมาเลย   ซึ่งเขาใช้ในการพ่นโลหะหลอมโลหะพ่นโลหะทำอะไรต่างๆ    เช่นว่าเพลาเรือดำน้ำมันจะต้องพ่นอ๊อก   เหมือนกับอ๊อกนี่ไม่ใช่เป็นอ๊อก  แต่ก็ใช้ออกซิเจนนั่นแหละเป็นองค์ประกอบในการจุดพลังงาน   แล้วก็พ่นละลายเข้าไปเลยแล้วเขาก็เจียให้เปียง  แข็งแรงแน่นอน  ขนาดแกนเรือดำน้ำมันไม่แข็งแรง มันพ่นอ๊อกไปแปะไม่เหนียวนี่มันไปไม่ได้หรอก  เพลาขาดเพลาหักแล้วมันก็ไปไหนไม่ได้เท่านั้นเอง  หรือว่าทำเครื่องยนต์กลไกอะไรต่างๆที่เขาจะใช้หลอมละลายปะทำ อันนี้น่ะให้มันลึกมันนอะไรก็ได้  พอพ่นโลหะเข้าไปละลายเทเข้าไปเหมือนกับหลอมโลหะเข้าไป  แต่ว่ามันเป็นเรื่องที่มีความแน่นมากนะ  ก็แน่นขนาดเพลาเรือมันก็ใช้ได้อย่างนี้เพลาเรือดำน้ำนี่ก็ใช้ได้  หรือใบเรือดำน้ำมันก็ใช้ได้  มันต้องแข็งแน่ เมื่อเราได้วิธีนี้ก็คิดว่าคงไม่นานไม่ช้าถึงปี ไม่กี่วันหรอก   ถ้าได้มาครบครันแล้วคงไม่กี่วัน  ทองเราก็พร้อมองค์ประกอบก็พร้อม  คือมันมีเรื่องที่เราไอ้นั่นอยู่ 3 เรื่องที่อาตมาใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการตัดสินเครื่องมือนี้  

         1. มันจะพ่นติดดีไหม

         2. พ่นเข้าไปแล้วนี่ทองคำนี่ผนึกตัวเข้านี่จะเหนียวผนึกแน่นเหนียวกันดีไหม   ไม่ใช่เข้าไปเกาะกันหลวมๆเหมือนกับที่เขาชุบน่ะ   ชุบทองน่ะมันก็เข้าไปตามกระแส     เข้าไปรวมตัวกันอย่างหลวมๆอย่างชุบทองนี่ทองชุบนี่มันไม่แน่นเลย  อันนี้เราก็ดูถ้าขืนอย่างทองชุบไม่เอา  2.แน่นดีไหม  1.ติดดีไหม  2.แน่นดีไหม 3.สูญเสียมากไหม     คือเวลาพ่นนี่มันจะมีกระจายสูญเสียออกไปด้วย  

  ตอนแรกก็ได้ข่าวว่าถ้าทำแล้วก็จะได้  70% สูญเสีย 30% อาตมาก็มาคิด โอ้โฮ!ถ้าเราพ่นเหล็กพ่นทองเหลือง  พ่นโลหะธรรมดานี่นะมันก็ไม่มีปัญหาหรอก ได้ 70 สูญเสีย 30 เราก็พอสู้นะพ่นเหล็กนะ(หัวเราะ)  แม้แต่พ่นระดับเงินนี่นะระดับเงินบาทละร้อยบาทอะไรนี่ยังพอไหว นี่บาทละห้าพันแล้วนี่เกือบห้าพันสี่พันห้า  ตรุษจีน

นี่มันขึ้นมาแต่เขาว่าเดี๋ยวมันก็คงลง   พอมันขึ้นรัตรุษจีนทุกปีน่ะทองคำน่ะ มันสี่พันเจ็ดใช่ไหมสี่พันเจ็ดร้อยกว่าๆบาทละ   นี่มันพอตรุษจีนมันขึ้นมาสีพันเก้ามันจะห้าก็ไม่ห้า  พวกนี้พวกบาจา  ราคาบาจา

         แต่ทีนี้เมื่อเรามาคิดกันแล้วก็ช่างทองเขาทำงานทองมาโดยตรง   พวกเรามีญาติธรรมทำงานช่างทองโดยตรงนี่  มีอาชีพทางนี้โดยตรงมาอยู่แล้วแม้ปัจจุบันนี้ก็ยังทำอาชีพนี้อยู่    ก็รู้ดีนะว่าจะทำอย่างไรแล้วก็จะให้สูญเสียไม่สูญเสียขนาดไหน   ก็บอก โอ๊!ถ้าทำอย่างนี้เราก็ทำให้มันดีๆ   เพราะว่ามันเก็บคืนได้ไปดูแล้วมันไม่ได้ขจรขจายได้มากมายถ้าเผื่อว่าได้ไฟที่ขนาด    เครื่องที่เอามาสาธิตให้ดูนี่ เครื่องนี้นี่อายุมัน  30 ปีแล้วมันก็ยังได้ขนาดนี้  นี่เราซื้อใหม่เครื่องใหม่มาทำด้วยนี่  มันน่าจะดีกว่านี้นะมันน่าจะเนียนละเอียด  แล้วเราก็รุ่นใหม่ด้วยไอ้นั่นรุ่นเก่าโมเดลเก่าโมเดลตั้งแต่ 30 ปีแล้วมันก็ยังได้ขนาดนี้  เดี๋ยวนี้ก็แก้ไขปรับปรุงมาเป็นโมเดลใหม่   เกือบล่าสุดอันที่ว่านี่เกือบล่าสุด  เขามีล่าสุดอีกแต่ว่าเราก็ไม่ได้ซื้ออันล่าสุด โมเดลใหม่ล่าสุดทีเดียว   มันแพงอันหนึ่งสี่แสนกว่าเฉพาะเครื่องพ่นนี่  เหมือนปืนนี่ อย่างนี้นี่    เหมือนไอ้ไดร์ผมนี่(หัวเราะ)เหมือนแค่นั้นน่ะอันนั้นน่ะ  รูปร่าง  เท่านั้นนะไอ้คร่าวๆนะมันจะไม่ใช่เหมือนทีเดียว  มันเป็นเครื่องมือของเขาซึ่งแน่ละมันก็ต้องมี...ราคามันแพงมัน   แมคคานิก(mechanic)ของมันมันก็ต้องซับซ้อนอะไรต่ออะไรบ้าง  เขาบอกว่าถ้าเผื่อว่าเรามาทำเป็นห้องเลย ห้องม่านน้ำ แล้วเอานี่เข้าใส่ในนั้น   แล้วก็อยู่ในม่านน้ำนี่  แล้วเราก็พ่น  มันก็จะอยู่ในนั่น   ตกลงไปในน้ำ น้ำมันก็พาลงมากอง  เขาไม่ให้ไอ้นั่นน่ะ  น้ำท่าต้องอาบซ่ะก่อน  เขาไม่เอาออกที่ตัวหรอก  ผงทองอะไรต่ออะไรมันติด  เขาไม่ให้เอาออกมาหรอก  เขากวาดหมด เลยเก็บหมดเลย  น้ำล้างว่างั้น เขาก็เอาน้ำมาหมด  แล้วก็มากรองเอาผงทองทั้งหมดคืน   อันนี้ก็นัยเดียวกัน พวกช่างทองเขารู้ดี พวกช่างร่อนนี่  ไปร่อนตามข้างๆ ห้อง   ร้านทองนี่ เขาพวกช่างร่อนนี่ ไปคอยร่อนอยู่นั่น  หมดทั้งนั้นแหละ เขาเอาคืน  อันนี้ก็เก็บคืนได้  เราทำให้ดีแล้วมันไม่ไปไหนเสียหรอก  คิดว่าไม่เกิน  10% แน่นอน จะสูญเสีย  ถ้าไม่เกิน 10% นี่ก็พอถูไถนะ พอถูไถ  คิดว่าก็มีทางนี้อีก  ก็เลยเห็นว่าทั้งสามประเด็นที่อาตมาตั้งข้อสังเกตนี่   เป็นไปได้ทั้งสามภาค  ก็คิดว่าจะทำ  ถ้าได้เครื่องมือนี้ก็สั่งอยู่นี่ เครื่องมือต้องสั่งมาจากนอก  ของเยอรมัน ของเยอรมนี ไม่รู้จะนานเท่าไหร่   แต่เรามีเวลาถึง  9  มิถุนานี่สามเดือน  แหม เร็วจี๋เลย   แต่ถึงยังไงก็ต้องเร่ง  คิดว่าทัน เพราะว่าพ่นจริงๆ ไม่ถึงเดือนหรอก เสร็จแล้วเราก็เอามายกขึ้นตั้งไว้ก่อน    เพราะว่าข้างบนของเรานี่  พระวิหารนี่ โดมเสร็จแล้ว   บนโดม   แล้วก็รอบโดม  เราก็ติดเกรนิตแล้ว   แล้วเราก็รอนี่ เราทำมุขก็ยังไม่ได้   จะทำลำธารข้างล่าง มันก็ยังทำไม่ได้ ต้องรอตรงนี้   รอ เพราะว่าเราจะต้องใช้เครนยักษ์  เข้ามาถึงก็หิ้วเจดีย์นี่ขึ้นไปเลย  ไปวางหมับลงนั่นเลย  ไม่มีวิธีอื่น  วิธีอื่นเอาขึ้นไม่ได้ 

         มีคนบอกว่าได้  มีนะ  ไชยวัฒน์ บุญประกอบ  คนที่หล่อทำพระเจดีย์นี่ โครงสร้าง  ทำโครงสร้างอันนี้  ที่ทำโมเดลนั่นแหละ  โมเดลที่ตั้งอยู่ที่สันติฯ นั่นคนนี้ไชยวัฒน์นี่ เขาบอกว่าขึ้นได้  ใช้รอกนี่ เอาขึ้นได้ เอารอกนี่ขึ้น  บอกว่าจะขึ้นได้ยังไง   โดมเป็นซี่โดมนี่ มีช่องนะ  แล้วพระเจดีย์นี่มันก็กว้าง 1.80 เมตร เป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส   1.80 ม.  ฐานมัน แล้วจะเอาลอดโดมนั่น ออกมาได้ยังไง  ไอ้ ช่องโดมนั่นมันก็ ช่องโดมนั่นสองเมตรกว่าก็จริงอยู่ แต่มันไม่ได้สองเมตรกว่าทั้งหมด เพราะมันเรียวเข้าไปหากลางอย่างนี้  ไอ้ตรงฐานมันนึกว่าสองเมตรจริง แต่ไอ้มาอย่างนี้  แล้วมันสองเมตรที่ไหนล่ะ  พระเจดีย์เราก็สี่เหลี่ยมนี่มัน 1.80 เมตร สี่เหลี่ยมจตุรัส  แล้วมันจะรอดมายังไง  แล้วมันก็ไม่ใช่แผ่นบางๆอีกด้วย มันก็มีทั้งชั้นหนา   เข้ามาทางนี้ด้วย  มันก็เหมือนกับลูกเต๋า  แต่ไม่ใช่ลูกเต๋าทีเดียว   มันจะเอาลอดเข้ามาได้ยังไงกับช่องนั้น ได้ ได้  เขาก็ว่าได้ ได้ อาตมาก็ว่า เอ๊อ! ถึงได้   มันก็คงเบียดเสียดสีงัดกันน่าดู ดีไม่ดีเสี่ยง แล้วมันก็ไม่ใช่ที่เตี้ยๆด้วย  สูงตั้ง 30  กว่าเมตร  เอาขึ้นไปยังไง  อาตมาไม่เสี่ยง จ้างเครนเขามา  เช่าเครนเขามายก ถ้าเครนยักษ์จริงๆ  ก็วันหนึ่งสามหมื่นห้า   ค่าเช่าวันหนึ่ง (หัวเราะ)   ไม่เป็นไร  สามหมื่นห้าเราก็ต้องเสีย   เพราะว่าเราไม่มีนี่  ไม่มีเงินกี่ล้านไปซื้อเครนมา(หัวเราะ)  เราจะไปซื้อมาได้ยังไง ก็ต้องเช่าเขาอย่างนี้แหละ  ธรรมดา 

 

         ก็คิดว่าเราจะได้ฉลอง  เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสกาญจนภิเษก   ในวันที่ 9 มิถุนายน 2539 นี้  ชาวอโศกเราทุกผู้ทุกคนคงจะได้ร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกันได้ทุกคนได้ด้วย  โดยเราจะสร้างพระวิหารพันปี เจดีย์พระบรมสารีริกธาตุ นี้แหละ ผนวกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ไปพร้อมในวันที่ 9 มิถุนายน นี่เป็นข่าวดีของพวกเรานะ   เพราะฉะนั้น ก็คิดว่า วันที่ 9 เราจะมีงาน  ต้องเอาเจดีย์นี่ขึ้นฉลอง   ฉลองพระเจดีย์นี่ล่ะ  แต่ว่าพระวิหารยังไม่เสร็จ  พระเจดีย์จะต้องเสร็จก่อน  พระวิหารยังไม่เสร็จล่ะ แน่ยิ่งกว่าแน่  ไม่เสร็จหรอก วันที่ 9 มิถุนา นี่ไม่มีทางทำได้   ให้พระวิษณุกรรมเนรมิตมาก็เนรมิตไม่ได้ เชิญพระวิษณุกรรมมาเนรมิตยังไงก็ไม่ทันพระวิหาร   แต่ไม่เป็นไร  เราก็จะมี  มีโครงสร้างแล้วมีรูปร่างแล้ว ถ้าพระเจดีย์ขึ้นแล้ว ก็เอาพระเจดีย์ขึ้นก่อน  ทางด้านที่เราจะมาขุดทำมุข ทำอะไรข้างหน้านี่ เรายังไม่ทำก่อน  เราจะทำส่วนย่อย ที่จะประกอบให้ได้มากที่สุด เท่าที่จะมีได้   นี่ท่านคมคิดมาหรือเปล่า?   ต้นไม้ต้นนั้นก่อน   ต้นหนึ่งจะต้องฉลองนะ  แต่งซะให้เสร็จให้ทัน  คือเสาเราทุกต้น นี่จะเป็นต้นไม้ ทุกวันนี้ต้นไม้ต้นนั้นนะ ใครเห็นใครก็   โอ้โฮ! ชอบ  ต้นที่ปั้นแล้วนี่นะ  เอาคำนั้นไปชมหมดแล้ว แล้วเอาคำหนมาชมอีก อย่าเพิ่งชม เดี่ยวเอาไว้ให้เสร็จเสียก่อนค่อนชม (หัวเราะ)   ก็ชะลอ บอกไว้นะ

         ตอนนี้ถ้าใครไปสันติอโศกแล้ว ลำธารก็ไปได้มากแล้ว ลำธารต่างๆนานา ทิวทัศน์ คือันติอโศกเปลี่ยนไปหมดแล้วตอนนี้ ใครไปนี่บอก ไม่ ไม่ใช่ ยังกับไม่ใช่สันติอโศกแล้วละตอนนี้   น้ำตก ก็กำลังทำอยู่ตอนนี้  ก็เครื่องสูบที่จะสูบน้ำขึ้นไปหมุนเวียนนี่  ก็กำลังติดต่อหามาอยู่ คงจะได้ทดลองก่อนวันที่ 9 ถ้าใครอยู่ก็คงจะได้เห็น   จะต้องเจาะลำธารลำลอง ให้มันทะลุกันก่อน ในวันงาน ก็อาจจะมีลำธารลำลองน้ำตกไหลได้  ก็ยังไม่จริงเท่าไหร่ เพราะว่าลำธารนี้ มันจะต้องผ่านไปใต้มุข  ซึ่งเราก็ยังจะต้องสร้างมุขนั้นก่อน  เพราะฉะนั้น จะต้องไปทำลำธารให้มันทะลุกันก่อน  ในวันงานก็อาจจะมีลำธารลำลองน้ำตกไหลได้   ก็ยังไม่จริงเท่าไหร่   เพราะว่าลำธารนี้ มันจะต้องผ่านไปใต้มุข   ซึ่งเราก็ยังจะต้องสร้างมุขนั้นก่อน เพราะฉะนั้น  จะต้องไปทำลำธารสมบูรณ์แบบยังไม่ได้ เพราะใต้ลำธารจะต้องมีหินตบแต่ง  หินนี่  ไม่ใช่ก้อนธรรมดา ก้อนเป็นตันๆนะ   ต้องไปแต่งไปตั้งไปอะไรต่ออะไร   ไปวาง ใครไไปเห็นแล้วก็บอก  โอ้โฮ!  พวกเรานี่  รวยจริงๆ เขารวยเพชรกัน  แต่เรารวยหิน ไม่รู้มาจากไหน  มันก็ใช้ภาษาอีสานว่ามันเป็นจังบุญ  ในภาษาทางภาคกลางอาจจะบอกว่าเป็นบารมีนะ  เป็นจังบุญ  มันก็มาเองนะ  อะไรๆ ก็มาเหมือนกับมาเอง  มันมาอย่างงงๆนะ  มันไม่น่ามีไม่น่าจมาไม่น่าได้หรอก ถึงปานนี้แล้วมันก็ยังมียังมา  เราก็นึกว่าหินมาใช้ที่ปฐมอโศก หรือก็มีมากแล้ว ก็คงจะพอ  แล้วก็คงจะหาอีกยากแล้ว ก้อนใหญ่ๆ  อะไรต่ออะไร คงจะแค่นั้นนะ   ทางสันติอโศก  ก็อุตส่าห์ขนมาจากปฐมอโศกเท่าที่มันมี  ขนมาไว้ที่สันติอโศกคิดว่าจะได้อย่างนั้น  ขนาดนั้นแค่นั้น  พอเอาไปเอามา มาถึงวันนี้นี่   โอ้โฮ! ยังคุณไปเห็นก็รู้   ที่มันก็ไม่กว้างเหมือนปฐมอโศกด้วย  โอ้โฮ!  กองภูเขาหินทีเดียว กองหินมากมายนะ  ก็ไปดูเอา ก็คงจะได้ฉลองกันอย่างนั้น

 

งานอโศกรำลึกจัดที่สันติฯ เป็นครั้งสุดท้าย

 

         ทีนี้  ก็มีผู้สงสัย เอ้า!ทำไมล่ะ  วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันอโศกรำลึกก็บอกกับทางสีมาอโศกเขาแล้ว     เขาตั้งใจว่าปีนี้นี่จะจัดอโศกรำลึกเหมือนอย่างปีกลายนี้ที่สีมาอโศก    ก็เลยบอกว่าปีนี้น่ะ   สีมาอโศกคงจะไม่ได้จัดหรอกนะสีมา (หัวเราะ)   ก็บอกกับสมภารไปแล้ว    สมภารก็บอกแล้วแต่ล่ะครับ    ว่างั้นนะ (หัวเราะ) มันเป็นไปอย่างนั้นซะแล้วนี่นะ  อันนั้นมันต้องยิ่งใหญ่กว่านะ พระวิหารพันปี  เจดีย์บรมสารีริกธาตุ นี่ต้องยิ่งใหญ่กว่าแน่นะ   เพราะว่าจะเป็นปูชนียสถานหรือเป็นสังเวชนียสถานของชาวอโศกเรานะ   พระบรมสารีริกธาตุจะอยู่ ณ  ที่นั้นเป็นแหล่งกลาง   ศูนย์กลาง  ก็เป็นศูนย์กลางอยู่แล้ว  ก็จะสมบูรณ์ไปอย่างนั้น  ก็เลยต้องเอาวันที่  10 มาฉลองต่อจากวันที่ 9 ไว้ที่สันติอโศก แปะกันไว้เลย   ก็ดีเหมือนกันน่ะ  จะได้ไม่เสียเที่ยวกันมากเกินไปนะ  ไม่เสียเที่ยวกันนัก จะได้ แหม ไม่งั้น โอ้โห!  วันที่ 5 นะ  มางานราชธานีอโศก  วันที่ 9  ไปสันติอโศก  วันที่ 10 มาสีมาอโศก แหม (คนฟังหัวเราะ)  อื้อฮือ!  ต้องซื้อเฮลิคอปเตอร์คนละลำๆ  (คนฟังและพ่อท่านหัวเราะ)   มันก็คงจะแย่นะ  ก็เลย เอ้า ! เอาแค่นี้ วันที่  5 ราชธานีเป็นวันเปิดมหาลัยวังชีวิต   และเป็นวันเกิดของราชธานีอโศกเขาด้วยนะ วันที่ 5 มิถุนายน  เราก็ค่อยไปวันที่ 9 มิถุนายน  ที่สันติอโศกกัน สันติอโศก  ก็ไม่ได้จัดงานกันมานานแล้วนะ   หลายปีดีดัก   ก็ได้อันนี้กันนะ

         นี่ก็บอกกล่าวข่าวคราว ทิ้งเรื่องของงานบุญ ก็ได้เป็นบุญร่วมกับประชาชนทั้งประเทศ  เทิดทูนพระเกียรติในหลวงของเราได้ด้วยนะ  ก็สุดยอดแล้ว ก็สุดหัวใจเราแล้ว พระวิหารพันปี  เจดีย์บรมสารีริกธาตุ นี่นะ เราก็ทำ  เราก็ยังไม่รู้นะว่าทองที่ได้นี่จะได้แค่ไหน   แต่ก็ตอนนี้  ค่อยยังชั่วขึ้นแล้ว  ถ้าได้น้อยเราก็บางๆ (หัวเราะ)   เพราะว่าพ่นได้หลายรอบ บางก็ได้ ทำมากมีมากก็หนาขึ้น  ไม่เป็นไรเลย   เพราะว่าพ่นนี่พ่นหลายรอบ แต่ต้องพ่นตอนนั้นนะ มาพ่นเติมทีหลัง มันไม่เข้ากัน พ่นตอนนั้น  ที่ไม่เข้ากันนี่เพราะอะไร?  เพราะว่ามันจะไปถูกอากาศมาอะไรต่ออะไรแล้วนี่   แล้วก็มาพ่นอีกทีนี่มันไม่ได้แล้ว ต้องตอนนั้นไปทีเดียว  แล้วก็พ่นไปแล้ว  พ่นไปพ่นไปในขณะที่ยังมีความร้อนมีอะไรอยู่นี่ ยังสะอาดอยู่นี่  จะพ่นอีกรอบหนึ่งตรงนี้ก็ได้  มันจะผนึกกันไป  พ่นในขณะที่มันพ่นนี่พ่นไป  จะเอาหนาแค่ไหน เราก็จะต้องประมาณดู   วัดดู  เราจะวัดด้วยความหนาของทอง  มันจะเท่าไหร่ๆ เราคำนวณได้ แล้วเราจะพ่นหนาเท่าไหร่  พ่นไปให้ครบให้สมบูรณ์ เราจะพ่นข้างล่างไปก่อน  เผื่อว่าทองไม่พอจะได้เหลือยอดๆ เอาไว้ ถ้าไม่พอแล้ว ผู้คนจะได้มาต่อยอด (หัวเราะ)  ถ้าพ่นยอดมาก่อนแล้ว   ประเดี๋ยวไม่ยอมต่อฐานง่ายใช่มั้ยคนเรานะ  (หัวเราะ)  พ่นยอดก่อนแล้วเดี๋ยวก็บอกว่า ยังไงก็ยอดก็มีแล้วทองคำแล้วไม่เอาแล้ว   ฐานอะไรก็  ไม่กระตือรือร้น  ประเดี๋ยวฐานไม่ครบ   ได้ฐานด่าง (หัวเราะ)   แล้วจะพ่นฐานไว้ก่อน เสร็จแล้วเหลือยอดด่าง  เอาละ คุณจะปล่อยยอดด่างไปให้รู้กันได้  หาทองมาช่วยกันทีหลัง เอ้า! ใครจะมาช่วยทองก็รีบๆเข้าจะได้เร่งๆ เอ้า! มาทีนี้เข้าสู่การศึกษา

         

กรรมฐานของอาริยชน

 

          เริ่มต้นเลย  เริ่มต้นเอาหัวข้อกรรมฐานของอาริยชน  อาริยชนนี้ เป็นคำที่อาตมาเจตนาใช้ เดิม สมัยเดิมท่านเรียกว่าอริยะ อริยะแปลว่าผู้ประฉลาดผู้ประเสริฐ  ผู้ฉลาด และโดยความหมายในทางธรรม คือผู้ที่มีภูมิตรัสรู้  เริ่มนับตั้งแต่โสดาปัตติมรรคไป  ผู้ใดเริ่มมีภูมิธรรม มีภูมิปัญญา มีธาตุรู้ที่เอาจิตวิญญาณนี่เป็นปัญญา  เป็นธาตุรู้ รู้ความจริง  ที่อาตมาได้ยบ้ำแล้วเมื่อวานนี้ว่า  ความรู้ปัญญานะ ไม่ใช่รู้เฉลี่ยวฉลาดอย่างโลกๆ   เฉลียวฉลาดก็คือความเฉลียวฉลาด   ในปัญญามีความเฉลียวฉลาดอยู่ในนั้นด้วย   มีความรู้ที่เฉลียวฉลาด   แล้วรู้นี้เป็นการรู้ความจริงตามความเป็น  เป็นอย่างไร  ความรู้ไปรู้อันนั้นเป็นอย่างนั้นตรงๆ ไม่มีอะไรแฝง  บริสุทธิ์สะอาด  รู้อันนั้นอย่างแฝงบริสุทธิ์สะอาด  สะอาดจากอะไร  นี่ตรงนี้สำคัญ  สะอาดจากกิเลส  หรืออารมณ์ของโลกียะเข้าไปร่วม   สะอาดจากอารมณ์ของโลกียะ หรืออารมณ์ของกิเลส ตัณหา อุปาทานเข้าไปแทรก  หรือปราศจากโลภ โกรธ  หลง    รู้ตามความจริงอย่างไม่มีโลภ  ไม่มีโกรธ ไม่มีหลง  รู้รูปก็คือรูป  รูปร่างก็คือรูปร่าง    ไม่ใช่ว่ารูปร่างพอไปรู้แล้ว   คนเรามันเคยตัว  มันเคยชินด้วยสังขารปรุงด้วยกิเลส  พอรู้อย่างนี้  เป็นอย่างนี้ ก็ว่าอย่างนี้ดี ไม่ดี สวย  ไม่สวย  พวกนี้ล้วนแล้วแต่เป็นสมมุติสัจจะของโลกที่เขารู้ร่วมกัน  สมมติร่วมกัน

         ถ้าไปรู้ตามสมมุติอย่างนี้ไปทีเดียว  แล้วก็เกิดจิต มีโลภ โกรธ หลงเข้าไปปรุงแต่ง  ชอบ ไม่ชอบ มีผลักมีดูด  มีปฏิกิริยาไม่เป็นกลาง  ไม่ใช่รู้กลางๆ อย่างนี้เรียกว่ารู้อย่างมีสังขาร  ไม่ใช่ปัญญาแท้  ปัญญาจริงๆนั้นน่ะ จะต้องรู้อย่างไม่มีกิเลส  กลางๆ รู้กลางๆ รู้ของแท้ แหลมๆ คือ แหลม  กลมคือกลม  เขียวคือเขียว   แดงคือแดง   อย่างนี้คืออย่างนี้  ยิ่งดูแล้วก็บอก  โอ้โห!  ต้นนี้สวยจัง โอ้ฮู!  ใหญ่ อวบ  มันหนักเข้าก็  เป็นของเราก็ดีแฮะ นั่น ไปโน่นเลย  กิเลสมันไวนะ  แหม ได้ซักต้นก็ดีนะ  นี่กิเลสมันเข้าไปเลย นี่พูดเป็นภาษา แปลออกมาเป็นภาษาครบๆนะ  แต่ใจมันก็คืออย่างนี้ โอ้โฮ! สวย น่าไได้ ถ้าคนมีสตางค์ก็บอกขายเท่าไหร่   (คนฟังหัวเราะ)    ถ้าคนไม่มีสตางค์   ขอได้มั้ย?นะ    ถ้าคนไม่มีสตางค์ด้วย แล้วก็ไม่ขอด้วย เอ๊ะ! ขโมยเมื่อไหร่ดีวะ (คนฟังหัวเราะ)  นี่มันไปตามเรื่องฐานะของคน ถ้าคนฐานะไอ้โจร ก็คิดขโมย  ฐานะคนกลางๆ  ธรรมดาก็ขอซื้อ เอ๊ย!ขอ ฐานะคนที่ขี้ขอหน่อยก็  คนฐานะธรรมดา ฐานะพอได้ก็ขอซื้อ นั่นมันสมความโลภ  เพราะฉะนั้น เราจะรู้ว่า สวยนี่ ก็ยังขึ้นมาเลยนะ  สวยหรือไม่สวย นี่คือสมมุติโลก สมมุติสัจจะ         

         แม้แต่แมลงที่มันกินนี่ มันก็ไม่รู้ว่าสวยหรือไม่สวยหรอก นี่มาเปรียบเทียบกันวัดกัน   มันไม่รู้หรอก  มันไม่รู้ว่า สวยไม่สวยนี่ มันวัดค่าอย่างไร  มันไม่วัดหรอก  มันไม่รู้หรอก  มันไม่มีความจริงหรอกว่าสวยไม่สวย  แต่เมื่อไปรู้สึกสวย นี่แหละคือ ไม่ใช้ปัญญาแล้ว ถูกพรางลวงตามกำหนดแล้ว  กำหนดสมมุติน่ะ  กำหนดสมมุติแล้ว ชอบก็มี ไม่ชอบก็มีได้ใช่มั้ย  อันนี้แหละ  ไม่ตรงกัน ไม่เที่ยง ไม่แท้

         เอาละทีนี้ปัญญาที่ว่านี่  ฟังให้ชัดนะ  โลกุตรปัญญานั้น รู้ทั้งความสวย ความไม่สวยของโลกที่เขาสมมุติด้วย  เป็นสัจจะชนิดหนึ่ง  ฟังดีๆนะ  อาตมาตั้งใจจะอธิบายธรรมะให้ละเอียดให้ครบสมบูรณ์   ทุกวันนี้  มันแหว่งไปหมด  ถ้าคุณฟังที่ 

บางคนนะ  บางคนอาจจะเข้าใจแล้ว บางคนถ้ายังไม่เข้าใจที่อาตมาอธิบายไปแล้ว  

ก็จะโต่งไปอีกเลยว่า  เอ๊ย! ปัญญาเห็นแต่ความจริงตามความเป็นจริง  รู้แต่ของนี้

ตามความจริงของมันเท่านั้น   ถ้าขืนไปรู้ว่ามันสวยมันไม่สวย   น่าได้หรือไม่น่าได้

ด้วยนี่  ไม่ใช่โลกุตรปัญญาแล้ว ฟังดีๆนะ  คำว่าปัญญานี่กลางๆ  อาตมาอธิบายไป

แล้ว  ตอนนี้โลกุตตรปัญญา  โลกุตรปัญญานั้นรู้ความสวย และไม่สวย  คนเขาชอบ

หรือไม่ชอบ น่าชอบหรือไม่น่าชอบ ตามความเป็นจริงของสังคมของมนุษย์ส่วนใหญ่ รู้ด้วย  โลกุตรปัญญา  รู้จักโลกีย์ รู้จักค่านิยมของสังคม และตัวเองมีปัญญารู้ความจริง ตามความเป็นจริง  โดยไม่มีกิเลสนั้นด้วย   เพราะฉะนั้น โลกุตรปัญญานั้น  มีทั้งความรู้ทางโลกียะ   และมีความรู้ทั้งโลกุตระ  มีปัญญา ที่จริงโลกียะเขาไม่เรียกปัญญา แต่เขาก็ฌอาไปใช้ของเขาจนได้ละ มันชอบแย่ง ชอบแย่งของดีไปเรื่อย เอาไปเป็นของฉัน  (หัวเราะ)   ไอ้โลกีย์นี่ เพราะฉะนั้น   อย่างโลกียะ ความรู้อย่างโลกียะ  หรือจะเรียกโลกียปัญญาก็ได้  โลกียปัญญานั้น  โลกุตระ รู้ทั้งสองส่วนผู้มีโลกุตรปัญญา มีโลกียปัญญาด้วย มีโลกุตรปัญญาด้วย  ส่วนโลกียปัญญานั้น  ไม่อาจเอื้อมที่จะมีโลกุตรปัญญา โลกียปัญญานี่ไม่อาจเอื้อม  เป็นไปไม่ได้ ไม่รู้ด้วย  เป็นอย่างนั้น   ไม่ฝึกด้วย   แล้วยิ่งไม่ศึกษาด้วย มันไปแบ่งยังไง  เรียกว่าโลกุตระ  

แม้แต่คำว่าปัญญาที่อาตมาอธิบายนี่เขาก็ไม่อธิบายกันหรอก เขาแปลกันอยู่ความ ก็คงจะเคยได้ยิน รู้ความจริงตามความเป็นจริงก็คงจะเคยได้ยินสำนวนนี้

         เพราะฉะนั้น  ถ้าไม่เข้าใจตามที่อาตมาว่า คนก็ไม่สามารถที่จะรู้ ก็เลยสุดโต่งกัน  เพราะฉะนั้น พวกที่ปฏิบัติสุดโต่ง  บอกโลกุตระเอาแต่จิตเอาแต่อะไร โลกไม่รับรู้ทิ้งไปเลย  เขาก็จะเข้าป่าเขาเข้าถ้ำ ปิดหูปิดตา หนักเข้าเหมือนอย่างที่อินทรีย์ภาวนาใช่มั้ย? อินทรีย์ภาวนาสูตรที่อ่านไปให้ฟังเมื่อวานนี้ ที่บอกถ้าอย่างนั้นก็ดับหมดซิ   ตัดหูตัดตา ถ้าอย่างนั้น ก็เป็นคนตาบอดหูหนวกกันไปหมด  แล้วพวกนั้น

เป็นอย่างนั้นจริงๆ เป็นอย่างนั้นก็เหมือนอย่างกับคนตาบอด หูหนวก  อย่างกับคนตาบอด หูหนวกจริงๆ เป็นคนอย่างนั้นจริงๆ ไม่รับรู้ โลกเป็นยังไงอะไรยังไงไม่  เขานึกว่านี่แหลือคือการหลุดพ้น  ไม่ยุ่งไม่เกี่ยวไม่เกาะ แม้แต่ภาษาที่มันบอกว่าไม่เกี่ยวข้องโลกีย์ไม่เกี่ยวข้องโลก  ไม่เกี่ยวข้องผู้คนไม่เกี่ยวข้องอะไร ก็เลยกลายเป็นคนไม่เกี่ยวจริงๆ เลยนะ ตัดตัวเองออกไปเลย 

          เพราะฉะนั้น  อย่าไปพูดเลยว่า เขาจะรู้จักโลกโลกวิทู พหูสูต  ที่จะเข้าอกเข้าใจมนุษย์  แล้วก็เป็นพหุชนะหิตายะ   พหุชนะสุขายะ   โลกานุกัมปายะจะช่วยมนุษยชาติได้จำนวนมาก  มวลมากๆ  หรือว่าจะทำให้มนุษยชาติเป็นสุขอยู่ได้

มากๆ  เกี้อกูลมนุษย์  จะไปเกื้อกูลอะไร หนีไปหมดเลย ไม่มีประโยชน์ต่อคน ไม่มี

ประโยชน์ต่อผู้อื่น   นี่ศาสนาที่สุดโต่งไป   พระพุทธเจ้าเป็นโลกวิทู  ผู้รู้  รู้โลกดี  

ตรัสรู้แล้วต่างกันกับพวกฤาษี    พวกอะไรนี่   ลัทธิพวกนี้   มีมาก่อนพระพุทธเจ้า 

ลัทธิที่ออกหนีเข้าป่าเข้าเขา  เข้าถ้ำเข้าเขา  เข้าทำอะไรต่ออะไรต่างๆนานา ไม่เป็นโลกุตรจิต  จิตไม่มีโลกุตรปัญญา  แล้วก็จิตก็ไม่แข็ง เป็นโลกุตรจิตด้วย

         โลกุตรจิตนี่คือ  จิตที่เป็นสุญตาแล้ว  จิตที่ว่างจากกิเลสแล้ว โลกุตรจิตสมบูรณ์นะ  แต่โลกุตตรจิตนี่  เป็นจิตที่มีอยู่ในมัคคังคะ   ในภาคที่ยังปฏิบัติอยู่   พอเข้ากระแสโสดาปัตติมรรค ก็เริ่มนับว่าเป็นโลกุตระ  เริ่มนับเป็นอาริยะเข้าสู่โลกใหม่   เข้ากระแส  เดี๋ยวอาตมาจะอธิบายให้ครบหมดละว่า  โสดาบันนี่ พวกเราจะได้ฟังว่าคุณสมบัติของโสดาบันนี่   อาตมาพยายามประมวลมาในเงื่อนไขต่างๆ   ในความเป็นโสดาบันนี่มีในตำรา  มีในหลักฐานต่างๆ อะไรบ้าง  ซึ่งมีอยู่ 3-4 อย่าง  เดี๋ยวถึงวาระนั้น อาตมาจะขยายนะ  จะขยายให้เห็นเลย  แล้วพวกเรารู้หลักการพวกนี้แล้วเสร็จ   เราจะได้รู้ตัวเอง  ต้องรู้ตัวเอง  อาตมาถึงบอกว่า ต้องปัจจัตตัง  เวทิตัพโพ  หลักการของพระพุทธเจ้านี่ ไม่ใช่คนนั้นคนนี้มารู้ญาณให้แก่เรา   ว่าเราจะมีญาณเท่านั้นเท่านี้ ก็เพราะว่าผู้นั้นผู้นี้บอก อาจารย์ชี้ให้ ไม่ใช่  ต้องเรารู้ด้วยตนเอง เพราะฉะนั้ เมื่อเรารู้หลักการแล้ว ไปตรวจสภาวะพวกนั้นของเรา  แล้วเราจะได้รู้ว่า  อ้อ! เราเป็นอาริยะแล้วตอนนี้  หรือว่าเราเองเราเข้าสู่โลกุตตรภูมิแล้ว    ไม่ใช่เป็นโลกียะ  หมุน  เดี๋ยวก็ลงนรก  ขึ้นสวรรค์  สวรรค์ลวงด้วยนะ  สวรรค์หอฮ้อ  สวรรค์หลอก  ซึ่งเป็นมายาอยู่ในโลก อยู่อย่างนั้นน่ะ  ไม่รู้จักแล้ว กี่ชาติต่อกี่ชาติมานานแล้ว เพราะฉะนั้น  ถ้าผู้ที่ไม่ศึกษาอย่างนี้ จริงๆ แล้ว   ไม่มีความเข้าใจจริงๆแล้ว ก็จะโต่งไปอย่างนั้น อย่างที่กล่าว โต่งไปแล้วเป็นอย่างนั้นมากเลยใช่มั้ย  ดูค่าของสังคมพุทธศาสนาในเมืองไทยเดี๋ยวนี้ก็ตาม ก็เข้าใจอย่างนั้น   เพราะฉะนั้น อาริยะของทางด้านผู้ที่เข้าใจกระแสส่วนใหญ่ของสังคมพุทธในเมืองไทยก็ตาม    ทั่วโลกเขาก็เข้าใจตามไทยนี่แหละ   เพราะพุทธศาสนาในเมืองไทย  นี่คนถือว่าเป็นศาสนาที่มีเนื้อแก่นมากที่สุด   มหายานอื่นๆ  ที่ไหนๆ  ก็สู้ไม่ได้  เขารู้กันดี นักศึกษาทางศาสนาในเมืองไทยนี่ แม้แต่อินเดียเองก็ยังสู้ไม่ได้  อินเดียเอง ก็สู้ไม่ได้  เมืองไทยนี่ได้รับความยอมรับอย่างนั้นจริงๆนะ

         ขนาดยอมรับอย่างนั้นจริงๆ  ของระดับโลก ก็ยังเอียงโต่งไปในข้างเป็นฤาษี จะไปในทางปลีกตัว  หนี สงบ สงัด  เพราะฉะนั้น  เมื่อมาแปลพระบาลีมาแปลพระไตรปิฎก   จึงแปลค่อนข้างเอียง   คนที่อ่านพระไตรปิฎกทุกวันนี้นี่  จะเอียงไปในทางฤาษี   สำนวนที่แปลนี่ จะหลีกหนี  จะเร้น  จะปลีกตัวอยู่แต่ผู้เดียว ทั้งๆที่เอกะนี่ มันแปลว่าผู้เดียวก็ได้ แปลว่าเป็นเอก   แปลว่ายอด ว่าเลิศ   แปลว่าสมบูรณ์ก็ได้    อย่างเช่นว่าเอาเอกะ  มาแปลในสำนวนของการประพฤติปฏิบัติเมื่อประพฤติปฏิบัติ มีการฉันผู้เดียว มีการ ไม่ใช่ผู้เดียว เขาใช้คำว่าเอกะนี่แหละผู้เดียว   เขาก็แปลเอกะว่าผู้เดียว มีการเดินก็เอกะ มีการกินก็เอกะ  มีการครองจีวรก็เอกะ  มีการไปก็เอก การมาก็เอกะ  ปัสสาวะก็เอกะ     อุจจาระก็เอกะ  ทำนั่นทำนี่อะไรต่ออะไร   เอี้ยวแขน  ไกวขาก็เอกะ  ไม่นานก็ได้เป็นพระอรหันต์  เขาก็เลยแปลว่า นี่ถ้าท่านอยู่แต่ผู้เดียว  กินผู้เดียว  นอนผู้เดียว ครองจีวรผู้เดียว อุจจาระผู้เดียว  ปัสสาวะผู้เดียว เอี้ยวแขนผู้เดียว ไกวขาผู้เดียว ไปผู้เดียว มาผู้เดียว    ประเดี๋ยวก็ได้เป็นพระอรหันต์   (หัวเราะ)  ไม่ช้าไม่นาน ก็ได้เป็นพระอรหันต์   องค์ใดองค์หนึ่งในศาสนานี้ นี่เขาแปลสำนวนอย่างนี้ในพระไตรปิฎกเยอะ   คนไปอ่านก็บอก  อ้อ!  มันต้องอยู่ผู้เดียวโว้ย   มันถึงจะได้เป็นพระอรหันต์  (หัวเราะ)   แทนที่จะแปลว่า ท่านกินก็กินจนเป็นยอด  บอกว่าเอกะนี่  แปลว่าเป็นยอด   สำเร็จเป็นหนึ่งแล้ว สุดยอดแล้ว   เดินก็จนสำเร็จเป็นยอดครองจีวรก็จนสำเร็จเป็นยอด    จะเอี้ยวแขน  ไกวขาก็จนสำเร็จเป็นยอด   จะอุจจาระ  ก็จนสำเร็จเป็นยอด จะปัสสาวะ ก็จนสำเร็จเป็นยอด จะไปจะมาจะ

อะไร  ก็สำเร็จเป็นยอด  แทนที่จะแปลว่าอย่างนี้นะ ก็ไปแปลว่า แต่ผู้เดียว  ก็

อุจจาระปัสสาวะ   มันจะไปหลายคนได้ยังไงล่ะ (คนฟังหัวเราะ)  มันก็ต้องผู้เดียว  มันตลกมั้ย? นะ   นี่แหละคือความเข้าใจ เข้าใจแปลว่าแต่ผู้เดียว

         อาตมาก็เอ๊ะ! ไอ้เอกะตัวนี้น่ะมันแปลว่าแต่ผู้เดียวมันตลอดตะพึด ในนั้นน่ะ  พอเจาะเอกะตัวไหน  แต่ผู้เดียวทั้งนั้น  ไม่ได้แปลว่าเป็นเอก เป็นยอดลงตัว  เอกนี่แปลว่าลงตัวก็ได้ หนึ่งเดียวแล้วเป็นเอกภาพ  ทุกอย่างสมบูรณ์แบบแล้ว ไม่มีสองแล้ว  ทั้งๆที่ท่านขยายนะ   ความหลีกเร้นอยู่แต่ผู้เดียว  หรือว่าความไม่มีเพื่อนสอง เอกะของท่านนี่หมายความว่า จิตบริสุทธิ์สะอาด มีอธิบายไว้ สูตรนี้ก็เป็นเงื่อนไข เป็นตัว Key แก้ไขคำผิดตรงนี้ไว้ตลอด  ต่อให้มีมวลมิตรสหายห้อมล้อมไว้อยู่ในผู้คนเต็มหมด แต่จิตปราศจากกิเลสแล้ว  นี่คือผู้ไม่มีเพื่อนสอง คือผู้อยู่แต่ผู้เดียว   ไขตรงนี้แล้ว  พระพุทธเจ้าท่านไขไว้แล้วนะ   แต่ก็ยังพาซื่ออยู่แต่ผู้เดียวตรงนี้แต่ผู้เดียว   ต้องอุจจาระแต่ผู้เดียว  โอ๊! อุจจาระสองคนก็ไม่หนุกนะ  กินผู้เดียว  ไปผู้เดียว  มาผู้เดียว  บิณฑบาตผู้เดียว  เอี้ยวแขนผู้เดียว ไกวขาผู้เดียว  ตอนนี้ก็ได้ข่าวว่าผู้ที่อยู่ภูผาฟ้าน้ำ  ก็กำลังจะผู้เดียวกันหนักๆ เหมือนกัน  เลยจะไม่ทำงาน  จะไม่อะไรต่ออะไร เอียงๆไป  เพราะอ่านพระไตรปิฎกจัดเลยตอนนี้อยู่ภูผาฟ้าน้ำ   นี่ก็ฝากทิ้งไว้ แล้วก็ได้ข่าวว่า พวกเราหลายคนก็ไปคุยกับทางฝ่ายภูผาฟ้าน้ำ  โอ้โห  ! ฝึกวรยุทธ์ตอนนี้ จะเป็นผู้เดียวกันเก่งแล้ว  ผู้ที่อยู่ที่นี่   ก็เมื่อยงานน่ะ  เพราะความขี้เกียจมันเข้าครอบงำ โอ๋ย! นี่เราเข้าใจผิดมานานนี่  มิน่า เราทำงานมาหนัก  มันต้องหนีไปอยู่ภูผาฟ้าน้ำแล้วนี่ ต้องไปฝึกวรยุทธ์  ต้องอยู่แต่ผู้เดียว   ที่โน่นหมดแล้ว เราจึงจะบรรลุธรรม นี่ได้ข่าวว่าหลายผู้หลายคน  กำลังมีความเห็นอย่างนี้แล้ว

         อาตมาก็พูดๆ   แต่ไม่ได้หมายความว่า การอยู่ผู้เดียวไม่มี การที่เราจะสงบสงัดอยู่แต่ผู้เดียวในบางครั้งบางคราว ต้องทำ ฝึกปรือ คุณจะรู้ความฟุ้งซ่านของตัวเองได้ดี   หรือแม้แต่ออกป่า  ไปอยู่ป่าดูซิ อยู่ซิ  เราเองนี่  นักฟุ้งซ่านนักไปอยู่ป่า จะได้รู้ว่า เดือนหนึ่งทนไหวมั้ย  สองเดือนทนไหวมั้ย  ห้าเดือนทนไหวมั้ย อยู่ที่ไม่มีเหมือนกับโลกเขาปรุงแต่ง   อยู่ในสังคมพวกนี้  บางคนก็ติดงานจนกระทั่งทิ้งงานไปก็   โอ๋! อดไม่ไหวหรอก   อดไม่ได้หรอก  มันจะต้องมาทำงาน   มันก็ติดงานเป็น กัมมรามตา   มันก็เป็นกิเลสกัมมรามตา  ติดงาน อย่างนี้เป็นต้น  ก็ไม่ได้  มันสะอาดทั้งสองส่วนนะของพระพุทธเจ้า  ติดงานมันก็ไม่หมด  ปลีกเดี่ยวไปติดสงบ  ติดอยู่อย่างนั้นน่ะ  มันอยู่เป็นฤาษีไปเลย ก็ไม่ได้  นี่อาตมาพูดให้ครบ  ให้ครอบให้คลุมซะให้ชัดเจน   เพราะฉะนั้น   เรื่องละเอียดพวกนี้เป็นเรื่องสุขุมละเอียด คัมภีรา   ทุทสา ทุรนุโพธา  สันตา ปณีตา  สุขุมประณีตจริงๆ ธรรมะของพระพุทธเจ้า   ต้องเข้าใจให้ดีความสุดโต่งสองข้างนี่   อย่าไปเผลอไผลเอียงอยู่ข้างไหน  

          เพราะฉะนั้น สรุปแล้วเราต้องมีโลกนี้จะเหลือแต่เราคนเดียว ก็ไม่ว้าเหว่  อบอุ่น สงบได้  โลกนี้จะแออัดยัดเยียดไปด้วยโลกีย์ที่เร่าร้อนเท่าไหร่  เราก็เบาว่าง ง่าย สงบ อย่างนั้นทั้งสองด้าน  นี่คือความลงตัวสูงสุด  เป็นเอก เป็นเอกะ  เป็นเอโกธัมโม   เป็นธรรมะที่เป็นสุดยอด   ต้องอย่างนี้   นี่ขยายความประเด็นหลัก ประเด็นใหญ่ๆ สำคัญๆ ให้ฟังซะก่อนนะ

         ทีนี้ก็มาขายคำว่ากรรมฐาน   ผนวกกับอาริยะ  อาตมายังไม่ได้ขยายอาริยะ  ไปมากกว่านี้นะ  เดี๋ยวจะได้ขยายเนื้อหาคำว่าอาริยะตั้งแต่โสดาปัตติมรรค 

อะไรต่ออะไรต่างๆนานา  หรือเริ่มต้นเข้าไปจะต้องมีอินทรีย์ห้า  อะไรที่เริ่มต้นไว้

บ้างแล้วเมื่อวานนี้   เพราะฉะนั้น  จะเริ่มต้นมีอินทรีย์ห้า พละห้า อย่างไร  แล้ว

จะเข้าไปอย่างไร   องค์ธรรมเริ่มต้นตั้งแต่มรรคองค์  8  ประกอบ  แล้วปฏิบัติ

โพชฌงค์ 7 แล้วปฏิบัติองค์ธรรมที่ไปตั้งแต่สัมมาทิฐิ  จะมีองค์ธรรมอย่างไรๆ  ขอ

อภัยมากนะสำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐาน   ก็ต้องตั้งหลัก  ถามผู้รู้ข้างๆ อาจจะต้องรำคาญ

กันหน่อยบ้าง ก็ถามบ้างก็ได้  เพราะว่าอาตมาเห็นใจนะ  ไม่มีพื้นฐานนี่ก็คงจะยาก 

ตอนนี้อาตมาเอาหลักวิชาต่างๆ  เข้ามาซ้อนๆๆ กันมากขึ้น  เพราะฉะนั้น เวลาจะ

อธิบายนี่    จะต้องมีภูมิรู้เดิม  เป็นพื้นฐาน   รู้จักองค์ธรรมนั้นสูตรนั้นข้อความนั้น 

ความหมายนั้น เข้ามาประกอบกันขยายกัน  

          เมื่อวานนี้  ก็บอกบ้างแล้วว่ากรรมฐานนั้นก็คือ หลักเกณฑ์ที่เราจะต้อง

มากระทำตามฐานะ   หลักเกณฑ์  จะเรียกกรรมฐาน  เราเรียกศีล  เราเรียกวินัย   เราเรียกสมาทาน สัจจะอะไรที่จะทำกับตัว  ฐานก็คือ  ตัวเราฐานะของเราที่เป็นอยู่  เรามีความสูง ความต่ำ  เรามีความมีบารมี  บางมีทางธรรมไม่ใช่บารมีทางโลก  เรามีบารมีทางธรรม เรามีกิเลส หรือ เรามีพฤติกรรมที่ไม่ดี กายกรรม   วจีกรรม  ที่เรามันชั่ว  มันไม่ดี   มันควรจะเลิกน่ะ   อันนี้สัจจะน่ะ  เพราะฉะนั้น  ก็ตั้งหลักเกณฑ์ขึ้นมา ตั้งกรรมฐานขึ้นมา ตั้งศีลขึ้นมา  เราจะเลิกอันนี้ จะละอันนี้ นี่เรียกว่าบาปสมาจาร  บาปสมาจาร สิ่งที่ต้องละเว้น  เลิกขาด ตั้งไว้เลย  เราจะหยุด  จะหยุดแม้กับกายกรรมอย่างไร  กิริยาอย่างไร  หรือวาจาอย่างไร  ตั้งเอา  ของใครของใคร ไม่เหมือนกันทีเดียว

         บางคนไม่ต้องทำ   ได้มาแล้วฟรีๆ   อย่างผู้หญิง  ส่วนใหญ่ไม่ติดบุหรี่ไม่ต้องไปต้องว่า โอ๊ ! เราตั้งใจจะหยุดบุหรี่  ผู้หญิงไม่ได้ติดเหล้า  เราจะตั้งใจจะหยุดเหล้า ไม่ต้องหรอก  ไอ้ที่ไปชอบเพชร ชอบพลอย นี่ตั้งเอาเองเหอะ  แพงกว่าบุหรี่ แพงกว่าเหล้าเขานัก  หรือเครื่องแต่งตัวโน่นนี่อะไรนี่ ตอนนี้ก็ เหมือนกับอย่างผู้หญิง   โอ้โฮ!   เขาชมชื่นเหลือเกินว่าจะต้องงาม ต้องสวย  ด้วยเครื่องสำอางค์อย่างนั้นอย่างนี้  แพงๆนะ นี่ ก็ แหม นี่ เขาเชิดหน้าใหม่ เจริญปุระ  โอ้โฮ! เดี๋ยวนี้ หน้าผ่องเหลือเกิน  โอ้โฮ! นี่ไปมีความสุขอะไรมา  บอกไม่ใช่หรอก ไม่ได้สุขหรอก   เพราะว่าฉันมีเครื่องสำอางชนิดใหม่ใช้อยู่ ก็เลยหน้าผ่อง  ชุดละสามหมื่นเท่านั้นเอง  อันนี้อาตมามาอ่านดูข่าวสังคมเขา เปรยๆ ปรายๆ ผ่านตา ก็ดู  อ๋อ  ! เขาให้ข่าวกัน มีชุดละตั้งสามหมื่น  เพราะฉะนั้น   เราก็ต้องไม่ได้ทาเครื่องสำอางนี้มันก็ต้องหน้าดำต่อไปสิ  คนเขามีสตางค์เขาจึงจะหน้าขาว (หัวเราะ)  แต่พวกเราไม่ต้องห่วง  คุณงามอรุณ  ไม่ต้องไปซื้อสามหมื่น  เมื่อคืนนี้ ก็บอกแล้ว  แต่ก่อนนี้หน้าดำ  เดี๋ยวนี้ไม่ต้องใช้เครื่องสำอางก็หน้าขาวขึ้นเองได้  เพราะว่าเรากินถูกอยู่ถูก  มีกรรมฐานกินอยู่ หลับนอนอย่างถูก

         อาตมายังไม่ได้พูดนะ   คือว่าคือว่ามาสละ เอ้อ ละไว้ในฐานที่เข้าใจว่าพวกเราชาวอโศกมาจนป่านนี้แล้ว  กรรมฐานของเรานี่คืออะไร  กินอยู่หลับนอนนี่  ทวนอีกทีหนึ่ง  กินอยู่หลับนอนมาจากไหน?  เป็นภาษาไทยที่อาตมาเอามาเรียกกัน   ภาษาไทยเขากินอยู่หลับนอน  มาจากอปัณณกธรรม 3   อปัณณกธรรมแปลว่าอะไร?   แปลว่าธรรมะที่ถ้าปฏิบัติตามหลักนี้ หลักอปัณณกธรรมสาม สามหลักนี้ ถ้าปฏิบัติตามหลักสามนี้  แล้วก็เป็นการปฏิบัติไปในนิพพานแน่  ต้องแปลชัดๆอย่างนั้น ถ้าได้ปฏิบัติตรงตามหลักนี้  ไปนิพพานแน่  ถ้าปฏิบัติครบสามหลักนี้ ไปแน่ ไปนิพพาน  

ไม่ผิด ท่านแปลความว่า การปฏิบัติไม่ผิด ปฏิบัติอยู่ในหลักสามอย่างนี้  ครบครันแล้วไม่ผิด   คืออะไรบ้าง?  เอ้า! เอาตรงนี้ไปก่อน  ไล่ตรงนี้ไปอีกก่อนก็ได้   แหม 

วนไปวนมานะ  อย่าเวียนหัวนะ (หัวเราะ)  

         1. สำรวมอินทรีย์ 6

         2. โภชเนมัตตัญญุตา

         3. ชาคริยานุโยคะ

         นี่ภาษาหลักเรียกว่าอุเทศ  ภาษาหลักนี่ เรียกว่าอุเทศหัวข้อ เอ้า! ทีนี้ก็ยกหัวข้อขึ้นมาอธิบาย

         สำรวมอินทรีย์  6  ก็คือ  ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  หกนี่แหละ  คือ อินทรีย์ 6 เรียกอินทรีย์ 6 อินทรีย์ 5 ก็อธิบายไปบ้างแล้ว เมื่อวานนี้ อธิบายขยายความแล้ว ว่ามันมีนัยที่หมายต่างกัน  ค่อยอธิบายอีกทีหนึ่ง อินทรีย์ 5 อินทรีย์ 6 ตา หู  จมูก ลิ้น กาย ใจนี่เราสังวรสำรวม สังวรสำรวมยังไง?  สังวร  สำรวมก็คือรูปที่เห็นทางตา  เสียงที่ได้ยินทางหู  กลิ่นที่ได้ทางจมูกนี่  เมื่อมันกระทบสัมผัสแล้วเรามีญาณปัญญาต้องฝึกต้องเรียน  สำรวมสังวร อย่าให้กิเลสมันเข้าไปกับรูป  ต้องเห็นด้วยปัญญา  คือ เห็นความจริงตามความเป็นจริง ถ้ามันมีกิเลสขจัดออก  ให้มันเป็นปัญญาที่แท้ตามที่อาตมาอธิบายแล้วว่าปัญญาโลกุตระ  แต่ก็รู้เขาเหมือนกันนะ เขาปรุง  เขามีสวยไม่สวย  เขามีงามไม่งาม รูปนี้เขาสวยเขาปรุงกัน  แต่เรามีอารมณ์ปรุงอย่างเขาบ้าง ถ้ามีอารมณ์ปรุงล้างสังขารนั้น ล้างกิเลสนั้น จนสังขารมันไม่สังขารอย่างโลก   แล้วมันก็ไม่ปรุงอย่างโลก ไม่เป็นอร่อย  จะต้องติดต้องชอบต้องชัง    ต้องผลักต้องดูดอย่างโลก   นี่คือความหมายของการสำรวมอินทรีย์  6  เราจะมีสิ่งที่เข้ามาทำให้กิเลสเกิด 6 ทวารนี้เท่านั้น

         ในคนนี่เขาว่ามี 9 ทวาร  ปิดทวาร 9 อีก 3  มันอะไร?  หา? (คนฟังพูดว่า) หู ตา จมูก ปาก อ๋อ ! เอาที่มันมีรูเข้าไป  นับเป็นช่องๆ  เพราะฉะนั้น   เลยนับไป  สองหูสองตาสี่ สองจมูก หก  เจ็ดปาก อ้อ แปดก้น  อวัยวะเก้า อ้อ! (คนฟังหัวเราะ)  มี 9 รู  (หัวเราะ)  อ๋อ! เขาปิดทวาร 9 เขาปิดอย่างนี้  อ้าว ! นี่เป็นความรู้รอบตัวนิดๆหน่อยๆใช่มั้ย  มันไม่ใช่ทางธรรมะทีเดียวหรอกนี่  ที่บอกว่า  พระปิดทวารนี่ เขาปิดหมดอย่างนี้นะ  ปิด 9  ทวาร  แต่ของพระพุทธเจ้านั้นเข้า 6 ทวาร  ไม่ได้เข้า 9 ทวารอย่างนั้นหรอก  แหม นี่นับรูตรงนี้เลยนะ   นี่ 1 รู 2 รู 3 รู 4 รู 5 รู 6 รู 7 รู 8 รู 9 รู  (คนฟังหัวเราะ) 8  รู  9  รู  ใต้ร่มผ้าอีก  2  รู  เป็น  9  โอ๊!  เก่งนะคนนี่  หารูเจอหมด (คนฟังหัวเราะ)  อีก 2 รู  น่ะมันก็เชื้อโรคเท่านั้นแหละเข้า ระวัง! อีก 2 รูนั่นนะ  เอาละ 7 รู นี่ก็คือทวาร 6 ได้  7 รู นี่ทวาร 6  ตา หู จมูก ลิ้น กาย  ที่จริงทวารกายนี่นะ   สัมผัสทางกาย   สัมผัสเย็น ร้อน อ่อน  แข็ง  อะไรต่างๆนี่ ทางทวารกาย 6 ทวาร  พอมันสัมผัสแล้ว มีสัมผัสเป็นปัจจัยแล้วนี่ มันปรุงเร็ว  คนเรานี่ปุ๊บ  กิเลสไปผสมร่วม  ไปโน่นเลย ชอบไม่ชอบ จะเอาไม่เอา  เกิดโลภ  เกิดโกรธเลย   ถ้าไม่ชอบ  ก็อยู่ในโทสมูล ไม่ชอบก็ผลัก ชัง ไม่เอา   ดีไม่ดีอยากฆ่าอยากแกง  อยากทำลาย   อยาก แหม ชังเหลือเกิน  ไม่อยากเห็น  ไม่อยากพบ ถ้าชอบก็  แหม เป็นฉันของฉัน  จะเป็นตัวกูของกูมาเลย ถ้าชอบ  ชอบมากๆ   ก็ต้องเป็นของกู   เป็นนามธรรมก็เป็นของกู  มาเป็นของตน ของตนเลย  ก็เป็นอยู่อย่างนี้  มนุษย์ที่ไม่ได้ศึกษา   เพราะฉะนั้น  ระวังทวาร  6  นี้แหละ   สำรวมอินทรีย์นี่แหละเป็นหลัก

         เพราะฉะนั้น   อาตมาก็เอามาแปลเป็นภาษาไทยว่า  "อยู่"  สำรวมอินทรีย์  นี่คือคำว่าอยู่ เป็นอยู่ Being  มีชีวิตอยู่  เป็นอยู่ทั้งหมด รวมเลยกับทวาร  6  นี่แหละ  มันสัมผัสไม่รู้ตัว  แล้วก็เกิดกิเลสไม่รู้ตัว เต็ม รวมครบ อธิบายกันมากก็อยู่ตรงนี้น่ะ   สำรวมอินทรีย์ 6 นี่แหละ  ถ้าอธิบายกันนี่มาก  แล้วอาตมาก็อธิบายกับพวกคุณนี่มาก   พิจารณาแล้วก็อ่านตัวจิตไปเลย  นี่ตาเห็นรูปแล้ว เป็นอย่างนี้    หูได้ยินเสียงก็เป็นอย่างนี้   จมูกได้กลิ่นก็เป็นอย่างนี้  ต่างๆนานา ทางทวารทั้ง  6 นี่แหละ  ต้องพิจารณาความเป็นอยู่ทั้งหมด  เครื่องอุปโภคบริโภครวมไปหมดเลย   อะไรก็แล้วแต่ ทั้งมนุษย์มนา  ทั้งรูปธรรม วัตถุแท่งก้อน   พฤติกรรมมนุษย์  บางคนนี่เห็นท่าทีลีลาของมนุษย์นี่ มันก็ไม่ชอบใจ  เพราะฉะนั้น  รวมหมดเลย  แล้วมากระทบสัมผัสด้วยตา ด้วยหู ด้วยจมูก  ลิ้น กาย ใจ ไปนั่งคิดเองอีก  ไปสร้างเองอีกไว้ในใจก็ตาม  นั่นน่ะ เกิดกิเลสต้องรู้ เกิดสังขารต้องรู้  นั่นแหละคือ การปฏิบัติ ถ้าคุณสังวรเป็น รู้จักลดละเป็น  สลายสิ่งที่ไม่ควรจะให้มันเกิดอยู่ในจิตได้   ทำลายสิ่งที่มันเป็นข้าศึกอยู่ในจิตได้เสมอๆ   ไปนิพพานแน่   อยู่ตัวเดียวนี่ก็ได้   แต่มันยังไม่ครบ  เพราะว่าคนเรานี่ มันสำคัญเหลือเกิน   พระพุทธเจ้ารวมไว้หลักๆสำคัญแล้ว

         ต่อมากินโภชเนมัตตัญญุตา อปัณณกธรรมข้อที่ 2 อาหารกิน เอาละอาหารนี่ก็เป็นตัวที่หยาบๆ  รู้ก่อนเลยว่า กวฬิงการาหาร กิน  โภชเนมัตตัญญุตา อาหารเป็นคำข้าว กินเข้าไปเลี้ยงร่างกาย  ทุกคนแม้เป็นพระอรหันต์ เป็นพระพุทธเจ้าก็ต้องกิน  ละทิ้งไม่ได้  ต้องกินต้องเคี้ยว ต้องสัมผัส  สัมผัสด้วยตา หู จมูก  ลิ้น กายเหมือนกัน  แล้วมันก็มีกิเลสในนั้น โอ้โฮ! มากมายมหาศาล  ทุกคน แม้เป็นพระอรหันต์ เป็นพระพุทธเจ้าก็ต้องกิน ละทิ้งไม่ได้ ต้องกิน ต้องเคี้ยว ต้องสัมผัส สัมผัสด้วยตา หูจมูก ลิ้น กาย เหมือนกัน แล้วมันก็มีกิเลสในนั้น โอ้โฮ!มากมายมหาศาล ทุกวันนี้นี่น่ะ รวยกัน ร้านค้าร้านขายนี่ ไม่ทำอาชีพอะไรอื่น ทำมันร้านขายอาหารนี่แหละ  ทำอะไรไม่เป็น  ทำอาหารถนัดซักอย่างหนึ่ง ทำให้มันดีก็แล้วกัน  ขายกันได้ เพราะฉะนั้น คนจีนมาจากประเทศ  ไม่มีอะไรทำ ก๋วยเตี๋ยวจะขาย  ระบาดไปทั่วโลก  จนคนไทยก็กินก๋วยเตี๋ยวจังเลย  เด็กๆเล็กๆ ติดหมดก๋วยเตี๋ยว    พอข้าวกล้องมาก๋วยเตี๋ยวมา  เล่นก๋วยเตี๋ยว  ข้าวกล้องไม่เอาแล้ว (หัวเราะ)   เพราะฉะนั้น เราจะต้องรู้เท่าทันในสิ่งที่เราเป็นทาส  ไอ้ที่รสที่ลิ้นนี่แหละ  หรือกลิ่น  ตาเห็นรูปน่ากิน อาตมาเคยวิเคราะห์เอาว่าไอ้เสียงเท่านั้นน่ะ  ในเรื่องของอาหารนี่มันไม่ค่อยครบ  นอกนั้นแล้วก็อาหารนี่ เห็นด้วยตา  สัมผัสปั๊บนี่ โอ้โฮ!  เห็นน่ากินแล้วรูป  ได้กลิ่นอีก  โอ้โฮ! แหม  อร่อยแล้ว  ได้กลิ่น   ยิ่งมาแตะลิ้นเข้าไป  มันก็จิกน่ะซิ  รสแท้ๆเลย  หรือแม้แต่สัมผัสด้วยทางกาย  คุณจะจับ  จะหยิบอะไรก็แล้วแต่  น่ากิน ไม่น่ากิน ไปจับไปหยิบเข้า อู๊ย! น่ากิน  อะไรอย่างนี้   สัมผัสเข้าจริงๆ บางที ก็กรอบ นิ่ม นุ่มอะไรก็แล้วแต่ทั้งนั้นน่ะ  แต่เสียงมันไม่เท่าไหร่  แหม มันไม่ได้ยินเสียงเลยนี่ ไม่รู้น่ากินหรือเปล่า  คนก็เลยเอาวงดนตรีไปเล่นประกอบในร้านอาหาร มันขาด มันขาดส่วนเสียง  มันก็เลยเอาดนตรีไปอี้แอ อี้อา  เอาคนไปร้อง  ก็เลยนั่งกินเคล้าเสียงเพลง  โอ๊ย! ทีนี้ก็กินซิ  กินไปก็ได้เสียงด้วย  ทีนี้ครบเลย ห้ากาม  กามคุณ 5 ครบ  แต่งสวย แต่งโน่น แต่งนี่   ตกแต่งมาทั้งหมดนั่นแหละ  ทั้งสวยทั้งกลิ่น ทั้งอะไรทุกอย่าง ให้ครบกามคุณ 5 ก็เรื่องกามคุณ  5 อยู่ในอาหาร กวฬิงกราหารนี่แหละ  เราจะต้องศึกษาแล้วลดละไม่ให้มีกิเลสกามคุณ 5 ในอาหาร ในกวฬิงกราหารที่เป็นคำข้าว ท่านแปลกวฬิงกราหาร  ว่าอาหารที่เป็นคำข้าว เคี้ยวกลืนลงไปยังขันธ์ ให้ตั้งอยู่

         เพราะฉะนั้น  ถ้าผู้ใดปฏิบัติสังวร สำรวมลดละ อย่างพวกเรา นี่ก็ปฏิบัติกันมา  จนกระทั่งทุกวันนี้ นี่ก้าวหน้ามาถึงปีนี้แล้ว เป็นอาหารที่ พวกเรามันมาตามบารมีตามฐานฝึก  ถ้าพูดถึงแมคโครไบโอติก  สมัยก่อนพวกเราไม่เอา อาตมาก็ยังไม่เอา  ไม่ใช่แมคโครเพิ่งได้ยินวันนี้นะ  เอามายังไม่ติดหรอก พวกเรายังไม่ไหวหรอก  ฝืน ทำไม่รอด  แต่มาเดี๋ยวนี้ ในอโศก  แมคโครมา โอ๋ย!สบาย  แม้แต่เมื่อคืน เห็นมั้ย  อาจารย์แก่นขวัญ บอกที่โรงสีขอนแก่น  เอาแมคโครไปเดี๋ยวนี้สบายมาก    กินกันสบายเลย  อาหารก็จืด  ทั้งๆที่อีสานนี่กินเค็ม  กินเผ็ด   ก็กินจืดกันได้  สบาย เขาบอก โอ๊ย ก็ดี กินก็สุขภาพก็ดีกัน ถ้ามาเมื่อก่อนนี้ ก่อนนี้สิบปีแมคโครมา   ยังรับไม่ติดหรอก  รับไม่ติดหรอก  ไม่ไหวหรอก เดี๋ยวนี้ ถึงวาระแล้ว    เพราะฉะนั้น  พวกเราแมคโครไบโอติกสบาย  แต่แมคโครไบโอติกจริงๆ ก็โต่ง  อาตมาก็ศึกษาอยู่ โต่งไปอีกข้างหนึ่ง เขา  แหม อะไร อาตมาก็เลยบอกว่าไม่ต้องหรอก   แมคโครโพธิรักษ์ (คนฟังหัวเราะ)  เสร็จเรา  แมคโครโพธิรักษ์ ยึดหลักอาหารธรรมชาติ  แล้วก็ไม่ใช่จะกินทีละระดับ เราฝึกมา กินทีละอย่าง  กินข้าวก่อน   กินแต่ผักเปล่าๆ   กินข้าวเปล่าๆ  กินกับแกงเปล่าๆ   ไปเจอน้ำพริกเปล่าๆนี่น่าดูเหมือนกัน    (คนฟังหัวเราะ)   ตอนนี้ถึงวาระต้องกินน้ำพริกเปล่าๆ แล้วมันไม่ใช่ง่ายเหมือนกันนะ   แต่มันคละเคล้ากันปนกันไปมันก็พอได้ใช่มั้ย   ก็หัด หัดด้วยนะ   

           สรุปแล้วก็คือ  อาหารอย่าง นี่เอาง่ายๆ  แมคโครโพธิรักษ์นี่  อาหารอย่าจัด  กินข้าวเป็นหลัก  กินผักพืชธรรมชาติเป็นหลัก  จะต้มจะแกง จะอะไรต่ออะไร  มาตามสมควร  เพราะฉะนั้น  ก็ไม่ซีเรียสจนเกินไป  เพราะฉะนั้น  ก็จะมีพอได้ แล้วก็ฝึก  บางทีถ้าไปฝึกหนีไอ้เรื่องรสเผ็ด  รสเค็ม รสนั่นรสนี่ หนีหมด รสเปรี้ยว รสหวานอะไรก็หนีหมด  หนักเข้า แตะไม่ได้เลยนี่ ไม่ไหวเลยนะ  .fo file:5017d.tap 

กรรมฐานของอาริยชน ตอน 2  #

 ใหม่

ภูมิคุ้มกันแย่ รับอะไรไม่ได้เลย  แย่เลย ไอ้นู่นนิด ไอ้นี่หน่อยก็กินไม่ลง  ก็ตายเท่า

นั้นเอง  แล้วเราไปเลือกได้เหรอ  ยิ่งมาเป็นคนที่จะเลือกกินไม่ได้  เขาให้อะไร

เราก็จะต้องเป็นคนเลี้ยงง่ายอย่างว่านี่ มันจะต้องกินพอได้

         เพราะฉะนั้น  ทุกวันนี้ อาตมาก็ อาตมาเป็นคนอีสานนะ  กินข้าวคำพริกขี้หนูคำละเม็ด คำละเม็ดนี่ ไม่กลัวหรอก  เฮอะ อร่อยปาก ลำบากตูดนิดหน่อย

(คนฟังหัวเราะ)  ตอนส้วมนี่  มันแสบจริงๆ  ใครไม่เคยก็แล้วไป  อาตมาเคยน่ะ 

จริงๆ   อร่อยปากนะ  แต่ลำบากตูด  พอเวลาขาออก ขาถ่ายนี่มันแสบ เพราะมัน

กินเผ็ดมากนะ  มันก็ไปถึงโน่นเลย  ถึงวาระถ่ายออกนี่มันแสบ แสบจริงๆ น้องสาว

อาตมานี่นะ ชอบเผ็ดเหมือนกัน  กินเผ็ดไปได้ที่แล้วต้องเป็นลม เผ็ดไปได้ขนาดหนึ่ง

แล้วต้องเป็นลม น้องสาวอาตมา น้องสาวคนโต  กิ่งรักนี่  แต่ก็กินทุกที ตำมะละกออย่างอีสานล่ะต้องเผ็ด  ตำมาทีไรก็ เขากินกันก็อดไม่ได้ ต้องกินทุกที ประเดี๋ยวถ้ากินได้ที่  เป็นลม (คนฟังหัวเราะ)  เผ็ดได้ที่เป็นลม แต่กินมัน  แหม ยอมยังไงไม่รู้       (หัวเราะ)  มันติดแล้วก็เป็นอย่างนั้น  เพราะฉะนั้น  เราต้องมาล้างความติดนะ

         นี่โภชเนมัตตัญญุตา นี่ อาตมาอธิบายหยาบๆให้ฟังอย่างนี้ มันจะละเอียดด้วย  เวลาเรากินไปแล้ว เราจะรู้สึกเลยว่า โอ๊ย!  ยังชอบนิดชอบหน่อย ยังยินดีไม่ยินดี   ผลัก  ในนัยที่ประณีต   ละเอียดก็ต้องศึกษาให้จริงเลยว่ารสชาติ เอาละ   ในรูปไม่เท่าไหร่ ในลิ้น สุดท้ายมันจะซู้ด! ยังเป็นรส  แหม นี่ยังกรึ่มอยู่ในใจ เอ๊อ ! ไอ้นี่ (พ่อท่านทำเสียง ซู้ด!)  ยังยินดีกับมันอยู่ อันนี้ไม่ยินดี  ผลัก ไม่อยาก ไม่อยากรับอันนี้ อันนี้ยังอยากรับ ต้องให้เนียนใน  จนกระทั่งจิตเรากลาง เออ เอาเถอะน่า รับได้  แต่มันมีธาตุของมันอยู่เหมือนกัน ฟังตรงนี้ มันยากตรงที่ว่าปฏิกิริยาของธาตุรูป กับจิตนี่ มันต้องอยู่เกื้อกูลกัน แล้วมันจะต้องผสมกัน เพราะฉะนั้น บางที่เราจะรู้สึกว่า เอ๊! นี่ เรายังผลัก ยังไม่รับ  แต่แท้จริง ไม่ใช่จิต  แต่แท้จริงมันเป็นปฏิกิริยาความยากของรูป  เอ้า!ยกตัวอย่างง่ายๆ พริก  มันต้องมีปฏิกิริยาของธาตุเผ็ด  แสบ ร้อน ยาก เพราะฉะนั้น คุณกินพริกเข้าไป   จิตของคุณก็รู้สึกว่า แหม ลำบาก  แต่จิตวางได้แล้ว จิตกลางนั่นน่ะ แต่ลำบาก มันเผ็ดแล้วเราจะอ่านว่าปฏิกิริยาของความเผ็ดนี่คือ  เราทุกข์ หรือเราลำบาก ยังไม่เป็นอุเบกขา   มันไม่ใช่นะ  อุเบกขาได้  จิตอุเบกขาคือจิตมันไม่ผลักหรอก  เรารู้ว่าควรกิน   เรารู้ว่าต้องรับ   กินสะเดา  ขม   มันต้องขม  เพราะธาตุมันต้องขม ปฏิกิริยาที่บอกกล่าวของลิ้นนี่ ประสาทลิ้นบอกลักษณะนี้ ก็คืออย่างนี้  เราเรียกภาษาว่าขม   แต่มันก็คืออย่างนี้ ทุกคนเป็นเหมือนกันหมด ชาติจีน ไทย ฝรั่ง แขก อะไร  รสมันจะเป็นอย่างนี้เหมือนกัน  รสมันเหมือนกันโดยสัจจะ  ปัญญาต้องรู้ว่ารสเหมือนกัน   แต่เรียกกันคนละภาษาเท่านั้นเอง  แต่ปฏิกิริยาของธาตุมันทำอย่างนี้กับทุกคนไม่ละเว้น ไม่ว่าคนไทย ถ้าประสาทมันเหมือนกันน่ะ เซลล์ของคน  หรือว่าโครงสร้างของมนุษย์มันเหมือนกัน มันก็เป็นอย่างนี้  มันก็ยาก ยากหน่อย  ยากกว่า มันจืดๆ  กลางๆนะ มันก็ยากกว่ากลางๆ  มันเผ็ด มันขม มันเปรี้ยวมาก  มันหวานมาก อะไร มันไม่มาก แต่มันมีนิดๆ หน่อยๆ อะไรก็ตาม  ถ้ามันไม่มากนัก เราก็ไม่ผลัก ไม่ดูดอะไรเท่าไหร่ง่ายๆ  แต่ถ้ามันมากหน่อย รู้สึกว่ามันผลักมันดูด

         เพราะฉะนั้น   ต้องอ่านตัวปฏิกิริยาของรูป กับนามธรรม   หรือจิตใจของเราให้จริงเลยว่า  อันนี้มันเป็นปฏิกิริยาธรรมชาติของมัน มันเผ็ด มันขม มันขื่น มันฝืด มันปร่า หรืออะไรก็แล้วแต่ หรือมันร้อน มันร้อน แหม รับเข้ายาก  หรือว่าเย็นจัดเกินไปรับยาก   อย่างอาตมานี่ โอ้โห! เย็นจัดๆ นี่ ไม่ไหว น้ำแข็งนี่ แหม แต่ก่อนนี้ ก็เคี้ยวกินได้ เดี๋ยวนี้น้ำแข็ง  โอ้โฮ!  ไอศกรีม  ก็มานี่มันรู้สึกว่ามันไม่ค่อยหนุกนะ    โดยเฉพาะน้ำเย็นด้วยนะ แหม แช่ตู้มาเย็นๆ  แล้วพวกที่เขาชอบๆ เขาก็  มันอุปาทานแล้วน่ะ อู๊ย! ชื่นใจ เย็น ได้เรากินเข้าไป โอ้โห!  มันเย็นน่ะ มันไม่ไหวน่ะ  มันก็เหมือนซดน้ำร้อนได้ขนาดหนึ่ง ที่เราก็รับไม่ไหวเหมือนกัน  มันเข้าปากแล้วมันยาก  น้ำร้อนๆนี่  น้ำเย็นๆอย่างนี้  แหม บางคนเขาบอก  โอ้โฮ! ท่านมาถึงร้อนๆ  ปรารถนาดี  เอาน้ำจากตู้เย็นมาเย็นเจี๊ยบมาเลยมาให้   เราก็ โอ้โห!  มันเย็น มันรับยาก เหอ? เหมือนกันน่ะ  มันรับไม่เข้า  มันเย็นน่ะ  ต้องวางไว้ก่อน ให้มันหายเย็นเสียก่อน (หัวเราะ)  แล้วค่อยซดได้ แต่ถ้าคนที่อุปาทาน โอ้โห!  ยิ่งเย็นยิ่งดี   บางทีข้นเป็นน้ำแข็งผสมมาด้วยซ้ำไป ซู้ด!  สบายหรือคนที่ พวกคนจีนเขาซดร้อนน่ะ  น้ำชาร้อนๆ  ร้อนลวกปากจริงๆเลยนะ   แต่คนจีนซูดๆๆ ซดหายเลย  แหม แก้วแล้วแก้วเล่า  ซูด หาย  ลองของเราเข้าสิ   ไม่ต้องแก้ว แล้วแก้วเล่า แก้วแรก  แล้วซดซิ  ไม่ต้องแก้วแล้วแก้วเล่า แก้วแรกนั่นแหละ พองเลย  แต่เขาไม่พองน่ะ เพราะอุปาทานของเขา หา? (พ่อท่านถาม) 

คนฟัง  : มะเร็งในหลอดอาหาร

พ่อท่าน : อ๋อ ! ตกลงเป็นมะเร็งในหลอดคอเยอะ  พวกคนจีน ที่ซดน้ำร้อนๆนี่ 

แต่ก็อุปาทาน  ยุกัน อย่างนี้ล่ะ อร่อย  ชอบ แล้วก็เป็นภัยต่อตัว เพราะฉะนั้น  ให้

อ่าน  ให้ละเอียดเลยว่า ปฏิกิริยาของรูป ของธาตุ มันทำให้รู้สึกลำบากบ้าง แต่ใจ

เราวางแล้ว  เอาละ เรามันมากหน่อย จำเป็นนะ ตอนนี้ สมควรจะต้องกินพริก  สมควรจะต้องกินสะเดา   สมควรจะต้องกินน้ำนี่ร้อนหน่อยเย็นหน่อย   หรือว่า    อันนี้จะต้องอย่างโน้นอย่างนี้หน่อย  อะไรอย่างนี้   ก็ให้รู้จักโภชเนมัตตัญญุตาพวกนี้ 

อย่าไปเข้าใจผิดว่า  โอ๊! ไอ้นี่  เรายังมีอย่างนี้อยู่ ไม่ใช่แล้ว  นี่เรายังผลัก เรายังไม่ไหว  เรายังยาก  เรายังลำบาก  เป็นทุกข์ เรายังไม่สมบูรณ์  อย่างนี้เป็นต้น  

เอาละ ขยายความของโภชเนมัตตัญญุตา  ในเป้าประเด็นที่สำคัญไว้เท่านี้

ก่อน แล้วค่อยขยายหยาบขยายอะไร ค่อยๆอธิบายพวกนั้นอีก

         ส่วนชาคริยานุโยคะ หลับนอน กินอยู่ หลับนอน เรามาเอากรรมฐานเรากินอยู่หลับนอน   อาตมาน่ะอยู่  มันเป็นตัวสังวรอินทรีย์ 6 สำรวมสังวรอินทรีย์  6 กิน โภชเนมัตตัญญุตา  หลับนอน ชาคริยานุโยคะ  หลับนอนนี้  เอ้า! อธิบายนิดหน่อย  ที่จริงมันเป็นฐานหลังเป็นฐานปลาย  เป็นการพัก  แล้วมันก็ติดสงบ  ติดหลับ ติดหยุด  สุดโต่งไปในทางนี้  อันนี้เป็นฐานที่ยาก เพราะเป็นสภาพภวตัณหา   เป็นสภาพภวตัณหา  เป็นตัณหาในภพ ในจิต  ศาสนาหลายศาสนา ไม่เข้าใจภวตัณหา   แล้วก็สุดโต่งไปในภวตัณหานี่เลย อยู่ในภพจิต  ดับให้มาก สงบให้มาก  ไม่ไปไม่มา ไม่มีโลกไปทางจิต   ไม่มีโลกมาทางโลกๆ   ข้างนอกโลกียะที่ตา  หู จมูก ลิ้น กาย รับรู้ และแม้แต่ในทางใจที่ดำดิ่งกด ปิดไม่ให้ขึ้นมาทำงานอย่างสมบูรณ์  ก็ไม่ใช่  ของพุทธนี่ต้องตื่น  ชาคริยานี่ แปลว่าตื่น  จิตทำงานเต็ม  ถ้าแปลตรงๆ  ชาคริยานี่  จิตทำงานชา ตัวชา ช.ช้าง  สระอานี่ แปลว่ารู้  ชาคริยะ  เป็นผู้รู้อย่างเต็มรู้ นั่นแหละชาคริยา  มาแปลว่าตื่น  ตรงกันข้ามกับหลับโดยสำนวนเท่านั้นเอง  แล้วก็จริงด้วย ในสภาพที่คนชอบหลับ   ชอบติดหลบหลับ  ปิดไม่ให้ทวารอื่นมารับรู้ความจริงไม่ใช่  ความจริงแล้วรู้  ลืมตาอยู่ก็รู้อย่างลืมตา    อยู่อย่างคนตื่นๆ   นอนหลับก็ต้องมีความตื่นในหลับ  อย่านอนอย่างขี้เซา นอนอย่างเสพย์  นอนอย่างติด  อย่านอนอย่างหลับอย่างติด

         เพราะฉะนั้น  จะมีการฝึกนานาสารพัดในการนอนนี่ ในการพัก ในการหยุด  ในการทำกับภพภวตัณหา หรือวิภวภพนี่ จะต้องศึกษา เพราะฉะนั้น  เบื้องแรกศึกษากามภพก่อน  พระโสดา  สกิทานี่  ศึกษากามภพ พระอนาคาขึ้นไปนี่ศึกษาภวภพ  วิภวภพ  แต่โสดา  สกิทา  ก็ศึกษาภวภพเบื้องต้น จิตมันไปทวารจิตน่ะ  ชอบฝันเพ้อ ฟุ้งซ่าน  แหม วาดเอาในภพนะ  จะรวย จะได้แฟนสวยจะมีบ้านหลังใหญ่ จะมีอย่างโน้น จะมีอย่างนี้  จะได้เป็นนายก  จะเป็นรัฐมนตรี  จะได้เป็นพระอรหันต์  นั่น ฝันเอา นี่ก็ภพทั้งนั้นล่ะ ภพหยาบๆ  โดยเฉพาะอยากจะเป็นคนชั่วๆ   อยากจะเป็นคนต่ำๆ  อย่างนี้ก็หยาบๆ โสดาบันต้องรู้   อยากทำไม อยากจะไปเป็นนักเลง  อยากจะไปเป็นคนมีอำนาจเบ่ง นี่ใครเจอหน้าก็วิ่งหนี  คนกลัวมีอำนาจ  หรือว่ามีเงินฟาดหน้าคน รวย ใครมาอย่านะ  ข้ารวยซ่ะอย่างอะไรต่างๆ  ก็อยากหยาบๆนะ  อยากเป็นเซียนอบายมุข  พวกนี้ต่ำๆ  อยากเป็นเซียนผู้หญิง แหม เป็นเซียนผู้หญิง เป็นเซียนผู้ชาย ผู้หญิงก็ล่าผู้ชาย  ผู้ชายก็ล่าผู้หญิง อะไรก็แล้วแต่เถอะ  อย่างนี้เป็นต้น  หยาบๆ นี่ ก็เป็นภวในจิตได้  ต้องอ่านซ้อนให้ได้อย่างนี้เป็นต้น

         เพราะฉะนั้น ชาคริยา หมายความว่าเป็นผู้รู้ ชาบอกแล้วว่า ชาคำนี้นี่  แปลว่ารู้  มาแปลเป็นสำนวนเป็นผู้ตื่น เต็มไปด้วยความตื่นนี่ก็ใช่  มาแปลเป็นไทยนี่ก็มีความหมายถูก ยิ่งไปนอนหลับแล้วก็ยิ่งหลับก็ยิ่งเสพย์ ยิ่งติด  นั่นล่ะ ยิ่ง โอ๊ย! ไม่รู้เรื่องหรอก   คนนอนหลับรู้เรื่องอะไร    ตดให้ดมยังไม่รู้เรื่องเลย  เอ้า! จริงๆ คุณนอนหลับนี่ตดให้ดม  เอากำตดไปใส่จมูก ก็เฉย ไม่รู้เรื่องหรอกว่าเขาเอากำตดไปใส่จมูก จริงมั้ย? (คนฟัง) จริง (หัวเราะ)   นะไม่รู้เรื่องหรอกคนนอนหลับ  เพราะฉะนั้น  ให้เป็นคนแววไว  มีสติรู้เร็ว รู้ไว เอาล่ะ ค่อยขยายความ   ชาคริยานุโยคะ เป็นผู้เรียนรู้  เราฝึกกันมากนะ  แม้แต่เรื่องหลับเรื่องนอน  นอนตะแคง นอนให้มีสติในตื่น ในอะไรต่ออะไร  

          จนกระทั่งทุกวันนี้ นี่อาตมาไม่ได้เคี่ยวเข็ญแล้ว แล้วก็ไม่ค่อยได้อธิบาย

เท่าไหร่ด้วย  พวกเราก็อธิบายตามก็แล้วกัน  ท่านผู้รู้ พวกเราแม้แต่ฆราวาสที่รู้ ก็

อธิบายเพิ่มๆตามกันไป ค่อยๆขยายความ  ทำให้เป็นผู้ตื่น ไม่ต้อง สรุปแล้วนี่ จะ

เป็นคนอย่างไร   เอาหลับนอนเท่านั้นนะ  ตัวหลับนอนเท่านั้น จะต้องเป็นคนที่นอน

หลับเร็ว ตื่นเร็ว ไม่ใช่ว่านอนหลับยาก พวกโรคประสาททั้งหลายแหล่ นี่นอนหลับ

ยาก  เสร็จแล้ว ยังแถมตื่นยากอีก พวกขี้เซา โอ้โฮ! ภูเขาไฟระเบิดแล้ว ยังนอนเฉยเลย  เขาปฏิวัติแล้ว เอาปืนมายิงกันตูมตาม ตามยังนอนเฉยอยู่นี่ มันไปไม่รอด  เอาน้ำสาด ก็ยังเฉยเลย มันไม่ได้นะ  นั่นแย่ที่สุด เพราะฉะนั้น จะต้องเป็นคนที่นอนหลับ  จะนอนหลับก็กำหนดหลับ รู้ ไม่ต้องช้าอะไร พักจิตสงบ พัก หยุด หลับ สู่ภพสู่ภวังค์ได้เรียบร้อย  นอนหลับ ก็คือเข้าภวังค์  แล้วมีสติสัมปชัญญะ แววไว  อะไรนิดอะไรหน่อย ก็ตื่นได้  แต่ก็ไม่ใช่โรคประสาท จนกระทั่งเสียงนิดหน่อย ไอ้โน่นนิด   ไอ้นี่หน่อย  ผวาตื่น  อันนี้ประสาทกินอีกเหมือนกัน  (คนฟังหัวเราะ) อย่างนี้ก็ไม่ไหว อย่างนี้ ไม่ใช่เป็นผู้ที่เก่งในชาคริยานุโยคะ

         เพราะฉะนั้น  เราเองกำหนดสิ่งที่ มันมีญาณลึกนะ คนเรานี่มีญาณมีปฏิภาณ   สิ่งที่ควรจะเป็น  สิ่งก่อภัย  เราจะต้องรู้สึกตัวเร็ว  สิ่งที่ไม่ใช่สิ่งก่อภัย เป็นธรรมชาติ  เป็นอะไรที่มันไม่ค่อยไอ้นี่หรอก   สิ่งนี้เราจงอย่าไปตื่นเต้น  แล้วมันก็จะสงบไป   เพราะฉะนั้น   มันจะมีเสียงก๊อกแก๊ก เสียงโน่นเสียงนี่   เสียงธรรมชาติ   เสียงนกร้อง เสียงโน่น   เสียงธรรมดาของกลางคืนอะไรธรรมดานี่ ซึ่งธรรมชาติ  มันจะมี  หรือเราอยู่ที่นี่มันจะมีเสียงอันนี  หรือแม้แต่เสียงที่เราต้องยอม เป็นต้นว่า  เราจะนอนนี่วันนี้  แต่มีงิ้วมาอยู่ข้างล่างนี่ สองโรง แล้วมันก็ต้องเล่นงิ้ว   เราก็ต้องกำหนดรู้แล้ว เอ็งงิ้วนะ  เอ็งเสียงดังขนาดนี้ข้ารู้แล้ว  คุณตั้งค่าเลย  เหมือนมิเตอร์ เอ็งดังไป แต่ข้าจะหลับ (คนฟังหัวเราะ)  พอบอกได้อย่างนั้นแล้วก็กดสวิตช์   Enter (คนฟังหัวเราะ)ทันที  เราก็หลับ  เราไม่รับมัน  มันจะดัง งิ้วสามโรงมันดังก็ดังไป  เราก็กดสวิตซ์แล้วเราก็ดับ อย่างนี้ ถึงจะเรียกว่า เป็นผู้ชาคริยานุโยคะ นี่พูดแต่หลับๆ ตื่นๆ  แต่มันมีนัยความหลับ  ความตื่นทางลึกของปรมัตถ์อีกค่อยว่ากัน   ตอนนั้นนัยลึกค่อยว่ากันอีกทีหนึ่ง  ดีไม่ดีอันนี้ อาจจะต้องไปขยายถึงพุทธาภิเษกฯ  ลึกอันนี้ ชาคริยาที่จะต้องถึงระดับที่กล่าวนี้นี่นะ ปรมัตถ์อันนี้

         เอ้า! ทีนี้ย้อนกลับมาเมื่อกี้นี้ พูดถึงอินทรีย์ 6 ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ  นี่เป็นรากฐาน  มีผัสสะเป็นปัจจัย  เป็นกรรมฐานแรก  กรรมฐานของอาริยะ  เพราะฉะนั้น  ตัวเราเองแต่ละบุคคลนี้แพ้รูป แพ้เสียง บางคน เอ๊อ!  ไอ้เรื่องรูปสวย  นี่ไม่ค่อยเท่าไหร่  แต่แพ้ แหม มันรู้สึกว่ามันไปกับเสียงนะ  เพลินอย่างโน้นอย่างนี้ หรือว่าใครมาพูดผิดหูหน่อย ก็เอาแล้ว แต่รูปไม่เท่าไหร่  บางคนก็เสียงไม่เท่าไหร่  รูปนี่อย่าเชียว  บางคนแพ้กลิ่น  บางคนไอ้รสนี่คงจะแพ้เยอะ  ทางลิ้นนี่นะ  ก็ไปพิสูจน์พิจารณา  เรียนรู้กรรมฐานของตน อะไรที่จะเป็นตัวแพ้ตัวภัย ตัวละตัวลดตัวเลิก   ต้องรู้อันนั้นของตน แล้วตั้งกรรมฐานให้แก่ตน  ทำไป มันไม่ต้องไปตั้งอันเดียวหรอก  แต่อันไหนเด่นก็ได้ อันไหนรอง  อันไหนมีอีกกี่อย่าง กี่อันคุณก็ตั้งเอาของแต่ละคน  เสร็จแล้วภาคปฏิบัติทีนี้ รู้แล้วล่ะกรรมฐาน  เอ้า! ทวนอีกทีหนึ่งความจะเป็นกรรมฐาน   แล้วจะเป็นอาริยะ   ก็คือเข้าสู่มรรค    จิตเข้าสู่มรรค อาตมาอธิบายมาหลายครั้งแล้วในมิจฉาทิฐิสูตร    สักกายทิฐิสูตร   อัตตานุทิฐิสูตร สามสูตรนี้  ท่านตรัสไว้ไม่ยาวหรอก  สั้น แต่มันเข้มนี่ ถ้าไม่มีความรู้อธิบายไม่ออก  อาตมาเอามาอธิบายนี่  อาตมาขอยืนยันเลยนะว่า  ไม่ใช่ไปดูถูกดูแคลนผู้รู้ทั้งหลาย ผู้รู้ทั้งหลาย   ท่านหยิบมาอธิบายไม่ออกหรอก   ถ้าไม่มีสภาวะ   ไม่มีสาระสัจจะความจริงอันั้น อธิบายไม่ออก    มันข้น   มันเป็นภาคทฤษฎีที่อธิบายรวมคำสั้นๆๆๆ เอาไว้ ข้น  ต้องมาขยายออกเยอะ  ที่อาตมาขยายให้ฟังแล้ว

         แม้แต่ที่บอกว่า  ในทวารทั้ง 6  ตาก็ดี ตาก็คือรูป  หูก็ดี เมื่อได้สัมผัสด้วยรูป  สัมผัสด้วยเสียงแล้ว  แล้วก็เมื่อมีสัมผัสเป็นปัจจัยด้วยความเป็นอนิจจัง  ผู้นั้นพ้นมิจฉาทิฐิ สำนวนตอนสำคัญในสูตรนี้ว่าอย่างนี้ เห็นด้วยความเป็นอนิจจัง เป็นอย่างไร  อาตมาก็อธิบายสู่พวกเราฟังแล้วก็ฟังทวน  เพราะว่าสัจจะพวกนี้มันก็

เป็นอย่างนี้เสมอ   เห็นเป็นอนิจจัง ก็คือ เห็นความไม่แน่นอน ไม่เที่ยง  ทีนี้ พอที่

จะเข้าเป็นผู้ที่จะต้องมีญาณ   ต้องมีญาณของตนเอง ของคุณเห็นของคุณ  ถึงจะเป็นอาริยะ  แม้แต่จะเรียกว่ามรรค  ฟังให้ดีนะ  บางคนบอก  เอ๊อ!  แล้วยังไง มัน

เรียกมรรค  ยังไงมันเรียกผลน่ะ  อย่างไรเรียกมรรค  อย่างไรเรียกผล  แม้แต่ไปเป็นมรรค  โสดาปัตติมรรค  เริ่มเข้าสู่มรรคนี่ยังไม่เรียกอาริยะแท้ทีเดียวหรอก ยังไม่เรียกอาริยะแท้ทีเดียวหรอก  เริ่มต้นเกิดญาณ ญาณเป็นอาริยะ  ฌาณนี่ เริ่มต้นเป็นอาริยะ คือความรู้ ธาตุรู้ รู้เป็นอาริยะ แต่ผลหรือว่าสิ่งที่เกิดที่เป็น จิตเปลี่ยนแปลง ลดกิเลสได้ยังไม่ได้ลด  เมื่อกิเลสยังไม่ได้ลด  ตัวจริงของจิตวิญญาณของเรา  กิเลสยังไม่ลด  มันก็ยังไม่ได้เป็นผล  แต่มันรู้ เห็น ต้องมีญาณตัวรู้นี่  รู้ของจริงตามความเป็นจริง   อาตมาเอาแต่มือนี่นะ มาชี้โบ๊ ชี้เบ๊ อยู่นี่  ถ้าเผื่อว่าเป็นครู เอากระดานดำมาก็จะเขียนรูปนั่นรูปนี่ขึ้นไปบ้าง

         เมื่อจิตของคุณมีสัมผัสเป็นปัจจัย ตามทวาร 6 นี่แหละ  ตา หู จมูก ลิ้น 

กาย  ใจนี่   พอสัมผัสแล้วมันก็จะเกิด   เกิดผลมันเร็ว  มันสังขาร  มันปรุงเร็ว  

เพราะฉะนั้น  คุณจับความปรุง จับสังขารนั้นได้  มันปรุงแล้วคุณก็มีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ วิธีปฏิบัตินี่ ต้องปฏิบัติด้วยหลักโพธิปักขิยธรรม หรือมรรคองค์ 8 กับโพชฌงค์ 7 ต้องไปด้วยกัน  มรรคองค์ 8 โพชฌงค์ 7 เพราะฉะนั้น  การปฏิบัติ กำลังฟังอยู่นี่  คุณกำลังทำทิฐิ  ความเห็น  หรือกำลังเตรียมรู้ทฤษฎี ทิฐินี่ภาษาบาลี   ทฤษฎีนี่ สันสกฤต อันเดียวกัน ทฤษฎีเรามาใช้เป็นภาษาไทยว่า  เป็นหลักเกณฑ์  ความรู้ตามหลักเกณฑ์   ทิฐิ ก็ไปแปลว่าความเห็น  ที่จริงมันอันเดียวกัน  แปลเหมือนกัน  กำลังรู้จักหลักเกณฑ์  กำลังเห็นเบื้องต้น  กำลังเข้าใจความสมบูรณ์ของฐานปฏิบัติ   ทิฐิ หรือ ทฤษฎีนี่ เพราะฉะนั้น  คุณกำลังฟังนี่  กำลังทำความเข้าใจ   กำลังเกิดญาณ  เกิดความเฉลียวฉลาดที่จะรู้เรื่องนี้  เพราะฉะนั้น  คุณฟังไปจนกระทั่งคุณเข้าใจแล้ว  คุณก็ไปเกิดญาณเองทีนี้  อย่างน้อยที่สุด  จะเข้ามรรคนี่ก็เกิดญาณเอง  ฟังเข้าใจเหตุผลทุกอย่างแล้ว  แล้วคุณก็ไปปฏิบัติ  ไปสัมผัสทางตาเห็นรูปแล้วเกิดญาณ   อ้อ! เพราะรูปเกิด รูปกระหล่ำปลี แหม ที่จริงมันน่าจะยกสิ่งที้ยั่วยวนมากกว่านี้นะ   แหม  ไอ้นี่ มันไม่ยั่วยวนเท่าไหร่  (หัวเราะ) เอาล่ะ  ได้แค่นี้  ก็ใช้อันนี้เป็นอุปกรณ์ในการสอน อุปกรณ์การสอน  หา?  อะไร? อะไรล่ะนั่น?  (คนฟัง) มะเขือเทศ ปัดโธ่! มะเขือเทศ ลูกแค่นี้ เมื่อวานนี้ ยังลูกสวยกว่านี้เยอะนะ   โธ่เอ้ย! เวร (คนฟังหัวเราะ)  ลูกก็เล็กด้วย สีก็แค่นี้ เมื่อวานนี้   ลูกแดงแปร๊ด(หัวเราะ)  มันก็ไม่ยั่วยวนเท่าไหร่นะอย่างนี้ อันนี้ยังยั่วยวนมากกว่ามั้งนะ  เอาล่ะ เอ้า ! ก็พอ  ละไว้ในฐานที่เข้าใจ  (คนฟัง) อะไรก็ได้ อะไรก็ได้นะ เสียงรูปสวย พอสวยแล้ว สัมผัสแล้ว คุณก็ต้องอ่านอาการทางใจว่ามันสวยน่ะ   สวยเหมือนใจมันบอกว่าสวย  หรือใจมันบอกว่าชอบ   ใจมันบอกว่าชอบ คุณก็ต้องมี  

         1. มีสติสัมโพชฌงค์ สติรู้พร้อม รู้นอก รู้ใน สตินี่รู้ รู้ตัวทั่วพร้อม รู้นอกรู้ใน   รู้สติปัฏฐาน 4 องค์ประชุม  ก็สติปัฏฐาน 4 กายะ แล้วก็ เวทนา แล้วก็จิต  แล้วก็ธรรม  นี่ 4 สติปัฏฐาน 4 สติ กายะนี่ แปลว่าองค์ประชุม  องค์ประชุม

         1. วัตถุนอก  

         2. ตา  สัมผัสกันแล้ว เกิดรูปแล้ว เข้าไปในข้างแล้วในจิต  คุณจะหลับตา หรือไม่หลับตาก็ คุณก็รู้ แล้วมันเข้าไปในจิตแล้ว เข้าไปในจิตมันก็เป็นรูปอย่างนี้แหละ    แต่ยังไม่พอ  

เห็นมั้ย จิตมันปรุงเร็ว  ชอบหรือไม่ชอบ   สตินั้นรู้ทั้งนอกและรู้ทั้งใน   ต้องตื่นเต็ม  ต้องชาคริยา  ต้องรู้ มีธาตุรู้นะ  รู้ทั้งนอก   รู้ทั้งในแล้วมันปรุงก็รู้แทรกเข้าไปอีก  ญาณจะมีตีรณปริญญา   เป็นตัวค้นคว้า  คิดวิจัยวิจารณ์ออกไปหมดเลย หรือธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์  สติสัมโพชฌงค์  ซึ่งอาตมาก็อธิบายมามากแล้วว่า มันเป็นสติปุถุชน  สติกัลยาณชน   สติสัมโพชฌงค์  หรือสติ อาริยะเป็นอย่างไร สติสัมโพชฌงค์ เป็นสติในระดับที่จะเป็นองค์แห่งการจะไปตรัสรู้ จะเกิดอาริยะ  จะเป็นอาริยชน  จะเป็นบุคคลาอาริยบุคคล  ต้องมีสติในระดับที่จะเป็นอาริยะบุคคลทีเดียว   ไม่ใช่สติแค่ปุถุขน สติแค่กัลยาณชน  สติสัมโพชฌงค์ แล้วต้องมีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์    ไม่ใช่ไปวิจัยแค่  โอ๊!   นี่วิจัยเรื่องต้นไม้   วิจัยเรื่องคีโตเมี่ยม   วิจัยเรื่องอะไรแค่นั้น   วิจัยเรื่องกฎหมายอาญา  กฎหมายแพ่ง ไม่ใช่แค่นั้น   วิจัยจิตปรมัตถ์   วิจัยกิเลสออกจากจิต   วิจัยอารมณ์  วิจัยสังขาร วิจัยในเรื่องของทางจิต

         นอกก็รู้เป็นกายะ สติปัฏฐาน 4 นี่ รู้กาย รู้เวทนา อารมณ์ หรือความรู้สึกเวทนา   อารมณ์หรือความรู้สึกนี่เวทนา ยิ่งอาตมาอธิบายเวทนา 108 โน่นให้พวกเราฟัง วิเคราะห์ออกได้เลยว่า โอ๊! นี่มันเข้ามาทางตานี่  ก็เป็นเวทนา   เวทนา 6 แน่ะ เวทนาทั้ง 6 ทวาร  เวทนา 6 นี่  ก็คือเวทนาทางตา เวทนาทางหู   เวทนาทางจมูก  ทางลิ้น ทางกาย  แล้วเข้าไปเป็นสุขเข้าไปเป็นทุกข์   ไปผสมร่วมเข้าไปปรุงเป็นสุข ไปเป็นทุกข์  เป็นชอบ  เป็นชัง  หรือเฉยๆ มันเฉยเด๋อๆ  มันเฉย มันไม่วิเคราะห์วิจัย  มันซื่อๆ  ก็ให้มันรู้ว่านี่มันเฉยเด๋อๆนะ  เพราะฉะนั้น เมื่อญาณเข้าไปรู้ว่า เออ เอ็งเฉยดีแล้ว เอ็งเฉยชั่วคราวนี้หรือเปล่า คราวก่อนนี้เอ็งสัมผัสอย่างนี้แล้ว เอ็งไม่เฉยหรือเปล่า นี่คุณจะต้องมีทั้งอดีต และปัจจุบันอนาคต เข้าไปพิสูจน์ในเวทนาเหล่านี้ด้วย   แล้วคุณก็จะรู้ว่า เออ เราไม่ใช่เฉยๆ ตอนนี้เฉยๆ แต่เมื่อวานนี้ มันไม่เฉยอย่างนี้หรอก  เมื่อวานนี้  มันชอบอยู่นะ  แต่ตอนนี้ มันอิ่มไปหน่อย มันก็เลยเฉย  มันไม่เอาเรื่องด้วย แต่เมื่อวานนี้ โอ้โห!  สัมผัสไอ้อย่างนี้น่ะ ไม่สวยเท่านี้ด้วยซ้ำไป  เมื่อวานนี้ โดดใส่เลยนะ โอ้โห! อร่อยใหญ่เลยนะ  คุณจะได้เปรียบเทียบ อดีต ปัจจุบัน  อนาคต

อะไรพวกนี้ไปด้วยเลย เวทนา108 นี่มันจะสมบูรณ์ทั้งนั้น  ทั้งกาละ ทั้งอะไรต่ออะไรด้วย  เพราะฉะนั้นคุณก็พิจารณาเวทนา  ทั้งเวทนานอก เวทนาใน เวทนานอก  สวยนี่โลภ  เวทนาในรู้สึกในอารมณ์เปรียบเทียบกับปรมัตถ์เปรียบเทียบกับสมมุติ  สมมุตินี่ เป็นนอก  ไอ้ในจิตของเราเองเป็นยังไงล่ะ  ชอบหรือชังหรือไม่

         จิตคุณก็อ่านไปเลย เจโตปริยญาณ จิตนี่เจโตปริยญาณ 16 อ้อ! นี่มันราคะมูล โทสมูล ทำให้มันสูงขึ้น ทำให้เจริญขึ้น ตอนนี้มันได้ระดับ ทำได้หน่อยหนึ่งแล้ว  เป็นสังขิตตังจิตตัง หรือ วิขิตตังจิตตัง หรือว่าเป็นมหัคคตะ อมหัคคตะ นี่ไล่  ใครไม่มีพื้นฐานก็บอกแล้ว  บอกแล้วไง (พ่อท่านและคนฟังหัวเราะ)  ต้องมีพื้นฐานหน่อยหนึ่ง   ไม่มีพื้นฐานก็คงยากนะ  จนกระทั่งเราอ่านไปได้เลย  แล้วจิตเราสามารถฝึกได้หรือไม่   เมื่อก่อนนี้ ยังไม่ได้ฝึก หรือเมื่อก่อนนี้ได้ฝึกแล้ว  เรายังไม่ได้ฝึกก็เริ่ม   ถ้าได้ฝึกแล้ว  ได้ผลหรือไม่ได้ผล คุณก็ได้เปรียบเทียบไปตลอดเลย    อ่านจิตเป็นเจโตปริยญาณ   นี่เป็นสอุตตรจิตแล้ว  โอ!   ตอนนี้  จะทำอนุตตรจิตให้สมบูรณ์   มันเป็นสมาหิตังได้หรือยัง มีวิมุติจร อวิมุติจรหรือเปล่า  มันวิมุติแข็งแรง  สมบูรณ์ จนเป็นตถตา อวิตถตา  อนันยตาแล้วหรือยัง  อ่านความจริง อันนี้  ต้องมีญาณ เจโตปริยญาณจริงๆ  ต้องรู้ ไม่ใช่ภาษาเท่านั้น  ต้องอ่านตัวของจริงตามความเป็นจริงของจิตวิญญาณของกิเลสของอารมณ์ในจิตนะ ไม่ใช่ คุณฟังภาษาได้    ที่อาตมาพูดแล้วก็ท่องได้แล้วก็เอาไปสอนหากินได้เป็นใหญ่เป็นโต ได้ชื่อได้เสียงนะ   สอนภาษานี่  ถ้าอาตมาไปเป็นครู ไปเป็นอาจารย์สอนธรรมะนี่ อาตมาจะเอาแต่ชื่อแต่เสียงนี่ อาตมาไม่พูด  รู้จักวิธีการสอน  ไม่ต้องพูดบาดเสียดใคร  อธิบายไปดีๆ  โอ๊ย! ป่านนี้  อาตมาดังสนั่นโลกได้จริงๆ  อาตมาไม่ต้องมาแรง  ไม่ต้องมาเอาจริงเอาจัง ไม่ต้องมากระทั่งกระทบกระเทือนคนอื่น  มันเหมือนกับเสียดสีเขา  แต่ที่จริงไม่ใชข่  ความจริงต้องพูดขนาดนี้  ถ้าอาตมามุ่งแต่จะเอาชื่อเอาเสียง   อธิบายเก่งๆ อะไรพวกนี้ โอ๊! พระอภิธรรมนี่ อาตมาก็อธิบายจ้อยเลย  ไม่ต้องห่วงหรอก  ป่านนี้ก็เป็นครูอภิธรรมอะไรไป รับรอง  ธรรมะในด้านนี้ รอบกว้างก็ได้    จะพัฒนาโลกยังไง  แต่อาตมาไม่ได้หมายเป็นนักวิชาการ แต่อาตมาหมายเป็นผู้สร้างคน  อาตมาหมายที่จะให้คนเข้าใจให้จริง แล้วปฏิบัติประพฤติให้จริง ได้กี่คนอาตมาเอา  เอาคนที่พัฒนาได้  อาตมาไม่ต้องการว่าฉันเก่ง   รู้ โอ้โฮ!  มาดดี คนไม่ต้องต้าน  แล้วก็แผ่ขยายไปในเชิงเป็นผู้รู้รอบโลก โอ! ชื่อเสียงโด่งดัง   นี่เป็นรู้ ต้องระมัดระวังคน  อย่าไปให้เขาบาดเสียดบาดเจ็บอะไร อธิบายให้ดี  อาตมาเข้าใจวิธีหาชื่อเสียงแบบนั้นก็ได้  แต่อาตมาไม่เอา

         อาตมาเคยแล้ว วิธีนี้น่ะ ก็วิธีเดียวกันกับเป็นโฆษกนั่นแหละ รู้หรือเปล่า   อาตมาหากินมากับชีวิตนะ วิธีเป็นโฆษกน่ะ แหม พูดน่ะ ขนาดไหนล่ะ  เล่นกับเด็ก  ก็พูดให้เด็กติด เล่นกับผู้ใหญ่ ก็เล่นให้ผู้ใหญ่ติด เล่นกับคนขนาดไหน ก็เล่นให้เขาติด  เราก็ใช้ศิลปะ  ในวิธีประเล้าประโลมอย่างนั้น ทำเป็น  เชื่อหรือเปล่า? (คนฟัง)ตอบว่า เชื่อ  แต่อาตมาเปลี่ยนวิถีชีวิตแล้ว   ตอนนั้นก็อย่างนั้นเอง  วิถีชีวิตอาตมาตอนนี้มาสร้างคน  

          เพราะฉะนั้น คุณจะต้องเข้าใจสัจจะพวกนี้เลย อันที่มันไม่ดี เราก็ว่าไม่ดี  นี่ล่ะ  คนมันไม่ชอบ  อาตมาก็ต้องมาเปิดเผยสัจจะพวกที่คนไม่ชอบ  แต่ตอนโน้นน่ะ ไอ้ที่ไม่ดีเราละเว้นไว้เรื่อยๆ  เอาแต่สิ่งที่ดีมันก็ได้  แล้วสิ่งไม่ดีนี่แหละมันจะต้องรู้ก่อน  แล้วจะต้องพูดกันหนัก พูดกันจนกระทั่งคุณเห็นจริงเลยว่า โอ้โห! อันนี้เราโง่จริงๆ เราเอาไว้ทำไม  แหม ยิ่งมีประสิทธิภาพอันนี้ได้เท่าไหร่  มันยิ่งจะประสบผลสำเร็จ  คุณยิ่งไปเลิกไปละใช่มั้ย เพราะฉะนั้น คุณมีญาณอ่านเห็นจริงๆ มีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ แล้วต้องพากเพียรทำอย่าย่อหย่อน มีวิริยะสัมโพชฌงค์ เพราะฉะนั้น   โพชฌงค์ 3 นี่ ก็เป็นหลัก  หลักสำคัญที่คุณจะต้องมีครบสังโยชน์ 3 โพชฌงค์ 3  โพธิปักขิยธรรม 3  คุณจะต้องมีหลักพวกนี้อยู่เป็นหลักหน้าทั้งหมดเลย มันจะทำงานเป็นสมังคีกัน เป็นสามเส้าเสมอส่วนใหญ่  มันจะทำงานกันเป็นสามเส้า

ส่วนใหญ่  แม้แต่สัมมัปปธาน 3 (คนฟัง)  สัมมัปปธาน 4 พ่อท่าน  สาม (คนฟังหัวเราะ)  มีสังวรปธาน ปหานปธาน ภาวนาปธานนี่ มันจะต้องทำงานเป็นสมังคี  เสร็จแล้วมันก็อนุรักขณาปธาน จะรักษาไว้  จะทำงานเก็บไว้เรื่อยๆๆๆ 

         เอ้า ไม่เป็นไร ไม่เป็นไร แสดงว่าเรายังจำ  4 ได้ไง (คนฟังหัวเราะ) แต่อาตมาจะอธิบาย 3 ให้รู้เจตนาอาตมาเท่านั้นเอง ไม่ได้ หมายความว่า  ขายหน้าอะไรหรอก  เป็นแต่เพียงว่าไม่รู้เจตนาอาตมา  แต่แสดงว่าจริง  นี่ อาตมาพกูดผิด  เพราะอาตมาเคยพูดผิด  ก็เลยท้วงไว้ให้ ก็ขอบคุณนะ ท้วงไว้ให้ เดี๋ยวจะ แหม สัมมัปปธาน มัน 4  ทำไมมาพูดแค่ 3 ก็ไม่เป็นไร ไม่รู้เจตนา  เพราะเจตนาอาตมาจะเน้นตัว 3 นี่ ให้ฟัง  มันสัมมัปธานนี่ก็ 3 มันทำงาน ตัวทำงาน นี่คือสังวรปธาน ปหานปธาน ภาวนาปธาน ต้องสังวรเหมือนกับที่อธิบาย  สังวร สำรวม  ประพฤติระมัดระวังนะ  กระทบสัมผัสแล้ว อย่างโน้นอย่างนี้แล้ว ก็มีโพชฌงค์  3  นี่ไปเรื่อยๆ  แล้วก็จะเกิดปหาน  ปหาน พากเพียร พากเพียรทำให้มันปหานจนได้  ก็เกิดผลภาวนาปธาน  เราต้อง

การปหาน ปหานสำเร็จ ปหานกิเลสน่ะ  สำเร็จได้ผล ได้ผลไปเรื่อยๆ  ทำให้เกิด

ผลภาวนานี่ ทำให้เกิดผลนี่ สัมมัปปธาน 3 นี่ ก็ต้องทำ  เสร็จแล้วก็ต้อง ได้แล้วก็

อย่าปล่อยปละละเลยนะ  ต้องตรวจสอบว่า ได้แล้ว มีคนมาหรอยไปหรือเปล่า  

เหมือนกับหมามาคอยกินไอ้ขวั้นเชือก  (คนฟังหัวเราะ) ขวั้นไป ขวั้นหนัง  ไอ้เจ้าหมาอยู่ข้างใต้ถุนนี่ขวั้นไป หมาก็กินไปเรื่อยๆ กินไปเรื่อยๆ ขวั้นไป กินไปเรื่อยๆ ขวั้นไป ดึงขึ้นมา เอ้า! เฮ้ย! มันทำไม อู้ ว่ายาวแล้วนะ  หมากินข้างหลัง  ได้แล้วก็ลืม ได้แล้วก็ทิ้ง ได้แล้วก็ไม่รู้จักทบทวน ได้แล้วก็ไม่รู้จักทำให้มันมั่นคง แข็งแรง ทำให้มันยั่งยืน เป็นฐานที่สมบูรณ์ขึ้น อนุรักขนสปธานต้อง ไม่ใช่ได้แล้ว ไม่ตรวจสอบ   ไม่ใช่ได้แล้ว ไม่ทำให้มันทวี  ไม่ใช่ว่าได้แล้ว จะต้องรู้ว่า อันนี้ได้แล้วได้เลยนะ   ไม่ใช่ได้แล้ว แล้วก็ทิ้งขว้าง  ต้องตรวจสอบว่ามันเป็นยังไง  แค่ไหน สูงขึ้นมากขึ้นเจริญขึ้นเป็นอย่างไร  ต้องครบสัมมัปธาน 4 อย่างนี้ด้วย แต่ตัวปฏิบัติน่ะ  สัมมัปธาน 3  อย่างนี้เป็นต้นนะ

         เพราะฉะนั้น  เราจะต้องรู้จักกาย เวทนา จิต ต้องรู้ธรรมด้วย ธรรมะมีตัวแรกที่สุด ก็คือนิวรณ์ 5 อุปาทานขันธ์ 5 อายตนะ 6 โพชฌงค์ 7 อริยสัจ 4 นี่ธรรมะมี 5 บรรพอยู่อย่างนี้  ห้าบท ห้าหลัก  

         1.นิวรณ์ 5  เป็นอย่างไร

         2.อุปาทานขันธ์  5 รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส นี่มันยังมีอุปาทานอยู่ใน

รูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร วิญญาณ มีละเอียดลึก

         อาตมาคงจะต้องไปอธิบายรายละเอียดกันที่พุทธาภิเษก อุปาทานขันธ์ 

5 อายตนะ 6 ก็เราก็พูดกันอยู่เดี๋ยวนี้ ในทวาร 6 อินทรีย์ 6 ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี่แหล  นี่แหละเป็นตัวปากบ่อสำคัญเลย  กิเลสมันผ่านตรงนี้  เรายังตาไม่บอด  หูไม่หนวก จมูกได้กลิ่น ลิ้นได้รส  อะไรอยู่นี่แหละ แล้วมันเข้าไปก็ไปปรุงไปแต่งตลอดเวลา อายตนะ 6 จะต้องรู้เท่าทันมัน  เห็นของจริงตามความเป็นจริง  ก็เท่านั้นนะ  ปรุงเท่าไหร่ เมื่อไหร่ ดักรู้เลย  มันจะเข้าจะออก   แล้วมันเข้าไปถึงจิตปั๊บ  ดักรู้ตั้งแต่ตรงนี้แล้ว ตั้งแต่ทวารปากทวารนี่เลย  แล้วเข้าไปแล้ว อายตนะทั้ง  6 นี่ทำงานเต็มที่ ไม่มีอุปาทานข้างใน  ไม่มีการปรุงกิเลสใหม่  ไม่มีตัณหา เป็นเจ้าเรือน  รู้กิเลสคือ ปรุงไปเรื่อยตามโลก  มันไม่แน่ ไม่เที่ยงหรอก 

         อาตมาเคยแปลนะ กิเลสนี่แปลว่า กิละ+เอสะ  โอ๊! พวกบาลีเขาเต้นเร่าๆ เลย  กิละ หรือ กิระ นี่มันแปลดังได้ยินมา ก็คงจะเคยได้ยินว่าดั่งได้สดับมา ดังที่เขาลือกันมา  กิระ  หรือกิละ  ล.ลิงก็เหมือนกัน  เอสะ  แปลว่า  ตามนั้นแหละ  อย่างนั้นแหละ เอสะนี่  อาตมาก็แปลนั่นแหละไปตามเขาน่ะ  เขาลืออะไร เขาดังอะไร   ก็ไปเอามายึดมาถือ  นั่นแหละ กิเลส อาตมาว่านี่  สภาวะไม่มีผิด แต่นักพยัญชนะ   เขาแปลตามไวยากรณ์  ตามอะไรเขาก็ถือกันไป  ไม่ว่ากัน  อาตมาไม่เถียงเขาหรอก   แต่เขาเองเขาแย้งอาตมาก็แย้งไป  แต่ถ้าพวกคุณฟังแล้วเข้าใจได้  รู้เรื่อง ก็ไปเอาสภาวะนั้น  เพราะฉะนั้น  กิเลสนี่  มันเป็นประเภทที่เรียกว่าในโลกนี่แหละ  มันลือกัน ดังกัน   แล้วก็ตามกันไปตามเรื่องตามราว  แล้วเอามายึดมาถือ ตัณหาก็มาเป็นกิเลส แปลว่าความอยาก  แล้วก็เสร็จ แล้วก็อยากเป็นคราวๆ  ตอนนี้ยังไม่อยากก็พักไว้  ก็คือว่านอนเนื่อง หรือคือว่าเป็นอุปาทานยึดติด  มันก็อยู่อย่างนั้ฯ ไม่ล้าง ไม่เลิก ไม่คลาย เพราะฉะนั้น จะดึงมันมาล้างจนหมดล่ะ อุปาทานก็ไม่เหลือยึดติดอะไรไม่ได้ทั้งนั้นแหละ  จนกระทั่งไม่ต้องอยากมาบำเรอ  เห็นโลกก็รู้ คนอื่นเขาเป็นกิเลส เราก็ไม่เป็นกิเลส  เพราะเรารู้เท่าทันมันหมด  อย่างนี้เป็นต้นนะ

         เพราะฉะนั้น  เมื่อเราเองเรามารู้ ทั้งนิวรณ์ก็คือ สภาพข้างนอก นี่คือกามกับพยาบาท  ข้างในก็คือถีนมิทธะ กับอุทธัจจกุกกุจจะ  แล้วก็ทำให้แจ้ง อย่าเป็นวิจิกิจฉา  ตัวหลักใหญ่ๆ มันก็มีอยู่แค่นิวรณ์ 5 นี่แหละ เป็นอาหารของอวิชชา  ในนี้ดูเหมือนมีใช่มั้ย? สูตรนี้ ตัณหาสูตรไง  ใช่ อยู่ในนี้ มี  ตัณหาสูตรนี่ เป็นอาหารไง      

พ่อท่าน :  ตัณหาสูตร ไม่ได้อยู่ในนี้เลยเหรอ ไม่ได้ผนวกเข้าไปพิมพ์ไว้ในนี้เหรอ แต่พวกเราก็เคยนะ  ภวตัณหาสูตร หรือตัณหาสูตรนี่  เอ๊ย!  อวิชชาสูตรซิ

คนฟัง : อวิชชาสูตร

พ่อท่าน : อวิชชาสูตร ไม่ใช่ตัณหาสูตร ภวตัณหากับอวิชชาสูตร ซึ่งอวิชชา พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าไม่ใช่ไม่มีอาหาร  มีอาหาร อวิชชา ไม่ใช่ไม่มีอาหาร อวิชชามีอาหาร  

     อะไรเป็นอาหารของอวิชชา?  นิวรณ์ 5 เป็นอาหารของอวิชชา 

     แล้วนิวรณ์ 5  มีอาหาร ไม่ใช่นิวรณ์ 5 ไม่มีอาหาร  

     อะไรเป็นอาหารของนิวรณ์ 5  ? ทุจริต 3 เป็นอาหารของนิวรณ์ 5  

อย่างนี้เป็นต้น   

     แล้วก็ไล่ไปนิวรณ์ 5 สำรวมอินทรีย์ 6  

     อะไรเป็นอาหารของทุจริต 3 ? การไม่สำรวมอินทรีย์ 6  นี่มาเกี่ยวกันแล้ว  

มาสัมพันธ์กันแล้ว เพราะฉะนั้น อินทรีย์ 6  ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ คุณไม่สำรวม

มันนี่นะ  ทุจริต 3  ก็เกิดตลอดเวลา ละเอียดนะ คนโลกๆทุกวันนี้  เขาไม่ค่อยได้

สำรวมอินทรีย์  6 เลย  ใช่มั้ย?  เขาก็ทุจริตอยู่ตลอดเวลา  ฟังให้ดีนะ  เพราะ

ฉะนั้น  ทุจริตนี่ไม่ใช่ตื้นๆ  แค่จะไปตีหัวหมา ด่าแม่เจ๊กถึงเรียกว่าทุจริต   ไปโกง

คอรัปชั่นถึงจะทุจริต  เปล่า  คุณกำลังไปกินอร่อย คุณก็ทุจริตอยู่  รู้หรือเปล่า?  รู้

เปล่า?   สมัยนี้เขา รู้ป่าว (หัวเราะ)  เห็นมั้ย  มันละเอียดลึกซึ้งเข้าแล้วนี่ มัน

จะเป็นถึงปานนั้น   คุณต้องสำรวมกาม  สำรวมพยาบาท  เกิดไม่ชอบ   ก็คือสายพยาบาท   อันนี้ ไม่ชอบแล้ว สร้างทุจริตใส่ กิเลสใส่ตัวเองแล้ว สร้างทุจริตใส่ตัว

เอง  เพราะฉะนั้น  ให้อาหารมันอยู่ตลอดเวลา ไม่สำรวมอินทรีย์ 6 เท่านั้นแหละ 

(หัวเราะ)  ก็ใส่อาหารหนาขึ้นๆๆๆ อยู่ตลอดเวลา

         มาปลุกเสกฯนี่ อาตมาตั้งใจ เพราะว่ามีเวลา 7 วัน นี่จะต้องพยายาม

อธิบายรายละเอียดให้ฟัง   ฟังดีๆ อาตมาฟังธรรมะขนาดนี้แล้วไม่เข้าใจนี่ เอาหัว

ไปจิ้มขี้ควายไป๊ ถ้าไม่นั่งหลับละก็ อาตมาว่าเข้าใจนะ  เพราะอธิบายให้ง่าย  ชัก

ของลึกให้ตื้น   หงายของคว่ำให้หงาย   จุดไฟในที่มืด  

          เพราะฉะนั้น   อาหารนี่สำคัญ  ถ้าเข้าใจคำว่าอาหารนี่  แล้วคุณไป

ทำมั้ยละ  คุณไม่สำรวมอินทรีย์ 6  อยู่เมื่อใด  เมื่อนั้นคุณกำลังตกหล่นในการปฏิบัติ

ธรรม  เห็นมั้ย สำรวมอินทรีย์ นี่เรายังไม่ไปไหนนะ  นี่กินอยู่ หลับนอนนี่ เราเอา

ตัวสำรวมอินทรีย์ตัวต้น    ตัวอปัณณกธรรมตัวแรกอยู่นี่   ขยายความรอบด้านเลยนี่ 

ซอกแซกๆ สอดร้อย  ประเดี๋ยวก็ไปถึงนิพพาน  ประเดี๋ยวก็กลับมาใหม่  อธิบายกัน

อยู่นี่  (หัวเราะ)   ฟังให้ดี  เพราะฉะนั้น  แล้วยิ่งต่อไปเลยนี่ เอ้า!  ถ้าพูดถึง

ตัณหา อวิชชาสูตร ก็ไล่ไปอีกก็ได้  ไล่ไปซะก่อน  ใครจำไม่ได้จะได้ทบทวน  หรือ

ใครยังไม่เคยได้ยิน  ได้ยินด้วย  ถ้าใครยังฟื้นไม่ขึ้นก็ ใครจำได้ก็ดีแล้ว  ระลึกไป

เองเลย   แล้วในไม่สำรวมอินทรีย์ 6 นี่ มีอะไรเป็นอาหาร?   ไม่มีสติสัมปชัญญะ

เป็นอาหาร  เพราะฉะนั้น  ต้องมีสติสัมปชัญญะ  มาเข้าแล้ว สติปัฏฐาน  ถ้าคุณไม่

มีสติปัฏฐาน  คุณไม่ทำให้สติเป็นสัมโพชฌงค์ด้วย คุณก็ไม่ไปไหน  เพราะฉะนั้น คุณก็

สร้างอาหาร  ไม่มีสติสัมปชัญญะ  ก็เป็นอาหารให้การไม่สำรวมอินทรีย์  ไม่สำรวม

อินทรีย์  ก็เป็นอาหารให้เกิดทุจริต  3  ทุจริต 3  ก็ทำให้เกิดนิวรณ์ 5  นิวรณ์ 5 

ก็สะสมอวิชชาไปเรื่อยๆ   สมน้ำหน้า (คนฟังและพ่อท่านหัวเราะ)   เพราะฉะนั้น  

จะต้องมีสติสัมปชัญญะ   แล้วทีนี้มีสติสัมปชัญญะ  ถ้าไม่มี คนไม่มีสติสัมปชัญญะ   นี่มี

อะไรเป็นอาหาร?      ไม่นะ    ไม่ใช่โยนะ    ไม่โยนิโสมนสิการเป็นอาหาร  

ไม่โยนิโสมนสิการคือะไร?   ไม่ทำใจในใจ ไม่ฝึกปรมัตถ์  มนสิการ  แปลว่าการ

ทำใจในใจ

         เพราะฉะนั้น    นักปฏิบัติธรรมนี่จะต้องยืน  เดิน  นั่ง  นอน   มีคิด 

มีสังกัปปะ   วาจา  กัมมันตะ  นี่ก็ย้อนเอามรรคองค์ 8 มา มรรคองค์ 8   นี่คุณ

กำจัดทำสัมมาทิฐิให้เข้าใจ  เมื่อมีสัมมาทิฐิแล้ว คุณก็ไปมีสติ  กับมีความพยายาม 

ห้อมล้อมความเห็น  ความเข้าใจ ห้อมล้อมสัมมาทิฐิ  เมื่อใด  จะปฏิบัติคุณจะต้อง

พยายาม   คุณจะต้องมีสติ  คุณจะต้องพยายาม  คุณจะต้องมีสติ  แล้วภาคปฏิบัติอยู่

ที่สังกัปปะ  วาจา กัมมันตะ  อาชีวะ  ภาคปฏิบัติ เพราะฉะนั้น คิดเมื่อไหร่ คุณจะ

ต้องทำงาน   ต้องมีมนสิการ  คิด จะคิดยังไง  โยนิโส     แปลว่าละเอียดลออแยบคาย ถ่องแท้  โยนิโส คุณอย่าทำหยาบๆ นั่นเอง โยนิโส นี่อย่าทำหยาบๆ  ทีนี้

คุณไม่มีโยนิโส  คุณไม่รู้เรื่องเลย  หยาบไม่หยาบ ไม่รู้เรื่อง  ไม่มีโยนิโสมนสิการ  

ความไม่มีสติสัมปชัญญะ   ที่จะเป็นสติสัมโพชฌงค์ด้วย ไม่ต้องหวัง  ใช่มั้ย?   หรือ

เป็นสัมมาสติ   ไม่ต้องหวัง   หรือเป็นสติอาริยะไม่ต้องหวัง  เพราะฉะนั้น   คน

โลกๆ ไม่ได้ปฏิบัติธรรม  ไม่ได้เรียนอย่างนี้  มีสติแบบปุถุชนตลอดเวลา  เห็นไอ้นี่ 

อู๊ย!   อยากได้ มีสตางค์ไม่ซื้อ  มีสติทั้งนั้นละ คนไม่บ้า  ใช่มั้ย คนไม่เสียสติล่ะก็  

เอ๊อ!  ซื้อ   กฎหมายเขาบอกว่าต้องซื้อนะ  ขโมยไม่ได้   ผิดกฎหมาย  ก็ซื้อไง  

เอาไป  ไปถึงก็ โอ้โหย! มันน่ากิน  ยังไม่ทันอะไร  กินเลย กินดิบๆ  ก็กิน  ไม่

ต้องล้างก็ได้    เชื้อโรคกินก็ตาย   มีสติเหมือนกันนะ  แต่ไม่แยบคายอะไรเลยนี่

แบบโลกๆ   ถ้าแยบคายหน่อย  ต้องล้างนะ  สามัญคนเขาต้องล้าง  ต้องทำความ

สะอาด  แล้วค่อยกิน กินแล้วก็อร่อย  โอ๊ย! ชื่นใจ วันนี้ได้กินกะหล่ำปลีชั้นดี อร่อย 

สุขเด๊  ก็แค่นั้น กิเลสกินเข้าไปหมดแล้ว  หนาขึ้นแล้วกิเลส แต่ก็เป็นอยู่อย่างปุถุชน  

กิเลสก็หนาขึ้นอยู่อย่างไม่รู้ตัว  ทุจริต เขาทำทุจริตทั้งนั้นน่ะ  นี่เห็นมั้ยละเอียดแล้ว 

มันทุจริตอย่างนี้   ไม่ใช่ทุจริตต้องไป  โอ้โห! ต้องไปผิดกฎหมาย  ต้องไปฆ่าแกง  

ต้องไปทำอะไร   ทำร้าย เลวร้าย โน่นถึงจะทุจริต  นี่ระดับปรมัตถ์จริงๆ  ถ้าสูง

ขึ้น  เราจะต้องพิจารณาถึงปานฉะนี้  นี่เราพูดแล้วนะว่าเราจะต้องเป็นอาริยะ กัน

แล้วนะ   ถ้าอาริยะไม่รู้เรื่องเหล่านี้   แล้วคุณก็ประมาทเลอะเทอะ   แต่เอาละ  

โสดาบัน  จะถึงขนาด แหม อร่อยไอ้นี่ก็ไม่ได้มันก็เอาล่ะ  โสดาบัน ก็อาจจะหยวน  

แต่อย่างหยาบก็ต้องเอาก่อน

         เอาล่ะ  ตกลงต้องมีโยนิโส ต้องแยบคาย  ต้องละเอียด  ต้องถ่องแท้  

ต้องประณีต   อย่าเอาหยาบๆ แล้วก็ต้องถึงขั้นปฏิบัติทางจิต  มนสิการ  ต้องทำใจ

ในใจด้วย  นักปฏิบัติธรรมจะต้องไม่ตกหล่นอันนี้     ไม่โยนิโสมนสิการมีอะไรเป็น

อาหาร?   ไม่ศรัทธา  ท่านตีความไปถึงกับว่าไม่ศรัทธาในพระพุทธ    พระธรรม 

พระสงฆ์   เอาละ ตรงนี้นี่  ไม่ใช่ว่าไม่ศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม  พระสงฆ์นี่ 

ไม่ศรัทธาอะไร   ไม่มีพระพุทธรูปไหว้เลยนี่ เรียกว่า ไม่ศรัทธาพระพุทธ ไม่มีพระ

ธรรม  ไม่มีพระไตรปิฎกอะไรก็แล้วแต่  มันไม่ใช่อย่างนั้น   อาตมาอธิบายมามาก

แล้ว  พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์มันอยู่ในตัวเรานี่แหละ  พระพุทธก็คือ  ศาสนา

อย่างพระพุทธเจ้า พระธรรมก็คือ  เกิดขึ้น ทรงขึ้นในตัวเราอย่างของพระพุทธเจ้า  

ตัวเรานั่นแหละ   มีพุทธธรรม  ทรงขึ้น  เกิดขึ้นแล้วจริง   เกิดเป็นอาริยคุณ  

อาริยธรรมด้วย   เราก็เป็นพระสงฆ์สาวกสังโฆ  8  ใน  8  หรือใน  4  เป็น

โสดาปัตติมรรค  หรือโสดาบันบุคคลขึ้นไปแล้ว นี่คือพระสงฆ์แท้  นอกนั้น ก็สมมุติทั้ง

นั้นแหละ   ทำตามรูป ตามแบบ ตามจารีตประเพณีไปเฉยๆ  แต่ถ้าเป็นจริงนี่แหละ พุทธ ธรรม สงฆ์

          เพราะฉะนั้น  เราจะศรัทธา จะเชื่อ  เชื่ออะไร?  เชื่อเพราะเรา

เป็น  เชื่อเพราะเรามีศรัทธา 

         เอ้า! ตกลง เราเริ่มต้นตอนศรัทธาเป็นเพียงเชื่อถือ  เชื่อถือยังไม่ถึง

ขั้นปฏิบัติ   คนในระดับเชื่อฟัง อาตมาแปลศรัทธาว่าเชื่อถือ  ศรัทธินทรีย์ว่าเชื่อฟัง  

ศรัทธาพละ  ว่าเชื่อมั่น   เอาภาษาไทยมากำกับ  เพราะฉะนั้น   คุณยังไม่ถึงขั้น

ปฏิบัติตาม   คุณเอาแต่แค่เชื่อถือ  ฟัง ฟังแล้วก็ เออ น่าเชื่อถือ  เออ เชื่อถือได้ 

เอาแค่นี้ก็ได้    เพราะฉะนั้น  ถ้าคุณจะไม่มีศรัทธาอันนี้  ก็เพราะว่าคุณยังไม่เคย

ได้ฟังสัทธรรมเป็นอาหาร   ไม่ได้เคยฟังสัทธรรมจากสัตบุรุษเป็นอาหาร   เพราะ

ฉะนั้น  ในหมวดนี้  ต้องได้พบสัตบุรุษ  ได้ฟังสัทธรรม  จึงเกิดศรัทธา  เมื่อคุณไม่

ได้ฟังสัตบุรุษ   คือผู้รู้แท้ของสัจธรรม คุณฟังแต่ธรรมที่ไม่ใช่สัทธรรม สัทธรรม  คือ 

ธรรมะอันดี อันถูกต้อง ได้ฟังแต่ธรรมะเลอะๆ  ธรรมะเทอะๆ  ธรรมะอะไรก็แล้ว

แต่  ที่มันไม่จริงมันไม่ถูก   คุณก็ศรัทธาได้   แต่ศรัทธาสิ่งที่ไม่ใช่ของสัตบุรุษ  ไม่

ใช่สัทธรรมแท้   ก็ไปกันใหญ่เลย  เมื่อต้นทางไปอย่างนี้   โยนิโสมนสิการก็เพี้ยน  

มนสิการก็เพี้ยน   สติสัมปชัญญะก็ไปอีกอย่างหนึ่ง   สำรวมอินทรีย์ก็ไปอีกอย่างหนึ่ง  

เห็นมั้ย  ก็สำรวมอินทรีย์กันเยอะไปเหมือนกัน   ว่ากันไป  สอนกันไป   หนักเข้า

กรรม 3 ก็ไม่เหมือนกัน  นิวรณ์ 5 ไม่มีทางสำเร็จ  อวิชชาไม่ลด เพราะมันผิดมา

ตั้งแต่ต้นสาย  นี่ตัณหาสูตร หรืออวิชชาสูตร  ดูเหมือนจะเรียกภวตัณหาสูตรนะเต็มๆ  

ภวตัณหาสูตร    หรืออวิชชาสูตร     ส่วนภวตัณหาสูตรนั้น    เติมคำว่าภวตัณหา 

เพราะอวิชชาจึงเกิดภวตัณหา  อวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหา  อันนี้ลึกซึ้งที่อาตมา

ย้ำอยู่เสมอว่า ภวตัณหานี่ไม่ใช่เรื่องธรรมดา  แต่เอาละ ค่อยอธิบายกันถึงวาระนั้น

         ทำไมท่านแบ่งเป็น   2  สูตร   สูตรอวิชชาสูตรนั้น  มีแค่จบที่อวิชชา 

ส่วนภวตัณหาสูตรนั้น    แถมคำว่า   ภวตัณหาอีกตัวหนึ่ง    นอกนั้นเหมือนกันหมด  

อวิชชานี่ เป็นอาหารของภวตัณหา  อีกทีหนึ่ง มันจะวน  อาตมาอธิบายมาจนกระทั่ง

ถึงตรงนี้   คุณจะต้องรู้ว่าคุณได้ฟังสัทธรรมจากสัตบุรุษแล้ว   คุณศรัทธา  ศรัทธานี่ 

ต้องเป็นตัวในจิตของคุณ เป็นปรมัตถ์  ไม่มีใครบังคับ คุณจะศรัทธา  ศรัทธาต้องมี

ปัญญา   ต้องรับรู้ ต้องเชื่อ  ต้องมีเหตุมีผล  อ่านได้พิจารณาได้  จนกระทั่งคุณมา

เห็นของตนเอง   เพราะฉะนั้น คุณโยนิโสมนสิการ  เริ่มโยนิโส  เข้าไปทำความ

แยบคายในจิต   ทำจิตให้มันลดกิเลสได้บ้าง  หรือว่าพ้นมิจฉาทิฐิ ที่จะเห็นอนิจจัง 

ที่อาตมาอธิบายสู่ฟัง  เออ ไปเห็นอนิจจังได้บ้าง  ยังไม่พ้นปุถุชนนะเรา แต่เริ่มต้น

พ้นมิจฉาทิฐิ กำลังเดินเข้าจ่อปากมรรคแล้ว  พอทำให้พ้นสักกายทิฐิลงไปจริงๆได้  

เริ่มแล้ว    ได้จุดหนึ่งหน่วย   ได้หนึ่งหน่วย   ได้สองหน่วย  คุณก็เริ่มเป็นอาริยบุคคลเข้าไปตามความจริงที่คุณได้เป็นหน่วยๆ   หน่วยๆนั่น   ของนามธรรมนะ  

นามธรรมนะ   ไม่ใช่วัตถุนอกนะ  นี่เป็นต้น  มันจะต้องชัด  แล้วก็จริงๆ นะ  คุณ

ต้องมีญาณอ่านเห็นพวกนี้  คุณจะไม่ต้องมาพึ่งอาตมา คุณเข้าใจจริง คุณอ่านเป็นแล้ว  

ทีนี้อาตมาตายไปอีกร้อยสองร้อยปี  คุณก็ปฏิบัติไปได้  ต้องสืบทอดอันนี้เป็นเชื้อ เป็น

เผ่า  เป็นพันธุ์  ถ้าสืบทอดอันนี้เป็นเชื้อ เป็นเผ่า เป็นพันธุ์ไม่ได้ศาสนาสูญสิ้น หมด

แน่ๆ   เพราะฉะนั้น  ถ้าพวกคุณนี่ ลูกทั้งหลายเอ๋ย  ถ้าไม่ใช่ลูกแท้   ไม่ใช่เลือด

เนื้อแท้   ไม่ใช่เชื้อแท้ออกไปแล้ว   ไม่ได้แท้ๆแล้ว   ศาสนาของสมเด็จพ่อสูญนะ 

พ่ะย่ะค่ะเลย (คนฟังหัวเราะ)

         เอาละวันนี้เลยเวลาไปมากแล้ว   แต่พวกคุณก็ยังไม่อยากลุกนะ   แต่

อาตมาก็ไม่รู้จะทำยังไง  ไม่อยากลุกเหมือนกันน่ะ  แต่ว่ามันต้องทำงานต่อนะ  มัน

ก็เป็นอย่างนี้นะ   มันได้เท่าไหร่  ก็เอาแค่นั้นไปตามลำดับซะก่อน เอ้า!  ค้างไว้

ตรงนี้ ไว้อธิบายต่อพรุ่งนี้นะ  พรุ่งนี้ วันมาฆบูชา  เอ้า! พอ

         

               

               จัดทำโดย             โครงงานถอดเทปฯ

 

               ถอดโดย              ศิริวัฒนา เสรีรัชต์

               ตรวจทาน 1    โดย    เทียนฟ้า บูรพ์ภาค

               พิมพ์- PRINTED โดย    ปญ.ใจขวัญ เบญจโศภิษฐ์

               ตรวจทาน 2    โดย    สม.ปราณี   22 ก.ค. 2539                    

               เข้าปกโดย            สมณะแดนเดิม พรหมจริโย 

               เขียนปกโดย           พุทธศิลป์RW2+!;::@@@


 

ที่มา ที่ไป

390302 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 2 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2539 เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20 ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

                

          

        


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 10:21:37 )

390303

รายละเอียด

390303 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 3 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ ศีรษะอโศก

                     โดย พ่อท่าน โพธิรักษ์

                    เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2539

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

           ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ ศรีสะเกษ

 

         ปลุกเสก  อันนี้เป็นปริยัติที่เราพูด ที่อาตมาแนะนำนี่ อาตมาสอนอธิบาย

ต่างๆนี่  เป็นแต่เพียงสุตมยปัญญา  ทำให้พวกเราเกิดปัญญาในระดับที่หนึ่ง ปัญญาใน

ระดับที่หนึ่ง  เพียงฟัง ได้ยิน หรือสมัยนี้ก็มีอ่าน อ่าน หรือได้ฟัง ได้รู้มาทางตา  หู 

จมูก  ลิ้น กาย ได้รู้จักสภาพนอกเข้าไป  ที่จริงก็มันได้กลิ่นนี่ มันก็เป็นการรู้เหมือน

กัน  ได้ลิ้มรสก็เป็นการรู้ ได้รู้ แต่ทีนี้ เราอ่านความหมายของกลิ่น ความหมายของ

รสทางลิ้น  หรือความหมายของทางสัมผัสกาย นี่ได้มากเท่าใด  เราก็ได้เข้าไปหา

จิต   ตากับหูนี่  มันได้มาก  ตากับหูนี่ ได้มาก  ก็เข้าไปหาจิต  เข้าไปหาจิต  ก็

เป็นจินตา  เข้าไปคิด  เข้าไปทำงานทางจิต ทำงานทางจิต ก็จะมีสภาพของเรื่อง

ของจิตนี่  เป็นกลไกมหาศาล  

          เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่า เราเรียนรู้ระบบ เรียนรู้ความวิจิตร ความ

สามารถ  แม้แต่ในจิตเราไม่เคยมี  ไม่เคยมีการวิจัย   ไม่ตั้งใจวิจัยอย่างโยนิโส  

อย่างแยบคายให้ถ่องแท้ ให้ละเอียด  หรือไม่มีธรรมวิจัย หรือไม่มีตีรณปริญญา  ไม่

มีตัววิพากษ์วิจารณ์วิจัย ไม่มีตัวค้น ไม่มีตัวตรวจสอบ ไม่มีตัวเลือกเฟ้น  สุดท้ายมีตัว

ตัดสินอะไรพวกนี้  มันก็ไม่เกิดสภาพการทำให้เกิดความละเอียดลออ  ความถูกต้อง 

มันก็เขรอะๆ  เยอะๆ  เลอะๆ เปรอะๆ ปนๆ อะไรกันไป โดยที่เรียกว่า  มันไม่มี

การเลือกเฟ้น  มันไม่มีการจัดแจงหาความสะอาดบริสุทธิ์หรือว่าความถูกต้อง   ถูก

ตรง   ความเป็นเนื้อๆ แท้ๆ อะไรต่ออะไรขึ้นรมา มันไม่ได้กระทำ  เพราะฉะนั้น 

ถ้าเราไม่เรียนรู้แล้วก็ไม่ได้ฝึกปรือเลย  มันก็จะเลอะๆ เขรอะๆ เปรอะๆ อะไรไป

อย่างนั้นตลอดนิรันดร์  แต่โดยปกติ โดยธรรมชาติ  มันก็จะมีบ้าง แต่แม้แค่มีบ้างน่ะ  

มันก็จะไม่สูงส่ง  มันจะไม่เจริญ

         ถ้าเรารู้ด้วยความรู้  เข้าใจความหมาย เข้าใจความจริงที่อธิบายไปนี่ 

เราก็ไปลองดู ไปฝึกฝน  หลักของสัมโพชฌงค์ 3 มีสติ ก็คือ พยายามที่จะระลึกให้

ตัวเองมีสติให้ดี   รู้  รู้นอกรู้ใน รู้องค์ประชุมทั้งนอก ทั้งในกายะ  รู้เวทนา   รู้

ความรู้สึก อารมณ์ ความรู้สึกหรืออารมณ์นี่ เวทนา  แล้วก็รู้จักจิต จิตที่มันมีทั้งกิเลสประสมอยู่  เจโตปริยญาณ 16  ธรรมดามันก็จะเป็นจิตที่มีกิเลสเป็นเจ้าเรือน เป็น

ราคมูล  หรือ โทสมูล โมหมูล  เป็นรากเค้าเลย มีกิเลส 3 ตัวนี้เป็นราก   ราก

ของความดำเนินไปของมนุษยชาติของชีวิต ราคะนี่ ก็รากนั่นแหละ  เป็นมูลเป็นเค้า  

หรือว่าเติมคำว่ามูลด้วยก็ตามใจ  ราคมูล หรือ โลภมูล  มูล ก็แปลว่าราก แปลว่า

เค้า  มันมีอันนั้นจริงๆ เป็นต้นทางเลย   ผู้ที่ไม่ได้เรียนรู้จะเกิดไปตามรากนี่แหละ  

เกิดไปตามมูลเค้านี่แหละ   ต้นตอนี่แหละ  ต้นเชื้อนี่แหละ มันจะพาให้เป็น เพราะ

ฉะนั้น ผู้ใดไม่ได้เรียนรู้ว่า ไอ้กิริยาหรืออาการของกิเลสนี่ มันดำเนินบทบาทของมัน

เป็นอัตโนมัติ  ดำเนินอยู่โดยที่เรียกว่าไม่รู้ไม่ชี้ สังสมกิเลสหนาขึ้นทุกวันๆ  อย่างที่

อาตมาได้ย้ำให้ฟังว่า ถ้าเราไม่ได้เรียนรู้ให้ละเอียดลออแล้ว  เราจะเป็นผู้ที่มี   

อาหารให้แก่อวิชชา คือนิวรณ์ตลอดไป  เราก็จะปรุงกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม 

เป็นทุจริตตลอดไป   มันเป็นสุขเป็นทุกข์ ก็ทุจริตทั้งนั้นแน่ะ   ถ้าเข้าใจลึกซึ้งขึ้นมา

อย่างที่ย้ำแล้วว่า  นั่นน่ะ มันเป็นทุจริต 3  เพราะมันไม่ได้สำรวมอินทรีย์ 6  เลย  

มันไม่รู้เรื่องเลย  ตา หู จมูก ลิ้น กาย มันไปสำรวมยังไง สังวรยังไง  เข้าไปมี

สัมผัสเป็นปัจจัยแล้วไปวิจัยตรงไหน  ไปแยกไปวิเคราะห์  ไปเลือกเฟ้น ไปคัดออก 

ไปทำลายตัวไหน เหลือแต่ตัวไหนไว้ มันไม่เคยรู้เรื่องเลย อินทรียสังวรไม่มี

         ขณะที่เรากำลังอธิบายอยู่ที่อินทรียสังวรนะ  อปัณณกธรรม 3 นี่  ขณะนี้

อาตมากำลังอธิบายอยู่ที่อินทรียสังวร   ยังวนอยู่ตรงนี้น่ะ แล้วก็ยังจะเจาะลึกไปอีก 

วันนี้  ก็จะเจาะลึกไปอีก หรือโภชเนมัตตัญญุตา   การปฏิบัติไปถึงขั้นว่าให้ประมาณ 

หรือว่าตรวจสอบการกิน  หรือว่ากินอย่างเป็น กินเป็น  ไม่ใช่กินตามกิเลสมันพากิน 

ก็มูมมามตะกรุมตะกราม  เอร็ดอร่อย เลอะเทอะ  กินอวด กินอ้าง  กินเบ่งกินข่ม 

กินอะไรก็แล้วแต่  ที่ปัจเวกขณ์กันอยู่เสมอ ที่พระพุทธเจ้าท่านเตือนเวลากิน  ก่อน

จะกิน ก็ต้องเตือนอยู่ตลอดเวลา  แม้แต่จะเป็นอาหารแค่กวฬิงกราหาร  แต่อธิบาย

ไปอยู่นี้   ก็ได้อธิบายถึงผัสสาหาร    อธิบายถึงมโนสัญเจตนาหาร    อธิบายถึง

วิญญาณาหารอยู่ด้วย   ที่กำลังอธิบายนี่ ถึงปรมัตถ์  พอถึงปรมัตถ์ก็จะต้องรู้จักผัสสะ 

เมื่อผัสสะแล้วก็เกิดเข้าไปถึงตาผัสสะ  หูผัสสะ จมูกผัสสะ ลิ้นผัสสะ   ผัสสะแล้วก็

เข้าไปถึงใจ  เมื่อเข้าไปถึงใจ   เราก็ต้องอ่านมโนสัญเจตนา    อ่านจนกระทั่ง

สามารถรู้เวทนา  สัญญา  สังขาร ก็คือรู้ไปจนกระทั่งถึงวิญญาณ   เป็นอาหารของ

วิญญาณ วิญญาณาหาร

         ถ้าเราสามารถแยกวิเคราะห์ออกไปถึงเวทนา   สัญญา สังขาร  รู้ว่า

สภาวะเวทนาคืออารมณ์เป็นยังไง  สัญญาก็คือ ตัวเจตสิก หรือจิตนั่นแหละ  อาการ

ของจิต  ความสามารถของจิต  กลไกอันหนึ่งของจิต มันมีพฤติกรรมอย่างนั้น  มันมี

ความสามารถอย่างนั้น สัญญามันก็กำหนด มันเป็นตัวกำหนดรู้ กำหนดอย่างนี้เรียกว่าอย่างนี้   อย่างนี้คืออันนี้ อย่างนี้คืออันนี้ อาการอย่างนี้ คืออันนี้ สภาพอย่างนี้เรียก

ว่าอันนี้ กำหนดรู้ว่าอย่างนี้สุข อย่างนี้ทุกข์ กำหนดว่าอย่างนี้ปรุง อย่างนี้ควรเอาไม่

ควรเอา  กำหนดว่าอย่างนี้เป็นกิเลส อย่างนี้ไม่เป็นกิเลส อย่างนี้เป็นโทสะ อย่าง

นี้เป็นโลภะ   อย่างนี้เป็นโมหะ  ตัวสัญญานี่ มันจะเป็นตัวกำหนดรู้จริงๆ สัญญาก็

คือตัวปัญญานั่นแหละ   มันเป็นตัวทั้งธรรมวิจัย มันเป็นตัวทั้งเข้าไปกำหนดรู้ และจำ

ด้วย  และจนกระทั่งเปรียบเทียบด้วย ถ้าทำงานครบครัน ก็เป็นสังขาร สังขารก็คือ

ตัวทั้งเปรียบเทียบ   แล้วก็ตัวทั้งที่เอาตัวนั้นมาใส่ตัวนี้ เอาตัวนี้มาใส่ตัวโน้น  บวก 

ลบ   คูณ   หาร  ไปหมด    สังขารก็ทำอย่างที่เรียกว่า   เดินเครื่องครบเลย 

จะสังเคราะห์ยังไง  จะอะไรยังไง ก็ครบครัน เพราะฉะนั้น ในสัญญานี่ มีทั้งไอ้ตัว

ที่จะเปรียบเทียบ  ตัวที่จำได้ กับตัวที่จะกำหนดรู้ใหม่ กำหนดรู้ทันทีปัจจุบันนั้น กับตัว

จำเอามากำหนดเปรียบเทียบกัน  ตัวสัญญาจึงเป็นตัวสำคัญมาก  ถ้าสัญญาไม่ทำงาน

เสียแล้ว ทุกอย่างก็บื้อตื้อหมดเลย  ไม่กำหนดรู้ แต่ว่าไอ้นี่ เป็นสุขไอ้นี่เป็นทุกข์ มัน

ก็จบ   เพราะฉะนั้น   เขาไม่ต้องไปดับเวทนาหรอก   ดับสัญญาตัวเดียวถึงเรียก

ว่าอสัญญี   อสัญญีสัตว์  สัตว์ที่ดับสัญญาแล้วมืดไปเลย ดับเครื่องไปเลย  จิตหยุดทำ

งานไปเลย  ศาสนาพุทธไม่เอาลักษณะนี้  อสัญญีสัตว์   สัตว์ที่เล่นวิธีดับ  ดับความ

กำหนดรู้  ดับความจำ ดับอะไรทั้งหมดเลย ทิ้งหมดเลยทุกอย่าง สัญญาเป็นตัวกลาง  

ถ้าดับตัวนี้แล้ว  มันก็เรียกว่าพรหมลูกฟัก  อสัญญีสัตว์  นั่นน่ะศาสนาหลายศาสนาฝึก  

ฝึกตัวนี้  ฝึกให้หยุดนิ่งไม่คิด   นั่นเขาถือว่านิโรธ ดับ  เขาถือว่าดับ   แล้วก็แปล

อย่างนั้นซะด้วยนะ   ในพระไตรปิฎกก็แปลอย่างนั้น   ในฎีกาจารย์  อนุฎีกาจารย์  

หนังสือพวกฎีกาทั้งหลายแหล่ ก็แปลว่าอย่างนั้นหมด  อะไร? (พ่อท่านถาม) 

 

คนฟัง     : ขั้นสุดท้ายใช่มั้ยครับ เนวสัญญานาสัญญา

 

พ่อท่าน    : อะไร?

 

คนฟัง     : พรหม

พ่อท่าน    : ไม่ใช่ ไม่ใช่ เขาไปแปลว่าสัญญาเวทยิตนิโรธ  นั่น ตัวที่เก้า  ไม่

ใช่เนวสัญญา    เนวสัญญา  สัญญานั่นเป็นตัวที่  8   ไปแปลตัวที่  9   โน่นแน่ะ  

สัญญาเวทยิตนิโรธว่าดับสัญญา  ดับเวทนา  เขาว่าอย่างนั้น  แต่ความจริง ตัวจริง 

ลักษณะจริง  มันไม่ไปถึงตรงนั้นหรอก  มันแค่อากิญจัญญายตนะ ตัวที่ 7 น่ะ  เขาก็

ว่าไม่มีอะไรนิดหนึ่ง   น้อยหนึ่ง ก็ไม่ให้มี แล้วเขาก็ไปหลงใหลว่าไม่ให้มีความรับรู้  

ไม่ให้มีความรู้สึก ไม่ให้มีจิต เขาก็ดับไปตั้งแต่ตัวนี้แล้วที่จริงน่ะ  อากิญจัญญายตนะนี่ แปลความหมารยแล้วก็เลยเข้าใจไปว่านิดหนึ่ง น้อยหนึ่งไม่ให้มี  เขาก็จะไม่มีจิตนั่น

แหละ เพราะว่าไปหลงปล้ำอยู่ที่ว่าจะดับจิต  จะให้นิโรธ ก็คือดับสนิท  แล้วก็ไปดับ

จิตกัน   ส่วนไปสัญญาเวทยิตนิโรธเขาก็ไปแปลว่าดับสัญญา  ดับเวทนาทั้งหมด   ก็

เหมือนกัน ที่จริง พฤตินัยเหมือนกัน  แต่บัญญัติภาษามันต่างกันนิดหน่อย แต่พฤตินัยทั้ง

คู่นี้เหมือนกันเลย

         เอาล่ะ นี่ก็มาแทรกๆ  ก็อธิบายเสริมไปบ้างนะ  เพราะฉะนั้น ถ้าเผื่อ

ว่า  เราเองเราไม่เข้าใจในสภาวะโดยภาษาที่กำลังอธิบายอยู่นี่ เป็นปริยัติ  เรา

ไปปฏิบัติ หรือว่าเราฟังแล้ว ขณะนี้เราก็เข้าใจ  ยิ่งผู้ใดปฏิบัติตามมาก็เข้าใจ  พอ

บอกว่าเวทนาเป็นอย่างไร    ก็นึกออกว่า   อ้อ!   อาการเวทนาเป็นอย่างนี้น่ะ  

ลักษณะเป็นอย่างนี้ รสชาติเป็นอย่างนี้ อารมณ์เป็นอย่างนี้  สัญญาเป็นยังไง บทบาท

ของสัญญา   ทุกคนมีทุกคนต่ะ พระพุทธเจ้าแบ่งเรียกพฤติกรรมของพวกนี้ แล้วมันทำ

งานมาแต่ไหนแต่ไหนแล้ว   มันกำหนดรู้แล้วมันก็จำไว้   แล้วมันก็เอามาเปรียบมา

เทียบกันอยู่อย่างนี้   เสร็จแล้วก็สังขาร อีตัวนี้ปรุงเละเลย  Soulution เป็นตัว 

Sol เป็นตัวบวก ลบ คูณ หาร ปน ล้งๆเล้งๆ ทำงานตามหน้าที่ของมัน ให้มันในจิต

นี่  มันมีอะไรมันก็ปน  ถ้าเผื่อว่าเราไม่เรียนรู้มัน ก็ปนโละเละไปตามอัตโนมัติ ที่มี

กิเลสเป็นตัวบทบาทใหญ่ควบคุม   กิเลสมันก็สั่งการให้ เฮ๊ย! ทำอย่างนี้   จัดการ

อย่างนี้  ฆ่าอันนี้ แกงอันนี้ ล้มอันนี้ ทำลายอันนี้ สร้างสรรอันนี้ กิเลสมันก็สร้างสรร

เผ่าพันธุ์ของมันใหญ่โตขึ้นมาเรื่อยๆ ตามที่มันชอบ

         เพราะฉะนั้น  ถ้าเราไม่เรยีนรู้อย่างนี้แล้ว  เราไม่จัดการปราบกิเลส 

หรือ  ตัวบทบาทสำคัญที่มันเป็นตัวร้ายนี่ บทบาทตัวร้ายตัวนี้ ถ้าเราวิเคราะห์ไม่ออก 

แล้วเราก็ทำลายมันไม่เป็นจริง   มันไม่มีทางหมดเกลี้ยง  ไม่มีทางที่จะสะอาดเป็น

พระอรหันต์  แล้วจะไม่มีทางรู้จิตบริสุทธิ์เลย  เราได้ยินมาว่าจิตนั้นไม่มีตัวตน  แต่

เสร็จแล้วเราก็ไปเข้าาใจเอาหลวมๆว่า  โอ๊ย! จิตไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่เรา  ไม่ใช่

เขา  ทั้งๆที่มันมีกิเลสเป็นเจ้าเรือน  มันไม่ใช่จิตนี่แหละ   แล้วเราก็หลงว่าไม่ใ 

แล้วเราก็โมเมด้วยตรรกะ   เสร็จแล้วก็ช่างมัน อะไรมันก็ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา 

แล้วก็เป็นไปตามกิเลสสั่ง   กินๆอยู่ๆ  ถ้าผู้ใดฉลาด  ฉลาดก็ทำมาหากินได้   ยิ่ง

ฉลาดมาก  ก็ยิ่งโกงได้มาก  เอาเปรียบเอารัดได้มาก ก็ยิ่งร่ำยิ่งรวย ก็ยิ่งได้เงิน

ได้ทอง  ก็ยิ่งได้อะไรต่ออะไรมาบำเรอตนไป   สุขสบายไป   เสร็จแล้วก็เชื่อว่า 

เอ๊อ!  อะไรก็ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตนหรอก  พวกนี้หนักเข้าก็จะเป็นอุจเฉททิฐิ   ไม่มี

ตายแล้วก็สูญ ไม่มีอะไรหรอก  ของทุกอย่าง  ไม่มีอะไรเป็นเราเป็นของเรา เข้า

ใจเอาโดยเหตุผลนะว่าทุกอย่าง  ไม่มีอะไรเป็นเราเป็นของเรา

         แต่จริงๆนั้นน่ะ กิเลสน่ะ มันเป็นตัวตนของเรา แล้วเราก็ไม่ได้ฆ่ากิเลส แล้วก็มันจะไม่มีทางที่จะไม่มีเราไม่มีของเรา เพราะไม่ได้ฆ่าตัวเราตัวของเรา คือ

กิเลสนั่นแหละ  แล้วเขาก็หลงผิดนึกว่าไม่มีเราเป็นของเรา  เขาก็ตายไปด้วยการ

สั่งสมกิเลสหนาๆๆ  ใหญ่เลย ยิ่งมีความฉลาดมีเฉโก  ไม่ได้มีปัญญารู้ความจริงตาม

ความเป็นจริงเลย   มีแต่รู้เบลอๆ    รู้พล่าๆ   รู้หลวมๆ   รู้เลอะๆ    รู้โง่ๆ  

เฉโกนี่ฉลาดซ้อนนะ   ไม่รู้จะใช้ภาษาอะไรมาเรียก  คือมัน แหม  เก่ง   ความ

เฉลียวฉลาดนี่เก่ง  แต่เสร็จแล้ว เฉลียวฉลาดที่ละกิเลสไม่เป็น  แต่เอามาบำเรอ

กิเลสตัวเองเก่ง   แล้วฉลาดที่จะเอาเปรียบ เอารัดคนอื่นเก่งด้วย   ก็เลยได้มา

ช่วยตน  ตนก็ยิ่งย่ามใจ  กิเลสก็ยิ่งหนา  หลงสุขโลกีย์ เบียดเบียนตรข่มขี่ใครไม่รู้  

บำเรอให้กิเลสตัวเองยิ่งหยาบ ยิ่งกร้านยิ่งหนา ยิ่งเลอะยิ่งเทอะ  ตัวนี้เบื่ออันนี้ ก็

เอาอันโน้น ปรุงแต่งสร้างเพิ่มอะไรต่ออะไร  ให้กิเลสหนาเท่าไหร่ก็ไม่รู้ความเป็น

ปุถุชน  ไม่รู้ความเป็นกิเลสที่ตัวเองหนายิ่งขึ้น

         เมื่อเราได้มาเรียนรู้นี่ พระพุทธเจ้าท่านสอนให้เรารู้เป็นขั้นๆๆๆ อย่าง

น้อยที่สุด  ท่านบอกว่ามีศีล ตั้งหลักเกณฑ์ให้เราลดละ ให้ลดละนี่สำคัญ  ทำให้ยิ่งมัน

ก็ไม่เท่าไหร่หรอก ทำให้ยิ่งก็คือเราจะต้องทำให้ลดสิ่งที่เลวร้ายลงไปก่อน พอลดสิ่ง

ที่เลวร้ายก็มันก็ดีขึ้นเรื่อยๆนั่นแหละ   แล้วก็ทรงความดีนั้นให้ดี ให้ดีละเอียดลออสูง

ขึ้น  ก็เรียกวา อภิสมาจาร  แต่ตอนแรกนี่ต้องเอาตัวร้ายนี่ออกก่อน  เพราะฉะนั้น 

บาปสมาจาร  หรือว่าทำร้ายตัวกิเลสนี่จึงเป็นหลักแรก  เมื่อเราตั้งศีลขึ้นมา เราก็

ควบคุมมาตั้งแต่องค์ประกอบหยาบข้างนอก   เรียกว่ากายะ กาโย  องค์ประชุมตั้ง

แต่บทบาททางกาย  บทบาททางวาจา  ซึ่งมันเป็นตัวหยาบข้างนอก  ควบคุมอย่าให้

ละเมิด    เรามีความหมายบอกว่าเราจะไม่ทำอย่างนี้  ไม่ฆ่าสัตว์เป็นต้น    ไม่

ลักทรัพย์ ที่เป็นขโมย เป็นของคนอื่น เราไม่เอา ไม่เรื่องผัวเมีเขา  เรียกว่าเรา

มีคู่ก็คู่เดียว   ถ้าใครยิ่งไม่แต่งงานเลย ก็พยายามไม่ต้องไปมีคู่มีเค่ออะไรก็ยิ่งดี ก็

ว่าไป  อบายมุขต่างๆ  เราไม่เสพไม่ติด หรือว่าวาจาเราก็กำหนด  อย่าไปเที่ยว

ได้ทำชั่ว    โกหกหยาบคาย   ส่อเสียดทำให้ทะเลาะวิวาท   เพ้อเจ้อพูดเลอะๆ

เทอะๆ   ไม่ได้เรื่องไม่ได้ประโยชน์อะไร อะไรต่างๆนานา   รู้ความหมายพวกนี้

แล้วรู้ความจริงพวกนี้ว่ามันเป็นอย่างไร

         เวลาเราสังวรไม่ให้กายมันพูด  ไม่ให้กายมันกระทำ  ใจมันก็ต้องเป็น

ประธานรู้ตลอดเวลาเลย  มันพาทำ มันพากำหนด มันพา มันห้าม มันยับยั้ง  มันฝืน 

มันข่ม  ใจมันพาทำ  มีอำนาจเท่าไหร่ มันก็พาทำเท่านั้น  แล้วมันก็พาวิจัยด้วย ใจ

นี่พาวิจัย  พาเลือกเฟ้นตลอดเวลา  เมื่อเรามาเรียนรู้แล้วมันจะฝึกจริงๆ ในขณะที่

เราสำรวมกาย  เราสำรวมวจีนี่ ใจมันก็เป็นตัวกำหนด   เป็นตัวใช้สัญญากำหนดรู้ 

แล้วก็เลือก  มีบทบาทในสัญญานี่กำหนดวิจัยไปด้วย วิจัย มีธรรมวิจัย  ถ้าวิจัยได้ถึงขั้นสัมโพชฌงค์   วิจัยกิเลสออก  วิจัยวิธีทำ  เราบอกว่าสมถวิธี หรือ ว่าวิปัสสนา

วิธีคืออย่างไร   เราก็วิจัยออก  เรียนรู้แล้วก็ไปฝึก   ฝึกดูแล้วก็วิจัยด้วยจิตใจตัว

เองได้   สังวรปธานเป็น ปหานปธานก็เป็น  เกิดผลภาวนาปธานก็รู้ อ้อ! มีผลนะ

ลดละจางคลาย  กิเลสมันลดละได้  เกิดเห็นจริงๆเลย  ซึ่งอาตมาอธิบายถึงความ

เห็นถึงตามเห็นวิปัสสาปัสสี   ไม่ใช่ชาเฉยๆ   ชา  ที่ช.ช้าง   สระอา  นี่   รู้ 

ส่วนปัสสา  ปัสสี นี่เห็นเลย เห็นโต้งๆ  ต้องมีผัสสะเห็น มีญาณเห็น ให้มันเป็นนาม

ธรรมแล้ว ไม่ใช่เห็นลูกกะตาเนื้อ ญาณตาใน  ธรรมจักษุ

         เห็นจริงๆ  เลยที่อาตมาอธิบายมิจฉาทิฐิสูตร เห็นเมื่อผัสสะเป็นปัจจัย

แล้วว่าตามันเห็นทั้งกาย  วาจา  แล้วตามเข้าไปเห็นในข้างในด้วย กายะ กายใน  

กายในกาย   องค์ประชุมข้างใน  องค์ประชุมข้างใน   ก็ไปวิเคราะห์องค์ประชุม

ข้างในออก   จนรู้จักเวทนาอารมณ์   วิเคราะห์ในเวทนาอารมณ์ออกอีกว่า  โอ๋!  

มันเป็นสุขเป็นทุกข์   วิเคราะห์สุข วิเคราะห์ทุกข์ออกอีกว่า พุทโธ่! มันมีตัณหาเป็น

เจ้าเรือน   มันมีอุปาทานเป็นเจ้าเรือน แล้วมันก็ต้องการ  มันก็เป็นสมใจที่ยึด พอ

ผสมตัวผสมปุ๊บปั๊บๆๆ สังขารเสร็จ มันก็เป็นรสเป็นชาติ  ก็วิจัยไปจนกระทั่ง หยั่งไป

จนกระทั่งถึงต้นรากของมันว่า   ไอ้ตัวตัณหา  ไอ้อยากไอ้ตัวที่ไปยึดเป็นอุปาทานว่า

จริงโว้ย  จริงโว้ย  อุปาทานนี่ อั๊วต้องเอาอย่างนี้โว้ย  ไอ้นี่จริงเป็นสัจจะ   ยึด

เป็นสัจจะอยู่นั่น  เป็นสัจจาภินิเวส  สัจจะก็คือสัจจะ  สัจจะ+อภินิเวส อภินิเวส 

ก็หมายความว่ามันเป็นที่อยู่ มันเป็นรากตั้งอยู่อย่างนั้นแหละ  อภินิเวส  นี่เป็นบ้าน

เป็นเรือน   เป็นแหล่ง เป็นที่ยึดที่ถืออยู่เลย   มันยึดอย่างนั้นมาตั้งแต่ปางไหนๆๆๆ 

ยิ่งโง่ๆ  เง่าๆ มา มันไม่รู้หรอก  ค้นไปถึงอุปาทาน  ตัวอภินิเวสายะ  หรือตัวอภิ

นิเวศน์   ตัวสัจจาภินิเวศน์ ยึดว่าเป็นตัวสัจจะเหลือเกิน  ว่ามันอร่อยจริงๆนะ มัน

เป็นของจริงนะสัจจาภินิเวศน์  นี่ มาบอกว่ามันไม่อร่อยนี่ มันไม่เชื่อนะ  บอกว่ามัน

ไม่น่าได้   นี่ไม่เชื่อ  มันต้องน่าได้  ไม่น่าได้ยังไง ของอร่อย ของชีวิตชีวา  มัน

เชื่ออย่างนั้น

         เราก็มาลองแก้ดูซิ   บอกว่าไม่เอาน่า ลดลงไปดูซิ  ลดลงไปแล้วจะมี

ดีมั้ย   ก็เรากมาวิเคราะห์วิจัยบอกว่า อันนี้ล่ะ เป็นตัวเหตุ  มันอยากอย่างนี้ก็ผสม

อยาก  ตามที่เราไปสมมุติไว้ลึกๆ เรียกว่าอุปาทาน  เราก็ยึดไว้ลึกๆ   นี่อุปาทาน  

อยากอย่างนี้น่ะ  แล้วก็ได้รสอย่างนี้ แหม ถ้าเผ็ดขนาดนี้นะ  เผ็ดมากไปกว่านี้ไมดี  

ต้องชิมแลวชิมอีกนะ   อย่างนี้ล่ะ  โอ้โหย! นั่ว ขนาดนี้นั่ว  ขนาดนี้มันอ่อนไป ยัง

ไม่นั่ว  อีสานว่านั่ว  นั่วนี่หมายความว่าได้ที่ รสได้ที่ นัวคำเดียวนี่ ไม่ใช่นัวเนียนะ  

ถ้าคำว่า  โอ้โหย! นั่วแท้ๆ หมายความว่า  ปรุงได้ที่ นั่วนี่ ถ้าลงปรุงได้ที่แล้ว คน

ไปกินแล้วแซ่บเลย   ของที่ปรุงมาได้ที่ เรียกว่าปรุงมา โอ๊ย! นั่วแล้วนี่   นั่วแล้ว ได้ขนาดแล้ว  จะรสเปรี้ยวก็ได้ขนาด  จะรสหวานก็ได้ขนาด  จะรสเค็มก็ได้ขนาด  

จะรสเผ็ด ก็ได้ขนาดแล้ว ปรุงได้รสลงตัวเต็มที่แล้ว เรียกว่านั่ว  โอ๊! นั่ว  อีสาน

มีศัพท์เฉพาะนะ  ถ้าลงแม่ครัวปรุงอาหารชนิดได้นั่วดีแล้วล่ะก็  เสิร์ฟออกไปแล้วคน

กินรับรองแซ่บทั้งนั้น (หัวเราะ)  ถ้าลงถึงขั้นนั่วแล้วล่ะก็

         เพราะฉะนั้น เราก็กำหนดอุปาทานเอาไว้อย่างนี้ล่ะ ต่างกันนะ คนชอบ

รสออกหวานมากหน่อย  ก็จะต้องมีรสหวานมากหน่อย ถึงจะนั่ว ถ้าคนชอบหวานน้อย

หน่อย   ต้องเผ็ดนำหน่อย  ก็ต้องเผ็ดนำหน่อยถึงจะนั่ว  สมที่ข้ายึดอุปาทานต่างกัน  

อุปาทานไม่เหมือนกัน   ด้วยอุปาทานเป็นหลักจึงทำให้เกิดตัณหา  ต้องการมาให้ได้

ตามที่ข้าอุปาานไว้      ตัวอยากตัวตัณหาก็เป็นพักๆ    แต่ตัวอุปาทานนี่เป็นหลักๆ  

อุปาทานนี่  มันจะเป็นหลัก   ฝังอยู่นั่น อภินิเวส  สัจจาภินิเวส   ยึดเป็นสัจจะ  

สัจจะสมมุตินะอันนี้   แต่เราเรียนรู้นี่ปรมัตถสัจจะ  ก็คือเรียนรู้ความจริงของพวกนี้  

ไอ้พวกนี้ล่ะ  พวกกเฬวราก  ตัวเลวร้าย  ตัวที่มันเป็นขบวนการร้ายอยู่นี่ เราต้อง

มาชำแหละมันออกมาให้หมดเลย   แยกตับไตไส้พุงมันออกมาให้หมดเลยไอ้ตัวนี้นี่ นี่

ไอ้เจ้าตัวนี่หน้ากิเลส นี่หน้ากิเลส ไปเชื่อเขามา แล้วก็มาฝังไว้นี่ แต่ก่อนนี้ เป็นคน

ฝรั่งแท้ๆ  ไม่เคยเชื่อเลยว่า  ไอ้ปลาแดกนี่จะอร่อย  ดันผ่ามาเมืองไทย   มากิน

ปลาแดกในเมืองไทย    ติดปลาแดกไปแล้วฝรั่งน่ะ    ไม่ค่อยกินพริก    ฝรั่งมา

เป็นฑูตในเมืองไทย    นี่เรื่องจริงเลยนะ   เมียฑูตเลยจะต้อง   พอจะต้องเลิก

จากฑุตที่นี่  กลับไปเมืองฝรั่งอย่างเก่า  ต้องปลูกพริกในตู้กระจกไปเลย เพราะว่า 

ผัวติดพริกซะแล้ว   ที่โน่น มันไม่มีพริกขึ้หนูอย่างนี้  ต้องปลูกพริกในตู้กระจก  ต้อง

เรียนรู้ปลูกพริกในตู้กระจก   ไปโน่น ต้องไปปลูกพริกในตู้กระจก  ได้พริกนี่ ทำกับ

ข้าวให้ผัวกิน  นี๋ก็เรื่องไม่รู้จริงไม่จริงนะ  เขาเล่ามาว่าเป็นอย่างนั้นเลย  นี่ฑูตนี่ 

ต้องปลูกพริกไปโน่นเลยนะ  

         นี่  มันก็ถูกครอบงำมา  กิเลสก็คือ กิระดั่งได้ยินมา   แล้วก็มาทดสอบ 

โอ! หลงตามเขา ยึดตามเขา ก็ฝังไว้เป็นอุปาทานเรื่อยๆๆเสร็จแล้ว เมื่ออุปาทาน

ได้ที่  ก็ทีนี้ก็คอยมีตัณหาเป็นเวลา  ตัณหานี่ มันไม่ได้เกิดตลอดเวลานะ   มันก็เกิด

อยากขึ้นมาเมื่อนั่นน่ะ   เอามาหน่อยซิ  แกงนั้น ผัดนี้อะไร  หรือว่าสวยโน้นสวยนี่ 

เสพย์สัมผัสตา หู จมูก ลิ้น กาย อย่างนั้น อย่างนี้ ก็มาเป็นคราวๆไป ได้สมใจก็พัก

คราวหนึ่ง   ไอ้ที่ได้เสพย์สมแล้วพักคราวหนึ่งน่ะ  นึกว่าดีขึ้นนะ   หนาขึ้นต่างหาก 

กิเลสหนาขึ้นต่างหาก  เสพย์สุขแล้วก็กิเลสก็หนาขึ้น  สมใจอยากสั่งสมเป็นอุปาทาน  

หนาขึ้นเรื่อย  หนาขึ้นเรื่อย หนาขึ้นเรื่อย ไม่ได้ล้างอุปาทาน มีแต่สะสมอุปาทาน

 

คนฟัง     : อยากโดยไม่มีอุปาทาน ไม่ได้เลยใช่มั้ยครับ จะต้องตามด้วยอุปาทานทุกครั้ง

พ่อท่าน    : ด้วยกันน่ะ มันอยู่ในปฏิจจสมุปปบาท ตัณหา กับอุปาทาน มันตามกันอยู่ 

ท่องได้มั้ยล่ะ? ปฏิจจสมุปบาท 11 น่ะ ท่องได้มั้ย?  ตัณหา อุปาทาน ผัสสะ มีสัมผัส 

มีตัณหา มีอุปาทาน ไม่ค่อยได้สัมผัสก็ดูลืมๆใช่มั้ย ไม่ค่อยได้สัมผัสก็ดูลืมๆ พอสัมผัสตา 

เฮ๊ย! รูป  ได้สัมผัสเสียงก็ เฮ๊ย! เสียง กิเลสมันก็ฟูแล้ว ตอนแรกมันก็พักๆอยู่ พอ

ได้สัมผัสเข้ามา   เฮ๊ย!  มันสัมผัสเข้าทางตาก็  ความจำ  หรือ  ความระลึกได้ 

อุปาทานก็ขึ้นมาเล่น  เฮ๊ย!  อยากๆๆ  ถ้าเผื่อว่ายังไม่อยาก  มันยังเต็มอยู่  มัน

ยังเนือยๆอยู่     มันก็ไม่ทำงาน    พอมันไม่เนือย     พอมันสัมผัสเข้าก็มาแตะ  

มาแตะเข้าสัมผัสเข้าก็จะเกิดบทบาทของตัณหาก็จะเกิดขึ้น   เพราะฉะนั้น   ผัสสะ 

ตัณหา  อุปาทานนี่  ปฏิจจสมุปปบาทมันเรียงกันอยู่ พอมีผัสสะ  ไอ้เจ้าตัณหาก็ยังทำ

งาน เพราะมีเจ้าอุปาทานนี่ เป็นตัวกระตุ้นอยู่เรื่อยๆ  ฝังอยู่ในต้นทุน  พอมาผัสสะ 

ก็เหมือนกบมันคุ้ยขึ้นมา คุ้ยขึ้นมานี่ มันคุ้ยขึ้นมาตัณหามันยังไม่เต็มที่ มันก็จะไม่ค่อยทำ

งานเท่าไหร่  เดี๋ยวมันก็ลงไปหาอุปาทานอย่างเก่า  แต่พอคุ้ยขึ้นมาแล้ว   ไอ้เจ้า

อารมณ์หรือไอ้เจ้าสิ่งไปพร้อม  ยิ่งปลุกเร้าหรือว่าไอ้ตัวบทบาทของตัณหาเองมันแรง 

คนที่ตัณหาจัดจ้าน  นิดหน่อยมันก็เอาเรื่อย เอาเรื่อย  ตัณหาก็ไม่พักไม่ผ่อน  ตัณหา

ก็ทำงานจัดจ้าน  แต่ถ้าใครตัณหาอ่อน ก็ไม่ค่อยทำเท่าไหร่  พัก ไม่ใช่คุ้ยก็พัก  คุ้ย

ขึ้นมาหน่อยหนึ่งก็พัก  องค์ประกอบไม่แรงนักก็พัก บางทีคุ้ยขึ้นมาตัวเองก็ไม่เท่าไหร่  

แต่องค์ประกอบปลุกเร้ามาก  เอ้า! ทนไม่ได้ก็

 

คนฟัง     :  ตัวหน่ายใช่มั้ยครับ  ที่พูดนี่คือ...

 

พ่อท่าน    :  ไม่หน่ายน่ะ  มันพักเฉยๆ  มันก็พักเฉยๆ  มันไม่ใช่หน่ายหรอก มัน

ก็สะสมอยู่อย่างนั้นน่ะ   หน่ายมันก็ต้องทำให้เห็นจริงด้วยปัญญาด้วยสัจจะว่า  เอ๊ย! 

ไอ้ตัวนี้  ให้มันเกิดอยู่อย่างนี้ไม่ได้  ต้องฆ่ามัน ต้องเห็นว่าไม่ควรจะมีมัน  จนญาณ

ปัญญาของเรานี่ มีญาณปัญญาจริงๆ  เห็นว่า โอ๊ย!มันน่าเบื่อน่าหน่าย  ไม่ใช่น่าที่จะ

มีไว้ มันเป็นภาระ มันเป็นทุกข์ มันเป็นความเดือดร้อน มันเป็นความวุ่นวาย มันเป็น

ความยากลำบาก  มันจะเห็นว่า ป่วยการน่ะ  ไม่คุ้มหรอก  อร่อยเท่านี้ แต่เหนื่อย

เท่านี้  อร่อยเท่านี้ แต่เป็นภาระเท่านี้ อร่อยเท่านี้ แต่ไปก่อเวรขนาดนี้ มันจะเห็น

ด้วยปัญญามากมายเลยว่าไม่คุ้ม ไม่คุ้ม ไม่คุ้ม

         ยิ่งมีญาณปัญญาเห็นวิมุติ รู้ว่าดับเถอะ เลิกเถอะ หยุดเถอะ  มันยิ่งสงบ

แล้วก็ยิ่งไม่เห็นจะเป็นอะไรนี่  ไอ้รสอร่อยต่างๆน่ะ มันเป็นความลวง  เป็นอัลลิกะ  

สุขัลลิกะ  มันไม่ใช่ตัวจริง มันจะเกิดญาณปัญญาเห็นว่าไม่ใช่ตัวจริง  มันหลอก  มันเหมือนมายา  มันเหมือนพยับแดด มันยิ่งกว่าพยับแดด  มันยิ่งกว่าลมๆแล้งๆ  มันไม่

มีตัวตน   มันไม่ได้อะไรหรอก  จิตมันยังไม่มีตัวตนเลย กิเลสมันก็ไม่มีตัวตน   แต่

ความหลงนี่      หลงว่ากิเลสหรือความสมใจเอร็ดอร่อย      ไอ้โลกียรสต่างๆ  

อัสสาทะต่างๆนึกว่ามันเป็นความจริง นึกว่ามันเป็นสิ่งที่สะสม  สิ่งที่จะต้องให้มัน ถ้า

ไม่มีอันนี้แล้วชีวิตชีวาจะอยู่ไปทำไม   ไปอยู่มันทำไม ถ้าไม่มีชีวิตชีวา ไม่มีความสุข  

เพราะฉะนั้น  มีชีวิตอยู่ก็เสพย์สุขซิ เสพย์สุข เสพย์สุข ใช่มั้ยเล่า โลกียะก็อย่างนั้น

ทั้งนั้นน่ะ เพราะฉะนั้น ถ้าไม่มีญาณปัญญาเข้าใจโลกุตตระจริงๆ จะไม่กล้าทิ้งโลกียสุ

ขพวกนี้   เพราะฉะนั้น พวกเรามาลองมาหัดมาฝึก   ลองทิ้งโลกียสุขในสิ่งที่มันพา

ทุกข์มากๆ     อบาขมุขเป็นต้น    ไปลนลานเรื่องอะไรที่มัน   ที่เรารู้ตัวเราว่า 

เอ๊อ!ไอ้นี่ทิ้งมันก่อนดูซิ   แล้วคุณก็หัดลดหัดละให้มันถูกทาง ให้มันถูกเนื้อแท้  ถูกตัว

ตัณหาที่เป็นทุกข์สมุทัย   เหตุ ต้นเหตุ  พอเราเห็นทุกข์สมุทัย  จับได้   เอาล่ะนะ  

เดี๋ยวจะยืดยาดเกินไป    วิเคราะห์มากเกินไป   พอเราวิเคราะห์จับ   มีธรรม

วิจัยสัมโพชฌงค์

         เอ้า!   เข้าหาตรงนี้  ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์นี่เป็นตัวบทบาทสำคัญมาก  

เพราะฉะนั้น  เมื่อปฏิบัติธรรมนี่ ไล่ตัวธรรมะซะก่อน  นิวรณ์ 5  อุปาทานขันธ์  5 

อายตนะ  6   5-5-6   โพชฌงค์ 7  เอา 4  มาไว้หลังท้ายซะด้วย  แทนที่จะ 

4-5-5-6-7  แทนที่จะเป็นอย่างนี้นะ   ผ่าเอา 4 มาไว้ตรงนี้ แต่ที่จริงใน 4  นี่

แหละมี 8  6-7-8  ใน 4 นี่มี 8  มีมรรคองค์ 8 รู้อย่างอริยสัจ ก็ตือสัจจะของผู้

ประเสริฐ สัจจะของความจริง สัจจะของผู้ฉลาด ใช่มั้ย? ต้องรู้นิวรณ์ 5 เป็นสัจจะ  

ต้องรู้อุปาทาน เมื่อกี้พูดถึงอุปาทานไปแล้ว เพราะฉะนั้น ยังไม่ต้องไปพูดถึงอุปาทาน

ในรูป  อุปาทานในเวทนา อุปาทานในสัญญา อุปาทานในสังขาร อุปาทานในวิญญาณ  

ซึ่งเป็นอุปาทานในห้าตัวนี้  ยังไม่ต้องไปพูดถึงขนาดนั้น   อุปาทานที่มันเป็นตัวสั่งสม 

เป็นตัวกิเลสแท้ๆอยู่นี่     ก็เพราะไปกำหนดอันนี้ว่าเป็นจริง   ไปหลงว่าเป็นจริง 

แล้วก็ไปทำกำหนดอารมณ์เวทนา  ก็อารมณ์อย่างนี้ว่าเป็นจริง เป็นรสชาติ    ปรุง

อย่างนี้   สังขารอย่างนี้ ว่ามันเป็นจริง  ต้องสังขารอย่างนี้แหละ มันถึงจะมีชีวิต

ชีวาอะไรอย่างนี้   ก็ตัวเวทนา  สัญญา สังขาร สามตัวนี้แหละ  เป็นตัวทำงานตัว

บทบาทแท้ๆ  วิญญาณ คือตัวรวมของเวทนา สัญญา สังขาร  ต้องไปอ่านคนคืออะไร 

วิญญาณนี่ มันเป็นหัวหน้ากองใหญ่  มีตัวลิ่วล้อนี่เป็นสามตัวนี่ นี่ใหญ่  แล้วก็ทำงานสั่ง

การ  พอมารวมตัวเป็นแหล่งใหญ่ แหล่งใหญ่ก็แจกไปใส่ให้พวกนี้  พวกนี้ก็ทำงานส่ง

กลับเข้ามายังรัง   ทำงานอยู่อย่างนี้น่ะ  โอ๊!  วิญญาณก็เลยสะสมทั้งเวทนาขี้เท่อ  

สัญญาขี้เท่อ  สังขารขี้เท่อ  ไว้เป็นวิญญาณหรือเป็นกองคลัง  คลังอวิชชา เป็นกอง

คลังอวิชชาอยู่ตรงนี้น่ะ   ในวิญญาณเขรอะนี่ เพราะฉะนั้น เป็นขยะอยู่ในนี้  เราก็ต้องมาเรียนวิชาขยะวิทยา   มาเรียนขยะวิทยาต้องสลายขยะนี้ให้ได้ ถ้าสลายขยะ

อยู่ในวิญญาณนี้ไม่ได้นี่ นี่ไม่ได้เป็นพระอรหันต์ ไม่ได้เป็นพระอริยะไม่ได้เป็น

         เอ้า! ตั้งหลักดีๆ อาตมาจะใช้หลักหัวข้อ  ขออภัยนะ ผู้ที่ไม่ได้มีพื้นฐาน

นี่นะ   แม้แต่เรียนๆมานี่เถอะ สมณะก็ตาม   บางทีฆราวาสบางคนยังจำหัวข้อหลัก

ธรรมพวกนี้ได้มากกว่าสมณะ  มันเยอะ  แต่อาตมาก็ไม่ได้ท่องนะ ไม่ได้เป็นนักท่อง

เลย อาตมานี่ ได้เพราะว่ามันมีสภาวะแล้วก็พอสูตรนี้มานี้ มันก็จำได้  ไอ้นี่มันจะว่า 

หัวข้อสาม  หัวข้อสี่ หัวข้อหก หัวข้อแปด หัวข้อสิบอะไรก็ไม่ได้ท่อง  อาตมาเป็นนัก

ท่องที่เลวที่สุด   เป็นนักท่องที่ใช้ไม่ได้  เพราะฉะนั้น ถึงเรียนวิทยาศาสตร์ เรียน

เคมีนี่    คะแนนร้อย   นี่ได้สิบก็บุญแล้ว  เรียนกับดร.สตางค์นะ   แต่ก่อน

ดร.สตางค์นี่ดังมากนะ    เป็นอาจารย์ใหญ่   ดร.ทองสุข   พงศทัตนี่ 

ดอกเตอร์สอนอยู่จุฬาฯ  ใหญ่ๆทั้งนั้นน่ะมาสอน  เสร็จแล้ว อาตมาก็เรียน จำไม่ได้

หรอก วาเลนซีก็ท่องไม่ได้ แล้วมันจะเรียนเคมีได้ยังไงล่ะ  ไอ้ตัวสัญลักษณ์มันแต่ละ

ตัวก็ท่องไม่ค่อยได้   เดี๋ยวนี้จำไม่ได้  ได้แต่ H ตัวหนึ่ง O ตัวหนึ่ง C ตัวหนึ่ง มั้ง 

มันจะไปได้อะไรมากไป Zinc  สัญลักษณ์อะไรก็ยังไม่รู้เลย   Zn  นั่นเห็นมั้ย มัน

จำไม่ได้แล้ว   ก็ได้แต่ตัว C ตัว O ตัว H อะไรง่ายๆ  โอ๊ย! ไอ้วาเลนซี่ อะไร

ไม่ได้เรื่อง  แย่มาก ไม่จำ ไม่ท่อง  เป็นนักท่องที่เลว เพราะฉะนั้น วิชาต้องท่อง

ที่ไม่ค่อยจะ... ยิ่งผู้หญิง ไม่ค่อยใส่ใจ  แต่พวกนี้ไม่มีปัญหาอะไร  

         มีถามแทรกมาว่า  "โพชฌงค์  7  ตัวธรรมวิจัยของโพชฌงค์ 7  ต้อง

มีหิริโอตตัปปะด้วยหรือไม่?"   ธรรมวิจัยนี่  วิจัยออกไปทุกอย่างเลย  ต้องวิจัยให้

ถึงขั้นโยนิโส  โยนิโส หมายความว่าให้ถ่องแท้ ให้แยบคาย ให้ละเอียด  ให้ปณีตา 

ให้สุขุม ให้ประณีต  ให้หมดวิจัย  วิจัยเป็นความหมายอันหนึ่ง คือตัววิจัย  วิจัยออก

ไปซิ   วิจัยให้มากๆ   เท่าไหร่ก็วิจัย   นักวิจัยนี่  วิจัยแหลกเลย  เพราะฉะนั้น 

จะหิริก็ได้ จะโอตตัปปะก็ได้ วิจัยให้รู้หมดทุกอย่างเลย  เพราะฉะนั้น  ธรรมวิจัยนี่ 

วิจัยไปเรื่อยๆ    เป้าแรกก็วิจัยจิตกับกิเลสให้ออก  เสร็จแล้วก็วิจัย   อย่างนี้คือ

วิปัสสนา   อย่างนี้คือสมถะ ก็ต้องวิจัย  ลักษณะอย่างนี้ วิปัสสนา   ลักษณะอย่างนี้

สมถะ   ลักษณะอย่างนี้ปหาน ลักษณะอย่างนี้สังวร  ลักษณะอย่างนี้เกิดผล  ลักษณะ

อย่างนี้สงบแล้ว  แล้วรสชาติลักษณะอย่างนี้อัสสาทะ  รสในความสงบ  สงบยังไม่ดี

นัก  แม้แต่ที่สุด  เจโตปริยญาณ 16 ก็วิจัยให้ออกเลยว่า อย่างนี้โทสมูล   โมหมูล  

อย่างนี้ลงมาแล้ว  อโทสะลงมาแล้ว  อโลภะลงมาแล้ว  อโมหะลงมาแล้ว  อย่าง

นี้สังขิตตะขนาดนี้   วิขิตตะขนาดนี้  มหัคคตะเป็นลักษณะนี้  อมหัคคตะเป็นลักษณะนี้  

ต้องรู้ความต่างของมัน  รู้ลิงคะ รู้ความต่าง รู้อาการของนามธรรมทั้งหมดนี่  ลีลา

ของนามธรรมในจิตนี่ มันเป็นลีลา   แล้วเราก็แบ่งมันออกมาอย่างนี้กิเลส  อย่างนี้จิตบริสุทธิ์  อย่างนี้คือกุศลจิต  อย่างนี้คือบทบาทของกุศลจิต อย่างนี้คือบทบาทของ

อกุศล   นี่ล่ะคือกิเลส  อกุศลนี่ล่ะคือกิเลส  อย่างนี้กุศลนี่คือจิต จิตพาไปกุศล เป็น

อย่างนี้  วิเคราะห์วิจัยให้ออก

 

คนฟัง:    เรารู้สองอาการนี้แล้วนี่นะครับ    เราจะใช้สมถภาวนากดข่มด้วยก็ได้

ใช่มั้ยครับ   แล้วก็จะใช้วิปัสสนาภาวนาเข้าไปร่วมด้วย   โดยที่ใช้สมถภาวนาก่อน 

แล้วก็มาใช้วิปัสสนาภาวนาตามทีหลังนี่ได้ใช่มั้ยครับ

 

พ่อท่าน:  โดยจริงแล้ว  ที่ถามนี่ถามว่า  เมื่ออ่านจิตอย่างนี้ออกแล้วนี่  จะต้องใช้

สมถภาวนา   คือหมายความว่า  กดข่ม หรือทำให้สงบระงับก่อน   แล้วค่อยไปใช้

วิปัสสนาตามหลังใช่มั้ย  ถามมา   วิปัสสนาหมายความว่ารู้  แล้วก็ทำในขณะที่มันมี

บทบาทมีลีลา    ถ้าไปกดข่มมันเสียแล้วมันก็ไม่มีลีลา ไม่มีบทบาท   มันก็เหมือนกับ

ทำลายให้มันหยุด  หยุดหมดแล้ว นั่นแหละวิชชาฤาษีธรรมดา    ก็วิปัสสนาอะไรไม่

ออก   มันก็เห็นแต่ว่ามันสงบ ก็ต้องอ่านแต่สงบน่ะซิ  ผีตายก็ยังไม่รู้ว่ามันตาย  แต่

ว่าอันนี้  เป็นวิธีใช้แรงกดแรงข่ม ยังไม่ใช่วิชาเอก วิชาเอกพระพุทธเจ้านี่วิปัสสนา

เป็นเอก    แต่ที่ถามมาเมื่อกี้นี้ บางครั้งกิเลสมัน โอ้โห! บทบาทมันแรง มัน

แรงก็แบ่งข่มมันก่อน  อย่าให้มันแรงมาก  ข่มมันไว้ อย่าให้มันแรงมาก  แล้วก็ค่อย

วิปัสสนา   อย่างนั้นใช่  วิปัสสนาไม่ใช่ให้มัน ข่มมัน  ลืมไป ทิ้งไป รีบข่ม  รีบกด 

แล้วให้มันหยุดนิ่ง  อย่างนั้น ไม่ใช่วิธีสมบูรณ์

         วิธีสมบูรณ์   คือวิปัสสนาของพระพุทธเจ้า  สมถะนี่แปลว่า  สงบระงับ  

เพราะฉะนั้น   สงบระงับด้วยวิธีดื้อๆนี่ เขาก็กดข่มเอามาแต่ไหนๆ   ฤาษีไหน 

ศาสนาไหน  เขาก็ทำวิธีนี้ทั้งนั้น  พุทธก็ใช้ แต่ใช้ให้ถูกสัดส่วน  ถูกสัดส่วน  หมาย

ความว่า  ถ้ามันแรงข่มมันไว้ก่อน   ทิ้งมันไว้สักครึ่งหนึ่ง   ถ้าเราเอาครึ่งหนึ่งมา

วิปัสสนา   วิปัสสนาต้องมีบทบาท  วิปัสสนาไม่มีบทบาท ไม่มีเรื่องจริง ไม่มีตัวจริง 

ไม่มีเรื่องงาน  ไม่มีบทบาท ไม่มีกิริยา  วิปัสสนาไม่ได้หรอก ไม่มีกิริยา   เพราะ

ฉะนั้น ถ้าเผื่อว่าเรากดข่มมัน มันก็สงบ  วิปัสสนาถ้าแปลว่ารู้ว่าเห็น  ก็เห็นมันสงบ  

สงบด้วยอะไร?   ก็สมถะ เห็นมันสงบด้วยสมถะเท่านั้น  มันสงบด้วยวิธีกดข่ม  ซึ่ง

เป็นวิธีแรก  เป็นวิธีโบราณ เป็นวิธีก่อน  ส่วนพระพุทธเจ้านั้น สงบด้วยความรู้จริง  

ด้วยปัญญาที่ชาญฉลาด   บอก ปัดโธ่เอ๊ย!  ป่วยการไปแตะมันทำไม ขี้  ก็หยุดแตะ 

เพราะมันรู้ด้วยปัญญา ไม่ใช่ว่าไป เฮ้ย! อยากแตะนะ ใจน่ะอยากแตะ แต่ฝืนไว้ 

ฝืนไว้  ฝืนจนสำเร็จ   ฝืนจนชินจนไม่แตะ  แต่ไม่รู้เหตุผล  ไปแตะมันทำไม?ขี้มัน

เหม็น  ปัญญานี่มันรู้มันเหม็น ไม่แตะเพราะมันเกิดปัญญา

 

(คนฟัง  : บางทีสอนตัวเองให้เห็น) ใช่  สอนตัวเองให้เห็นความจริง  ให้เห็น

เหตุผลว่ามันเป็นทุกข์  มันเป็นเรื่องเลวร้าย   มันไม่ใช่เรื่องจะต้องเป็นต้องมีนี่นา 

อย่างนี้ ไม่ต้องน่าได้เลย เห็นความจริงอย่างนั้น  นี่วิปัสสนา

         เมื่อกำลังของความฉลาด  ของความเห็นจริงนี่ ทำให้กิเลสลดได้ โดย

ไม่ต้องกดต้องข่ม  นี่เรียกว่า ผลของวิปัสสนาวิธี  วิปัสสนาธุระ  เพราะฉะนั้น  มี

กรรมกิริยาขณะนี้นี่  สัมผัสรูป  ก็มีกิเลส ว่าสัมผัสรูป อู๊! มันอยากได้   ก็อยากได้

ทำไม   ถ้าอยากได้ก็ทำงานซิ  สร้างขึ้นมา  อยากได้ปลูก  มันก็ได้เอง เราปลูก

เองนี่  เป็นสิทธิของเราเต็มที่ ถ้าอยากได้ปลูก  ต้องเป็นสัมมา  ถึงเรียกว่าสัมมา

อาชีพ   ไม่ใช่อยากได้ แล้วก็ไปขโมยเอา  ถ้าไม่ขโมย ก็ต้องไปหาเงิน หาเงินก็

อีกแหละ   ก็ไปหาเงิน ก็ได้เงินมาโดยวิธีไหนก็แล้วแต่ ได้เปรียบเขามาก็ได้ เอา

มาซื้อ    ถ้ายิ่งมันบอกว่าราคาแพงไม่พอ   ต้องรีบไปโลภมามากๆ    ต้องมาซื้อ  

อย่างนี้เป็นต้น  มันก็ซ้อนอยู่อย่างนี้  ซ้อนมากมาย  ซับซ้อนอยู่อย่างนี้  วนเวียนอยู่

อย่างนี้  เอ้า! เดี๋ยวมันจะไปไหนไม่ถึงไหน  แหม มันเยอะเหลือเกิน  อาตมายัง

บอกว่า  เอ๊! อายุร้อยปีนี่ มันจะอธิบายหมดหรือนี่ มันวนอยู่ในพวกนี้น่ะ   แต่ว่าซับ

ซ้อน  คุณฟังดีๆ ว่าคุณจะได้ฟังรายละเอียดที่ใหม่ขึ้นเรื่อยๆ   บางทีคุณเดาเอาเอง 

ไม่ออกหรอกนะ

         เพราะฉะนั้น เมื่อเวลาเราวิเคราะห์วิจัยออกแล้วนี่ แหม อาตมาจะตั้ง

หลักเอาองค์สูตรไหน   หัวข้อไหน มาซ้อนข้อไหนก่อนดีนี่ มันเยอะ เอ้า! จับหลักที่

อินทรียสังวร   อินทรียสังวรนี่ เมื่อวานนี้ ได้พูดถึงอวิชชาสูตร หรือ ตัณหาสูตรมา

แล้วว่า  มันมีอินทรียสังวร นี่ ไม่สำรวม ไม่สังวรอินทรีย์  เป็นอาหารของทุจริต

สามนะ  จากตรงนี้ อาการของไม่สำรวมอินทรีย์ คือ ไม่มีสติสัมปชัญญะ   อาหาร

ของตัวที่ไม่มีอินทรียสังวร  คือ ไม่มีสติสัมปชัญญะ   ตัวไม่มีสติสัมปชัญญะ  อาหาร

ของมันก็คือ   ไม่โยนิโสมนสิการ   เอานะ    อยู่ตรงนี้นะ    ตัวสามตัวนี่แหละ

อินทรียสังวร  สติสัมปชัญญะ กับโยนิโสมนสิการ  สามตัวนี่แหละ  เป็นตัวบทบาท

สำคัญ เป็นตัวในปรมัตถ์เลย  เข้าใจนะว่า แม้แต่โภชเนมัตตัญญุตา  ก็มีผัสสะแล้วก็

ไปในลักษณะนี้เหมือนกัน   ต้องสำรวมอินทรีย์  6 เหมือนกันนะ ตาเห็นรูปน่าเจี๊ยะ

หอเจ๊าะ   กลิ่นได้กลิ่นก็  แหม  อาหารนี้  มากำลังควันฉุยเลยเข้าจมูกก็น่าเจี๊ยะ 

หอเจ๊าะ   หา? (พ่อท่านถาม)  (คนฟัง น้ำลายไหลเลย)  น้ำลายไหลเลย  นั่น

แหละ  เหมือนกันนะ เพราะฉะนั้น  สำรวมอินทรีย์ 6 กับโภชเนมัตตัญญุตา  นี่รวม

กันไว้ด้วยกันซะก่อน

         ส่วนชาคริยานุโยคะนั้น  ที่จริง ก็อยู่ด้วยกันนั่นแหละ  แต่ว่า อาตมายังไม่อยากจะจับ  เพราะว่าความหมายหยาบของชาคริยานุโยคะนี่ ท่านให้ไปสำรวม

สังวรเรื่องไปอร่อย  เรื่องนอน  แต่แท้จริง มันไม่ได้แปลว่านอนเท่านั้น  ชาคริยา

นี่น่ะแปลว่ารู้  ชานี่แปลว่ารู้ ชาคริยะ  โยคะนี่แปลว่าเพียร พากเพียร  พากเพียร

ทำให้ตื่นเต็ม  ตื่นก็หมายความว่า  คนตื่นนี่ คนจิตขึ้นรับวิถี  ไม่ใช่อยู่ในภวังค์  คน

ตื่นนี่  จิตขึ้นรับวิถี ก็คือรับรู้อยู่ตลอดหมด ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นแหละ   เพราะ

ฉะนั้น  สรุปแล้ว ชาคริยานุโยคะ  ก็คือให้สำรวมอินทรีย์  6 อย่างมีธาตุรู้ ที่มันตื่น

เต็ม  อยู่กับตา หู จมูก ลิ้น กาย แม้แต่ใจเองก็ตื่น แม้แต่ตัดเข้าไปอยู่ภวังค์ ก็ต้อง

ตื่น  อยู่นอกตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็ต้องตื่น  เห็นเครื่องอุปโภคบริโภคจะสัมผัสทาง

ไหน ก็ต้องตื่น  คือจะต้องรู้จริงลงไปในสิ่งที่เป็นความจริงตามความเป็นจริงให้หมด  

รวมแล้ว      ปฏิบัติแยกภาษาออกมาแค่ว่าสำรวมอินทรีย์      โภชเนมัตตัญญุตา 

ชาคริยานุโยคะ   กินอยู่  หลับนอน ในชีวิตนี่ ทั้งหมดจะต้องรู้กลไกลว่า  จะปฏิบัติ

อย่างไร    นั่นคือกรรมฐาน   ทีนี้เรากำลังซอยอธิบายเรื่องปฏิบัติอยู่   

         ทีนี้ปฏิบัติสำรวมอินทรีย์       สติสัมปชัญญะ       โยนิโสมนสิการ  

โยนิโสมนสิการ  นี่แบ่งออกเป็นสอง  โยนิโสอันหนึ่ง มนสิการอันหนึ่ง  มนสิการ

เป็นตัวเจโต โยนิโสเป็นตัวปัญญา

         ทีนี้ขอยกมรรคองค์ 8 มาก่อน  ฟังดีๆนะ  ทีนี้มรรคองค์ 8  มรรคองค์ 

8 มีสัมมาทิฐิเป็นประธาน  มีสัมมาสติ  สัมมาวายามะ  เป็นตัวห้อมล้อมช่วยเหลือ

ทำงานอยู่อย่างจริง  จะต้องพยายามนั่นเอง  จะต้องพากเพียรนั่นเอง   พยายาม 

หรือพากเพียรนัยคล้ายกัน    ต้องพยายาม  ต้องพากเพียร   พากเพียรอย่างไร?  

อย่างที่มันมีทฤษฎีแล้ว   คือทิฐินี่   มันมีทฤษฎีจะทำงานแล้ว   ทฤษฎีคุณรู้เท่าไหร่  

หรือทิฐิคุณรู้เท่าไหร่?   คุณจะต้องทำงานตามทฤษฎีนี้ ตามทิฐินี้ ให้ตรงนะ เรียก

ว่าสัมมาทิฐิ   แล้วคุณก็พยายาม  เมื่อเวลาภาคปฏิบัติคุณต้องมีสติเป็นประธานอีกที

หนึ่ง  สัมมาทิฐิเป็นประธานแล้วละ  แต่เวลาภาคปฏิบัติจริงๆ ต้องสติปัฏฐาน 4 นี่

เป็นตัว  ต้องรู้นะ  ต้องมีสติสัมปชัญญะ เพราะฉะนั้น เริ่มต้นโยนิโสมนสิการ   คุณ

เป็นปัญญา  มนสิการเป็นตัวเจโตที่จะต้องทำจิตให้ให้ได้อย่างนั้นอย่างใด  อย่างใด

ที่มันมีความเห็นความรู้  มีทิฐิ มีทฤษฎี  ต้องทำให้ได้อย่างนั้น  ต้องโยนิโสจริงๆ ก็

คือ จริงๆแล้ว  คือ ธรรมวิจัย  โยนิโสนี่ คือตัวธรรมวิจัย  เสร็จแล้วพร้อมกันนั้นก็

มีวิริยะ ก็คือพยายามนี่ แล้วมีสติสัมปชัญญะ รู้ทางนอกทางใน  รู้กาย รู้เวทนา รู้จิต 

รู้ธรรมะ   แล้วต้องมาพยายามกระทำให้เกิดจิตมนสิการ   ให้จิตมันเป็นผลสำเร็จ 

ทำใจในใจนี่มนสิการ  ทำให้จิตเป็นผลสำเร็จตามที่เราต้องการ

         เพราะฉะนั้น    เริ่มต้นทำมาก็คือ  ต้องมีสติตั้ง   เสร็จแล้วก็สำรวม

อินทรีย์  สำรวมอินทรีย์แล้วก็โยนิโส  โยนิโส แล้วก็ทำให้มันได้ดังที่ต้องการ  ใจที่ต้องการมาเรื่อยๆ  เพราะฉะนั้น เราก็คือมาทำฌาน  ฌานก็คือเพ่งเผา   วิจัยให้

ออก  วิจัยกิเลสให้ออก  เพ่งนี่แหละ  เพ่งนี่แหละคือวิจัย  เพ่งนี่แหละคือเพ่ง ไม่

ใช่เพ่งมองเฉยๆนะ   เพ่งก็คือว่า  ต้องจ่อเข้าไปให้มันจี้ไชบี้ออกมาให้ได้   เพ่ง 

เสร็จแล้ว  เมื่อรู้ วิจัยออกมาเป็นกิเลสได้แล้ว เผาทำลาย  สรุปแล้วก็คือ  คำว่า

ฌานนี่    แปลด้วยภาษาว่าเพ่งเผานี่คือ   ขณะใด   ที่เรากำลังวิจัยกิเลสให้ออก

ชัดเจนแล้ว แล้วก็ทำลายกิเลสได้ ก็คือสัมมัปปธานนั้นแหละ  สัมมัปปธาน 3 

สัมมัปปธาน    4   นี่แหละ   

          เพราะฉะนั้น   สังวรปธานก็อยู่แล้ว   อยู่ที่สังวร   สัมมัปปธาน  ก็

สังวรปธานอยู่แล้ว เพราะฉะนั้น  ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจก็สังวร  แล้วก็มีสติรู้ตัว 

รู้กาย  รู้เวทนา   แยกออกจนกระทั่งวิจัยกิเลสออกชัดๆๆๆ   แล้วมีวิธีวิปัสสนาวิธี  

สมถะวิธี  ทำลายกิเลสนั้นได้ เพราะฉะนั้น  เมื่อทำลายกิเลสได้

         ขณะที่ทำลายกิเลสลงไปลงไปลงไป  นั้นเรามีองค์ธรรม  ที่พระพุทธ

เจ้าท่านขยายให้ฟัง มันก็มีอยู่สองฟาก  ฟากสมถะกับฟากวิปัสสนา  หรือฟาก ปัญญา 

กับฟากเจโต    ฟากปัญญา   ก็คือมุทุภูตะ   มุทุภูเต   กับกัมมนิเย    นี่ฌานนะ  

องค์ธรรมะ   ของฌาน  ฌานนี่  มีองค์ธรรมะ  4   มุทุภูเต   กัมมนิเย ฐีเต  

อเนญชัปปัตเต  ฐีเต  อเนญชัปปัตเต  คือภาคศรัทธา  ภาคเจโต  ภาค STATIC  

ส่วนภาค  DINAMIC  ภาคปฏิกิริยา  ภาคที่ทำงานอยู่ก็คือ  มุทุภูเต   กับกัมมนิเย  

มันไม่แยกกันนะ    มันจะต้องทำงานอย่างนั้น   พอทำไปแล้ว   มันก็จะแข็งแรงๆ  

เป็นฐีเต  อเนญชัปปัตเต  ยิ่งแข็งแรง  นี่ก็ยิ่งแคล่วคล่อง มุทุภูเต  ธาตุจิตที่ยิ่ง

แววไว   ปฏิภาณเร็วฉลาด  แคล่วคล่องว่องไว และดัดง่าย ทำให้กิเลสมันตายได้

ง่ายๆลงไไป   ทำให้จิตมันจะให้ดีอย่างนี้ จิตไปทำอย่างนี้ ทำอย่างนี้ มั นก็ทำได้ดี

ขึ้น  เอาเป็นปุญญาภิสังขารก็ได้ดี เอ้า!  ดับกิเลสให้ตายลงไป  ก็ดับได้ไว ดับได้

เก่ง  จึงเรียกว่ามุทุ  จิตนี่ โอ้โฮ!  คล่องแคล่ว  แววไว  สะดวก สบาย เรียบ 

โอ๊ย!ง่าย   คล่อง   ตัวมุทุธาตุนี่ มุทุภูเตนี่  ในขณะที่มีกรรมกิริยา   มีการมีงาน  

มีกัมมนิเย   เพราะฉะนั้น   ยิ่งตัดกิเลสออก คนเรายิ่งทำได้บริสุทธิ์   ยิ่งทำงาน

อย่างอิสรเสรี   ยิ่งทำงานอย่างไม่มีความโลภ  เห็นแก่ตัวเข้าไป  ยิ่งมีแต่ความ

ขยัน สร้างสรร เสียสละ ยิ่งทำได้ดี  

          เพราะฉะนั้น   การงาน ก็จะมีโยนิโสที่ความละเอียดลออถ่องแท้ ทำ

งานก็ยิ่งจะไม่มีอคติ   ไม่มีตัวลำเอียงเข้าข้าง  โดยเฉพาะเข้าข้างตัวเอง โลภก็

เข้าข้างตัวเอง   โกรธก็เข้าข้างตัวเอง  กลัวภัยก็เข้าข้างตัวเอง  โมหะยิ่งโง่ๆ  

หลงๆ  ก็ยิ่งเข้าข้างตัวเอง  หรือลำเอียงเข้าข้างคน ที่เราอยากจะเป็นเพื่อนเรา 

ลูกเรา พี่เรา น้องเรา พวกเรา พรรคเรา  อะไรก็แล้วแต่  มันก็เอียงไปหมด   ถ้ามันยึดเข้าหาเราๆ  แล้วมันก็รักหมด  ตั้งแต่ตัวเราจนกระทั่งของเรา ของเรานี่ 

เพื่อนเรา พี่เราน้องเรา พวกเรา มันก็เอียงมาหมดแน่ะ เพราะฉะนั้น  ถ้ามันไม่มี

เราซ่ะอย่าง ไม่มีของเราซ่ะอย่าง มันไม่เอียงหรอก  มันจะทำอย่างซื่อสัตย์  ตรง

ตามสัจจะตัวจริง  ใช่มั้ย  เพราะฉะนั้น  เมื่อเวลาเราขณะที่ทำฌานนี่ เราก็จะทำ

เกิดสองลักษณะ   นี่ฌานพุทธนะ  ฌานพุทธ ไม่ได้ไม่มีบทบาท   มีธาตุรู้ มีการงาน 

การงานทั้งนอกและใน  แล้วก็มีตัวแข็งแรง

         ทีนี้ในมรรคองค์ 8 นี่ สังกัปปะ นี่ มีองค์ธรรม 7

         1.ตรรกะ   วิตรรกะ  สังกัปปะ  สามตัว อัปปนา พยัปปนา  เจตโส 

อภินิโรปนา   อีกสามตัว   วจีสังขาร  นี่เอาไว้ก่อน   ภาคปัญญา  ภาคไดนามิก  

ภาคมุทุภูเต   กัมมนิเย นี่ก็คือ ตรรก วิตรรก แถมสังขารมาให้ด้วย   สังขารที่

จริง มันจะเป็นตัวปลาย  เดี๋ยวอธิบายให้  สังขารก็มีทั้งตัวนี้  และมีทั้งตัวนี้ ถ้าไม่

มีทั้งตัว static  ไม่มีทั้งตัว dynamic  สังขารเป๋  สังขารเลอะ  เพราะฉะนั้น 

คนในโลกนี้   สังขารไม่มีทั้งตรรกะ  วิตรรกะ   สังกัปปะ    แล้วยิ่งไม่มีอัปปนา  

พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนาด้วย มันลากไปหมดเลย  โลกีย์มันลากไป  ไม่มีหลัก 

ไม่มี  STATICS  ไม่มีตัวมั่นคง ไม่มีตัวยั่งยืน  ไม่มีตัวหลักของตัวเอง  จิตไม่มีตัว

แข็งแรง    มุทุภูเต    กัมมนิเย    คือตรรกะ  วิตรรกะ    สังกัปปะ   ฐีเต  

อเนญชัปปัตเต   คืออัปปนา   พยัปปนา  เจตโสอภินิโรปนา   

          สังขารคือ   มีทั้งคุณภาพของอัปปนา  พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนา 

ด้วย  นั่นคือ เรากำลังฝึกฌาน ฝึกสมาธิขนาดระดับฌาน จะต้องมีความแน่วแน่มั่นคง  

มีอุปจารสมาธิ   เข้าไปหาอัปปนาสมาธิลึกซึ้งขึ้นเรื่อยๆ  พร้อมกันนั้น  ก็มีตัววิจัย

วิจาร  มีตัวตรรก วิตรรก สังกัปปะ  รู้ไตร่ตรอง  เลือกเฟ้น นึกคิดอยู่ในนี้เสร็จ 

ตัวนี้คือ  ตัวบทบาทการงาน ต้องคิดต้องนึก ต้องดำริตริตรอง  ต้องคิดต้องใคร่ต้อง

ครวญ  ต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา  สามตัวนี้  มันเป็นคุณภาพระดับตามลำดับ  เริ่ม

ต้นคิด   อาตมาก็อธิบายพวกตรรกะ วิตรรกะ นี่ออกมาเป็นตั้งอะไร  ตั้งหกตั้งเจ็ด

ตัว  จนกระทั่ง ถึงธาตุเจ็ดธาตุน่ะ  อารัพพธาตุ  ปรารภ  แล้วก็  อารัมภธาตุ  

ปรักขมธาตุ  นิกมธาตุ ถามธาตุ ฐีติธาตุ อุปักกมธาตุพวกนี้ ผู้ที่ไม่มีพื้นฐานขออภัยนะ 

มันก็ไปกันใหญ่แล้วนี่    มันเยอะนะ     คือธาตุจิตพวกนี้นี่     ธาตุจิตที่เริ่มดำริ  

นี่ละตรรก  วิตรรก   อะไรขึ้นมานี่  มันก็จะค่อยๆ  ไต่ขึ้นมา   ตรรกะก็ขนาด 

วิตรรกะ ก็เรียกว่าชักจะเก่งขึ้นมากกว่าดำริ ตริ ไตร่ตรองแล้ว สังกัปปะ  คือครบ

ความคิด   สังขารก็คือ   เอาสิ่งที่ควร  ไม่ควรมาทำ    เพราะฉะนั้น   อันใด

เป็นอปุญญาภิสังขาร   ก็ไม่เอามาปรุง  ตัวใดเป็นปุญญาภิสังขารก็เอามาปรุงอย่าง

ยิ่ง  จะต้องเลือกเฟ้นแล้วก็เอามาทำ  สังขารไว้อย่างนี้  ไม่ใช่ว่าไม่สังขาร  มันมีทั้งไม่สังขาร  และมีทั้งสังขาร  นี่มันยากอย่างนี้ เสร็จแล้วก็ไปผูกว่า  ตอนแรกๆ 

พูดโต้งๆว่า หยุดสังขาร  ใช่ คนที่สังขารแล้ว มันก็ยุ่งตรงนั้นน่ะ  มันทำอะไรไม่ได้  

หยุดไว้ซ่ะน่ะ    มันทำอะไรไม่ได้  หยุดไว้ซะก่อน  เหมือนกับเด็ก    เด็กมันจะ

ช่วยทำงาน   ช่วยทำโน่นทำนี่ ยังไม่รู้เรื่องเลยไปก่อนเลย หยุด ไม่ต้องทำ ระงับ

ไว้ก่อน จนกว่าจะค่อยๆ รู้เรื่องนะนี่ เออ ค่อยๆทำ ค่อยๆมีปัญญา มีกำลังค่อยมาทำ  

นี่กำลังก็ไม่มี ปัญญาก็ไม่มี  มาทำ ไปเลย ไม่ได้ ต้องมีกำลังปัญญาซะก่อน  ทั้งสอง

อย่าง  ถึงจะให้มาทำได้         

         เพราะฉะนั้น  ในเบื้องต้นส่วนมาก ก็เลยไม่มีสังขาร   นั่นก็ถูกสำหรับ

สอนเด็ก   แต่โตมาแล้ว ไม่ได้  เหมือนกับเรียนคณิตศาสตร์ในเบื้องต้น  ศูนย์ไม่มี

ค่า     เออ    ไปก่อน     เรียนศูนย์ไม่มีค่านี่    เรียนวิทยาศาสตร์เบื้องต้น  

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน   แต่สูงขึ้นมาแล้ว  ศูนย์มีค่า นี่ไม่ใช่การตลบตะแลง ไม่ใช่  

การตอแหลอะไร  มันปฏินิสสัคคะ  เมื่อแข็งแรงแล้ว เอาศูนย์มีค่ามาใช้ได้ กำลังมี

แล้ว  ปัญญามีแล้ว มาทำงานได้ ถ้าปัญญาไม่มีกำลัง ไม่มี หยุด เหมือนกับคนนอนนิ่ง 

นอนหลับได้ยิ่งดี  เอ้า!  เด็กนั่นน่ะ  เอานมยัดปากนอน  มันยุ่งนัก  ทำงานไม่ได้  

มันจะมาทำงานด้วยไม่ได้  นัยเดียวกันอย่างนี้ เพราะฉะนั้น เขาจะแปลอย่าง...   

เบื้องต้นก็อย่าเพิ่งไปดูถูกเขานัก  เขาดับสนิทไปหมดเลยก็เอาไปก่อน   พวกเด็กๆ  

ก็ต้องเอานมยัดปากทำให้หลับ   หรือไม่วางยาสลบไปเลย  เอ้า! หลับซ่ะก่อน ไม่

งั้นมันยุ่ง(คนฟัง  ตายพอดี)   ตายพอดีเหรอ   อย่าพึ่งตายซิ   เราเป็นนักวิสัญญี

แพทย์ที่เก่ง  ก็อย่าให้ตายซิ (หัวเราะ)

         เพราะฉะนั้น  ในขณะนี้ ถ้าเผื่อว่า เราไม่รู้อาการตรรกเป็นอย่างไร   

อยู่ในจิตนี่ เจตสิก อาการวิตรรกขนาดไหน  อาการสังกัปปะขนาดหรือลักษณะของ  

อัปปนานี่  แข็งแรงนะตั้งมั่นลงไปเรื่อยๆ   แน่วแน่ลงไปเรื่อยๆ   มั่นคง  อัปปนา 

พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนา  ปักมั่น แข็งแรงเลย  ก็เป็นน้ำหนักทางด้าน static

ทางด้านตั้งมั่น  อัปปนา พยัปปนา เจตโสอภินิโรปนา  เป็นคุณลักษณะอันหนึ่งของจิต  

ถ้าหลักยิ่งแข็งแรง ยิ่งปรุงได้แรงได้เร็ว สังขารก็ยิ่งปรุงได้เร็ว  ถ้าสังขารนี่ ไม่มี

ลักษณะแกนแข็งแรงด้วย   มันก็ปรุงไม่ได้ ปรุงเป๋  ปรุงไปกับเขาหมดเลย  แกว่ง  

ต้องแรง  แล้วไม่มีความฉลาดก็ปรุงเละ  ก็ต้องเฉลียวฉลาด   ตรรก  วิตรรก  

สังกัปปะ   ต้องพิจารณา 

          เพราะฉะนั้น   ในมิจฉาทิฐิ  3  ของสังกัปปะ  ก็ไม่มีอะไรอีกแหละ   

กาม  พยาบาท   เบียดเบียนตน เบียดเบียนท่าน  รวมแล้วก็นิวรณ์ 5  นิวรณ์  5  

นั่นน่ะ  สรุปแล้ว  ก็หลักนั้นน่ะ  เพราะฉะนั้น  อะไรเป็นกาม  ตรรก  วิตรรก

อะไรจะดำริเป็นกาม   ผีนะกามนี่ กิเลสนะ  วิจัยมันออกนะ  ไม่เอา  อะไรเป็นพยาบาท  วิจัยเอาออกซะ ไม่มีสิ่งเหล่านี้มาปนในบทบาทของจิต ส่วนเบียดเบียนนั้น 

ก็ละเอียดลออขึ้นไปเรื่อยๆ   เป็นถีนมิทธะ  ก็คือจิตที่มันดื้อด้าน  จิตที่มันไม่เปลี่ยน

แปลง   มันก็ยังกิเลสผสมอยู่ยังไงก็อย่างเก่าไม่สังเคราะห์หรอก   จะเอามาล้าง  

ออกมาให้เป็นบริสุทธิ์ก็ไม่ยอม    ได้แค่นี้ก็เอาแค่นี้   พวกเรานี่เดี๋ยวนี้  ติดเยอะ  

กำลังเริ่มออกจากกาม  ออกจากพยาบาทมาได้หน่อยๆ   เลิกอบายมุขมาได้หน่อยๆ  

ให้มาวิจัยต่อ ไม่เอา ก็เบียดเบียนตนอยู่นั่นแหละ  ยังเสพย์ยังติด  ไม่ยอม นี่เรียก

ว่าถัมภะ   เรียกว่าถีนมิทธะ เรียกว่าแข็ง  เรียกว่าดื้อ   เรียกว่าไม่ยอมวิจัยต่อ  

เรียกว่าไม่ทำลายต่อ 

 

คนฟัง:  ขณะที่เจอผัสสะ กามก็ดี โกรธก็ดี  พอดีเราด่าตัวเองเป็นเหตุผลหรือเป็น

การกดข่มครับ?

 

พ่อท่าน  : อ้อ! แหม ถามด้วย  เอาพยัญชนะมาถามแล้วก็ต้องพยายามตามสภาวะ  

ถามว่าขณะที่เราเจอกาม   เจอพยาบาทนี่   แล้วเราก็ด่านตัวเอง  ด่าตัวเองว่า

ไอ้โง่นะ   กาม พยาบาท ขณะที่ด่าน  แล้วเราก็ไม่ได้ไปกดข่มมัน ขณะที่ด่านี่เราก็

ต้องมีปฏิภาณไหวพริบว่า 

 

คนฟัง : วิจัยด้วย

 

พ่อท่าน  : จิตคุณต้องเกิดญาณ เกิดปัญญา  เกิดวิจัย เกิดปริญญาต่างๆ   แล้วไอ้ที่

เราด่านี่ เราโน้มจิตไปเห็นจริงว่ามันโง่  ไอ้เซ่อ ไอ้อ่อนแอ  อะไรก็แล้วแต่เถอะ 

ไม่ให้กามมันมาข่ม  คุณกำลังพูด กำลังบอกเขาอยู่นั่นน่ะ  กำลังเฆี่ยนกำลังตี ไม่ได้

ไปกดข่มมันหรอก กำลังปหานไง

 

คนฟัง : สมถะ หรือวิปัสสนา

 

พ่อท่าน:  ไอ้คำว่าสมถะนี่แปลว่าสงบ  เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่า  มันลดลงไปด้วย

รู้ๆๆ  ไม่ใช่ให้ไปใช้พลังแรง  อาตมาเปรียบเทียบว่า สมถะนี่  มันเหมือนกับกำลัง

จำพวกนักบอมบ์ ไม่มีท่าอะไรหรอก  กำลังเรี่ยวแรงที่จะดับไปดื้อๆ  ไม่รู้ดีรู้ชั่ว ไม่

รู้มากรู้น้อย   ไม่ได้วิจัยละเอียดหยาบอะไร  ก็ไม่รู้เรื่อง พอบอกบึบๆน่ะ  บึบเลย 

อะไรอย่างนี้  ไอ้เจ้าสมถะนี่ วิธีของสมถวิธีนะ  เพราะฉะนั้น อันนี้ไม่ใช่วิธีสมถวิธี 

ไอ้นี่  วิธีวิปัสสนาวิธี แต่เมื่อมันสงบระงับลง เราเรียกมันซ้อนอีกว่ามันสงบ  สมถะ  เพราะฉะนั้น  ในวิปัสสนานี่มีสมถะตามหลัง เพราะฉะนั้น  จะเรียกว่าวิปัสสนา ไม่

มีสมถะ    ไม่จริงน่ะ    ถ้าวิปัสสนาได้แล้วมันจะสงบลง    แล้วเรียกว่าสมถะ

หรือปัสสัทธิ   สงบได้  คำว่าสงบนี่ ก็ใช้ภาษาเรียกกันไปเท่านั้นน่ะ  เพราะฉะนั้น 

สมถะก็มาเรียกวิธี

         ทีนี้เมื่อเราเองเราได้สำรวมอินทรีย์    ได้ปฏิบัติถูก   มีสติสัมปชัญญะ  

แล้วก็มีโยนิโส  เข้าไปทำงานหมดในอาหารต่างๆนี่   เพราะฉะนั้น    มัน    วิ

เคราะห์เข้าไปแล้ว  องค์ธรรมของสังกัปปะ  ที่เราปฏิบัติมรรคองค์   8  นี่   

วิเคราะห์ให้ฟังแล้ว   เมื่อเราวิจัยได้ดี จนกระทั่งสามารถฝึกไปจนกระทั่งความ    

แข็งแรง  อัปปนา  พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนา   แข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ   ตรรก 

วิตรรก วิตกวิจารอะไรขึ้นมานี่ เรียกว่าวิตก วิจารก็ใกล้กัน   ถ้าอธิบายฌานที่หนึ่ง 

มีวิตก  วิจาร  มีปีติ สุข อะไรนี่ก็เหมือนกัน  คือรู้สภาพที่จริงแล้ว ก็ทำให้มันลดละ

ได้   อาตมาจึงแปลปีติว่าได้ดี เสร็จแล้ว อุปกิเลสก็คือไปหลงติดดี  ไปฟูใจอยู่ที่ปีติ  

นั่นเรียกว่าอุปกิเลส   แต่ถ้าได้ดี   ไม่ต้องไปมีฟู   มันก็คือต้องเกิดปีติ    แล้วก็

เกิดปัสสัทธิ    ก็เกิดความสงบระงับลงไปตามลำดับๆ  

          เพราะฉะนั้น ในองค์ฌาน  ฌานที่ 1 มีวิตก วิจาร  มีปีติ   ถ้าไปถึง

ขั้นฌาน  3 ท่านยังไม่เรียกว่าเขตของอุเบกขา  เพราะว่ามันยังสู้กันอยู่มาก   ยัง

วิตกวิจาร   ยังไได้ดีขึ้นมาหน่อย  สุขก็ยังไม่สงบเท่าไหร่หรอก  มันก็ยังต้องสู้ต้อง

สังวร ต้องระวังต้องคุมแจ  ซึ่งอาตมาพยายามอธิบายแล้วพวกนี้  มันต้องเคร่งคุม  

อาตมาใช้คำว่าเคร่งคุม  มันต้องเคร่งคุมอยู่  มันยังเกร็งๆ  มันยังไม่โล่ง  มันยัง

ไม่ง่าย   มันยังไม่อัตโนมัติเท่าไหร่  เพราะฉะนั้น  จะเข้าขั้นอุเบกขา   ก็หมาย

ความว่า  จะค่อยๆวางได้  ปล่อยได้  ไม่ค่อยไปต้องคอยคุม  แหม ปรับอยู่  เป็น 

Contral  man วางมือไม่ได้อยู่อย่างนี้  มันก็ยากน่ะ  มันหนัก  เพราะฉะนั้น มัน

ต้องวางมือได้  แล้วถึงเรียกว่าอุเบกขา  ต้องวางได้  เออ ปล่อยได้มั่ง  เผลอก็

ได้มั่ง ไม่ได้มั่ง มันก็ยังค่อยๆ

         เพราะฉะนั้น  ฌาน 3 ก็ยังค่อยๆ อุเบกขา ค่อยๆเข้ามา ค่อยๆเก่งขึ้น  

วางได้  ปล่อยได้  เฉยได้ ค่อยๆ  จนกระทั่งเก่งขึ้นมาฌาน 4  ก็คือเป็นอุเบกขา 

ก็ยิ่งวางได้มาก  ปล่อยได้มาก  การเคร่งการคุม  การไปคอยวิตกวิจาร  คอย

ต้องตรวจตรานะ     วิตกก็คอย    วิตกมันแปลเป็นไทยภาษาไทยก็หมายความว่า 

กังวลอยู่   แหม ยังไม่แน่ใจ  ยังไม่แน่ชัดอยู่ ยังกังวล ยังกลัวๆ เกรงๆอยู่ นี่วิตก

มาแปลความหมายของไทย   ก็ใช่ ที่จริงน่ะรู้  วิตกน่ะแปลว่ารู้   ไม่ได้ไปแปลว่า

กลัวหรอก  (หัวเราะ)  มันแปลว่ารู้  แต่ในพจนานุกรมภาษาไทย   แปลว่ากลัวๆ  

เกรงๆ  หวั่นๆ  หวาดๆ วิตกนะ  แต่จริงๆ  วิตก ก็คือ ตรรก วิตรรก  วิตกก็.fo             กรรมฐานอาริยชน ตอน 3/file:5017f.tap    #


 

แปลว่ารู้ยิ่งขึ้นไป  ไตร่ตรองตรวจตราเข้าไปยิ่งเข้าไปอีก  วิจารก็คือ รู้พฤติกรรม

ของมัน   จาระนี่พฤติของมัน  รู้พฤติละเอียดขึ้นไปเรื่อยๆ     

          เพราะฉะนั้น  วิตกวิจาร จะอยู่ด้วยกัน เมื่อมีตัววิตก  ก็คือตัวตรวจรู้ 

แล้วก็รู้พฤติกรรมของมัน  ก็คือ ตัวพฤติ  จาระ จริยะนี่  ตัวพฤติการของมัน   ตัว

พฤติกรรมอะไร  ? ของกิเลส เพราะฉะนั้น  รู้กิเลส เผากิเลสลดลงไปเรื่อยๆ

มันก็ไปสู่ปีติ  มันก็ไปสู่ปัสสัทธิ   หรือสุข   สุข  วูปสโมสุข   สุขอันสงบเรื่อยๆ 

เพราะฉะนั้น   เก่งขึ้น ชำนาญขึ้น  อัปปนา  ก็แน่วแน่ มั่นคงขึ้น   เรียกว่าสร้าง

ฌาน  สร้างสมาธิ   แข็งแรงขึ้นได้เรื่อยๆ  ตัวพวกนี้   ก็โยนิโส   ละเอียดลออ  

ถ่องแท้ชัดเจนจริงจัง  แม่น  สงสัยก็ลดลงๆ วิจิกิจฉาลงเรื่อยๆ สิ่งเหล่า ก็เกิด

สภาวะ    สภาวะที่ปฏิบัติก็เกิดจริง   ธาตุจิตที่ได้ฝึกปรืออย่างนี้จริง  ก็เกิดสูงขึ้น   

เจริญขึ้น  เจริญขึ้น  เจริญขึ้น  ตรรกะก็มาสู่วิตรรกะ  มาสู่สังกัปปะ  มาสู่สังขาร  

พวกตัวนี้พวกบทบาทกำลังทำงานทั้งสิ้น   ส่วนอัปปนา พยัปปนา  เจตโสอภินิโรปนา  

นี่เป็นตัวหลัก   เป็นตัวยึด  เป็นตัวแข็งแรง  เป็นตัวหลัก ปักมั่น ส่วนตัวงานนั้น มี 

4  ใน 7 สังกัปปะนี่  มันมีสังขารด้วย  สังขารก็ปรุงทำ  เพราะฉะนั้น มันจะปรุง

ได้ดี  ก็ต้องมีหลักแข็งแรง  แล้วก็ต้องมีตรรกะ วิตรรกะ  สังกัปปะ  ตัวไตร่ตรอง

ตรวจตรา  นึกคิดที่โยนิโส นี่คือมนสิการทั้งหมด

         ทีนี้ตัวโยนิโสมนสิการนี่นะ  ทีนี้ขึ้นไปถึงสัมมาทิฐิ มีองค์ธรรม 6  ตัว

นี้ซอยละเอียดมาก  ถ้าเผื่อว่า อธิบายจริงๆแล้ว  อาตมานี่เมื่อไหร่ จะมีเวลามา

นั่งเอากระดานดำมาแล้วก็อธิบาย   นี่ยิ่งกว่าอภิธรรมนะ   จะสอนกันไปอีกหลายปี  

แล้วพวกเรา  จะเรียนรู้พวกนี้อย่างเป็นฐานละเอียดลออเลย นี่ฝ่ายอภิธรรมนี่ ผู้ใด

ยังรอ  คู่บารมีอยู่ เรียนมาทั้งหมดนี่ มันไม่ค่อยได้หมดหรอก   เรียนลักษณะพวกนี้ 

เรียนจริงๆ   ละเอียพ พวกนี้ต้องมีฝ่ายอภิธรรมจริงๆ  ต้องคนที่ใส่ใจฟัง  คนที่ไม่

ใส่ใจไม่ค่อยจะมี   มันไม่ค่อยถนัด  จริตไม่ค่อยชอบอย่างนี้นะ   ฟังไปหลับไปเชื่อ  

แต่ถ้าจริตชอบอันนี้แล้ว โอ้โฮ! ยิ่งฟังยิ่งมัน ยิ่งฟังยิ่งละเอียด  แล้วพวกคุณจะเรียน  

อาตมาก็จะคัดคนพวกนี้  มาค่อยเอากระดานดำมาเขียน ขีดนี่นะ  ตรงนี้ดวง ดวงที่

หนึ่ง  ดวงที่สอง  เหมือนเขาสอนน่ะ  ที่จริงก็สมมุติ  เขียนให้เห็นนะ   แล้วมันก็

จะสัมพันธ์กัน  มันทำงานสังเคราะห์ ทำงาน โอ๊!ละเอียดมากมาย

         อาตมาพูดอย่างนี้ไปก่อน   อาตมายังไม่มีเวลา  งานมันเยอะ โอ้โห! 

ตอนนี้ก็งาน  บริษัทก็เกิด มหาวิทยาลัยก็เกิด  อะไรก็เกิด  มันยังเยอะอีกมากมาย  

อาตมาไม่ไหว     นี่บริษัทวิทยุก็จะต้องทำ     นี่หาหนี้   หาทุน    ไม่ใช่หาหนี้ (คนฟังหัวเราะ)  อาตมาไม่ได้ไปหาหนี้ คนอื่นเขาหามาให้ คนอื่นเขาหา ไปหามา

ให้กันเองแล้วกัน  มันต้องใช้น่ะ มันก็ยังวุ่นอยู่อย่างนี้  งานพวกนี้ ต้องวางรากฐาน

ที่เป็นรูปธรรม  และเป็นสัมมาอาชีพในมรรคองค์ 8 นะ  ต้องทำด้วย เพราะว่าทุก

วันนี้  นี่อาชีพมันมิจฉาชีพ  อาตมาตราหน้าได้เลย  มิจฉาชีพทั้งนั้นเลย ในขณะนี้น่ะ  

ในโลกียะนี่ มันไม่เป็นสัมมาอาชีพหรอก  ไม่เป็นสัมมาอาชีพ  แค่กุหนา  กับลปปนา 

นี่มันก็ยังไม่พ้นเลยทุกวันนี้   อย่าไปพูดถึงเนมิตตกตา นิปเปสิกตาเลย  ไอ้ลาเภน 

ลาภัง นิชิคิงสนตา  เลิก ไม่มีหรอก  พูดเขายังหาว่าบ้าเลย  ทำงานอะไรไม่เอา

อะไรแลกเปลี่ยน  ไม่ต้องพูดเลยใช่มั้ย  เพราะฉะนั้น   อย่าไปพึ่งพูดสัมมาอาชีวะ  

อย่าพึ่งไปพูดเลย  เราพูดรู้แต่พวกเรา  แล้วก็พิสูจน์ขึ้นมา  อาตมาต้องพิสูจน์สัมมา

อาชีพนี่  ให้ขึ้นมาเป็นรูปธรรม  ให้เขายืนยันได้ ให้เขาเชื่อว่า พวกนี้ มันจะมาทำ

ได้สักกี่น้ำว้า มาทำงานไม่เอาเงิน  โอ้โถ!  ทำเป็นสร้างภาพ จอมสร้างภาพ  ก็

เท่านั้นแน่ะ  เอาไว้ก่อน เพราะฉะนั้น เราจะต้องลึกซ้อนลงไปพวกนี้ให้ได้

         ทีนี้สัมมาทิฐิ  6   มิจฉาทิฐิ  6  มิจฉาทิฐิ  มันก็ไม่เกิด   แต่ถ้า

สัมมาทิฐิมันจะเกิด  6  เกิดองค์ธรรม 6 องค์ธรรม 6 นี่มีปัญญา   ปัญญินทรีย์  

ปัญญาพละ    ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์โผล่มาแล้ว   สัมมาทิฐิโผล่มาอีกแล้ว  ทำไม

สัมมาทิฐิยังมีองค์ธรรม  สัมมาทิฐิตัวนี้ซ้อนอยู่ตรงนี้อีก  เดี๋ยวจะได้รู้กัน อย่าหลับ

อย่าหรี่  เดี๋ยวจะได้รู้กัน ทำไมสัมมาทิฐิมาอยู่ในองค์ธรรมซ้อนอีก 6 นี่  มัคคังคะ  

เมื่อกี้อธิบายไปบ้างแล้ว  เมื่อกี้อธิบายไปในมรรคองค์ 8   อธิบายสังกัปปะเท่านั้น 

แต่สังกัปปะนี่แหละ    จะเป็นตัวหลัก  เป็นตัวประธาน  เป็นตัวจิตวิญญาณ    ต่อ

จากสังกัปปะมาหาวาจา   วจีสังขาร  พอคุณทำองค์ธรรม 7 ของสังกัปปะดี  ก็จะ

ออกมาเป็นวจี    ออกมาเป็นกรรมกิริยาทั้งกายทั้งหมด   อาตมาแปลให้ฟังแล้วว่า 

กัมมันตะ   ไม่ได้แปลว่ากายเท่านั้น   กัมมันตะ  มันแปลว่ากรรมทุกกรรม   กาย 

วาจา   ใจทั้งหมด   

          เพราะฉะนั้น สังขาราตัวนี้ วจีสังขารตัวองค์ที่ 7 ของ  องค์ธรรม 7 

ของสังกัปปะนี่  ปรุงได้ดี ที่แล้วมันจะออกมา  อย่างเร็วที่สุด มันก็คือออกมาตรงวจี  

เขาก็เลยเอาเป็นวจีสังขาร  เพราะฉะนั้น  ถ้าใครดักได้ทัน  เร็วคุณมีตีรณปริญญา 

หรือว่าคุณมีตัวมุทุภูตธาตุนี่แววไว   เร็ว ปรุงเสร็จแล้วยังไม่ทันออกมาทางปากเลย 

ถ้าคุณมีอัปปนา   พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนา   ตัวยับยั้งหรือตัวแข็งแรง   ตัว

ไม่ผลีไม่ผลามนี่ได้เก่ง     คุณก็จะ    แหม    พูดออกไปแล้ว    มันไม่เก่งนะ  

มันวจีสังขารพรวดเลย  แต่ถ้าเผื่อว่าคุณได้ฝึกดี พวกยับยั้งได้เก่ง   นี่ปรุงให้เสร็จ

แล้ว  จะจ่ายหรือไม่จ่าย มีนายประตูอีกทีหนึ่ง  ของคุณก็ ตัวอัปปนา พยัปปนา  ตัว

พวกนี้น่ะ  มันแข็งแรง มันมีวิจัยข้างนอกต่ออีก  มีสติสัมปชัญญะดูกายะ  องค์ประชุมนอกอีก  ยังไม่พูด ไม่ควรพูด  ก็ยับยั้งทัน ยับยั้งได้  นี่ฝึกทั้งนั้นแน่ะ

         (คนฟัง  :  สัปปุริสธรรม)  ใช่  ใช้สัปปุริสธรรม  7  ประการออก

มาตรวจสอบ   องค์ประชุมนี้สมควรมั้ย  กาละนี้ บุคคลนี้  เนื้อหาขนาดนี้   บริษัท

อย่างนี้  กาละอย่างนี้นี่ วันนี้วันมาฆบูชา  วันนี้วันสำคัญปลุกเสก  คนที่มาปลุกเสกนี่

คนในๆ   พูดอะไรมากๆ  หน่อยก็ได้อะไรอย่างนี้  แต่ใครจะมาแอบฟังเราก็ไม่ว่า 

แต่เรารู้แล้วนี่ส่วนใหญ่ ข้างในก็เป็นเนื้อแท้  จะมีเล็น มีหมัดมีอะไรแฝงอยู่ใน แฝง

ขน   เหมือนคนธรรพ์  มาแอบเสพย์กากีเราก็แล้วแต่   เหมือนเหา  เหมือนเล็น 

เหมือนหมัดอะไรน่ะ  มันแฝงขน  มันแฝง มันแอบแฝง  อธิบายไปแล้วพวกนี้ ระวัง

พวกแอบเสพย์  พวกแฝงเสพย์  พวกแอบจิต สมัยนี้ภาษามันเยอะ  เอ้า! ออกนอก

เรื่องไปอีกเยอะแล้ว  เอ้า!  กลับเข้ามา

         เพราะฉะนั้น   เมื่อเราสังขารเมื่อเราปรุงนี่ อาตมาพูดแต่แค่สังกัปปะ  

ที่จริงแล้ววาจา  กัมมันตะ   หรือไปถึงขั้นอาชีพ  ก็เหมือนกันนั่นแหละ    เพราะ

ฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่าประธานคือสัมมาทิฐิ  แข็งแรงด้วยปัญญา ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ  

มันก็จะทำ  โอ้โห!กำลังของปัญญา  ความเป็นใหญ่ของปัญญา มันยิ่งใหญ่นี่  มันก็คือ

มีมุภุภูตธาตุ   มีกัมมนิยะเก่งๆ  พร้อมกันนั้น ฐีเต  อเนญชัปปัตเต   มันก็ต้องเก่ง

ด้วยคือศรัทธา   ฐีเต อเนญชัปปัตเต ก็คือศรัทธา  ตัวหลัก มันก็จะแข็งแรง  มันก็

จะสังขารออกไปได้อย่างดี  เป็นปุญญาภิสังขารที่สมบูรณ์  มีฤทธิ์ด้วย  พระพุทธเจ้า

ถึงเรียกว่า  อิทธาภิสังขาร  สังขารอย่างมีฤทธิ์  ทีนี้ตัวปัญญา  ปัญญินทรีย์  ปัญญา

พละ  นี่เดี๋ยวเอาพักไว้ก่อน  มาอธิบายธัมมวิจัย  สัมมาทิฐิ กับมัคคังคะก่อน

         เพราะฉะนั้น  ถ้าผู้ใดธรรมวิจัยอธิบายไปแล้ว  ต้องทำงานตลอดเวลา  

พอวิจัยได้ดีแล้ว    สัมมาทิฐิที่มีองค์ธรรมที่จะทำให้เกิดสัมมาทิฐิอยู่  2  ใครจำ

ได้มั้ยเอ่ย  ว่ามีอะไรมั้ง?   มีอะไรมั่ง? (คนฟัง :   ปรโตโฆสะ)  ปรโตโฆสะ  

กับโยนิโสมนสิการ  ซ้อนมาแล้ว โยนิโสมนสิการ  นี่มาด้วย  แต่มีอีกตัวหนึ่งโผล่มา

ใหม่  ปรโตโฆสะ  เพราะฉะนั้น ในขณะที่ปฏิบัติมรรคองค์ 8 นี้  ต้องมีปรโตโฆสะ

         เพราะฉะนั้น  การปฏิบัติมรรคองค์ 8 นี้ ไปนั่ง ไม่มีปรโตโฆสะ ไม่ได้

ไม่เจริญ  สัมมาทิฐิจะไม่เกิด  สัมมาทิฐิตัวกลาง  พูดสัมมาทิฐิก็นึกว่าได้ฟัง ได้

แค่นี้   แต่เสร็จแล้วคุณไม่มีใหม่ ก็เหมือนกับพวกอยู่ในกะลาครอบ   ที่บอกไปตั้งไม่

รู้กี่ทีแล้ว  เพราะฉะนั้น ธรรมะของพระพุทธเจ้า  นี่จะต้องมีการเปิดเรื่อยๆ  เปิด

ออกไปค่อยๆ  อย่าพึ่งผลีผลาม   เปิดพรวดออกไป แหม ใหญ่เกินไป   เดี๋ยวก็แย่  

เราก็จะต้องรับอื่นมาตามฐานะ  ปรโตโฆสะ   ต้องรับรู้อันอื่น  เหมือนกับพวกวิชา

การชีววิทยา    ถ้าเอาตระกูลเก่าตระกูลเดียวกันผสมพันธุ์กันไปเรื่อยๆๆ  เดี๋ยวก็  

idiot  เดี๋ยวก็โง่เง่าลงไปหมดเลย อวิชชา  ตามหลักชีววิทยา  เอาพวกตระกูลดิบ  ไม่มีตระกูลใหม่มาผสมเลย โง่เง่าแน่ idiot เลย  ตกลงหมดพันธุ์  สูญพันธุ์  

หรือเป็นพันธุ์โง่เง่า  ดึกไปหมดเลย  เพราะฉะนั้น จะต้องมีของใหม่ มันจึงจะเกิด

ความเฉลียวฉลาด  สัมมาทิฐิจึงจะโต  สัมมาทิฐิจึงจะเพิ่มจากที่เรามีสัมมาทิฐิเดิม

         เพราะฉะนั้น สัมมาทิฐิตัวที่อยู่ในองค์ธรรมนี้ ก็จะต้องเกิดจากเราต้อง

ไปรับรู้ใหม่มา    ต้องมีปรโตโฆสะ   แล้วมาโยนิโสมนสิการ    แล้วก็มาให้เกิด

มนสิการ   จะเกิดมนสิการ จะเกิดทำใจในใจได้สูงขึ้น เจริญขึ้น   ธรรมวิจัยก็ทำ

งานวิจัยเรื่อยไป   ทำงานวิจัยตลอดเวลา  ให้เป็นสัมโพชฌงค์นะ วิจัย  วิจัยนอก 

วิจัยใน   วิจัยกาย   วิจัยเวทนา วิจัยจิต วิจัยธรรม วิจัยธรรม 5  หลักนั่นแหละ  

ทั้งอะไรให้ครบ    วิจัยให้มันรู้ว่าขณะนี้เรามีทั้งอริยสัจ   4  ไล่หางไปหัว มี   

ทั้งโพชฌงค์ 7  มีทั้งอายตนะ 6  ทำงานพร้อมไปหมด  อายตนะ 6  มีทั้งอุปาทาน

ขันธ์ 5  ทำลายอุปาทานออกไป แต่ไม่ต้องไปทำลายขันธ์นะ ประเดี๋ยวจะไปดับไอ้

พวกขันธ์  รูป  เวทนาไปซะหมดละยุ่ง   ดับเวทนา ดับสัญญา  ไม่ต้องไปดับ  ดับ

อุปาทาน  ไม่ใช่ว่าดับขันธ์ 5  นี่พวกนี้มั่วๆ  ไปดับขันธ์ 5 ไปดับมันทำไมละขันธ์ 5 

ไม่ต้องไปดับมันก็ตาย    พอเวลาปรินิพพานแล้ว  มันก็หายหมด   ไม่ต้องไปดับมัน  

แล้วก็ต้องรู้นิวรณ์  5   นี่ธรรม  5  นิวรณ์ 5  อุปาทานขันธ์  5   อายตนะ  6  

โพชฌงค์ 7 อริยสัจ 4  อริยสัจ 4  มรรคองค์ 8  ก็อยู่ในนั้นเสร็จ 

         เพราะฉะนั้น  ขณะนี้เราก็ดูสติสัมปชัญญะ  นี่สติโดยกาย  เวทนา  จิต 

ธรรม    เราก็ต้องมีสติสัมปชัญญะแล้ว   มีสังวรอินทรีย์แล้ว  สำรวมอินทรีย์แล้ว 

โยนิโสมนสิการเข้าไป      เราต้องปฏิบัติให้ครบมัคคังคะ       หมายความว่า 

องค์แห่งมรรค  

          เพราะฉะนั้น   จะต้องมีปรโตโฆสะ  จะต้องฝึกทั้งสังกัปปะ   ฝึกทั้ง

วาจา  ฝึกทั้งกัมมันตะ  ฝึกทั้งอาชีพอยู่ในนั้นเสร็จ  แล้วจะต้องมีอื่นด้วย   อาชีพ

อย่างนี้แล้ว   ก็อาชีพอย่างอื่น  มันต้องมีปรโตโฆสะ  เขาพูดอย่างนี้  เขาพูดอย่าง

อื่น  กายกรรมเขาทำอย่างนี้   เขาทำอย่างอื่น  มันต้องมีใหม่มีอื่น  ต้องรับอันอื่น

เข้ามาร่วม   โลกวิทู หรือพหูสูตด้วย  ต้องมีโลกวิทู หรือพหูสูตด้วย  เพราะฉะนั้น 

พวกนี้จึงจะชื่อว่าเจริญ   โดยหลักทั้งวิทยาศาสตร์  โดยหลักทั้งธรรมะของพระพุทธ

เจ้านี่แหละ   มันต้องเข้าหาหลักซ้อนกันหมด  มันไม่ขัดแย้งกันเลย   หลักชีววิทยา  

ก็จะต้องมีพันธุ์ใหม่  มีอะไรใหม่เข้ามาผสมผสาน  แต่ใหม่ที่ว่านี่ ไม่ใช่ใหม่ไปรับไอ้

ของใหม่ๆ   โอ๋! ตอนนี้ พวกขาโจ๋เขามีอะไรใหม่ๆ  ก็รับมาหมดเลย  ไม่ใช่  มี

ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ ตัวสำคัญ  ฉลาดเฉลียวที่จะรู้จักรับรู้จักเลือก  รู้จักจัดสรรสิ่ง

ที่พอเหมาะพอดี    แต่ไม่ได้ปฏิเสธอย่างตายตัว ใหม่อะไรมาไม่รับเลย   เดี๋ยวนี้ 

เรารับคอมพิวเตอร์เราก็รับ    แล้วเราไม่เอามาทำภาพโป๊ใส่อินเตอร์เนตเข้าไปหรอก  เราไม่เอา  อย่างนี้มันโง่ตายเลย ไปปรุงแต่งไปสร้างอย่างนี้

(คนฟัง : โลกวิทูที่แท้ ต้องมีสัมมาทิฐิประกอบ)  

         แน่นอน  ต้องมีสัมมาทิฐิประกอบ ต้องมีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ตรวจ

เลือกเฟ้น   วิจัยอยู่ตลอดเวลา   แล้วก็ทำให้ถูกสิ่งที่เป็นกุศล     สิ่งที่เป็นของดี  

เพราะฉะนั้น  เราจะเกิดสัมมาทิฐิสูงขึ้น อยู่ในองค์ธรรม 6 นี่นะ สัมมาทิฐิสูงขึ้น   

ตัวสัมมาทิฐิที่สูงขึ้น  เจริญขึ้นนี่น่ะ  คือ ตัวจะเกิดปัญญา ไปเป็นปัญญา  ปัญญินทรีย์ 

ปัญญาพละ ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละนี่แหละคืออินทรีย์ 5 พละ  5 ปัญญาก็คือ ตัว

ที่  5 ของอินทรีย์ 5 พละ 5  มันก็จะเกิดเป็นลำดับว่า ปัญญา ปัญญินทรีย์   ปัญญา

พละ  คือฐานที่เกิด  ทุกตัวละ  ศรัทธา  ศรัทธินทรีย์  ศรัทธาพละ    วิริยินทรีย์

วิริยพละ   สติ สตินทรีย์  สติพละ  สมาธิ สมาธินทรีย์  สมาธิพละ   คือสามขยัก  

พัฒนาการที่มันพัฒนาขึ้นสูงๆๆ   มีความเป็นใหญ่ หรือมีความเจริญ  มีความแข็งแรง  

กำลังมาก  หรือมีฤทธิ์มากขึ้นเรื่อยๆนั่นแหละ  ทุกฐานนั่นแหละ ทุกอัน

         ทีนี้อันทิฐินี่  คือไปหาปัญญา  หรือปัญญานั้นก็คือ ญาณที่เป็นผล   สัมมา

ญาณ   ซึ่งจะเกิดสัมมาญาณ เกิดสัมมาวิมุติ  เป็นผลสองของมรรค 8  เป็นผลสอง

ของมรรค  8  นั่นน่ะ  ปัญญา ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละนี่  ไม่ต้องไปพูดถึงสัมมาญาณ  

ขอให้เกิดปัญญา  ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ  ก็คืออันเดียวกัน  ทีนี้  ปัญญา ปัญญินทรีย์  

ปัญญาพละนี่    ก็เกิดจากการปฏิบัติมรรคให้ครบองค์มรรค    มัคคังคะ    ธรรม

วิจัยสัมโพชฌงค์   สัมมาทิฐิ และมัคคังคะ  เพราะฉะนั้น สัมมาทิฐิ  จะเจริญขึ้น

เรื่อยๆ   เจริญขึ้นเรื่อยๆ  จากการปฏิบัติสังกัปปะ วาจา  กัมมันตะ  อาชีวะ  ก็

จะเกิดสัมมาทิฐิที่จริงที่เจริญขึ้นๆ ๆ  ธรรมวิจัยก็เชี่ยวชาญขึ้น   สั่งสมลงเป็นปัญญา  

ปัญญินทรีย์   ปัญญาพละ ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ  ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ  ขึ้นเรื่อยๆ  

เป็นจักรกลที่ทำงานซับซ้อน โอ้โฮ!  ยิ่งกว่าคอมพิวเตอร์  มันช่วยกันซับซ้อนอยู่ในนี้ 

มันช่วยกันเป็นวงวัฏจักร  เพราะฉะนั้น  เราขาดการปฏิบัติมรรคองค์ 8 กันมามาก  

มัคคังคะไม่ครบ  สัมมาทิฐิ ฟังแต่ตรรกะก็ได้แต่ผิวเผิน ไม่ปฏิบัติอธิจิต  ไม่ปฏิบัติจน

เกิดอธิปัญญษ   หรือปัญญา ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ  อธิปัญญานี่ก็คือ ตัวปัญญาที่ยิ่งขึ้น 

เจริญขึ้นเรื่อยๆตัวนี้

         เพราะฉะนั้น  ถ้าปฏิบัติถูกทางแล้ว พวกนี้จะเจริญขึ้นตลอดเวลา   ตัว

ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ   จริงๆนั้นมันไม่ได้ไไปทำอะไรมันหรอก  มันเกิดจาก

ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์    เกิดจากสัมมาทิฐิ     เกิดจากการปฏิบัติครบองค์มรรค  

มัคคังคะ   องค์แห่งมรรค   เห็นมั้ย มันสัมพันธ์กันไปหมด  เพราะฉะนั้น   ธรรม

วิจัยสัมโพชฌงค์  เป็นตัวมาจากสัมโพชฌงค์  แล้วก็ไอ้ตัวมัคคังคะ ก็คือตัวต้องปฏิบัติ

ลงไปกับมัคคังคะให้หมด    เกิดสัมมาสมาธิ  เพราะปฏิบัติองค์ 7   อย่างถูกต้อง  สัมมาทิฐิ  เป็นประธาน  สัมมาวายามะ  สัมมาสติเป็นองค์ห้อมล้อม  แล้วก็ปฏิบัติ

ให้ได้สัมมาสังกัปปะ  สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ  สัมมาอาชีวะ ให้ได้

         มิจฉาสังกัปปะ 3  กาม พยาบาท วิหิงสา          หรือเบียดเบียน  

มิจฉาวาจา  4   พูดปด  พูดส่อเสียด  พูดคำหยาบ  พูดเพ้อเจ้อ   ต้องเอาออก 

ประหารพวกนี้    ประหาร ประหาร มิจฉา 3 ของกัมมันตะ  ฆ่าสัตว์   ลักทรัพย์  

ราคะ  หรือ กาม กัมมันตะ 3 ปาณา อทินนา  แล้วก็กาเมสุมิจฉาจาร 3 มิจฉา 3   

ของกัมมันตะ   มิจฉาอาชีวะ   5  กุหนา   ลปนา   เนมิตตกตา   นิปเปสิกตา   

ลาเภนลาภัง นิชิคิงสนตา  เราต้องลดละเปลี่ยนแปลง อาชีพทั้ง 5  นี่ค่อยๆ เจริญ

ขึ้นมาตามลำดับๆๆ  เมื่อปฏิบัติถูกแล้ว มันก็จะก่อขึ้นมา

         เอาละ   อาตมาจะขยักเข้ามาหาอาชีพ   เพราะตอนนี้เรากำลัง  ปี 

2539 นี่ อาชีพหรืองาน  งานที่จะต้องทำกันเป็นทีม  นี่มันถึงขั้นเป็นทีมด้วย เราไม่มี

ศิลปินเดี่ยว   เรามีแต่ออเครสตร้า  ออเคสตร้า  ของเรานี่ ยิ่งจะวงโตขึ้นเรื่อยๆ  

แล้ววงทุกๆวงนี่ โอ้โห! ไวโอลินสองหมู่เดียวกัน  ไวโอลินหนึ่งก็ยังเละด้วยกันเลย 

ไอ้หนึ่งขึ้น ไอ้หนึ่งลง ไอ้หนึ่งสั้น ไอ้หนึ่งยาวอยู่งั้นนะ  ไวโอลินสองก็เละอยู่นั่น    

ออเครสตร้า   วงนี้นี่ดูไม่เบื่อแน่นอนเลย   ดูไม่เบื่อแน่เลย  วงดนตรีวงใหญ่วงนี้ 

พวกปี่ก็ปี่   เอ้า   !   พวกมีสซูม    พวกทรัมเปต    พวกคลาริเน็ต   อะไร   

แซ็กโซโฟนอะไรก็ล่อกัน   มีตั้งไม่รู้กี่ขนาดเลยนะ  นั่นวงใหญ่ ว่างั้นเถอะนะ  แต่

ต่างคนต่างไม่พร้อมกันเลย    ไม่ได้   

          เพราะฉะนั้น   แม้แต่ในหมู่ของกันเอง  ไวโอลินหนึ่งสอบคันพร้อมกัน  

อาจจะต่างกันกับไวโอลินสอง   ไวโอลินสองลงไวโอลินหนึ่งขึ้น  ไม่เป็นไร   แต่

ไวโอลินสองเขาก็พร้อมกัน ประสานกันกลมกลืน  อื้อฮือ!  เป็น Unity  ที่นิ้งมาก  

เป็นเอกภาพสัมพันธ์  มันต้องอย่างนี้   แต่มีต่างกันวาไรตี้  อันหนึ่งขึ้น  อันหนึ่งลง  

อันหนึ่งเบา อันหนึ่งหนัก  รู้จังหวะ ก็ประสานกัน  มีแตกต่างกันนะ   แต่สัมพันธ์กัน

สนิทโอ้โห!   กลมกลืน ฟังแล้วนิ้งมากเลย โอ้โฮ! นานๆก็ตีฉาบ   ตีฉาบแพ้งทีหนึ่ง  

เสร็จแล้วเราก็มีอัปปนา พยัปปนา   เจตโสอภินิโรปนา  ไม่เป็นไรเสียงฉาบเราก็

รู้    ไม่ตกใจ  เพราะเราศึกษามาดีแล้ว   อย่างนี้เป็นต้น   หรือไม่ก็   ตอนนี้

ฉาบแตะๆๆ  แตะเบาๆหน่อย  หรือว่าเงียบไปตั้งนานนะ แหม ฟังเสียงนั้นกำลังนิ่ง

พริ้งเบาๆๆ   แต่นาน  ฉาบหรอย  (หัวเราะ)   หรอยตีดังเพล้ง  ถ้าเผื่อว่าไป

มีอัปปนาที่ดีแล้ว ก็ไม่รู้ไม่สัญญากำหนดว่า เฮ้ย!  ในวงเรามีฉาบนะ  ระวังนะ ไอ้

ตัวไหนตัวฉาบหว่า     (คนฟังหัวเราะ)     เพราะฉะนั้น    ไอ้ตัวฉาบนี่นานๆ 

เขาเพ้งขึ้นมาทีหนึ่ง   อย่าตกใจ ใช่แล้วล่ะ  ไอ้ตัวฉาบนี่มันต้องอย่างนี้แหละ  ก็รู้

แล้ว ไอ้ตัวฉาบนี่มันอย่างนี้แหละ  ตีทีไร หูจะแตก ไอ้ตัวฉาบนี่อย่างนี้แหละ  เสียงมัน โอ้โฮ!  ไม่ไหวน่ะ

     เราก็จะรู้ว่า  วงของเรามีทั้งตัวฉาบ มีทั้งตัวฉิ่ง  มีทั้งตัวเสียงแรง  เสียง

แสบหู  เสียงนิ่มนวล  มันมีหมดแน่ะ นี่บรรลุะรรมเป็นทีม  จะต้องรู้จักทีม  ทุกวันนี้ 

เราต้องการความเป็นทีม  ต้องการความประสานสมานอย่างมาก  สัมมาอาชีพ ถ้า

ไม่มีพื้นฐานของปรมัตถ์อย่างที่อาตมาอธิบายมาแล้วของพระพุทธเจ้านี้  มันจะไม่เป็น

วงดนตรี  วงซิมโฟนี่  วงออเครสตร้าที่สมบูรณ์ได้หรอก เพราะฉะนั้น แม้แต่เล่นแค่

ไวโอลินหนึ่ง    เซลโลหนึ่ง  เบสหนึ่ง   แค่นี้ก็ยังทะเลาะกัน  โอ๊  !   ทรีโอ 

(หัวเราะ)   แค่วงสาม  ไวโอลินหนึ่ง เซลโลหนึ่ง เบสหนึ่ง  แค่นี้ก็ยังกัดกันเลย 

ไม่กินกันเลย  ก็เล่นคนละคีย์ซ่ะอีก  โอ๋อ! (หัวเราะ)  อย่าว่าแต่ว่าชักเข้า  คน

หนึ่งชักลง   คนหนึ่งชักขึ้น ให้มันตรงให้มันสอดคล้องประสานตาม   เขามีหมดเลย 

ชักเบา จะต้องดีด จะต้องสี จะต้องอะไรเขามี เบสตอนนี้สี เบสตอนนี้ดีดอะไร  ก็

กำหนดกันให้ อย่างนี้ มันจะกลมกลืนดีตามหลักวิชา  แค่สามตัวแค่นั้นยังเล่นคนละคีย์  

แหม    ต้องไปร้องเพลงอะไรนะ?   กามอะไรนะ   (พ่อท่านถาม)     ไม่ใช่ 

กามอะไรของวิสา คัญทัพน่ะ  กลกาม กลกามแห่งความรัก  ที่เขาบอกว่า เล่นเพลง

ทำนองผิดคีย์น่ะ   เนื้อเพลงเขา  เพลงนี้  กลกามแห่งความรักนี่แหละ  แหม คุณ

นั่นอะไร    เชี่ยวชาญเรื่องเพลงติดมากกว่าอาตมา      ยังอุตส่าห์จำไม่แม่น  

(คนฟังหัวเราะ) เหมือนเล่นเพลงบรรเลงผิดคีย์  เขาว่าไอ้ตอนท้ายเพลงนี้ เขามี 

เพลงกลกามแห่งความรัก  มันเล่นคนละคีย์แล้ว มันจะไปได้ยังไงละ ฟังก็แล้วกันน่ะ 

คนเรา    ถ้ารู้ดนตรีนิดหน่อย    โอ้โห!   เจ้าเบส   ก็เล่นคีย์หนึ่ง(หัวเราะ)  

ไวโอลินก็เล่นคีย์หนึ่ง  เซลโลก็เล่นคีย์หนึ่ง ก็เลอะกันใหญ่  ต้องอย่างน้อยคีย์เดียว

กัน    ขนาดคีย์เดียวกัน  เขายังมีคอร์ด   ยังมีเสียงต่าง  ยังมีคอร์ด   ที่ทำให้

คอร์ดเหล่านี้เสียงต่าง   คอร์ดนี้เข้ากันได้   เรียกว่าดีสคอร์ด  มันจึงจะดูวาไรตี้  

แหม หลากหลายกลมกลืน  แต่ Harmony แต่ดูกลมกลืนกันดี แหม ไพเราะ นุ่มนวล

ไปกันได้ดี  นี่ต้องอธิบายคุณภาพของความรวมเป็นทีมซะก่อน

          ทีนี้ถ้าเรามีพื้นฐานของธรรมะดังกล่าวแล้วนะ   เราก็จะสามารถที่จะ

ทำให้เกิดสัมมาทิฐิในองค์   6  ธรรมวิจัยก็เชี่ยวชาญขึ้น   มัคคังคะก็เชี่ยวชาญขึ้น  

ชำนาญขึ้น  เพราะเราปฏิบัติทั้งสังกัปปะ ปฏิบัติทั้งวาจา ปฏิบัติทั้งกัมมันตะ ปฏิบัติทั้ง

อาชีวะ   สั่งสมแข็งแรงลงเป็นอธิจิต   หรือสัมมาสมาธิ   สั่งสมลงพร้อมในสัมมา

สมาธิ  เพราะฉะนั้น สมาธิของพระพุทธเจ้าจึงไม่ใช่สมาธิไปนั่งหลับตา  แต่ก็ไม่ได้

หมายความว่า  ไม่หลับตา   หลับตาก็ได้ ถ้าเรียนรู้เป็นอุปการะ  อุปการะมากไม่

ใช่อุปการะเล็กๆ  แต่พวกเรานี่ ทุกวันนี้ อาตมาไม่มีเวลา  อยากจะเน้นงาน เน้น

พวกนี้ก่อน เพื่อที่จะยืนยันพิสูจน์อันนี้  เพราะฉะนั้น ในผู้ที่ออกมาบวชแล้วนี่ ที่อาตมาบอกแล้วว่า  พวกอาตมาออกมาบวชแล้วนี่ มันฐานเเหมือนอนาคามี   เพราะฉะนั้น  

อนาคามี  จะต้องปฏิบัติลึก  ปฏิบัติไไปถึงฐานจิตข้างใน  เรื่องกาม เรื่องพยาบาท  

ต้องเพลาเบาบางหรือไม่มี  ยิ่งเป็นอนาคามีแท้ กามสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์ต้องลด 

ต้องหมดด้วยซ้ำ  เพราะฉะนั้น  มันก็จะไปตกถีนมิทธะ กับฟุ้งซ่านอยู่ข้างใน  มันจะ

อยู่ในภวังค์ ภวตัณหา  เพราะฉะนั้น เอามาสู้กับอันนี้

     พวกนี้นี่จริงๆแล้ว  เมื่อกาม กับพยาบาทนี่มันคือ ทวารตา หู จมูก ลิ้น  กาย 

กามคุณ  5  พยาบาท  ก็เกิดจากตา หู จมูก  ลิ้น  กาย  นี่แหละมันเก่งพยาบาท  

เพราะฉะนั้น  เราไปคุมแค้น คุมเคือง ไปมีพยาบาท  มีโกธะ  มีอุปนาหะ  พวก

นี้ก็ลดลงด้วย   พยาบาทหรือว่าโกธะ หรือโกรธ  อุปนาหะ ผูกโกรธ  มันก็ลดลง

ด้วย   คือปฏิฆะ ก็ลดลงแล้ว  

          เพราะฉะนั้น  เรื่องพวกนี้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย   ก็ไม่ค่อยเท่าไหร่

หรอก   จะสัมผัสแตะต้อง  จะอย่างโน้นอย่างนี้ ก็ไม่เท่าไหร่  เพราะว่ามันลดลง

แล้ว  จะยั่วยวนยั่วยุอะไรไม่ค่อยเท่าไหร่  แต่ภายในมันจะไปชอบหรี่หรือชอบฟุ้งคิด

เป็นภวตัณหา   ภวภพ   เมื่อวานนี้ฟุ้ง  ใครฟุ้งนะ  เมื่อวานนี้   เทศน์เมื่อวานนี้  

สร้างวิมานอะไร (คนฟัง  ท่านตถภาโว)  ท่านตถภาโว  โอ๊ย !  ฝันเฟื่องอะไร

ต่ออะไรไปนั่นน่ะ  นั่นละ ภวตัณหา   อาตมาว่าจะแทรกตรงนี้ให้เป็นความรู้เลยนะ  

มันแทรกไม่เหมาะ   กำลังอธิบายก็เลยแทรกไม่ค่อยถนัด  ว่าจะแทรกให้เห็น  นี่ชี้

ให้เห็นว่านี่แหละ  กำลังฝันเฟื่อง  กำลังเพ้อไปอย่างนี้  อย่างโน้น แหม เราบอก

ตัวเองตัวเองนะ อะไรตัวเอง  มันคิดไป  อะไรละจำไม่แม่น?  (คนฟัง:คุยกับตัว

เอง) คุยกับตัวเอง  หรืออะไรกับตัวเองทั้งนั้นน่ะ  คนนั้นงาม คนนี้ อย่างนี้อย่างนี้ 

แหม  ของฉันอะไรนั่นน่ะ   นั่นล่ะ ภวตัณหา   แต่มันเป็นเรื่องของกามนะที่ปรุงน่ะ  

เป็นเรื่องของกามในภพ  กามในภพ  ปรุงไปนั่นน่ะ  มันเป็นภวตัณหา สุขไม่สุขก็อยู่

ที่ตัวเอง   แค่นี้ก็เอาแหละ  แค่นี้ก็พอใจ  พวกภวตัณหา  นี่ไม่ต้องไปออกทางรูป

นอกหรอก  หิริแล้ว โอตตัปปะแล้ว  แต่ก็ไปฝันเฟื่องอยู่ข้างในน่ะ  ปรุง แหม  เขา

เรียกว่าสำเร็จความใคร่ทางความคิด    (คนฟังหัวเราะ)   ภวตัณหา   สำเร็จ

ความใตร่ทางความคิด    ข้างนอกไม่ต้องไปมีกายกรรม  วจีกรรม  กับเขาหรอก  

กระดากแล้ว  อายแล้วไม่ออกไปหรอก แต่ข้างในยังฟุ้งซ่านยังเลอะอยู่เลย โอ๊  ! 

เอาทางคิดนี่ก็เอาละ เบาดี ง่ายดี ไม่เปลืองดี  ไม่ไปก่อวิวาทอะไรกับใครดี  แค่

นี้  เอ้า!  จริงๆ นะ ถ้ายิ่งฝึกเข้ามากๆ  ก็เอาแต่สุขแค่นี้   มันก็ทำอยู่แค่นี้   นี่

แหละถีนมิทธะกับอุทธัจจกุกกุจจะ

     ต้องมาเรียนรู้จริงๆ  เลยนี่พวกนี้นี่  พวกมาบวชแล้วนี่แม้แต่วินัยก็ห้ามไว้หมด

แล้ว   ไปจีบเขาด้วยจิตมีกาม แล้วก็ไปเคาะไปจีบเขานะ   สังฆาทิเสสเชียวนะ ทำเป็นเล่นไป    สังฆาทิเสสนะ   ไปจีบผู้หญิงในขณะที่อารมณ์กามเราก็มี    ไป

พูดเคาะพูดจีบ   สังฆาทิเสสนะ ไม่ใช่เบานะ  เป็นเรื่องที่หยาบ  นี่ถ้าเคร่งต่อศีล  

ต่อวินัย   เดี๋ยวนี้ไม่เคร่งไม่ศีลหรอก  จีบกันเฉยๆ  แล้วก็สังฆาทิเสสกันมา  เน่า

กันมาเละเท่าไหร่แล้ว อย่าว่าแต่จีบเลย  โน่นไปแล้ว ไม่ต้องพูด  หยาบ พูดต่อไป

ยิ่งหยาบ     ถ้าระมัดระวังเรื่องพวกนี้สำคัญ    

          เพราะฉะนั้น    ผู้ใดที่อายแล้ว  วจีก็เรียนรู้โดยวินัยโดยอะไรดีแล้ว  

โอ๊!ไม่กล้าจีบล่ะ   พูดเป็นเคาะ เป็นจีบต้องรู้  เราต้องมีธรรมวิจัย   เราต้องรู้ 

สำคัญแล้ว  ไอ้อย่างนี้ มันจีบนี่หว่า  ไอ้นี่มันพูดเคาะนี่หว่า เดี๋ยวนี้ทางโทรศัพท์ก็จีบ

กัน   หนังสือเขียนไปทางจดหมาย  เขียนไปทางหนังสือ ตัวหนังสือก็จีบกันอย่างนี้

อาบัติทั้งนั้นแน่ะ  เพราะฉะนั้น  ต้องระมัดระวัง  ผู้มาบวชแล้วนี่  เป็นผู้มีวินัยพวก

นี้แล้ว นี่ต้องทำให้สะอาด  เพราะฉะนั้น ผู้ที่ภูมิถึงอย่างที่บอกว่า ตามฐานจริงแล้วนี่ 

เรื่องเหล่านี้  หิริโอตตัปปะจริง   จึงเป็นเทวดาระดับที่เขามากราบแล้วนี่  หัวไม่

ใส่ชฏานะ  แต่โล้น  เทวดาชนิดนี้ นี่หัวโล้น ไมใช่หัวใส่ชฎา    แต่ต้องกราบแล้ว

เทวดาหัวโล้นนี่แหละ    มีหิริ  มีโอตตัปปะพอ  จะไปละเมิดทางนี้ อื๊อ!  ไม่เอา

หรอก  แต่นี่ ...ยังสำเร็จความใคร่ทางความคิด ภวตัณหา หา?

 

คนฟัง: พวกที่ถึงขั้นวิดีโอเลย

พ่อท่าน : อะไรนะ?

คนฟัง  : ถึงขั้นวิดีโอ  คือดูวิดีโอเลย ถึงขั้นสุดท้ายเลยหรือเปล่าครับ?

พ่อท่าน :อะไร... ถึงขั้นวิดีโอของคุณ

คนฟัง  : คือดูวิดีโอโป๊  สิ่งที่เป็นความผิดระดับไหน?

พ่อท่าน : โอ๊ย! ดูวิดีโอโป๊ นั่นเหรอ  มันสังฆาทิเสสไปตั้งไหนๆแล้ว  ดูวิดีโอโป๊

       น่ะ  มันสั้งฆาทิเสสไปไหนๆแล้ว

คนฟัง  :  ฟังไม่ชัด

พ่อท่าน  :  ดูวิดีโอโป๊  ไม่ปาราชิกหรอก ดูวิดีโอโป๊  ยัง ยังไม่ใช่ตัว  ไม่ใช่ตน 

แหม

        ไม่ถึงขนาดนั้น   ยังไม่เป็นตัวเป็นวัตถุรูปข้างนอก  มีสิ่งอีกสิ่งหนึ่ง ข้าง

นอกที่เราไปกระทำ 

คนฟัง :  จิตปาราชิก

พ่อท่าน  : จิตปาราชิก  (พ่อท่าน และคนฟังหัวเราะ)  จิตปาราชิก    ได้  จิต  

ปาราชิก  อย่าไปพูดเลย ถึงขั้นที่ว่าไปดูวิดีโอโป๊ เอาวิดีโอไป  มาบวชแล้ว ยังดู   

วิดีโอโป๊นี่  สังฆาทิเสส   อยู่กรรมไปเถอะ ถ้าเผื่อว่ายังไม่เลิก   อยู่สังฆาทิเสส แล้ก็สึกไปดีกว่า  อย่ามาอยู่เลย  อยู่ไปต่อไปๆ  ประเดี๋ยวก็ปาราชิกแหงๆ อีแบบนี้  

มันไปไม่รอดหรอก  กิเลสมันหยาบ ราคะมันแรง  มันไปไม่รอด เพราะฉะนั้น ผู้ที่มี

ความจริง  ฐานความจริง ราคะไม่แรง  แล้วก็พยายามสังวรระวัง   ลดละลดละ  

มันจึงจะจางคลาย   มันถึงจะหมด มันถึงจะลดละจริงๆ มัวแต่ไปปรุง ไปแต่ง  ไป

เพิ่ม ไปเติมมันอยู่ มันก็มีแต่หนาซิ  ก็อธิบายให้ฟังแล้วละ มันหนาอยู่ ไม่รู้ได้ไง มัน

เพิ่มขึ้นคืออะไร?   เพราะฉะนั้น   ถ้าเรารู้มิจฉาทิฐิ   รู้อนิจจังในทิศที่มันหนาขึ้น  

สัมผัสเป็นปัจจัย  แล้วก็กิเลสหนาขึ้น แล้วก็ห้ามไม่อยู่ นั่นละ ไม่พ้นศีลพรตปรามาส  

แม้คุณจะรู้แล้วด้วยปัญญาด้วยความหมาย ด้วยเหตุผล  จับจิตถูกด้วยซ้ำไป  ตราบใด

ที่คุณลดสักกายะ หรือไม่พ้นสีลัพพปรามาสได้อย่างชัดเจน พ้นวิจิกิจฉา  คุณต้องมีญาณ

ปัญญาตรวจสอบให้จริง     ถ้าตรวจสอบจริงแล้วว่าคุณเองคุณลดไม่ได้     คุณไม่

พ้นสังโยชน์สามอยู่ตลอดเวลา  นี่คุณไม่ได้เพิ่มมรรค เพิ่มผล  ถ้าคุณเพิ่มมรรค เพิ่ม

ผล นี่เกิดเมื่อใด  สัมผัสแล้ว มีสัมผัสเป็นปัจจัย  เกิดอาการอย่างนี้  ลดลงได้จริง 

ลดลงได้จริง  คุณก็ได้หน่วยแห่งมรรค หน่วยแห่งผล ลดสักกายะลงไปเรื่อยๆ  หรือ

ลดตัวลดตนไปเรื่อยๆๆๆ จริงๆ เหลือตัวตนน้อยก็ลดลงไปได้ยิ่งขึ้น  ตัวตนใหญ่ๆ  ก็

ลดลงมาตามลำดับ  เพราะฉะนั้น  คนที่ปฏิบัตินี่จะพ้นสังโยชน์สามอยู่ตลอดเวลาเลย  

ใช่มั้ย  มีผัสสะเป็นปัจจัยกิเลสเกิด  พ้น ถ้ากิเลสไม่เกิด มันก็พ้นแล้วละ  กิเลสไม่

เกิดมันก็ กิเลสไม่เกิด มันก็เป็นอาริยะอยู่  แล้วก็ตัวไหนที่มันดียิ่งขึ้น    ก็ทำให้มัน

ละเอียด   โยนิโสยิ่งขึ้น  ทำให้มันสูงขึ้นไปเรื่อยๆ   มันก็จะเจริญขึ้นไปตามลำดับ

เรื่อยๆ   

          แต่อาตมาได้อธิบายวันนี้นี่ พยายามอธิบายให้มันสังเคราะห์กันประสาน

กัน   ในสูตรนี้ ยังไม่หมดนะ  ถ้าอาตมาจะหยิบสูตรอื่นขึ้นมาอีกนี่ ประเดี๋ยวมันก็จะ 

โอ้โห!  มันปรุงมากเกินไป  มันจะทรงเครื่องมากไป อลังการมากไป  เดี๋ยวเป็น

แม่ครัวหัวป่าที่โอ้โฮ  ! ปรุงจนกระทั่งคุณจำเครื่องปรุงไม่ได้  มันมากเกินไป มันก็

จะเลอะ   มันจะเยอะ   แต่มันจะสนับสนุนกัน    ถ้ารู้ดีแล้ว   มันจะสนับสนุนกัน 

ในองค์ธรรมต่างๆ ยิ่งมีซ้อนๆๆๆ ลงไปนี่  มันจะสนับสนุนกัน ถ้าเรายิ่งรู้จักหลักแท้ๆ 

ก็คือ อินทรีย์ 5 พละ 5 เอาจบตรงนี้ก็แล้วกัน

         ศรัทธา อาตมาแปลเป็นสามขยักเหมือนกัน ศรัทธา ศรัทธินทรีย์ ศรัทธา

พละ   คุณฟังไปนี่  คุณก็ฟังแล้ว เอ้อ! น่าเชื่อถือ น่าเชื่อถือ  แล้วคุณก็เกิดเชื่อถือ  

คนที่มีความเชื่อแค่ศรัทธานี่  มันยังไม่มีอะไรมากหรอก  เชื่อถือ เดี๋ยวนี้ มีเยอะนะ 

เชื่อถือ    เชื่ออโศกนี่นะ   ข้างนอกนี่   ก็มีเยอะ    แต่ยังไม่ถึงขั้นศรัทธินทรีย์  

ศรัทธินทรีย์   นี่ อาตมาแปลว่าเชื่อฟัง  คนเชื่อฟังนี่ ต้องทำตาม ใช่มั้ย?  บอกว่า

อย่างนี้น่ะ   ทำอย่างนี้เลิก  เลิกอย่างนี้  เลิกอย่างนี้  ไปทำอย่างนี้   มีเหตุผล ฟังด้วยปัญญา  ชาญฉลาด  เข้าใจดีแล้วเชื่อแล้ว แล้วก็ โอ้โฮ! อินทรีย์ หรือความ

เข้มข้นของความเชื่อนี่มันสูงถึงขั้นอินทรีย์นี่น่ะ   มีกำลังนี่  เฮ้!  มันต้องทำต้องฝึก

เอาแฮ่ะ   ก็มันดีนี่ มันเชื่อแล้วว่า มันต้องประกอบกันทั้ง 5 นะ  ปัญญาก็มันมีปัญญา

ด้วย   ไม่ใช่เชื่ออย่างงมงายด้วยนะ  แต่ถึงเถอะ แม้ว่าคุณเชื่อ คุณไม่มีปัญญา แต่

คุณศรัทธาว่าองค์นี้นี่บริสุทธิ์  องค์นี้ฉลาด  ท่านสั่งยังไงฉันทำำอย่างนั้น  เหมือนกับ

พวกพาซื่อ  พวกเจโตสายเจโตนี่นะ เชื่ออาจารย์องค์นี้แล้ว  พอดีอาจารย์ดีด้วยนะ 

ต้องให้ชัดๆ    ถ้าอาจารย์เลวก็พาเลว  มันก็ยุ่งกันใหญ่   เหมือนกับองคุลีมาลไป

เจอ  อาจารย์เก๊  เชื่ออาจารย์อย่างพาซื่อ  เสร็จแล้วก็เกือบตาย   ถ้าพระพุทธ

เจ้าไม่ไปช่วยไว้ทัน  แหงๆ ตายแหงๆ  เน่าแหงๆเลย  เพราะฉะนั้น  ถ้าไปเชื่อ 

สมมุติว่าอาจารย์ดี  เชื่ออาจารย์ไปได้เลย อย่างนี้เป็นต้น  ก็คล้ายๆกับศรัทธา ไม่

ต้องมีปัญญานักก็ไปได้  เชื่อภูมิอาจารย์ แล้วอาจารย์ก็ดีจริงนี่ไม่มีปัญญา

         แต่เอาละ   เราก็ไม่ประมาท    ต้องใช้ปัญญาของเราตรวจสอบด้วย  

ตรวจสอบจริงๆ เสร็จแล้วเรา เอ๊! มันน่าเชื่อนะ  ถ้าคุณมีกำลังของอินทรีย์ในความ

เชื่อเพิ่มถึงขั้นหนึ่ง  ก็คือเราจะทำตาม   แม้จะต้องฝืน ต้องหัด  ต้องทำอะไรต่อ

อะไร   เพราะฉะนั้น คุณเห็นว่ามันเป็นสัจจะขั้นที่จะต้องทำให้เป็นสัจจะที่สูง   ลด

ควรลด   เลิกควรเลิก  แล้วก็ทำให้มันยิ่งขึ้นไปก็ต้องต่อสู้  

          เพราะฉะนั้น   การต่อสู้ของผู้ที่จะพ้นความเป็นปุถุชน             

หรือฆราวาสเข้า   ไปสู่ความเป็นผู้ปะวะชะ  หรือผู้บวช  ปะวะชะ  แปลว่าผู้บวช 

ผู้เนกขัมมะ   เป็นฆราวาสก็ตาม  นี่พยายามเอาธรรมในธรรมะนะ อย่ามาเอาตัว

บุคคลนะ   อย่ามาเอาตัวรูปนะ  เพราะผู้จะออกจากฆราวาสมาสู่ปะวะชะ   มาสู่

เป็นผู้บวช โดยธรรมนะไม่ใช่มาเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวเท่านั้น  ก็คือผู้ที่จะต้องมีสัจจะ  

ทมะ  ขันติ จาคะ ให้ได้  นี่จึงเรียกว่า จะพ้นความเป็นฆราวาส   แต่ไม่ได้หมาย

ความว่า    คือฆราวาสธรรม   ก็คือปฏิบัติธรรมให้เป็นฆราวาสนะ     ไม่ใช่นะ  

คือฆราวาสนี่แหละต้องรู้ตัวว่าถ้าเป็นฆราวาสแล้วจะปะวะชะ   จะออกบวช จะบวช

ได้  ฆราวาสจะบวชได้ต้องสัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ นะ สัจจะ ก็คือ ต้องตรวจสอบ

สัจจะ    ที่กำลังอธิบายให้ฟังนี่ให้ชัด    ได้สัจจะบอก   โอ้โฮ!    เราศรัทธา  

ศรัทธินทรีย์พอ   พอศรัทธินทรีย์ คุณถึงกำลังนี่คุณจะปฏิบัติตาม   พอเริ่มปฏิบัติตามนี่ 

มันจะต้องตั้งตนอยู่บนความลำบากแล้ว  ต้องทมะ ต้องขันติ  จนสละออกได้ จาคะนี่

ก็คือสละออกได้  ก็คือเนกขัมมะนั่นแหละ  ก็คือออกจากน่ะ  ออกจากอะไร?  ออก

จากกาม ออกจากพยาบาท  ออกจากกิเลส ที่คุณติดคุณยึดมานี่ได้เรื่อยๆ  ออกมาได้

เรื่อยๆนั่นแหละ

         เพราะฉะนั้น   การปฏิบัติธรรมต้องอดทนข่มฝืน  ต้องเอาจริง  สัจจะอาตมาแปลว่าเอาจริง   รู้สัจจะแล้ว ก็ทำจริง เอาจริง สัจจะแปลซ้ำซ้อนลงไปอีก

ในภาคปฏิบัติว่า   เอาจริง  รู้จริง  เอาจริง  ได้จริง  เป็นจริงๆ    จบจริงๆ  

สมบูรณ์จริงๆ  แข็งแรงถาวร  INFINITY INTERNITY จริงๆ    นี่สุดยอดมัน  

ต้องอย่างนั้น  ABSOLUTE เลย มันต้องอย่างนั้น  เพราะฉะนั้น   ก่อนจะอย่างนี้ก็

ต้อง ทมะ ขันติ จาคะ ต้องฝืน ต้องข่ม ต้องสู้  นี่เป็นหลักต้องปฏิบัติ  ทีนี้เรามีหลัก

ปฏิบัติอื่นแล้ว เอาละ อดทนข่มฝืน ก็อดทนข่มฝืน  เสร็จแล้วเราก็ต้องพากเพียรด้วย  

พากเพียรด้วยอย่างไร?    วิริยะ   วิริยินทรีย์   คุณทำตาม    ถ้าถึงขั้นอินทรีย์  

ศรัทธินทรีย์นี่ ทำตามแล้ว  เชื่อฟัง  คนเชื่อฟังนี่ ทำตามแล้ว ฝึก ฝืนก็ฝืน  ทนก็ทน  

อดทนก็อดทน  สละก็ต้องสละ เอาออกก็ต้องเอาออก  อาจจะมีลึกๆบอก  เสียดาย

อยู่บ้าง  ฮ้อยๆ   ฮ้อยๆ นี่ ภาษาอีสานนะ  มันอาลัยอยู่นะ ฮ้อยๆ  ไม่เอา  เรา

ไม่ฮ้อยๆละ  ไม่อาลัย ไม่อาวรณ์ มันจะมีอยู่ก็ต้องตัด ต้องละ ต้องล้างต้องเอาออก  

ปล่อยขาด เลิก ต้องทำจริงๆ

         ศรัทธินทรีย์  ก็มาปฏิบัติตาม  ปฏิบัติตาม  พากเพียร วิริยินทรีย์   แต่

ก่อนนี้มันไม่เพียร      หรือว่ามันเพียรก็เพียรอย่างนั้นแหละ       ไปเพียรโน่น 

โลกน่ะมากกว่า   เพราะฉะนั้น มาเพียรทางธรรม เป็นวิริยสัมโพชฌงค์ให้ได้  ให้

เข้าองค์ความเพียรที่ว่าเพียรขนาดนี้  นี่อยู่ในองค์ธรรมเลยนี่  ทุกอย่างนี่สัมมาทิฐิก็

เดินบท  ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ สัมมาทิฐิ  มัคคังคะ ก็ปฏิบัติอยู่ในหลักนี้ เดินบทอยู่

จริงๆนะ   เพราะฉะนั้น  มันก็จะสั่งสม  ต้องมาปฏิบัติ  เวลาปฏิบัติจะต้องมีสตินะ

เป็นตัวนำ สตินทรีย์ สติพละ  หรือขึ้นถึงขั้นสติสัมโพชฌงค์ให้ได้ แล้วรู้กาย รู้เวทนา 

รู้จิต  รู้ธรรมกันจริงๆ  เห็นมั้ยว่า มันต้องรู้อีกตั้งเยอะน่ะ   มันไม่ใช่รู้ธรรมดานะ  

เพราะว่าขยายเป็นพยัญชนะเป็นภาษามากำกับเข้าไปแล้ว มันต้องรู้ เอาล่ะ คุณท่อง

ภาษาไม่ได้   ขอให้มันมีสภาวะเหล่านี้น่ะ สภาวะที่เรียกว่ารู้กาย รู้เวทนา รู้จิต รู้

ธรรม  รู้ว่ายังไงคือทิศทางที่เลิก ยังไงคือทิศทางที่จะเจริญ  รู้ว่าอะไรคือกิเลส รู้

ว่าอะไรคือจิตวิญญาณเป็นตัวงาน   จิตวิญญาณทำงานอยู่ตลอดเวลา  มีประสิทธิภาพ

มาก  ทำเรื่อยๆ  จนกระทั่งคุณทำได้ผล  มีสตินทรีย์   สติก็จะสูงขึ้นเป็นสติพละ  

วิริยะก็จะสูงขึ้น   เป็นวิริยพละ    เสร็จแล้วก็สมาธิ    สั่งสมลงเป็นความตั้งมั่น  

สมาธินี่   ความตั้งมั่น   ก็คือ  ฐีเต   อเนญชัปปัตเต   ก็คืออัปปนา   พยัปปนา 

เจตโสอภินิโรปนา   ก็คือตัวนี้น่ะ มันจะสั่งสมลงเป็นความแข็งแรง ตั้งมั่น แข็งแรง 

ตั้งมั่น  แข็งแรงตั้งมั่นลงไปเรื่อยๆๆๆ เพราะคุณปฏิบัติมีสติปัฏฐาน 4  มีสัมมัปปธาน 

4  มีอิทธิบาท  4   วิริยะก็คือ  อิทธิบาท 4   คุณปฏิบัติอยู่นั่นก็สั่งสมลงเป็นสัมมา

สมาธิ   หรือสมาธิก็เป็นสมาธินทรีย์  สมาธิพละขึ้นไปเรื่อยๆๆ  ปัญญาก็จะสอดซ้อน

รู้อยู่   เป็นสัมมาทิฐิ  เป็นปัญญา ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ ปัญญา ปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ  สัมมาทิฐิ ก็โตแข็งแรงขึ้นเป็นสัมมาญาณนั่นแหละ  วิมุติก็คือ หลุดพ้น  หรือฆ่า

ออกมาได้  ปวชะออกมาได้  บวชออกมาได้  หลุดละเลิกลดออกมาได้เรื่อยๆนั่น

แหละ อินทรีย์ 5 ก็เห็นมั้ย เดินบทศรัทธินทรีย์  วิริยินทรีย์  สตินทรีย์  สมาธินทรีย์  

ปัญญินทรีย์   สูงขึ้นมาเป็นศรัทธาพละ วิริยพละ  สติพละ  สมาธิพละ   ปัญญาพละ 

ซ้อน เห็นมั้ย ว่าความสอดซ้อนพวกนี้มันมีมาก  ซับซ้อนสอดซ้อนที่เป็นองค์ธรรม ที่มัน

เดินบทเป็นกุศล มันก็จะเจริญๆๆ ทับทวีทับทวีทับทวีขึ้นเรื่อยๆๆๆ

         เพราะฉะนั้น อินทรีย์  5 พละ 5  ถ้าปฏิบัติถูก ไม่ต้องไปทำอะไรมัน  

มันจะมีศรัทธา   มันจะมีวิริยะ   มันจะมีสติ  มันจะมีสมาธิ  มันจะมีปัญญา   เป็น

อินทรีย์เป็นพละขึ้นมาตามลำดับ  ตามลำดับ ขอให้ปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 

อิทธิบาท 4 ให้ดีๆ เต็มรูปของโพชฌงค์ 7 มรรคองค์ 8  อินทรีย์กับพละมันก็เป็นตัว

เกิดไปตามลำดับๆๆ เอง    นี่อธิบายสำรวมอินทรีย์   โภชเนมัตตัญญุตา  อยู่ในนี้  

          เพราะฉะนั้น เรามาปฏิบัติธรรมนี่ กินอยู่ หลับนอน  พวกเรามาปฏิบัติ

ธรรม   พันตรี  อนันต์  เสนาขันธ์   ถึงบอกว่า  ไอ้พวกนี้ไม่มีอะไรหรอก   มัน

ห่วงแต่เรื่องกิน   มันพูดแต่เรื่องกิน   กินมังสวิรัติ  กินอย่างโน้นอย่างนี้   กินมื้อ

เดียว  กินโน่นกินนี่  ปฏิบัติธรรมต้องไปนั่งสมาธิโน่น มาพูดอะไรกันแต่เรื่องกิน  นี่

พวกนี้  ออกจากอปัณกกธรรมแล้ว พวกนี้น่าสงสาร น่าเมตตา   อาตมาก็เกิดความ

รู้สึกเมตตา   แปลเป็นไทยว่าเวทนา  ไอ้เวทนาตัวนี้ เป็นเวทนาอย่างไร  เวทนา

เมตตาเขานะ  มันน่าสงสาร   แปลเป็นภาษาไทย   ที่น่าสงสาร  เพราะอะไร?  

เพราะมันตกอยู่ในสงสาร    พวกนี้ไม่มีทางออกจากสงสาร   เขาวนอยู่ในสงสาร 

หรือสังสารวัฏนั่น   เขาไม่ขึ้นหรอก    เพราะเขาไม่รู้ทางปฏิบัติ      ออกนอก  

อปัณณกธรรมสามไปแล้ว  แล้วมาดูถูกคนปฏิบัติอปัณณกธรรม 3 ซะด้วย  แล้วตัวเอง

ก็กลับไปปฏิบัติผิดทาง

         อาตมาพูดอย่างนี้   นี่คิดดูซิว่า ในทั้งประเทศนี่ ในทางศาสนาพุทธ  นี่

ออกไปทางไหน  ไปเน้นอยู่ทางไหน  ไปเน้นอยู่ทางนู้นหมด  ไม่มาเอาจริงเอาจัง

กับเรื่องพวกนี้  เพราะเราปฏิบัติพวกนี้ขึ้นมาก่อน  สำรวมอินทรีย์ โภชเนมัตตัญญุตา   

อาตมาเอาโภชเนมัตตัญญุตามาก่อนด้วยซ้ำไป    เอาน่า  ในเรื่องกิน   เรื่องใช้  

อุปโภคบริโภค  อาตมาขยายสองภาคสองทาง  เอ้า! ลดละมานี่  พวกเราก็เลยนี่ 

ปลด ปลดอุปโภคนี่เลอะเทอะ  นี่ปลดต่างหู  ปลดสายสร้อย  ถ้าไม่เช่นนั้นป่านนี้คุณ

จะต้องไปเจาะจมูกแล้วนี่  ห้อยหูไม่พอ  หูนี่เขาไม่เจาะรูเดียว  เขาเจาะเป็นทิว

เลยนะ  ห้อยตั้งไม่รู้กี่รู สายสร้อยก็ใส่เข้าไปซิ  กี่เส้นก็ไม่รู้ ไม่ใช่สายสร้อยหรอก  

มาห้อยหมดน่ะ   ตรงนั้นตรงนี้ห้อย ไอ้เสื้อผ้าหน้าแพรข้างนอก   ก็ห้อยกะรุ่งกะริ่ง  

ขี้หมาทาสี   อาตมาใช้สำนวนนั้นน่ะ   มาขายนี่  พวกผู้หญิงนี่ละ  แหม   ไม่รู้จะดักดานไปถึงไหน  ใครอยากรวยก็เอาเถอะ  เอาขี้หมาทาสีมา ได้ปรุงแต่งมาขาย  

ผู้หญิงซื้อหมด   หลอกว่าสวยอย่างเดียว ไม่ต้องเอาอะไรมาก  มันยิ่งเหมือนกับผีก็

ยังบอกว่าสวย   เอาทั้งนั้นน่ะ  นี่เราก็มาปลดนี่ อุปโภคบริโภค  พวกคุณเบาขึ้นมั้ย   

แต่ก่อนนี้  ก็โอ้โห! ผมสลวยสวยขำดำเงาอะไรก็สางอยู่นั่นแหละ (คนฟังหัวเราะ)  

เซ็กซี่  เสร็จแล้วก็กามอยู่ตรงนั้นน่ะเยิ้มอยู่ไม่รู้จักหมดซ่ะที   พวกคุณฟังเป็นรู้แล้วก็

เลยมา เอ๊อ เลิกแล้ว ไม่ต้องไปกามอย่างนั้น      ไม่ต้องไปเซ็กซี่อะไรอยู่หรอก

(คนฟัง:  เซ็ก  เลยซี้ครับ)   ซี้ซิ  เซ็กเลยซี้  เลยเป็นเซ็กเลยซี้  ภาษาจีนนะ  

เซ็กตายไปเรื่อยๆนี่  ก็ดีขึ้นเห็นมั้ยนี่ 

         เมื่อมาเป็นเช่นนี้แล้ว  พวกคุณเบาขึ้นมั้ย  ว่างขึ้นมั้ย  หมดภาระขึ้นมั้ย  

สะดวกขึ้นมั้ย   มีเวลามีโอกาสมีแรงงานมาสร้างสรรกุศล  เป็นบุญเป็นกุศล เป็นคุณ

ค่าที่ดีขึ้นมั้ย  ต่อตนต่อสังคม ต่อประเทศชาติ  ไม่ต้องไปกอบโกย ไม่ต้องไปหาเงิน

มาบำรุงบำเรอนี่  ได้จริงมั้ย  ได้พิสูจน์มั้ยนี่  ความจริงขณะนี้ใครยังไม่เห็น   มา 

ใครยังไม่เห็น เอาลูกนัยน์ตามา (คนฟังหัวเราะ)  จะลอกลูกนัยน์ตาอีกใหม่  ขนาด

นี้มันยังไม่เห็นหรือนี่  นี่คือ สิ่งจริง ที่เราได้พิสูจน์มาถึงขั้นนี้ 

          มาถึงวันนี้นี่  อาตมาพูดได้จัดจ้านมาก  เพราะว่ามันมีตัวตน ถ้าคุณจะ

หลอกอาตมา   ขอให้หลอกไปให้ได้ตลอด   แบบนี้นะ   มาลดมาละมาไม่ไปแล้วนี่ 

ขนาดบางคนนี่ อายุยังเยาว์  เนื้อหนังยังหนุ่ม ยังแน่น ยังจะไปปิ๊งๆอะไรอยู่กับเขา

ข้างนอกนั่นได้อีกตั้งมากตั้งมาย   ยังจะไปหลอก ไปล่อผู้ชายเขาได้เยอะ  ผู้ชายก็

ไปหลอก   ไปล่อผู้หญิงอีกได้ตั้งเยอะ    นี่ทั้งนั้นน่ะ   หนุ่มก็มีสาวก็มี   อยู่ที่นี่น่ะ  

กามนี่มันจัดจ้านเหลือเกินทุกวันนี้  กามนี่ไม่ได้หมายถึงแค่เรื่องผู้หญิงผู้ชายเท่านั้น  

รูป  รส กลิ่น เสียง สัมผัส   รูปสวย เสียงเพราะ  ทั้งนั้นน่ะ  ปรุงกันอยู่ สร้าง

ขึ้นมา   ไปเอามาเสพย์ทั้งนั้นน่ะ  ของอร่อยนี่ก็ปรุงอร่อย ปรุงหลอก ปรุงอะไรกัน

อยู่นั่นน่ะ  ทั้งนั้นน่ะ

 

(พ่อท่าน  อ่านกระดาษแผ่นเล็ก)   อะไรนี่?  (พ่อท่านถาม)  "นี่ท่านตถะ  เล่า

เรื่อง  รักเขาในจิต  คิดว่าท่านเล่า แต่ยังไม่บวช ยังไม่ได้มาฝึกตน   แต่เดี๋ยวนี้  

ท่านคงดีแล้วอย่างไรหรือคะ?(คนฟังและพ่อท่านหัวเราะ)   ยังสงสัยอยู่นี่ ไอ้ที่ท่าน

เล่านี่เรื่องตั้งแต่ยังไม่บวชใช่มั้ย?

 

(คนฟัง  : ตั้งแต่เป็นปะ)  ตั้งแต่เป็นปะ  ท่านกำลังรบ ตอนนั้นกำลังรบ  นั่นท่าน

เป็นปะ  เดี๋ยวนี้ท่านไม่แล้วล่ะ ถ้าขืนยังท่านเป็นอย่างนั้นอยู่ท่านจะเป็นยังเป็นอย่าง

นั้นอยู่  อาตมาก็ว่า ไม่ช้า ต้องเตรียมตัวหาเสื้อฟ้าไว้ให้นะ (คนฟังหัวเราะ)  หากางเกงไว้  ไปแน่ ถ้าเผื่อว่า เดี๋ยวนี้ยัง  ขนาดที่เล่าอย่างเทศน์เมื่อวานนี้ ไปแน่  

เมื่อวาน หรือเมื่อวานก่อน (คนฟัง : เมื่อวาน)  ถ้าอย่างนั้น ไปแน่นะ

         เพราะฉะนั้น  ขณะนี้นี่ อาตมาเอาสิ่งจริง นี่หลักวิชาก็พูดไปแล้ว  ทีนี้ก็

เข้ามา  ก่อนจะเลิกเทศน์ภาคนี้  เข้ามาหาความจริง  ที่เราทำมาสิบปียี่สิบปีกว่านี้  

เราได้พิสูจน์ถึงสิ่งที่เป็นสังขารธรรมโลกๆที่เขาติดยึด เขายึดเขาเอร็ออร่อย  เขา

ถือว่าเป็นสงที่น่าได้น่ามีน่าเป็นเหลือเกิน   เป็นชีวิตชีวาเหลือเกิน  โอ๊!  เกิดมา

ไม่เสพย์สุข  ไม่หาสุขอย่างนี้ใส่ตัว  เกิดมาทำำไมเสียชาติเกิด  อาตมาว่า อย่าง

นั้น  ต่างหากเล่ามันเสียชาติเกิด  ไม่รู้ใครเป็นใครกันแน่   เขาก็ว่าคนอย่างพวก

เรานี่ดูซิ   มีกินไม่กิน  มีใช้ไม่ใช้  อู๊!  เกิดมาเสียชาติเกิด  ไอ้เราก็ว่าไอ้พวก

นั้นแหละเสียชาติเกิด   ให้หมาชิงเกิดเสียดีกว่า นั่นร่างนั้นน่ะเอามาหาเรา เรา

จะสอนยังดีกว่านะ   (คนฟัง  :ทำทุกข์ให้แก่โลกครับ)   ทำทุกข์ให้แก่ตน    ทำ

ทุกข์ให้แก่โลกด้วย   สั่งสมแล้วก็ปรุงแต่งอะไรเลอะเทอะเข้ามามอมเมามนุษยชาติ

เข้าไป   ไอ้เราก็พูดไปซิ  เขาก็พยายามยั่วยุให้ชอบให้ชอบ  ไอ้เราก็บอกว่า อื้ย  

น่าชัง  น่าชัง  มันก็ยังแย้งอยู่อย่างนี้แหละ  ธรรมาธรรมะสงคราม  แล้วเขาปรุง

ขณะนี้ คิดดูซิว่าในสังคมโลกนี่ ปรุงขนาดไหน  แล้วคนอย่างอาตมา ที่มาพยายามให้

เลิก  ให้ละนี่มีกี่คน  แทบจะนับตัวได้  แต่คนปรุงเพื่อที่จะให้ไปอย่างโลกๆนี่ นับตัว

ไหวมั้ย?   นับไหวมั้ย?   นับไม่ไหวเลย

         อาตมาเคยเทียบคนในประเทศไทย  60  ล้าน   แล้วทีนี้พวกเราชาว

อโศก  มีสัมมาทิฐิ อย่างนี้  แล้วก็มาพากเพียรออกปะวะชะ  เนกขัมมะ  ออกแค่นี้ 

ออกอย่างนี้  มีคนมาพากเพียรออก เอาจริงมั่งไม่เอาจริงมั่ง  หรือว่าเอากันได้มั่ง

ไม่ได้มั่ง  ขนาดนี้น่ะ  แต่ก็ตั้งใจพยายาม  รู้แล้วก็พยายมพากเพียรปฏิบัติ   ขนาด

นี้น่ะ   ใน 60 ล้านนี่ อาตมาพยายามตรวจสอบกับพวกเราอยู่  มีสัก 60  คนมั้ย?  

เกินมั้ย?   มี 600 มั้ย?  (คนฟัง : เกิน) มีสัก 6,000 พันไหม?   (คนฟัง  : 

ไม่แน่ใจ) ไม่แน่ใจ (คนฟังหัวเราะ)  หกพันชักไม่แน่ใจแล้ว   (คนฟังและพ่อท่าน 

หัวเราะ)   เอ๊! อาตมาว่ามีถึงนะ 6,000 ที่ปฏิบัติออกทาง คนที่เขาไม่บอกเรานี่

เขาก็พากเพียรอยู่บ้าง เล็กน้อย อะไรพวกนี้  มีแน่น่ะหกพัน  อาตมาว่า อโศกขณะ

นี้  ไม่ต้อยขนาดนั้นหรอก (คนฟัง : กินเจ)  กินเจก็มี กินเจก็ด้วย  ก็พยายามหัด

ออก  บางคนละนิดหน่อย บางคนก็ทางนั้น ทางนี้บ้างนี่ หกพันถึงน่า  หกหมื่นนี่ เอา

ลึกๆ  ว่าเขาก็ศรัทธาอยู่แค่เชื่อถือ ยังไม่ถึงขั้นเชื่อฟังถึงมั้ยหกหมื่น? 

(คนฟัง : ไม่ถึง) 

         เอาละ  ตกลง  ตอนนี้ มีปัญญาแล้วก็มีศรัทธามีอินทรีย์ขนาดนั้นนะ   มี

อินทรีย์ขนาดศรัทธาขนาดปัญญา  วิริยะก็ยังไม่วิริยะอะไรนักหนา  สติก็ยังไม่ได้...  ไอ้ตัวไส้ในนี่ยังไม่มี  มีแต่ตัวศรัทธากับปัญญานี่นิดหน่อย  ปัญญาพอรับได้  ศรัทธาพอ

เชื่อถือแต่ยังไม่ถึงศรัทธินทรีย์ ปัญญาก็ยังไม่เป็นปัญญินทรีย์ แน่นนอนถ้าไม่ศรัทธินทรีย์ 

ไม่ฝึก  วิริยะ สติ สมาธิ    ปัญญินทรีย์มันจะไม่เกิดได้อย่างไร   มันไม่เกิดหรอก  

ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์มันก็ยังไม่เป็น   สัมมาทิฐิมันก็ยังไม่เพิ่ม  มรรคคังคะยังไม่เดิน

เลย  เห็นไหมองค์ธรรมมันชัดหมดทุกอย่าง  มันยังไม่เดินเลย  แล้วปัญญามันจะขึ้น  

แค่นั้นแหละ   ปฏิบัติไม่ถูกมันก็ยังไม่เดิน  ยังไม่ได้ขึ้น  ยังไม่เพิ่มอินทรีย์เลย  ถ้า

ปฏิบัติถูกมันถึงจะเพิ่มอินทรีย์ใช่ไหม   

          เพราะฉะนั้นประมาณได้  6 หมื่นที่พอมีศรัทธา   6 พันพอทำเล็กน้อย   

6  ร้อยพอเอาจริงเอาจัง  อีหลักอีเหลื่ออยู่บ่ (พ่อท่านและ  คนฟังหัวเราะ)  หา    

60  พอมี  ขนาดระดับนักบวชละ 60   60 เรียกว่าเป็นทหาร  ทหารเข้าประจำ

การ 60    ได้สัก 120 ก็คงจะดีนะต่อ 60 ล้านนะ  เพราะฉะนั้นขณะนี้ประชากร

ในโลกเข้าไปหา 6 พันล้าน  เทียบไปสิทีนี้  ประชาชนในโลกขณะนี้พลโลกประมาณ

เข้าไปหา  6  พันล้าน   5 พันล้านกว่าแล้วนะ  กำลังเดินเข้าไปหา 6  พันล้าน  

มันใกล้เคียงกันจังเลยตัวเลขนี่ประมาณอย่างนี้อย่างนี้นะ   เอาละ...ตัด   มันจะ

หมดเวลาแล้วน่ะ  นี่เทียบใฟ้ฟัง

         เพราะฉะนั้นเราเองกำลังจะกอบกู้โลก   ไม่ได้ดูถูกทิศทางอื่นหรอกนะ  

ศาสนาเราก็รู้อยู่ว่ามีศาสนากี่ศาสนาในโลก  และศาสนาอะไรเป็นอย่างไร  มี         

ศาสนาพุทธนี่ไปนิพพาน  มีบุญนิยมมีทิศทางที่ทวนกระแสชัดเจน  ขนาดพุทธด้วยกันยัง

ไม่ทวนกระแสชัดเจนเลยเห็นไหม  พวกเรานี่ทวนกระแสชัดเจนจนเขาหาว่าไอ้พวก

บ้า  พวกอีกคนละพวก  เขาจัดเราว่าเป็นคนละพวกนั่นน่ะ ชัดแล้ว ชัดแล้ว ใช่ไหม

จัดเป็นคนละพวกชัดแล้ว  แต่เราคนละพวกก็จงรู้เสียด้วยนะว่าอาตมาอธิบายไปแล้ว

นะ   เราเป็นพวกโลกุตระ  เราเป็นพวกให้  อยู่กับพวกเอาเขาดีๆ  พวกเขาว่า

เป็นพวกเดียวกันนั่นน่ะ   เขา...(หัวเราะ)ซัดกันไม่มีเว้นไม่มีวาง  พวกเขาพวก

เดียวกันแต่พวกเขาพวกเอา    แล้วมันก็แย่งกันน่ะสิพวกนี้   มันพวกเอาด้วยกันน่ะ  

          เพราะฉะนั้นมิติที่ตื้นๆแบบนี้เขาไม่รู้หรอก  เขาว่าพวกเดียวกัน  แล้ว

เขาว่าพวกเราพวกต่างเผ่าต่างพวก  แล้วเขาก็รังเกียจ  เราจงทำใจของเราให้

ดีว่าเราอย่าไปรังเกียจเขา  เพราะว่าเราเองเราเป็นพวกที่เกื้อกูล  และเป็นผู้ที่

ในสังคมที่จะอยู่กับเขาได้  แต่เขาเองเขาไม่รู้ตัว  เขาว่าเขาเองเขาพวกตระกูล

เดียวกัน   ตระกูลเอาด้วยกัน   แต่เขาแย่งกันจะตายจะเป็น   เขาฆ่ากันแกงกัน  

เขาทำมารยาสาไถยซ้อนๆๆๆ    เขาไม่รู้กันเลยนะ   เฮ้อ!กอดคอทีไรก็เดี๋ยวนี้มี  

ไม่ใช่มีดแล้ว   เดี๋ยวนี้พกไว้ข้างหลังนี่ยิ่งกว่ามีด  อาวุธร้ายกาจเลย  พกกันฆ่ากัน

โดยที่ไม่ให้รู้ตัว  หนัก  นี่ฟังนี่อาตมาไม่ได้โมเมนะ  ฟังเข้าใจใช่ไหม

         เพราะฉะนั้นถึงบอกว่าเราจงทำใจในใจให้ชัดว่า  เราอยู่กับสังคมเขา

นี่เขาจัดเราเป็นคนละพวกก็จริงอยู่  แต่เราไม่ใช่เป็นพวกศัตรูเขานะ  เราเป็น  

พวกพี่น้องกับเขา  เป็นพวกทำให้เขาเบา  สังคมเบาเพราะพวกเราให้  เขาเอา  

เออ...เอา   เราก็สร้างให้ก็แล้วกัน  เราทำอย่างไรได้  เราเป็นพวกที่จะต้อง

มาเป็นพระเจ้า   พระเจ้าคือพระผู้สร้าง   พระเจ้าคือพระผู้ให้   พระผู้ประทาน  

พระเจ้าคือพระจิตบริสุทธิ์สะอาด  เป็นผู้มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา  พระเจ้า

พระพรหม   มีอัปปมัญญา 4 นี้จริงๆ  เพราะฉะนั้นเราเป็นผู้ที่เกื้อกูลเขา  ให้เขา

นะ   อย่าไปหลงผิดว่า  เออ...ใช่  พวกเอ็งกับข้าคนละพวก  ทะเลาะกัน  ไอ้

นั่นมันคนโง่  เราอย่าไปโง่อย่างนั้น  เราคือพวกที่จะต้องเกื้อกูลเขา  เขาเข้าใจ

ไม่ได้หรอก    เขาเหมือนเด็กๆ   เขาเด็ก   เขาพูดไม่รู้เรื่องหรอก   เขายัง

ไม่เดียงสา    เราผู้ใหญ่แล้วต้องเหมือนกับเราเป็นพี่    ไอ้น้องมันจะซนอย่างไร

ก็...เอ้า!   ต้อง     สามารถที่จะระงับให้น้องมันหยุด  ถ้ามันไม่หยุดก็ปล่อยมัน

เถอะ   ก็มันเด็กน่ะ  ตีมันก็ตายเปล่าน่ะ  มันอย่างนั้นจริงๆนะ  เพราะฉะนั้นเขา

ทำอะไรอาตมา   จะจับอาตมาเข้าคุก  จะด่าอาตมา  จะเอาอาตมาไปพูด   ทำ

เป็นผู้ใหญ่ทางโน้นนะ             โธ่เอ๊ย!น้อง(คนฟังหัวเราะ)จริงๆ  ทำเป็น 

แหม!ไอ้น้องปากมาก   ด่าพี่อยู่เรื่อย   เราก็เป็นพี่เราก็ต้อง  เออ!...ก็เข้าใจ

เขาน่ะ  เขาพูดอะไรมาก็เห็นขี้ฟันอยู่ตลอด

          นี่ก็พูดเหมือนดูถูกเขานะ   มันเรื่องจริงเป็นอย่างนั้น  เพราะฉะนั้นก็

เอาเถอะ  เราก็อยู่ประสานกันไป  ประนี่ประนอมกันอะไรต่ออะไรได้  เขาจะมา

ห้ามเรา   เราก็ไม่ได้หรอก  เราก็ฉลาดที่จะ...ถึงห้ามอย่างไรเราก็ทำในสิ่งที่ดี  

ถ้าไม่     อย่างนั้นสงคมก็ตายล้มเหลวไปหมด  ไปไม่รอดนะ  เราก็ต้องค่อยๆทำ

ไป

         วันนี้ได้พยายามที่จะอธิบายอะไรต่ออะไรสังเคราะห์เข้ามา  เดี๋ยวเย็น

นี้ก็มาฆบูชา    แล้วเราก็จะได้เทศน์มาฆบูชาสักกัณฑ์    จะไปอย่างไรก็ค่อยว่ากัน  

ส่วนเรื่องนี้ก็มาต่อ  ก็คงจะได้ต่อนัยของอันนี้  ไปท้ายๆหน่อยอาตมาก็จะพูดถึงสัมมา

อาชีพ    เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่...เป็นเรื่องปัจจุบันที่เราจะต้องประสมประสานกัน  

เพราะเราอยู่ได้ด้วยรูป  เรื่องนามธรรมนั้น  อหเมตัง น ฌานามิ    อหเมตัง น  

ปสาเมติ    ตัวของใครไม่รู้ด้วยของใคร   เขาไม่รู้ด้วยเรา   เราไม่รู้ด้วยเขา  

เราไม่เห็นไม่รู้กันหรอกไอ้เรื่องของนามธรรม  เพราะฉะนั้นเราจึงต้องคำนึงถึงรูป  

เราจะตองมีรูปธรรมที่จะต้องค้ำยันหรือยืนยัน     เพื่อที่จะให้เขาเห็นเขารับได้ว่า  

อย่างนี้แหละ  ตอนนี้กำลังแล้ว  ทิศทางของสังคมว่าเขาจะต้องหาทางออกอย่างไร


 

         เมื่อวานนี้นี่รัฐมนตรีคมนาคมก็มาบอกมาเล่าให้ฟังว่าพบกันกับ...ขออภัย  

อุตสาหกรรม   สัญญามันเร็วมันก็เลยไม่ค่อยจะยึดถืออะไรพวกโน้นมาก   มันก็เลย

เปรอะๆไปหน่อย    มาเล่าให้ฟังว่าก็พบกันคุยกันกับ   หมอประเวศ  วะสี บ้าง  

คุณโสภณ สุภาพงษ์ บ้าง   ก็พูดถึงเรื่องสังคม  ก็บอกว่าสังคมทุกวันนี้นี่มันก็ทางออก

มันก็จะต้องมาทางกสิกรรมหรือมาทางธรรมชาติ  มาทางสิ่งแวดล้อม  มาทางเกาะ

กลุ่มกันให้เป็นชุมชน  แล้วก็มองในสังคมประเทศไทยแล้ว  มันก็มองชุมชนกลุ่มไหนก็

เห็นแต่อโศก  นี่ว่าอย่างนั้นนะ  จริงเท็จอยู่ที่...อย่างไรไปฉะกันเอง  มาเจ้าตัว

อยู่ที่นี่รัฐมนตรีอุตสาหกรรม  มาเล่าให้ฟัง  มาเปรยให้ฟังว่า  ได้ฟังมาว่าอย่างนั้น  

กระแสขอมูลเท่านี้นะ  อาตมาก็รับมาเป็นข้อมูลหนึ่งในการที่จะรู้ว่าเราทำงานไปถึง

ไหน  ตัวหมอประเวศก็ดี  คุณโสภณก็ดี  ก็เป็นคนในสังคมที่เป็น Activist ใน        

สังคม  ตัวสำคัญ   ซึ่งมี favourite  มี favour มีความรับนับถือ   เป็นความ

สำเร็จที่สังคมยอมรับพอได้นะ   เชื่อถือ พูดอะไรไป   อาตมาว่าหมอประเวศพูดนี่

กับโพธิรักษ์พูดนี่    หมอประเวศพูดมีคนเชื่อถือมากกว่า   มากกว่าโพธิรักษ์พูดด้วย  

ขณะนี้นี่ค่านิยมของสังคมนี่อย่างนั้นนะ   แม้แต่คุณโสภณพูด  อาตมาว่าคุณโสภณพูดให้  

ข่าวกับหนังสือพิมพ์ให้ข่าวกับสื่อสาร  แล้วก็ว่าอย่างนั้นไปนี่   มีน้ำหนักกว่าโพธิรักษ์  

จริงๆ   นี่ในสังคมถึงขนาดนั้น  แล้วก็เห็นอย่างนี้สอดคล้อง  ก็มองก็ยิ่งดี   ว่ายัง     

อุตส่าห์มองเข้าใจ  หรือมองเห็นว่าชุมชนหรือหมู่กลุ่มของอโศกนี่ทำเป็น...


 

                  จัดทำโดย โครงงานถอดเทปฯ


 

ถอดเท็ปโดย        ศิริวัฒนา เสรีรัชต์         15 เมษายน  2539

พิมพ์โดย           สม.มาบรรจบ เถระวงศ์     7 กรกฎาคม 2539

ตรวจทาน 1 โดย    เทียนฟ้า บูรพ์ภาค          1 มิถุนายน  2539

ตรวจทาน 2 โดย    สม.ปราณี                8 กรกฎาคม 2539

printed โดย      ปญ.ใจขวัญ เบญจโศภิษฐ์    

เข้าปกโดย         สมณะแดนเดิม พรหมจริโย

เขียนปกโดย        พุทธศิลป์  

                   RW2+!@::@@@


 

ที่มา ที่ไป

390303 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 3 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2539 เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20 ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

                    

                   

            

         


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 10:19:50 )

390304

รายละเอียด

390304 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 4 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ ศีรษะอโศก

                      โดย พ่อท่านโพธิรักษ์

                    เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2539

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

           ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ ศรีสะเกษ

 

         ขอบอกกล่าวกันซ่ะก่อน ว่าเรากำลังมาฟังกันเรื่องกรรมฐานของ

อาริยชน  คำว่า "อาริยชน"  นี่อาตมาเจตนาเพื่อที่จะเรียกขึ้นให้ต่างไปจากที่เขา

เรียกๆกันมา   ในทางโลกนี่เขาเรียกว่า  ความเจริญนี่ เขาเรียกอารยชน  พวก 

Civilize  พวก  Civilize   ที่เขาเรียกพวกอารยชน  พวกโลกเขาเรียกกัน

อย่างนั้น  ทีนี้พวกทางศาสนานี่ เขาเรียกผู้เจริญหรือผู้ที่มีคุณวิเศษนี่   เขาเรียก

อริยะ   อริยบุคคล   ถ้ายกย่องก็เป็นพระอริยะไปเลย เติมคำว่าพระ  พระอริยะ 

หรือ อริยบุคคล ทีนี้คำว่าพระอริยะ หรือ อริยบุคคลนี่ คนก็เข้าใจไปในเชิงว่า พวก

ที่เหาะเหินเดินอากาศ ดำดิน หรือไม่ก็ผู้สงบ หยุด ไม่เอาอะไรกับใคร อยู่ในป่าช้า 

นั่งอยู่ในป่าช้ามันทั้งวันๆ  อยู่ในนั้น ไม่รู้ไม่เห็นอะไรกับใคร ใครจะยังไงก็ช่าง คือ

เอาแต่ตัวเอง     ปลีกเดี่ยวไปเลย   ทิ้งหมดเป็นฤาษีน่ะ    ซึ่งมันสุดโต่งไปใน

ทางเถรวาทที่กำลังเป็นอยู่ตอนนี้  ส่วนอารยชนนั้น ก็ไปหมายถึงคนแบบทางตะวันตก

โน่น   ทางอเมริกา ทางยุโรปนี่ อู๋ย! เจริญ ผู้เจริญ พวก Civilization  นะ 

พวกที่  แหม  เขารุ่งเรืองนะ  ก็เอาอย่างเขาซิ เอาอย่างนั้นน่ะ  นับถืออย่างนั้น 

เป็นพวกอารยชน ผู้มีอารยธรรม  นี่ ลักษณะอารยธรรม เขาก็เป็นอย่างนั้น

         อาตมาก็เลยไม่อยากจะเรียกทั้งอารยะ      คนชนิดที่ปฏิบัติธรรมของ

พระพุทธเจ้าแล้วได้คุณธรรม ตามทางที่พระพุทธเจ้าท่านพาปฏิบัติที่ดีแล้ว ก็จะเกิดคุณ

ลักษณะ คุณธรรมอันนั้นจริงๆ  อาตมาว่ามันไม่เหมือนกันทีเดียวกับอายชน  แล้วก็ไม่

ไปเหมือนทีเดียวกับอริยบุคคล  แต่ก็เหมือนอารยชน  แต่ก็มีส่วนเหมือนกับอริยบุคคล 

มีส่วนเหมือนในส่วนหนึ่ง แต่ก็ไม่เหมือนในส่วนหนึ่ง  ทั้งสองคำนี่ ทั้งสองลักษณะนี่

แหละ  อาตมาก็เลยเอามาบวกกันซะ   เป็นอาริยชน  เสร็จอาตมา  (หัวเราะ)  

เพราะฉะนั้น  ตอนยุคหลังมา ตอนหลังๆมานี่ อาตมาก็ไม่เรียกตามทางโน้นเท่าไหร่  

อาตมาก็เรียกเป็นอาริยชน    เจตนาเรียกอาริยชนและพยายาม  อย่างพวกเรานี่ 

ปฏิบัติไปแล้วก็เป็นอาริยชน  ถ้ามีคุณค่า คุณธรรมนั้นๆขึ้นมา สามารถที่จะรู้จักตา  หู 

จมูก  ลิ้น กาย ใจ ที่เมื่อมันไปผัสสะ มันไปกระทบ  ตาไปเห็นรูป หูไปได้ยินเสียง  จมูกไปได้กลิ่น  ลิ้นได้รส   อะไรขึ้นมา  เสร็จแล้วก็ไม่ได้หยุดยั้งแค่นั้น   หรือไม่ 

เผลอสังขาร  ปรุงไปตามเคยเคยเป็นนะ   เห็นไอ้นี่ก็  อู๊ย!  สวย  ไปแล้วสวย  

อยากได้  เท่าไหร่?  หมื่นเดียว  แหม อย่างนี้เป็นต้น ต้นโป๊ยเซียนก็เป็นหมื่นๆนะ

เดี๋ยวนี้  ต้นโป๊ยเซียนน่ะ  ต้นละเป็นหมื่นๆ  ซื้อกันไปประดับประดา  เห่ออะไรกก็

ราคาแพงทั้งนั้นน่ะ

         สมัยอาตมาเป็นฆราวาส   อาตมาก็เล่นต้นหมากรากไม้   เล่นบอนมั่ง  

บอนชนิดต่างๆ  เรียกชื่อกันสารพัด  ก็ต้องไปนั่งจำ ชื่อนี้ มันก็ตั้งกันขึ้นมานะ   ใน

ตอนที่อาตมาเล่นนี่  เขามีบอนชุดใหม่ บอนชุดหนึ่ง  สั่งเข้ามาจากข้างนอกประเทศ 

เป็นชุดแบบใบเรียวๆ  มันเป็นตระกูลพวกนั้นน่ะ  ก็มาตั้งชื่อกันใหม่  ตั้งกันใหญ่เลย 

เริ่มต้นยุคนั้นพอดีเลย   ที่อาตมากำลังเล่นอยู่กับเขาตอนนั้น   แต่อาตมาก็ไม่ได้บ้า

เท่าไหร่หรอก   ไม่ได้เล่นบ้าๆ บอๆอะไรมากมาย เขาก็ขายกันแพงๆ   ต้นๆหนึ่ง 

เป็นหมื่นอะไรอย่างนี้  ก็เหมือนกับเคยได้ยินมั้ยว่า อากาเว่ต้นละเป็นแสน มียุคหนึ่ง  

ต้นอากาเว่ อากาเว่คุณบุญชู โรจนเสถียร  ต้นละเป็นแสน ซื้อกันมา

         ที่พูดประกอบไปนี่ ก็เพื่อให้เห็นว่า การอุปาทาน หรือสร้างสิ่งที่คนไปให้

เกิดความนิยม  เป็นค่านิยม  รสนิยม  แล้วก็ตั้งค่าตั้งราคาขึ้นมาแบบโลกๆ   หลง

ใหลได้ปลื้มติดยึดเห็นว่าดี   มันเป็นอย่างนี้มาแต่ไหนๆ เราลองนึกดูคนเถื่อนคนป่านี่  

คนที่เขาไม่ได้ออกมาเห็นโลกภายนอก  ที่มันปรุงแต่งกันเยอะแยะ  เป็นคนป่าๆ อยู่

เขาอยู่ถ้ำ อยู่อะไรต่ออะไร   แม้เดี๋ยวนี้ ก็มีอยู่บ้างอะไร  หรือประวัติศาสตร์ง่าย

ๆที่เราก็เคยเรียนรู้ ลองย้อนตามไปดู  คนเหล่านั้น เขาไม่ได้รับอุปาทาน  เขาไม่

ได้มานั่งสมมุติด้วย   อย่างโน้นอย่างนี้ น่าได้ น่ามี น่าอะไร  เขาก็ไม่  เขาก็ไม่

ต้องไปซอกๆ  แสวงหา  ไม่ต้องไปอยากได้ ไม่ต้องไปติดไปยึด  ไม่ต้องไปหลงว่า 

แหม ชุดนี้ นี่แสนนะนี่ แสนบาท  ผ้าก็อาจจะผ้าเนื้อดีหน่อยนะ  แต่มันก็ราคาก็อย่าง

นั้นน่ะ  ก็เท่านั้นน่ะ  มันก็ไม่ถึงกับขนาดนั้นหรอก  ลงทุนจริงๆ  ก็อาจจะ  เครื่อง

ประดับก็ไม่เป็นเพชร   ไม่ได้มีเพชรมีพลอยอะไรหรอกนะ  อาตมาได้ยินนะ  เคย

ได้ยิน   ยังจำได้อยู่ชุดหนึ่บง ตอนนั้นเขาบอกราคากันล่ะว่าแสนบาท  คนก็ไปซื้อไป

เลยนะ   เป็นชุดตัดเรียบๆ ธรรมดานะ  แต่มันก็ แหม ทำเป็นคุยเป็นโชว์  ใช้จิต

วิทยาดีนะ  เก่ง  มีสิ่งที่ติดแปะประดับอยู่ มีขนนกอยู่ปอยหนึ่ง  ติดอยู่ที่เสื้อตัวนั้นน่ะ  

เท่านั้นน่ะ อาตมาจำได้ เสื้อตัวนั้น เขาก็ซื้อกันไปแสนบาท  อาตมาว่าไอ้ชุดนี้นี่ มัน

ลงทุนไม่เกินหมื่นน่ะ   อย่างดีให้มันหมื่นหนึ่งเอ้า มันก็ขายแสนบาท   คนซื้อก็ซื้อไป

ด้วยความผยอง  (หัวเราะ)  ภูมิพองใจ แต่ก็ฉิบหายไปแสน  แล้วคนพวกนี้  เอา

ไปแล้วต้องไปใส่ครั้งเดียวนะ ออกงานครั้งเดียว  อย่าไปใส่ออกงานสองครั้งให้คน

เห็นในระดับไฮโซด้วยกันเห็นนะ   อู๊! ขายหน้ามาก ใส่เสื้อซ้ำ แสนบาทนี่   ใส่ทีเดียวเท่านั้น แล้วก็ทิ้งเลย ไม่ทิ้งก็เอากองไว้อย่างนั้นน่ะ อย่าเอาไปใส่ซ้ำอีก  ไม่

งั้นเสียเหลี่ยมมาก   เสียมาก โอ้โหย! ดูซิ จิตวิทยาสั่งคม มันทำให้คนเรานี่ผลาญ

ขนาดไหน  ฉิบหายขนาดไหน  ก็แสนบาท มันน่าจะใส่มาตั้งแต่เกิด จนตายนะ  มัน

แพงเหลือเกิน   ใช้มันให้คุ้ม  นี่เปล่าหรอก (หัวเราะ)   โดนเขายั่วอะไรไปอีก  

ไปใส่ครั้งเดียว  แล้วก็ต้องแขวนเติ่งไว้อย่างนั้นน่ะ  ทิ้ง อย่าไปใส่ซ้ำ   อายมาก 

หาว่าไม่รวยจริง   หาว่าไม่รวยจริง ใส่เสื้อซ้ำ  โธ่! ไม่มีจะใส่แล้วหรือไง แน่ะ 

(หัวเราะ)   แน่จริงมันต้อง ชุดนี้ก็ครั้งเดียว  เอาใหม่มาอีก  ใหม่ได้แพงๆมาอีก  

มาอวดกันทุกเที่ยวยิ่งดี นี่

         มันเบ่งรวย  เบ่งใหญ่ เบ่งโอ่อ่า  เป็นกิเลสชนิดอัตตามานะ  เบ่งกัน  

แล้วเขาก็ไม่รู้ตัว  เขานี่เขาเรียกว่าสังคมชั้นสูง   สังคมคนรวย   สังคมคนที่ต้อง

แสดงถึงฐานะอันมหาศาล  ในมุมกลับมันก็ดีน่ะ  ในมุมกลับของเศรษฐกิจเขาว่ามันดี  

มันจะได้ถ่ายเทเงินของพวกคนรวยๆ พวกนี้ออกมาบ้าง แต่มันซับซ้อนมาก คนที่ไม่ร่ำ

ไม่รวยอะไรก็หลงตามว่า  ไอ้ความที่จะยิ่งใหญ่อย่างนี้  รวยๆอย่างนี้น่ะมันดูใหญ่ ดู

ยิ่ง  ดูเท่ ดูสูงอะไร  ก็อยากเป็นบ้าง  แอ๊ค โดยความจริง  ตัวเองก็ไม่มีทุนรอน 

ไม่มีเงินทอง  ไม่มีฐานะเพียงพอ  ก็ต้องทำ ทำตามเขา เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง แต่

ตัวเองน่ะ   แค่หมาน้อย  ไปทำเป็นขี้ก้อนใหญ่เหมือนช้าง   ก็ตายกันมาเยอะแล้ว 

แล้วทุกข์ทรมาน ไม่เข้าใจกันน่ะ มีมาก มีน้อย มีอยู่ในสังคมนี่นะ ถ้าไม่ศึกษาธรรมะ 

พวกนี้ซับซ้อน หลงหรู หลงหรา หลงใหญ่หลงเห่อ  เห่อไปเดี๋ยวนี้ อย่างทุกวันนี้นี่

         สังเกตง่ายๆ   ไอ้พวกคอนเสิร์ต  พวกเพลงนี่  เห่อกันไปอย่างนั้นน่ะ  

แล้วมันก็ค้าก็ขายนะ ปลุกเร้า ใช้จิตวิทยา ทำอย่างโน้น อย่างนี้ โอ๊! ทำอย่างมาก

เลยนะ  เขาจะโปรโมตนักร้องคนหนึ่งขึ้นมา เพื่อที่จะให้ฮือฮาหลงกัน  ไม่เห็นมันมี

อะไรกันนักกันหนา  หลงกัน เสร็จแล้วก็ออกเทปมาตลับหนึ่ง  ติดปั๊บ  ขายสามล้าน

ตลับนี่ โอ้โฮ! คิดดูซิ ถ้าตลับหนึ่งร้อยบาท  เดี๋ยวนี้ ร้อยบาทหรือเก้าสิบบาทโน่นน่ะ  

ตลับหนึ่งใช่มั้ย   ร้อยบาท หรือเก้าสิบบาท  ลงทุน  สมมุติให้ลงทุนไปถึงห้าสิบบาท 

มันก็กำไรตลับละสี่สิบบาท   ล้านตลับ  ก็สี่สิบล้าน  สามล้านตลับ  ร้อยกว่าล้านน่ะ  

ภายในหนึ่งเดือนนะ  ถ้ามันเห่อกันนี่ ภายในหนึ่งเดือนนะ ขายล้านสองล้านสามล้าน

ตลับนี่ ภายในหนึ่งเดือนนะ พรึ้บ  เพราะฉะนั้น มันก็ โอ้โฮ! ต้องมีคณะคิด  ใช้จิต

วิทยาวาง  อื้อฮือ! คนนี้ จะทำไปยังไง จะมายังไง  จะต้องแต่งตัวยังไง จะต้อง

บ้าๆบอๆ ยังไงเขาก็ทำไปหมดเลย โปรโมตกันอย่างชนิด เดี๋ยวนี้ยิ่งใหญ่มาก เรื่อง

โปรโมทนี่    ตั้งกันราคาแพง   จ้างกันราคาแพงเลยนะ   ใครมือทองประสบผล

สำเร็จนี่  โอ้โห! ค่าตัวขึ้นลิ่วๆเลยนะ เสร็จแล้วคน พวกเด็กนี่ ก็อุปาทานหลงเห่อ

ไปวูบ  มันต้องแบ่งเงินจากกระเป๋าพวกนี้ไปมากๆ คนนั่นแหละ  แต่มันก็ไปรวมอยู่ที่หนึ่ง

         เป็นวิธีการหาเงิน ใช้อุปาทานใช้กิเลสของมนุษย์ ใช้ความโง่ของมนุษย์ 

แล้วคนเหล่านั้น  เขาไม่ได้นึกว่าเขาโง่นะ  เขานึกว่าเขาทันสมัย  เขาเป็นพวกที่

เป็นอารยชน  เป็นคนทันสมัย  เป็นคน dern  dern  มันแสลงมาจาก  Modern 

Modernization  เขาเดิร์น  เป็นพวกเดิร์น   ถ้าอย่างนั้นไม่เดิร์นนะ   นี่เชย  

แล้วเขาก็ชื่นชมอยู่ในสังคมอย่างนั้นน่ะ   ยิ่งอยู่ในกรุงในอะไรนี่ จะต่างกับพวกเขา

ป่า พวกเถื่อนที่อาตมายกตัวอย่างขึ้นมา พวกนั้นเขาไม่ได้มาสมมุติด้วย เขาบอก มัน

เป็นยังไง  มันอร่อย มันสุข มันเป็นยังไง (หัวเราะ) ไม่รู้ เขาก็ว่าง เขาก็เฉยๆ  

เพราะฉะนั้น พวกเรานี่ ที่เราไม่ได้ไปติด ไปหลงอะไรกับเขานี่นะ เป็นพวกมีบุญ มี

บุญ ไม่ได้ต้องไปงมงายอะไรกับเขา ไอ้ที่มันไปหลงติดมาแล้วน่ะซิ ต้องมาล้างกันอยู่

ขณะนี้  ทำไมมันยังไม่ออกหมดซะทีหนอ  รู้ก็ว่ารู้แล้วนะ แต่ทำไมมันยัง โธ่! มันยัง 

แหม ยังไม่ออก ยังไม่หมด

         แต่พวกเราจะรู้ว่า เมื่อเราได้ฝึกเพียรทำไปจริงๆ ทำปัญญาให้แจ้ง หัด

ละ  ลด เลิก วาง ไม่ต้องไปปรุง ไปทำซับซ้อนทับถมใส่จิตของเราอีก เอ๊อ!  มัน

นานวันเข้ามันก็จางก็คลายก็เบา  พวกเรามาปฏิบัติเข้าจะรู้สึก จะเข้าใจ  บางคน

บารมีดี  อินทรีย์พละดี  รู้สึกว่า เออ มันมีบาง จางออกได้ เห็นชัดๆว่า อืม!  ไม่

เหมือนก่อน แต่ก่อนนี้จัดจ้านจี๋จ๋า  แหม เราตองบังคับ เราต้องอดทน หรือไม่บังคับ 

ไม่อดทนกก็ให้มันเสวยเลยล่ะ    หาให้มันเสพย์บำเรอ  หาให้มันสมอกสมใจไปล่ะ  

แต่เดี๋ยวนี้  อื๊อ! ไม่เท่าไหร่ หรือแม้ว่าได้เสพย์  ก็รสชาติมันไม่เหมือนเก่า สวยก็

ไม่ชื่นใจเหมือนเก่า       ไพเพราะก็ไม่เหมือนเก่า      อร่อยก็ไม่เหมือนเก่า 

สัมผัสแตะต้องยังไงก็ไม่เหมือนเก่า  สัมผัสทางทวารแล้ว  5 ทวาร 6 นี่ แล้วก็ไม่

เหมือนเก่า  ไม่ฝันเพ้อ  ไม่  แหม ครึมทางภวตัณหา ทางภพ  ทางจิต  คำนึงถึง 

อาวรณ์อาลัย หรือว่าโหยหาอะไรอยู่แต่ก่อน บ่อยๆ เดี๋ยวนี้ ไม่   ลืมๆไปเลย บาง

ทีลืมไปเลย  แม้มาเจอแล้วก็เฉย  สิ่งเหล่านี้เราจะต้องอ่าน ต้องพิสูจน์ ต้องตรวจ

สอบของเราจริงๆ ไม่ใช่เป็นความเสียหาย

         แต่ก่อนนี้ นี่อาตมาเองได้ยิน ได้ยิน อาตมาก็ไม่ได้ไปคิดนึกอะไรกับเขา

มากหรอก ได้ยินเพื่อนๆฝูงๆ หรือผู้ชายด้วยกันนี่บอกว่า โอ้โฮ! คนเราเกิกดมา ถ้า

กามตายด้านนี่  โอ้โห!  ตายดีกว่า ไม่รู้จะมีชีวิตอยู่ทำไมนะ กามตายด้าน   โอ๊! 

ต้องไปหายาโป๊ว  ต้องไปหาอะไรๆ เดี๋ยวนี้ ก็ยังเป็นอยู่ข้างนอกเขาน่ะ  แต่ก่อนนี้ 

อาตมาหนุ่มๆขึ้นมา  เป็นผู้ชาย  เขาพูดกับเขาบอกว่า เออ กามตายด้านนี่  เราก็

ต้องคิดไปตามเขานะว่า เออ ใช่นะ ถ้าขืนกามตายด้านนี่ คงจะต้องไม่ โอ๊!อยู่ไปดี

กว่า ชีวิตไม่รู้จะอยู่ทำไม อยู่เพื่ออะไร แหม กามตายด้านแล้วนะ 

          มาทุกวันนี้  โอ้โห!  ทำไมมันไม่ตายด้านซักทีหนอ   อะไรอย่างนี้นะ 

พวกเรามาปฏิบัติธรรมแล้ว  ทำไมมันยากจัง  ทำไมมันเหลือต่องแต่งๆอย่างนี้ บาง

คนก็รู้สึกว่าทำไมมันลดช้าเหลือเกินนะ    มันก็เป็นจริง   เป็นจริงของแต่ละบุคคล  

มันลดช้า   หรือบางคนลดได้เร็ว ลดแล้วก็ เออ ทำได้เข้าใจง่าย อ่านออก  มันดู

เหมือนมัน   โอ้โฮ!   ชัดแล้วก็ลงไป   ก็เห็นความจริงว่ามันสงบระงับ   กามนี่ 

บางจางลงไปนี่  โอ๊! ดี แต่ก่อนนี้ ความโกรธ ความแค้น  ความพยาบาทอาฆาตก็ 

เอ๊!  อย่างนี้  ไม่โกรธก็ไม่ใช่คนซิ   แบบนี้เขามาทำกับเราอย่างนี้   เราก็ต้อง

โกรธซิ   ไม่โกรธไม่ได้ ไม่โกรธผิดน่ะ  คนผิดปกติแล้ว  อย่างนี้ไม่โกรธได้ยังไง  

อย่างนี้มันต้องโกรธ   เป็นคน  ถ้าเขามาทำอย่างนี้กับเราอย่างนี้  นี่มันต้องโกรธ  

ไม่โกรธมันไม่ถูกหรอก    พวกนี้   Abnormal  แล้วไม่ใช่คนธรรมดา   เป็นคน

พวกบ๊าบ้า   อย่างนี้มันต้องสมควร  สมควรแล้ว สมควรโกรธแล้ว ถ้าไม่โกรธ  ก็

ผิดมนุษย์น่ะ อย่างนั้นน่ะ เป็นเรื่องปกติเขาน่ะ

         ความจริงไม่ใช่   พอเรามาศึกษาธรรมะจริงๆแล้ว  เอ๊ะ!  ไอ้ความ

โกรธ  เกิดอย่างนี้  มันกลับไม่ดี  ถ้าเราไม่โกรธ โอ ! เราไม่ใช่  Abnormal 

แล้ว   ไม่ใช่คนผิดปกติอย่างนั้นนะ กลับเป็น     Supra normal กลับเป็นมนุษย์ 

พิเศษขึ้นมาต่างหาก   มันไม่ปกติอย่างพิเศษ อย่างที่มีธาตุรู้ว่า อือ!  ไม่โกรธได้ดี 

มาฝึกมาหัดเถอะนะ ไม่ต้องถือสาถือเคืองอะไร  ใครจะทำยังไง ใครจะเป็นยังไง 

เราก็รู้  รู้เขา เออ คนนี้เป็นอย่างนี้ คนนี้หยาบ คนนี้ผิด คนนี้ทำอะไรไม่ค่อยดี ไม่

ค่อยงามอย่างนั้น อย่างนี้อะไรก็รู้เขา  เตือนเขาได้ ช่วยกันได้ ทำให้ดีขึ้นมาเถอะ  

มีวิธีการช่วยกันเตือนกันขึ้นมาได้  ก็ทำ   ถ้าเตือนไม่ได้ ก็  โอ!ไม่ดี  หรือถ้าอยู่

ด้วยกันคนนี้นี่   ถ้าว่าเราตัดมาตรฐานเอาไว้แล้วว่าเกรดขนาดนี้น่ะ   นี่คนนี้  ชั่ว

ขนาดนี้แล้วนี่  ต้องเข้าหมู่แล้ว  บอกกันอย่าเอาไว้เลย  อย่าให้อยู่ด้วยเลย   ขืน

อย่างนี้ไม่ไหวหรอก   มันพาลเสียหาย ลาก จูงดึงอะไรพวกเราลงไป  ก็ว่ากันไป  

ขอร้องให้ออกไป  อย่าให้อยู่ในนี้กันเลย  ก็ต้องเลือกเฟ้น ต้องคัดอะไรอย่างนี้เป็น

ต้น

         ไม่ว่าจะเป็นการโกรธ  การมีราคะ  มีกาม หรือว่ามีความโลภ  โลภ

จังเลย   เห็นอะไรก็อยากได้  โลภไม่รู้จักพอ   อยากได้จนกระทั่งถึงขั้นทำทุจริต 

ขโมย  ไม่ใช่ของเรา  ก็หาวิธีเอา โดยการขโมย  หรือไม่ก็ใช้เล่ห์ใช้เหลี่ยมเอา

เปรียบเอารัดชนิดนั้นชนิดีนี้  มันโลภ มันเห็นแก่ได้  สะสม  หอบหามมาเป็นของตัว

ของตน  ได้มากๆ มีมากๆ  เรื่องของปุถุชน หรือเรื่องของผู้ไม่ศึกษาธรรมะ ก็เป็น

อย่างนั้น  เป็นธรรมชาติ   ได้มากเท่าไหร่  ก็ไม่รู้จักพอ     แต่พอมาศึกษาแล้ว 

พิสูจน์แล้ว  ยืนยันแล้ว เอ๊! ไม่มีนี่มันกลับยาก  ทำยาก แต่ทำได้นี่  มันเป็นความดีจริงๆนะ   แล้วก็อยู่ได้ด้วย  ไม่มีก็อยู่ได้ด้วย   จนกระทั่งกลายเป็นสังคม  กลาย

เป็นวัฒนธรรม  กลายเป็นหมู่กลุ่มเหมือนอย่างพี่อย่างน้อง ภราดรภาพ  พึ่งพาอาศัย

กัน เหมือนพี่เหมือนน้อง เกื้อกูลกันได้ เป็นวัฒนธรรมของมนุษยชาติซึ่งเป็นสัตว์โขลง 

เป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่กลุ่ม     ไม่ใช่สัตว์ปลีกเดี่ยว   หรือ    สัตว์แยกย่อย 

สัตว์แยกย่อยมันก็อยู่ตัวเดียว  อยู่ปลีกๆไปตามประสา  จะมีคณะก็เป็นครั้งคราว มา

จับกลุ่มกันประเดี๋ญวประด๋าวแล้วก็แยกไป  แต่ของเราจะอยู่รวมกัน มีอะไรก็ อยู่กัน

อย่างสุขสบาย   รวมกันอย่างไรก็ไม่แปลก  แล้วก็ไม่ทะเลาะกัน ไม่เห็นแก่ตัว ไม่

เห็นแก่ได้   ไม่อะไรต่ออะไร  สังคมอย่างนี้ ก็เป็นอยู่สุข  นี่เป็นอุดมการณ์ที่แม้แต่

ชาวโลกจริงๆ   เขาก็เข้าใจ ชาวโลก ชาวปุถุชน ชาวสามัญนี่เขาก็เข้าใจ   แต่

เขาไม่มีวิธี   ไม่มีวิธีการที่จะทำให้มันลึกซึ้ง  ให้มันลดละไอ้สิ่งที่เป็นตัวร้าย  ที่ไป

ทำลายความสงบเรียบร้อยความสันติสุข  เขาไม่มีวิธี

         พระพุทธเจ้านี่ค้นพบวิธี  มรรคองค์ 8 นี่แหละ  ซึ่งจะต้องเข้าใจสภาพ

คุณภาพระดับโพชฌงค์  คุณภาพระดับโพชฌงค์ ก็หมายความว่า จะต้องมาเรียนรู้ให้รู้

ว่าต้องใช้อะไรบ้าง?   ใช้เครื่องมืออะไรบ้าง ในการพัฒนา ในการก้าวเดิน  จึง

เรียกว่าก้าวเดิน   เพราะฉะนั้น  จะก้าวเดินไปเป็นพุทธะ  พระพุทธเจ้าหรือเจ้า

แห่งพุทธะ  นี่พาเดินด้วยก้าวเจ็ดก้าว เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าเกิดมา  พระพุทธ

เจ้าท่านเคยตรัส  มีสูตรหนึ่งบอกว่า พระพุทธเจ้าเกิด โพชฌงค์ 7 จึงเกิด  คำพูด

คำนี้  ก็เลยบอก  อ๋อ! พระพุทธเจ้าเกิดมาเดิน 7 ก้าว  การจะเดินไปเป็นพุทธะ 

ต้องใช้โพชฌงค์  7 ก้าว ก้าวเดินอย่างโพชฌงค์ให้ได้นี่ พูดไปพูดมา  ก็เลยบอกว่า

พระพุทธเจ้านี่เป็นปุคลาธิษฐานเลย  คลอดออกมาก็เดินก้าวปึ๊บๆๆไป 7 ก้าวเลยนะ 

พอคลอดปุ๊บ  ตกปุ๊บออกมา ก็เดินเลย เดินแล้วก็เขียนดอกบัวรับด้วยนะ  เดินมีดอก

บัวรับเท้าเดิน พระบาท อาตมาเคยตั้งคำถามว่า เมื่อพระพุทธเจ้าคลอดปุ๊ดอออกมา 

แล้วก็เดินไป   7  ก้าว  พอถึงก้าวที่ 7 ต่อจากนั้นไปทำยังไง  ล้มลงเลย  กลิ้ง 

เพราะว่าบอกว่าเดิน  7 ก้าว แค่นั้นนี่นะ  แล้วต่อจากก้าวที่ 7 ทำยังไงล่ะ?  พอ

เดินไปแล้วค่อยๆ   ย่อตัวลงนั่ง  หรือว่าล้มลง  ไม่มีใครอธิบายได้   (หัวเราะ)  

อาตมาก็ลองใช้ปฏิภาณเพื่อที่จะดักคนนะ   ก็มันเชื่อถือนักหนา เชื่องมๆงายๆ  เชื่อ

อะไรคนประหลาดๆ  แหม คลอดออกมาแล้วก็เดินได้ปุ๊บๆๆ ไป 7 ก้าวเลย ก็ แหม 

คลอดใหม่ๆ  ยังมีกำลังเดินได้ตั้ง  7 ก้าว  แล้วมันก้าวที่ 8  ก้าวที่ 10  ที่  11 

อะไรไปมันน่าจะ  แหม เดินพ้นพื้นดินเหาะเลยมั้งนะ แต่ก็ตอบไม่ได้ว่าเป็นยังไงล่ะ  

ต่อจากก้าวที่ 7  ไม่รู้กันละ  ล้มลงนอนแอ้งแม้ง  เพราะหมดแรง หรือว่าเหาะไป

เลย หรือว่าทำยังไงไม่รู้ (หัวเราะ)  นี่ก็เป็นวิธีการซัก ดักให้จนทาง จนแต้มเท่า

นั้นเองแหละ  ความจริงแล้วเป็นปุคลาธิษฐาน ก็พูดกันไป  จะไปเอาถึงขนาดนั้น ก็เข้าใจความจริงก็เอาเถอะ  บางคนต้องใช้วิธีอย่างนั้นเลย เห็นว่าเป็นสิ่งที่น่าเชิด

ชูบูชา   เป็นสิ่งประหลาด  ต้องเอาสิ่งเหล่านี้ให้เขาได้รับความยอมรับนับถืออะไร

กันก็มี ก็เอา  ว่าไป

         ที่จริงแล้วก็หมายถึงโพชฌงค์ดังที่กล่าวแล้ว         หมายถึงการก้าว

ด้วยคุณธรรม จะต้องมีอันนี้นำพาก้าว    ฟังดีๆ  อาตมาจะอธิบายโพชฌงค์สัมพันธ์กั

บมรรคองค์   8    ต้องไปด้วยกันมาด้วยกัน  ยิ่งกว่าเลือดสุพรรณ   บรรหารนะ  

โพชฌงค์ กับมรรคองค์ 8  นี่จะต้องไปด้วยกัน มาด้วยกันเลือดสุพรรณเอ๋ย จริงๆนะ  

ต้องเลือดสุพรรณไปด้วยกันขาดไม่ได้หรอก  

          เพราะฉะนั้น     คำว่าโพชฌงค์นี่    แปลว่าองค์แห่ง...คือขีดเขต

ขององค์ธรรมที่บุคคลนั้นจะต้องมีความสามารถทำให้เกิดขนาดนั้น  ทำให้เกิดขนาดที่

เรียกว่าขนาดเป็นองค์แห่งการตรัสรู้  เป็นขนาดที่ต้องถึงด้วยคุณภาพขนาดนี้  จึงจะ

พาตรัสรู้   พาก้าวไปเป็นพุทธะ   พาเกิดพุทธคุณ   พาเกิดเป็นพุทธะ  เกิดพุทธะ  

พระพุทธเจ้าเกิดจึงจะมีโพชฌงค์    ศาสนาอื่น  ไม่เข้าใจถึงขนาดนี้   แม้แต่พุทธ

ศาสนิกชน   หรือศาสนาพุทธในเมืองไทยนี่ก็  อาตมาไม่ใช่ดูถูกคนหรอกนะ  ไม่ใช่

ดูถูกปราชญ์ท่านทั้งหลายหรอกว่าท่านก็ยังอธิบายสติ  ให้เป็นสติ  บอกว่ามีความต่าง

ยังไง?   สติบอกว่า การระลึกรู้  แล้วก็ไปสอนกันอยู่แต่ว่า สติระลึกรู้  แล้วเขาก็

ใช้เพียงสติระลึกรู้ธรรมดาเท่านั้นแหละ    เป็นสติกัลยาณชน   คุณภาพขึ้นมาถึงสติ

กัลยาณชนก็ไม่ถึง หรือถึงได้ อธิบายกันมาว่าสามารถมีสติ ถึงกัลยาณชนได้บ้าง  แต่

ถึงขั้นโพชฌงค์ละมันขนาดไหน?  อธิบายได้มั้ย สติขั้นโพชฌงค์ หรือขั้นที่เรียกว่าเป็น

สัมมาสติ  ที่มีคุณภาพถึงขั้นว่าจะพาบรรลุธรรม   พาได้บรรลุอาริยธรรม  พาบรรลุ

อาริยธรรมน่ะ   เพราะตรัสรู้นี่ จะต้องบรรลุอาริยธรรม บรรลุคุณธรรมอีกชนิดหนึ่ง  

ไม่ใช่ของปุถุชน    แต่เป็นของโลกุตรบุคคลนะ  ของอาริยชนนะ  คือเราแบ่งๆกัน

อยู่ว่า อาริยชน หรือ อริยชนที่เขาเรียกกันนี่ มันไม่ใช่ปุถชน  ปุถุชนกับอริยชนนี่เขา

แบ่งๆกันอยู่จริงๆ พาเกิดอย่างนั้น พาถึงสภาพอย่างนั้นทีเดียวนะ

         เพราะฉะนั้น  ก็จะต้องรู้ว่าคุณภาพระดับโพชฌงค์  นี่แหละมีสติ   ทีนี้มี

อะไรบ้างละ  โพชฌงค์ที่จะต้องพาเดิน  พาก้าว  พาเจริญไปได้   พาพัฒนาไปได้  

มีสติ  ธรรมวิจัย  วิริยะ นี่ละโพชฌงค์ตัวหลัก  ถ้าเรารู้ว่า สตินี่นะ  สติของเรานี่ 

สติในระดับธรรมดา  ธรรมดาของพวกคุณไม่ใช่คนบ้า ไม่ใช่เสียสตะ  คุณก็เป็นคนมี

สติอยู่ธรรมดา  แต่ถ้าคุณมีกิเลสอย่างไร คุณก็ไปอยู่กับกิเลสธรรมดา คนไม่ได้ศึกษา

ธรรมะนี่เห็นมั้ย   เขาก็มีสติทั้งนั้นน่ะ  ทุกวันเขาก็มีสติ   ตื่นเช้าจนกระทั่งจดเย็น  

แล้วก็ตื่นเช้าขึ้นมาจรดเย็น   วันทั้งวัน เขาไม่เคยไป โรงพยาบาลประสาท   ไม่

เคยไปโรงพยาบาลโรคจิต ไม่เคยสติเสียอะไรนี่  อาจจะมีสติตกบ้าง เป็นสติตกไปบ้างบางครั้งบางคราว   เผลอๆไผลๆ นิดๆหน่อยๆ อะไรไปตามความจริง  ก็เป็น

ธรรมชาติเป็นธรรมดา

         แต่คำว่าระลึกรู้ตัวทั่วพร้อม เขาก็ระลึกรู้อยู่ตลอดเวลา  อย่างนี้เป็น

ยังไง กิเลสมันก็บงการอยู่ มีสติระลึกรู้ รู้ตัว  รู้านี่ฉันเป็นฉัน ถ้าฉันมีฐานะหน่อยนะ

นี่  เป็นพวกเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ   แต่ที่จริง  จนจะแย่อยู่แล้วก็ต้องแอ๊ค   ฉันก็มีสติรู้

เหมือนกันนะ  อู๋ย! แอ๊คจังเลย นี่ฉันเป็นคนอย่างนั้นอย่างนี้อะไร  หรือฉันจะทำให้

เป็นอย่างนั้น   ก็รู้ตัวว่าฉันจะต้องทำอย่างไร ฉันจะต้องแอ๊คอย่างไร   ฉันจะต้อง

เป็นอย่างไร  ก็เต็มบ้านเต็มเมือง  ก็มีสติทั้งนั้นแหละ  จะทำงานทำการ โน่นๆนี่ๆ 

ก็รู้ตัวอยู่  มีสติรู้ตัว ทำไปตามอำนาจกิเลส มันอยากอะไรก็บำเรอ  ไม่เคยรู้เรื่อง  

ได้เปรียบเป็นเอา ดีไม่ดีมีสตินั่นแหละ ทุจริต  แล้วต้องมีสติมากๆนะ  อย่าให้ใครรู้ 

อย่าให้ใครเห็น  เวลาปฏิบัติการจะขโมยเป็นต้น มีสติให้มาก ไม่มีสติ ไปขโมยตาย

ตั้งแต่เดินเข้าไปแล้วละ  (หัวเราะ)  ใช่มั้ย ต้องมีสติรู้ตัว รู้รอบด้าน รู้พร้อม  มี

อะไรมาสัมผัสแตะต้องต้องรู้     มีปฏิภาณแววไว    ระมัดระวัง   ทำการนั้นให้

สำเร็จสมประสงค์ แม้จะทุจริตก็ตาม พวกนี้คือปุถุชนธรรมดาๆ ปุถุชนร้อยเปอร์เซ็นต์  

เขาจะทุจริต  เขาก็มีสติ  เขาจะทำการเอาเปรียบเอารัด  เขาจะโกง  เขาจะ

เฉลียวฉลาดเฉโกยังไง    ตอนนี้เขากำลังเลี่ยงใหญ่เลยนี่  กำลังโกหก   กำลัง

ลดเลี้ยว  ใช่เล่ห์ใช้อะไร เขาก็ต้องมีสติ ใช้ความฉลาด ใช้จิตวิญญาณ ใช้จิตปัญญา 

ไม่ใช่ปัญญาหรอก   เฉโกนี่ ใช้จิตความฉลาดเข้ามาปรุงให้เต็มที่  แต่เขาไม่สำนึก 

หรือว่าไม่คิดว่า  โอ๊! อันนี้ชั่วหนอ อันนี้ดีหนอ  มันควรจะเลิกชั่วนะ  ประพฤติดีนะ  

เขาไม่คิดเท่าไหร่  นี่คือปุถุชนร้อยเปอร์เซ็นต์  สติก็เป็นสติปุถุชนร้อยเปอร์เซ็นต์

         ทีนี้สติอีกระดับหนึ่ง  สติระดับกัลยาณชน  กัลยาณชนนี่ก็มีสำนึก  มีการรู้

ตัว แล้วก็สำนึก  แหม เราทำอย่างนี้ มันทุจริตนะ  อย่างนี้มันชั่วนะ  อย่างนี้มันไม่

ดีนะ  ไม่งาม  มีหิริขึ้นมาหน่อย  เรียกว่าเป็นเทวดาขึ้นมานิดหนึ่ง  เทวดาเป็นผู้มี

ภูมิสูง   ละอายต่อความชั่ว  ละอายต่อบาป  ละอายต่อสิ่งที่... พอมีปัญญาแล้ว มี

สติ มีตัวธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใดมีวิริยะ เพียร เป็นกัลยาณชน ก็

พยายามฝึกตนเอง  พยายามมีสัมผัสตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีพฤติกรรมกายกรรม 

วจีกรรม  มโนกรรมก็รู้สึกตัว  เพราะฉะนั้น พวกนี้ส่วนมาก จะปฏิบัติธรรม  ปฏิบัติ

ธรรมเราก็รู้สึกตัวนะ  รู้จักกายกรรม อย่าไปทำทุจริต อย่าไปทำอกุศล  ทุจริตเป็น

อย่างไร   อกุศลเป็นอย่างไร ก็เรียนพวกนี้ส่วนมาก ก็เรียนธรรมะ  ฝึกฝนหรือไม่

เขาก็มีบุญบารมีของเขา   เขาก็จะมีสำนึก  มีปฏิภาณ มีความรู้ในตัวเองว่า  เออ 

พยายามพัฒนาตนให้เป็นคนดี  นี่ในโลกธรรมในโลกปุถุชน  กัลยาณชน ก็ยังเรียกว่า

ปุถุชนอยู่นะ   ยังไม่มีสติ  หรือธรรมวิจัยเข้าขีดสัมโพชฌงค์  หรืออาริยะ   ฟังดีๆ อาตมากำลังตัดเกรดตัดขีด คุณฟังภาษาไปแล้วคุณก็ไปประมาณให้ดีว่า ขนาดนี้ ขณะนี้

คุณกำลังรู้ความแตกต่างของปุถุชนกับกัลยาณชนขึ้นมาแล้วนะ   พอรู้ชัดขึ้นมั้ย อาตมา

ทำนี่ ตัดเกรดกันตรงไน อะไรยังไง 

         เพราะฉะนั้น  ผู้ที่มีสำนึก   มีธรรมวิจัยแล้ว สติ แล้วก็มีธรรมวิจัย  มี

ความตั้งใจพากเพียร  พากเพียรเพื่อละชั่ว ประพฤติดี ตามภูมิปัญญา  ตามภูมิปัญญา  

เอํ๊ย!  อย่างนี้มันชั่ว  อย่าไปทำเลย  อย่างนี้มันไม่ดีไม่งาม   พยายามหยุดเถอะ  

ทำสิ่งดี   เขาก็พากเพียรขึ้น เพราะฉะนั้น ผู้ใดมีความสำนึกมาก สังวรมาก  มีภูมิ

ปัญญารู้จักความชั่ว  หยาบ กลาง ละเอียด  เขาก็เลิกหยาบ เลิกกลางมา  ขึ้นมา

ละเอียดขึ้นมาได้มากขึ้นมากขึ้น   ตามภูมิของเขา  เขาก็เป็นกัลยาณชน  สติสูงขึ้น  

กัลยาณธรรมสูงขึ้น   ธรรมวิจัยก็วิจัยฝึกไป  มันก็วิจัยไปได้ รู้จักธรรมะ รู้จักกรรม 

กายกรรม  วจีกรรม มโนกรรม รู้จักสังคมสิ่งแวดล้อม  รู้จักฐานะอันที่ควรเรียกว่า

อะไรเป็นกุศล  อกุศล  แม้แต่ว่าทาน เสียสละ เขาก็รู้ เขาก็พยายามทำ  ไม่เอา

เปรียบ ไม่เอารัด ไม่ใช้เล่ห์ใช้เหลี่ยม  ซื่อสัตย์สุจริต  รู้ ไม่มาเรียนธรรมะ มันก็

รู้กันทั่วๆไป อยู่แหละ  ไม่ว่าศาสนาไหนก็รู้

         แต่ศาสนาไหนๆ   นี่ก็ไม่ชัดเจน ไม่มั่นคง  ไม่แน่เหมือนกับศาสนาพุทธ  

บอกว่าสติระดับโพชฌงค์   ธรรมวิจัยระดับโพชฌงค์  วิริยะระดับโพชฌงค์นี่ มันต้อง

ขนาดนี้ ไม่แม่นมั่นเหมือนศาสนาพุทธหรอก  เพราะฉะนั้น  แม้แต่ความเสื่อมไปจาก

ศาสนาแล้ว  แม้เป็นพุทธเอง  พุทธศาสนิกชน  พุทธมามกะ  ดีไม่ดี เขานับถือเป็น

ผู้รู้ เป็นอาจารย์ทางศาสนาพุทธซะด้วยซ้ำไป  มีลูกศิษย์ลูกหาเยอะด้วยซ้ำ  ก็ยังไม่

ชัด   ยังอธิบายหรือแยกว่า นี่สติระดับมีสติสัมโพชฌงค์   ธรรมวิจัยระดับนี้  ธรรม

วิจัยสัมโพชฌงค์   วิริยะระดับนี้จึงเรียกว่าวิริยสัมโพชฌงค์   วิริยะก็เรียกว่าความ

เพียร  ก็เพียรอยู่ทั้งนั้นแหละ  เพียรเป็นขโมย  พากเพียร  โอ้โฮ! เพียรที่จะไป

แย่งเมียเขามาให้แก่เรา   เพียรจริงๆเลย  อุตสาหะมากมาย   ก็เพียรทั้งนั้นน่ะ 

เพียรแบบปุถุชน  เพียรแบบทุจริต  เพียรแบบบาปๆ เพียรก็เยอะไป  ก็เพียร หรือ

เพียรที่จะเป็นกัลยาณชนก็เพียร   แต่ถึงขีดเพียรที่มันเข้าขั้นความเพียรขนาดนี้นี่ ถูก

ต้องนะ  มีปัญญารู้ ทำได้อย่างดี  ทำได้เข้าขั้นสัมโพชฌงค์ เพียรอย่างนี้นี่  เป็นต้น 

ขณะนี้นี่เพียรระดับนี้มีองค์ประกอบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สัมผัสแตะต้อง ก็เพียร

อย่าให้ตกหล่น  มีสภาพที่ว่าเราจะปฏิบัติธรรมอยู่ได้ สัมผัสแล้วก็มีธรรมวิจัย สติรู้ตัว

ทั่วพร้อม  สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย  ยังไง ก็มีสติรู้ แล้วยังมีความแววไว  สติ

นั้นก็ได้ฝึกทำฌาน  ฝึกทำสมาธิไปในตัว  ฌานลืมตา  ฌานมีตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง  

มีชีวิตธรรมดา  มีการงาน  มีการกระทำอะไรอยู่นี่แหละ   แต่เราสามารถที่จะฝึก

เรียน   จนกระทั่งสติของเราอยู่ในระดับสัมโพชฌงค์   แล้วเราก็มีธรรมวิจัยอยู่ในระดับสัมโพชฌงค์    วิริยะ   เพียร  พยายามพากเพียรฝึกเอามาจนได้   จนถึง

ขั้นสัมโพชฌงค์   ถ้ามีอย่างนี้   นี่เรียกชื่อเสียก่อนนะ  เดี๋ยวค่อยขยายว่า แล้วมัน

ยังไงล่ะ   สัมโพชฌงค์มันยังไง  เดี๋ยวค่อยขยายอีกที  อย่างนี้แหละ  เรียกว่าผู้ที่

กำลังมีก้าวที่ก้าวเดินไปสู่พุทธภูมิ  หรือ พุทธธรรม หรือ พุทธคุณ   ก้าวเดินไปเป็น

พุทธแท้ๆ  ก้าวเดินไปสู่พุทธธรรม อาริยธรรม พุทธธรรมในระดับอาริยะ

         ทีนี้สติที่ว่านี่    มันจะต่างกับสติกัลยาณชนอย่างไร?    สติที่จะต่างกับ

กัลยาณชน  ก็คือ เรามีความระลึกรู้ตัวทั่วพร้อม  พอสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย 

ใจ  สัมผัสแล้ว มีสัมผัสเป็นปัจจัย  เราก็สามารถที่จะมีญาณข้างใน  เรียกว่ามุทุภูต

ธาตุ  มุทุ   ภูตะ  นี่แปลว่าจิตวิญญาณ  มุทุภูเต   องค์ฌานอันนี้นี่นะ   อยู่ในพระ

ไตรปิฎกท่านอธิบายขยายไว้    ในพระไตรปิฎกท่านขยายตรงนี้   ขยายว่าความมี

สภาพ   ทำอธิจิต หรือทำจิตได้ถึงขั้นมุทุภูเต  แล้วก็เป็นมุทุภูเต  กัมมนิเย   ฐีเต 

อเนญชัปปัตเต   นี่นะ  ท่านว่าเป็นชุดเลยนะ  อันนี้ มันเป็นชุดเลย  สี่ตัวนี่เป็นชุด  

เพราะท่านอธิบายถึงจิต   อธิบายถึงจิตปรมัตถ์  ท่านก็อธิบายว่าในขณะผู้ที่ทำฌานนี่  

องค์ของฌานนี่นะจะมีคุณสมบัติ  4  นี้เสมอ   ในพระไตรปิฎกนี่แปลเป็นไทยเอาไว้  

พอถึงคำว่ามุทุภูเต   กัมมนิเย  ฐีเต  อเนญชัปปัตเต  นี่เมื่อไหร่  ท่านก็แปลเป็น

ไทยว่า  จิตอ่อนควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว   ไปดูในพระไตรปิฎกที่ไหนละ 

ยกสูตรนี้ขึ้นมาหมดเลย ท่าน COPY  เอาไว้ เสร็จแล้วก็มา PLATE  ไว้ตรงนี้หมด  

ไปถึงตรงไหน  มุทุภูเต  กัมมนิเย อเนญชัปปัตเต  ก็ PAGE อ่อน ควรแก่การงาน  

ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว  มั๊บๆๆ กด COPY ไว้นิรันดร์ ไม่ลบ พอถึงมุทุภูเต   กัมมนิเย  

ตรงไหน   ในพระไตรปิฎก  แปะมั๊บ PLATE   ตรงนี้เข้าไปเลย  เป็นภาษาตาย 

(หัวเราะ)  แปลว่าอย่างนี้ทั้งนั้น ผู้อ่านพระไตรปิฎกก็อ่านไปซิ  ผู้แปลก็แปลไปซิ ผู้

ท่อง จบเปรียญ 9 มาก็ท่องได้ปั๊บเลย

         แต่มันเป็นยังไงล่ะ? แล้วมันมีคุณลักษณะอย่างไร?  มาทำให้มันเกิดจริง

เป็นจริง  ให้มันได้ในบุคคลนี่ซิ  เป็นยังไง  อาตมาว่าเขาก็ยังไม่ค่อยเอามาพูดกัน

เท่าไหร่   อาตมาไม่รู้นะ   ว่ามีใครรู้แล้วก็อมภูมิเอาไว้ ไม่ขยาย  ไม่ให้รู้กันน่ะ 

แหม  มันน่าเสียดาย  อาตมาไม่อมภูมิหรอก  อาตมาว่าอาตมารู้   อาตมาอธิบาย  

เพราะอาตมาไปพบในพระไตรปิฎก  เห็นอย่างนี้ ดูในพระบาลีแล้ว โอ้โฮ! ตัวนี้มัน

ตัวเนื้อแท้  เนื้อหานี่ ต้องมาเรียนรู้ ถ้าได้เรียนรู้ขั้นสัมโพชฌงค์  จะเรียนรู้ขั้นเป็น

อาริยะกันแล้ว  ถ้าไม่มีความรู้อันนี้ไม่ได้เป็นอาริยะ  ถ้าแปลคำว่าอ่อน มุทุนี่ เขาก็

แปลว่าอ่อนจริงๆนะ   มันก็เป็นภาษาเอามาใช้  ทีนี้มาใช้ในธรรม มันไม่ได้มีความ

หมายแค่อย่างโลกๆอย่างนั้น  มันมีความหมายลึกซึ้ง จิตอาตมาพยายามหาภาษาไทย

แปล  มันก็ยากนะ อาตมาก็เลยได้คำหนึ่ง จิตหัวอ่อน  หัวว่านอนสอนง่ายนะ จิตหัวอ่อน แต่ไม่ใช่จิตหัวอ่อนแล้ว ก็ถูกเขาจูงเฉยๆนt จิตหัวอ่อนนี่ ความอ่อน ความเร็ว 

ความไวของจิตนี่   แววไว  เฉลียวฉลาด   เร็ว  ไม่ใช่ดื้อด้าน   แข็งกระด้าง  

มะลื่อทื่อ   ไอ้พวกนี้  มันตรงกันข้ามกับอ่อนทั้งหมดใช่มั้ย  แข็งกระด้าง  มะลื่อทื่อ  

ซึม  เด๋อ   อะไร  มันตรงกันข้ามกับอ่อน   มันแววไวน่ะ   มันอ่อน  มันแววไว  

อาตมาก็พยายามใช้ภาษาไทย   แปลความหมายของสภาวะ    แล้วมันก็ดัดได้ง่าย  

ปรับได้ง่าย  มันไม่ดื้อหรอก  นี่ไปติดกิเลส ก็เลิกจากกิเลสได้ง่าย ดัดได้ง่าย  จิต

หัวอ่อน  ดัดง่าย  ปรับง่าย รู้เร็ว  นี่คุณภาพของมุทุภูตธาตุ นี่มันไม่ใช่ธรรมดา

         เพราะฉะนั้น ปรับไป แล้วก็เจริญด้วยมุทุภูตธาตุ  เจริญด้วยกัมมนิยธาตุ  

ธาตุกัมมนิเย  กัมมนิยะนี่ เขาแปลเป็นไทยว่าควรแก่การงาน  การงานเหมาะควร

ว่างั้นนะ    กัมมนิยะ  ก็กรรมการงานนี่แหละ   มันมีการงาน   มีการกระทำอยู่  

เพราะว่าปฏิบัติธรรมของพระพุทธเจ้านี่ไปพร้อมกับกรรม    การงาน     มันต้อง

มีสังกัปปะ วาจา  กัมมันตะ อาชีวะ  แล้วอาตมาก็แปลกัมมันตะ  ให้ฟังว่ากัมมันตะ

ไม่ใช่ พอไปเข้าใจว่าสังกัปปะ ก็คือใจ วาจาก็คือคำพูด  พอกัมมันตะ ก็เลยแปลใจ 

วาจา กาย  มันไม่ใช่ กัมมันตะไม่ใช่เเอาแต่แค่กาย  กัมมันตะนี่คือ กรรมทั้งหลาย

ทั้งหมด   ทั้งกาย วาจา ใจด้วย  อาตมาก็เคยย้ำให้ฟังบ่อยๆนะ  ทั้งกาย  วาจา 

ใจ ด้วย กัมมันตะนี่ แต่กัมมัญญา หรือ กัมมนิยะ  กัมมัญญา  กัมมัญญานี่ ก็ไปอยู่ที่ไป

อธิบายขยายความอยู่ในองค์ธรรมของอุเบกขา  ซึ่งเขาก็แปลเป็นไทยว่าเหมาะควร

แก่การงาน  หรือว่าการงานสำเร็จ  สละสลวย  เขาก็ไปแปลว่าสละสลวยนะ ใน

พระไตรปิฎกแปลว่าสละสลวยสั้นๆด้วยซ้ำไป   ถ้าเราไม่รู้สภาวะ เราก็ฟังแต่ภาษา  

ภาษาต่างกัน  ก็เอาภาษามาเถียงกัน  บางคนเจอแต่ว่ากัมมัญญา แปลว่าสละสลวย  

กัมมนิยะแปลว่าเหมาะควรแก่การงาน  พอเราไปแปลกัมมัญญาว่าเหมาะควรแก่การ

งานอีกบ้าง  เถียงคอเป็นเอ็นเลย บอกไม่ใช่ แปลว่าสละสลวย ก็เถียงพยัญชนะกัน

ไปซิ  ชกกันตายเลย เราก็ไม่ชกกับเขา  เข้าใจให้ได้  

         เพราะฉะนั้น คุณลักษณะของฌานนี่ ฌานลืมตา นี่จะต้องมีคุณลักษณะพวกนี้  

จิตที่จะเข้าถึงขั้นอาริยะ  หรือขั้นสัมโพชฌงค์  นี่จะต้องเป็นจิตที่เกิดอธิจิต หรือเกิด

ปฏิบัติธรรม   มีศีล มีหลักที่ไปประพฤติเป็นศีลเป็นพรต   พรตคือการประพฤติปฏิบัติ  

การลงมือปฏิบัติ   การลงมืออบรมฝึกฝนตน ศีลก็คือหลักเกณฑ์ที่เราสมาทาน เรายึด

ถือ เราตั้งขึ้นมา  เป็นกรรมฐานอะไรอย่างนี้  เราจะทำอย่างนี้   เราสังวร สำ

รวม  กายกรรม วจีกรรม หรือวาสำรวมสังวรเมื่อผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น  กาย 

มันจะพาให้กาย วาจา หรือใจของเรานี่ไปเป็นทุจริต หรือเป็นมิจฉาไป  เราก็ต้อง

พยายามละเว้น  พอกระทบสัมผัสปั๊บ  จิตมันดำริปั๊บนี่ ถ้าเผื่อว่าเรากิดเลสกามมันก็

จะหากามบ่อย   ก็ต้องรู้เท่าทัน  เพราะฉะนั้น ผู้ใดจับจิตได้  ตอนนี้พยายามฟังนะ  มีสติถึงขั้นจับจิตได้   จะกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ขณะใด  เมื่อใดก็แล้วแต่  

คุณก็สามารถที่จะมีความแววไว  มีความรู้ตัว จับจิต  เรียกจิตเป็นตัวก็ได้  นี่ขอยืม

เรียกภาษานะ   เขาบอกว่าจิตไม่มีตัวตน แต่มันไปเป็นตัว  ที่จริงน่ะ มันสามารถรู้

ได้ด้วยอาการ   รู้ได้ด้วยนิมิต  อาการ นิมิตหมาย  จับนิมิต  มันเป็นลีลาอย่างไร  

มันเป็นอาการอย่างไร มันเป็นอารมณ์อย่างไร  จับได้ มีญาณของเรานี่ อ่านจิตของ

เรา  อ่านอาการออก   ตอนนี้อาการเป็นราคะ  ตอนนี้อาการกาม  ตอนนี้อาการ

พยาบาท อาการโทสะ อาการโกรธ 

          อาตมาพูดอย่างนี้นี่    พอระลึกตรวจสอบไปด้วยมั้ยนี่   บุพเพไปตาม 

บุพเพนิวาสานุสติ ระลึกย้อนไปเร็วๆขณะนี้ ย้อนไปตามอาตมาพูด นี่ โอ๋! เคย เคย 

เคย    เมื่อไหร่ก็เคยระลึกได้   อาการโกรธมันเกิดในจิตนี่เคย   จับมันได้เลย  

อาการเป็นอย่างนี้น่ะ  เป็นยังไงก็ไม่รู้ละของคุณ  ถ้าผู้ใดมีสติแล้วก็มีสัมปชัญญะ  มี

ปัญญา  อ่านของตนเองออกอย่างนั้น   ขณะใดขณะนั้นเป็นของจริง  แล้วคุณก็ทำได้ 

เมื่อรู้แล้ว คุณก็มีธรรมวิจัย  วิจัยออกว่าเป็นกิเลส  วิจัยออกว่านี่เป็นโทสมูล  วิจัย

ออกว่านี่เป็นราคมูล   มีความต่างกันเรียกว่าลิงคะ   เราจะรู้สิ่งที่ถูกรู้เรียกว่ารูป  

สิ่งที่เข้าไปรู้เรียกว่านาม   ก็คือญาณปัญญา    เข้าไปรู้  หรือปริญญา   เข้าไปรู้ 

มีญาตปริญญา  มีตีรณปริญญา มีปหานปริญญา  เรียนธรรมะเข้าไปก็จะปหานมัน  พอ

วิเคราะห์ออก ธรรมวิจัยออก ว่าอย่างนี้อาการกิเลส อย่างนี้อาการกิเลส วิจัยออก 

พอวิจัยออก  ก็มีวิธีการปหาน  มีความรู้ในการประหาร  เรียกว่าปหานปริญญา  มี

ความรู้ในการปหาน   คุณก็ประหารมัน  เมื่อจับมันได้ จับโจรได้  จับไอ้ตัวร้ายได้ 

จับทุกข์  สมุทัยได้  ความสามารถของคุณ  เมื่อมีสัมผัสเป็นปัจจัยในทวารทั้งหก  มี

อินทรียสังวรอย่างนี้จริง  มีสติในระดับรู้ตัวทั่วพร้อม   กระทบด้วยตา หู จมูก  ลิ้น 

กาย อยู่เมื่อใด  คุณก็มีความแววไว มีมุทุภูธาตุ จะทำการงานอะไรอยู่ ก็ทำการลด

ละกิเลสอย่างนี้  กำลังคุยกับคน  กำลังต่อรองการงานกับคน ถ้าเราไม่มีสติอย่างนี้ 

เราก็มีสติปุถุชน  ก็คุยกับคน การงานกับคน  ก็กิเลสเป็นเจ้าเรือน   กิเลสมันก็พา

เอาเปรียบเอารัด    คุยกับเขาไปก็เอาเปรียบ   ต่อรองนั่นนี่เพื่อที่จะเอาเปรียบ  

แต่ถ้าเผื่อว่าผู้ใด มีจิตที่มีสติ มีธรรมวิจัยปฏิบัติตนอยู่ แม้จะยังไม่เป็นพระอริยะ 

         แต่มีวิธีคุณรู้ตัว คุณก็คุย เอ๊! นี่ เรากำลังจะวิจัยว่ากิเลสของเรานี่ มัน

จะเอาเปรียบแล้วนี่  กิเลสของเรากำลังใช้เล่ห์นะนี่ กำลังจะ เฮ้ย! นี่ไม่ดีนะนี่ นี่

วิจัยออก  เมื่อนั้นแหละ  คุณกำลังปฏิบัติตนเป็นเทวดา  เทวดาแท้นะ ไม่ใช่เทวดา

หอฮ้อ  ได้เสพย์สมสุขสม  แหม อยากได้สวย ก็ได้สวยมาสมใจ สุขจริงหนอ  อู๊ย!  

สบาย กิเลสหนาขึ้น เป็นเทวดาหอฮ้อ  เดี๋ยวตกใหม่ อยากใหม่ นี่เทวดาอย่างชนิด

ปุถุชน  วนเวียนแล้วๆเล่าๆ  เรียกว่าสมมุติเทพ  เทวดารู้กันทั่ว เทวดาเป็นอยู่กันทั่วๆ  สมมุติเทพนี่  เทวดาหอฮ้อ   อาตมาใช้สแลงอันนี้มานานแล้ว  เทวดาสุขสม 

เป็นโลกียสุข   เป็นเคหสิตโสมนัส  ก็อยู่อย่างนั้นน่ะ เป็นแบบคนชาวบ้าน ชาวโลก 

ปุถุชนทั่วไป  ก็ทำเหมือนเทวดา แต่อันนี้เป็นเทวดาที่เรารู้จักกิเลส จิตรู้ปรมัตถ์  รู้

จิต  เจตสิก  อ่านอารมณ์ อ่านอาการวิเคราะห์ออก รู้รูปรู้นาม  บอกแล้วว่าการรู้

รูป รู้นาม ต้องรู้อาการ ลิงคะ นิมิต อุเทศ  ทุเทศนี่คือหัวข้อที่ยกขึ้นแสดงนี่ อาตมา

หยิบห้วข้อมาอธิบายให้คุณฟัง   คุณเข้าใจเสร็จแล้วคุณก็ไปปฏิบัติให้รู้ อาการ รู้นิมิต

หมาย  เครื่องหมายของมัน รู้ความแตกต่าง  วิเคราะห์ได้ว่า นี่จิตนี่กิเลสนี่ ความ

แตกต่างกัน นี่จิตก็ยังแบ่งแยกจิตได้อีก มีความต่างว่านี่เป็นโทสมูล  นี่โมหมูล  นี่แม้

แต่โทสะก็ยังแยกได้ว่า  โทสะชนิด  หยาบ กลาง ละเอียด  มีความแตกต่างกันนะ  

แม้แต่มันน้อย  มันมาก ก็ตาม อันนี้นี่ทำลายมัน วิธีทำลายนี่ ทำลายได้   ก็ต่างจาก

ทำลายไม่ได้  มันกินเรา มันให้ความสุขเราด้วย แต่เป็นสุขโลกียะ  ก็รู้ว่า เออ นี่

ไม่ใช่  มีความต่างนะ  สุขโลกียะ  นี่ต่างกับวูปสโมสุข   สุขต่างจากระงับอาการ

กิเลสลงได้  มันต่างกันนะ  คุณจะต้องรู้ความแตกต่างเปรียบเทียบได้เสมอ

         เพราะฉะนั้น  ถ้าคุณเอง มีสติอยู่เมื่อใด   มีผัสสะเป็นปัจจัยอยู่เมื่อใด  

แล้วก็สามารถทำให้กิเลสลดได้เมื่อใด  เมื่อนั้นคือ สติถึงขั้นสัมโพชฌงค์  ธรรมวิจัย

ที่รู้จักวิเคราะห์วิจัยสิ่งที่เป็นปรมัตถ์เหล่านี้ออก  แล้วก็ทำลาย  ปหาน  ปหานตัพพา  

หรือปหานปริญญา  หรือปหานปธาน ทำลายลดละ จางคลายลงได้จริง  อ่านออกว่า

ลดละ    ต่างกับแต่ก่อนมันไม่ลด  มันมีน้ำหนักขนาดนี้  พอลดแล้ว    มันมีน้ำหนัก 

จางคลายลงมา     วิราคานุปัสสี    ตามเห็นความจางคลาย     หลักพระบาลี  

อนิจจานุปัสสี   วิราคานุปัสสี   นิโรธานุปัสสี   ปฏินิสสัคคานุปัสสี   อาตมาก็เคย

อธิบายมามากมาย  อันนี้อยู่ในอานาปานสตินะ อาตมาเอามา แต่อาตมาเห็นว่า โอ้

โฮ! เป็นคำที่ดีมากเลย  มีระดับที่จะอธิบายถึงสภาวธรรมได้อย่างนี้ อาตมาก็มาใช้

อธิบาย  ซึ่งจริง ในขณะที่มันจะเกิดฌาน เกิดสมาธิ เกิดอะไรนี่ จิตต้องมีสภาพพวก

นี้ ต้องตามเห็น  อาตมาก็เอามาเรียกอนุปัสสีนี่  อนิจจานุปัสสี  ตามเห็นตามความ

เป็นจริง  วิราคานุปัสสี  ตามเห็นความจางคลาย  นิโรธานุปัสสี ตามเห็นความดับ  

ปฏินิสสัคคานุปัสสี   ตามเห็นความสลัดกลับ   สัจจะย้อนสภาพความคืน   ได้แล้วก็

อนุโลมปฏิโลมคืนกลับไป   เหมือนกับคนธรรมดา แต่ซับซ้อน   มันเป็นสภาพซับซ้อน  

สภาพที่ต้องได้ก่อน  ต้องมั่นคง  ต้องจริง ถึงจะอนุโลมกับเขาไปได้  มันเป็นเรื่อง

ที่ นี่แหละเรื่องรู้ยาก  คือปฏินิสสัคคา ปฏินิสสัคคะนี่รู้ยาก  แล้วเขาก็เข้าใจกันยาก

         พอรู้ขึ้นมาแล้วนะว่า  กัลยาณชนน่ะ  เขาก็เรียนรู้  แต่แค่ว่ามันต่างกัน  

มันมีการสำนึก   มันมีการรู้ดีรู้ชั่ว   พัฒนาตนขึ้นมาเหมือนกัน   แต่ไม่ถึงขั้นปรมัตถ์  

ฟังออกมั้ย ไม่ถึงขั้นปรมัตถ์ เอ้า! ทีนี้ ละเอียดลงไปอีก  แม้จะถึงขั้นปรมัตถ์น่ะ คุณมีสติรู้ตัวอ่านจิตออก   เข้าหามิจฉาทิฐิสูตร คุณเห็นแค่อนิจจัง  รู้แค่อนิจจัง  แต่คุณ

ยังไม่สามารถทำถึงขั้นลดละจางคลาย  ทำลายสักกายะยังไม่ได้  เข้าหลักสังโยชน์ 

สัมพันธ์กับสังโยชน์นะ จะชัดเจนกับสังโยชน์ สังโยชน์สาม  นี้เป็นตัวภาคปฏิบัติ ให้รู้

ว่าเรากำลังอยู่ในฐานะอริยะ  หรือโพชฌงค์  อยู่ในฐานะอาริยะอย่างไร   อยู่ใน

ฐานะอาริยะ  เพราะว่าเราพ้นสักกายทิฐิ  ก็หมายความว่า  เราลดตัวตนนั้นลงได้  

มันไม่ใช่สักกายะอยู่อย่างเก่า  มันไม่ใช่ตัวตนตัวโตอยู่อย่างเก่า  สักกายะที่แปลว่า

ใหญ่นะ มันตัวโตอยู่อย่างนั้นน่ะ สักกะนี่ มันแปลว่าใหญ่  แล้วก็อยู่อย่างนั้นน่ะ มันไม่

ลด  ถ้าอย่างนี้ ก็เรียกว่ามันไม่ได้จางคลายอะไร  มันไม่ได้เจริญอะไร  สักกายะ 

หรือ  กิเลสตัวนั้นแหละ  ตัวตนของกิเลสตัวนั้นน่ะ  มันอยู่อย่างนั้นน่ะ มันไม่ลด มัน

ไม่จางคลาย  ตัวนี้ต้องทำลายใช่มั้ย  ต้องลดละ  ต้องทำลายมัน ต้องฆ่าให้มันตาย 

ต้องให้มันหมด  มันไม่เดินทางทิศทางที่เป็นไปสู่ทางระงับดับ   มันไม่ไปสู่ทางระงับ 

ลดละ  ดับ จางคลาย  มันไม่ลด  มันไม่ไปทางนั้น เพราะฉะนั้น  ถ้าเมื่อมันไม่ลด

ละจางคลาย  มันก็ไม่ลดสักกายะ มันก็ไม่พ้นสักกายทิฐิ

         และคุณมีศีลพรต มีหลัเกณฑ์ประพฤติปฏิบัติมั้ย  อาจจะมีแล้ว สมาทานไว้

ด้วย  และก็อาจจะเป็นสัมมาทิฐิด้วย  พ้นสีลัพพัตตุปาทาน  พ้นตามๆกันมา  ทำตาม

จารีต  ทำตามคำสั่งสอนตามๆกัน  สีลัพพัตตุปาทาน กับสีลัพพัตตปรามาส มันต่างกัน

ตรงที่ว่า  สีลัพพัตตปรามาสนั้น อาจจะไม่ใช่อาจหรอก  ที่จริงก็ควรน่ะ  มีสัมมาทิฐิ

แล้วละ  มีศีล เข้าใจศีล  มีพรต เข้าใจพรต  แต่ปฏิบัติอย่างปรามาส   คือปฏิบัติ

อย่างเหยาะๆ แหยะๆ  ปฏิบัติแค่เล่นๆหัวๆ ลูบๆ คลำๆ  แตะๆ ต้องๆ ทำไปอย่าง

นั้นน่ะ   เสียไม่ได้   ไม่ถึงขั้นเกิดมรรค   เกิดผล   นั่นคือไม่พ้นสีลัพพตปรามาส  

ถ้าปฏิบัตได้คุณภาพ   เกิดมรรค เกิดผล  มีการจางคลาย มีการลดละ มีการทำได้ 

แม้ขณะหนึ่งคุณก็มีอาริยคุณขณะหนึ่ง    ได้หลายขณะ   ก็มีอริยคุณหลายขณะ    พ้น

สีลลัพพตปรามาสไปตลอดเวลา  แล้วคุณจะต้องพ้นวิจิกิจฉาสังโยชน์ตรงที่ว่าคุณต้องมี

ญาณอ่านความจริงที่อาตมาอธิบายนี้นี่ออก มีญาณปัญญาอ่านความจริงอันนี้ออก  ไม่ใช่

ไปฟังแต่พยัญชนะนี้ได้รู้เท่านั้นนะ   เข้าใจ ฟังพยัญชนะอธิบายเข้าใจดี  แต่คุณไม่มี

ภาพจริง  ปฏิบัติแล้วคุณก็อ่านความจริงของคุณไม่ออก ไม่เคยเห็น ไม่ใช่  ต้องเห็น  

เห็นอย่างไม่สงสัย  เห็นอย่างพ้นวิจิกิจฉา

         เขาบอกว่า  พ้นวิจิกิจฉาสังโยชน์  นี่คือไม่สงสัยในพระพุทธ พระธรรม 

พระสงฆ์  เอ้า! ขออธิบายแทรกซ้อนตรงนี้ลงไปอีก  ถูก ถ้าเข้าใจพระพุทธ  พระ

ธรรม  พระสงฆ์ถูกสภาวะ  ไม่ใช่เข้าใจว่าพระพุทธก็คือ พระพุทธรูป หรือพระพุทธ

เจ้า  ที่ปรินิพพานไปแล้วเท่านั้น พระธรรมก็คือตำรา   พระธรรมก็คือพระไตรปิฎก  

หรือพระธรรม ก็คือคำสอน ที่พูดกันจ้อยๆเท่านั้น  พระสงฆ์ก็คือ ไปแห่นาคเข้าโบสถ์  บวช  พอพระอันดับท่านสาธุ เป็นพระสงฆ์แล้ว  เสร็จแล้วจะไปทำยังไงก็ไม่รู้เรื่อง 

แล้วก็แค่สงฆ์แค่นั้น   แล้วก็เลยศรัทธา  โอ๊! นี่บวชเป็นสงฆ์  ศรัทธาสงฆ์นี้  พระ

ธรรมก็  โอ๊!   ศรัทธาพระไตรปิฎก อู๋ย! ซื้อมาไว้ที่บ้านนี่หลายชุด  พระธรรมก็มี

ศรัทธา  กราบด้วย  พระพุทธเหรอ  อู๋ย!  กราบทุกวันระลึกถึงพระพุทธเจ้าทุกวัน 

พระพุทธรูปไม่รู้กี่แบบ กี่แบบกี่อย่าง  ซื้อมาเต็มห้อง ศรัทธา ไม่ศรัทธา ไม่ได้หรอก  

ใครมาว่าไม่ศรัทธา  นี่ไม่ได้หรอก  โกรธตายเลยดูถูกกันนี่หว่า   แล้วจริงด้วยนะ  

ศรัทธาจริงๆ  เลยนะ

         มันไม่ใช่อย่างนั้นแค่นั้น   เพราะฉะนั้น ศรัทธาในพระพุทธ  พระธรรม 

พระสงฆ์  ไม่สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์   ไม่สงสัยวิจิกิจฉาในพระพุทธ 

พระธรรม  พระสงฆ์  ต้องมีญาณปัญญาต่างหาก พ้นวิจิกิจฉาก็คือพ้นความสงสัย  งม

งาย  งงๆ  ลังๆเลๆ ต้องมีญาณปัญญาอย่างไม่งง ไม่สงสัย ไม่ลังเล   ชัดเจนว่า 

พุทธคืออะไร ธรรมคืออะไร สงฆ์คืออะไร ต้องมีญาณปัญญารู้จนไม่ลังเลสงสัย  แล้ว

กำลังเห็นพุทธเกิด   กำลังมีโพชฌงค์  กำลงก้าวเดิน  นี่น่ะพุทธ  นี่ละพุทธ  ทรง

ขึ้นธรรมะ ทรงขึ้นที่เราเอง  เราเองนี่แหละ  กำลังเป็นสงฆ์  เป็นสาวกพระพุทธ

เจ้า   เป็นสาวกสังโฆ   กำลังอยู่ในองค์  8  หรือ  4   กำลังอยู่ในองค์มรรค  

โสดาปัตติมรรค   หรืออยู่ในโสดาปัตติผล  หรืออยู่ในสกิทาคามีมรรค   กำลังเป็น

อาริยะแท้ๆเลย    เห็นอย่างไม่สงสัยเลยนะ   ไม่สงสัย  ไม่วิจิกิจฉาเลย   พ้น

วิจิกิจฉาอย่างนี้  ไม่ใช่ไปฟังภาษามาเท่านั้น แล้วก็ไม่สงสัย  โอ๊ย!  เข้าใจ  โอ้

โฮ!  อาตมาอธิบายให้คุณฟังเข้าใจได้ดี  พ้นวิจิกิจฉา โอ้โฮ! ไม่สงสัยเลย  เชื่อ

จริงๆเลย   อื้อฮือ! ปัญญา ซาโตริ อื้อฮือ! ลุแล้ว ลุไม่รู้ว่าบรรลุหรือทะลุ  ลุแล้ว 

โอ้โฮ! ซาโตริ  นี่ฟังเข้าใจเหลือเกิน  พ้นวิจิกิจฉาแล้ว ไม่สงสัยจริงๆ  เถียงไม่

ออก แค่นั้น ยังไม่ใช่พ้นวิจิกิจฉา  

         พ้นวิจิกิจฉา   ในคำว่าปรมัตถ์  นี่  มันจะต้องมีสภาวะรองรับ   มีจิต 

เจตสิก  มีสักกายะ   รู้จักสักกายะของกู สักกายะของกูตัวนี้แหละ ตัวนี้แหละ   นี่

กำลังฆ่ามันอยู่   กำลังสังหาร  ประหาร   สังวรปธาน ปหานปธาน  ได้ๆๆ  พ้น

สีลัพพตปรามาส   ทำสำเร็จ เห็นอยู่ มีญาณรู้เห็นเป็นปัจจัตตังของตน  เห็นเลยว่า 

ทำได้  ลดมันได้ ละมันได้ จางคลายได้จริงๆเลย คุณมีญาณของคุณเห็น คุณรู้ของคุณ

เอง  ใครโกหกคุณไม่ได้  คุณอาจจะหลงบ้างก็ได้ อาจจะหลง  มันไม่ตรงนัก  มัน

เบี้ยวๆ  บิดๆ  หน่อยๆ ก็เป็นได้  แต่ว่าคุณต้องมีสภาวะรองรับว่าคุณเกิดญาณปัญญา  

เกิดตาทิพย์   เห็นของจริงความจริง  นี่คุณพ้นสังโยชน์นะ   พ้นสังโยชน์พ้นอย่างนี้  

คุณเป็นพุทธ   เป็นธรรม  เป็นสงฆ์  ไม่สงสัยในความเป็นพุทธ  เป็นธรรม  เป็น

สงฆ์อย่างนี้   มีพระพุทธ   พระธรรม พระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่แท้  เพราะมันได้พึ่งจริง  เพราะมันเกิดในตัวเราจริง  เราได้พึ่งในตัวเรา  อัตตาหิ อัตตโน นาโถ  ได้นิด

หนึ่งก็ได้พึ่งนิดหนึ่ง  ไม่ได้ขัดแย้งกับคำสอนของพระพุทธเจ้าตรงไหนหรอก  บางทีก็

บอกว่า เอ๊ย!  สุภาษิต อัตตาหิ อัตตโน นาโถ  ตนพึ่งของตน แบบนี้มันเห็นแก่ตัวนี่

ไม่พึ่งคนอื่นเลยนี่ มันไม่มีกตัญญูกตเวที มันไม่เห็นคนอื่นเป็นประโยชน์นี่หว่า แบบนี้ นี่

สอนให้เห็นแก่ตัว   อัตตาหิ  อัตตโน  นาโถ  ตนเป็นที่พึ่งของตน มันเอาแต่ตนได้

ยังไง  มันไม่ใช่หยาบๆอย่างนั้น  มันอัตตาหิ  อัตตาโน นาโถ จริงๆ เรามีสิ่งจริง

จนเกิด   แล้วเราก็ได้พึ่งสิ่งนี้จริงๆ  ถ้ายิ่งเรามีอย่างนี้มากๆๆๆ  คนอื่นเขามาพึ่ง

เราได้ด้วย   เราก็สอนเขา  แนะนำเขาให้เป็นอย่างเราเป็นบ้าง แล้วก็จะได้มีที่

พึ่งไปอีก  ถ่ายทอดเป็นอิทัปปัจจยตา  แผ่เชื้อ  เพราะเรามีสิ่งนี้ก็แจกสิ่งนี้ เพราะ

สิ่งนี้จึงเป็นสิ่งนี้จริง

         เอานะ  พอเข้าใจในสภาพของปรมัตถ์   เข้าใจในสภาพของโพชฌงค์  

สติสัมโพชฌงค์คืออย่างไร?   ต้องมีคุณภาพขนาดไหน  จึงจะเรียกว่าสติสัมโพชฌงค์  

ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์  เดี๋ยวนี้  ทำวิจัยกัน   โอ้โห!  รอบด้านนี่  ได้เงินได้ทอง

เยอะแยะเลยนะ  ทำวิจัย นักวิจัยน่ะ  นักวิจัย  โอ้โห! บานตะโก้เลย  หรือบาง

คนก็มีธรรมวิจัยที่เป็นกัลยาณชน  กัลยาณธรรม  มีสำนึก   มีในสังคมก็พอมี  แต่มัน

ถึงขีดนี้มั้ย  ถึงขีดทำให้เรานี่จะต้องบรรลุมั้ย  

          เอ้า!  เมื่อกี้นี้ตกว่า เข้าไปมิจฉาทิฐิสูตร        ถ้ายังไม่ชื่อว่าพ้น  

สักกายทิฐิ  พ้นแค่มิจฉาทิฐินี่ยังไม่เรียกว่าโพชฌงค์ทีเดียว  กำลังเหยียบอยู่ปากทาง

มรรค   อยู่มรรค   กำลังเข้าหามรรค  เข้าปากทางเข้ามรรค   คือเป็นปรมัตถ์  

เพราะอ่านจิตเป็น   วิจัยจิตเป็น  มีสติรู้ตัวแล้วก็อ่าน  มีมุทุภูธาตุ แววไว รู้  แม้

จะทำการทำงานอะไรอยู่ก็ทำได้  แล้วก็อ่านจิตตัวเองทัน  วิจัยออกว่ากิเลส  เห็น

กิเลสมันเกิด   แล้วก็เห็นกิเลสไม่เที่ยง  เพราะกิเลสมันหนาขึ้นๆ มันไม่จางคลาย 

ฟังตรงนี้  มันไม่ใช่วิราคานุปัสสี  แต่มันอนิจจานุปัสสี  มันไม่เที่ยงจริงๆ แต่มันหนา

ขึ้นนะเจ้าประคุณ   เห็นความเป็นปุถุชนของตน ปุถุชนคืออะไร?  คนหนา คนกิเลส

หนาขึ้นนั่นเอง   มันก็หนาขึ้นๆ โอ๋!  นี่หนอ ความเป็นปุถุชนมันเป็นอย่างนี้   แหม 

คนนี้  มีทิฐิ มีความเห็น  นี่ละพระพุทธเจ้าท่านนับเขตว่าพ้นมิจฉาทิฐิตรงเห็นว่าเรา

เป็นปุถุชน    ทำอย่างไรจะเป็นอาริยชน?   แน่!รู้แล้ว   ต้องทำให้ไอ้เจ้าหนานี่

บางจางลง ถ้าทำไม่ได้ ก็กูว่าแล้ว (คนฟังหัวเราะ)  ทำไม่ได้ก็ว่างั้น (หัวเราะ)  

ถ้าทำได้ก็ โอ๊ย! อนุโมทนา (หัวเราะ)  ก็ไปทำให้ได้นะ         เพราะฉะนั้น 

ความหมาย หรือความจริง มันอยู่ตรงนี้  พ้นมิจฉาทิฐินี่ คุณขั้นปรมัตถ์แล้วนะ  นี่เข้า

ทาง  แหม จ่อปากทางแล้วนะ  แต่ยังไม่ได้เดินเข้าไปซักที   ยังไม่เดินเข้าไปใน

ขอบเขตของวังอาริยะนะ  ยังไม่เดินเข้าขอบเขต  แหม ยังเหยียบอยู่ธรณีประตูนะ .fo            กรรมฐานของอาริชนตอน 4 /file: 5017H.TAP      #

ขอบเขตของวังอาริยะนะ  ยังไม่เดินเข้าขอบเขต  แหม ยังเหยียบอยู่ธรณีประตูนะ 

เป็นโคตรภูบุคคล (หัวเราะ)  โคตรภูบุคคล นี่ก้ำกึ่ง จะเป็นอาริยะ หรือเป็นปุถุชน

นี่ อื้อ !  ถ้าพลิกออกมาทางนี้ ปุถุ  พลิกเข้าไปอย่างนี้ อาริยะ  นี่ต้องชัดนะ  

         ทีนี้  เพราะฉะนั้น ถ้าเราเห็นอนิจจังเท่านั้น  ในมิจฉาทิฐิสูตร คุณพ้น

มิจฉาทิฐิเท่านั้น  ยังไม่เข้าหาสังโยชน์  ยังไม่พ้นสักกายทิฐิ  เพราะฉะนั้น  ยัง

ไม่เป็นโสดา  ยังไม่เป็นสกิทา อะไรขึ้นไป  ยังไม่นะ  อยู่ปากจ่อ คุณต้องทำให้มัน

ลดให้ได้จริงๆ   ลดน้อยลดมาก คุณจะต้องมีปัญญารู้ความลิงคะ แตกต่าง  ว่าลดได้

จริง   แตกต่างกันนะว่าไอ้ลด หรือไม่ลดมันมากขึ้นหรือมันน้อยลง  อย่าเบลอ ต้อง

ให้ชัดๆ  มันมากขึ้น แต่เราไปเข้าใจว่ามันน้อยลง  นั่นก็ความหลงของคุณนะ ถ้ามัน

ลดลง ลดลงอย่างชัดเจน อย่างแท้ อย่างถูก คุณก็เป็นอาริยะแท้  องค์แห่งการตรัส

รู้  ก็คือทำคุณลักษณะที่เป็นอาริยะคุณเหล่านี้ได้  องค์แห่งการตรัสรู้   เพราะฉะนั้น  

ถ้าคุณเองปฏิบัติถูกอย่างนี้ อย่างที่อธิบายไปนี้ คุณก็เป็นคนที่จะเข้ากระแสโสตาปันนะ   

ถ้าเข้ากระแสไปจนกระทั่งถึงมีคุณภาพ  มีปริมาณ มีคุณภาพ มีเนื้อหา  มีทั้งปริมาณที่

เพียงพอ   มีทั้งปริมาณ มีทั้งคุณค่าเพียงพอ  ทั้ง Quality  ทั้ง Quantity  ทั้ง 

Quality   ทั้ง Quantity  มีทั้งคุณภาพ มีทั้งปริมาณที่เพียงพอ  เพียงพอ  จนมี

ความหมายว่า   จะต้องเป็นอวินิภูตธรรม  เข้ากระแสแล้วก็ต้องมีคุณภาพ   หรือมี

ปริมาณที่ถึงขั้นอวินิภูตธรรม   ไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา  มีน้ำหนักที่คุณจะไม่ตกต่ำ หรือ

คุณจะไม่ถอยนี่ ก็เพราะว่า คุณต้องเกิดญาณมั่นใจ

         อินทรีย์พละ  ของคุณจะต้องสูงถึงขั้นเชื่อมั่น  เป็นศรัทธาพละ   ปัญญา

ของคุณก็จะต้องเห็นชัดเห็นจริง  จนเป็นปัญญินทรีย์  ปัญญาพละ   มีกำลังของปัญญา  

มีกำลังของศรัทธา   เพราะคุณปฏิบัติวิริยะ สติ สมาธินี่ โดยมีสติเป็นตัวกลางใช่มั้ย  

กำลังพูดถึงสติสัมโพชฌงค์  แล้วก็ปฏิบัติไปซิ  สติสัมโพชฌงค์ สัมมัปปธาน  อิทธิบาท  

วิริยะ   เพียรทำให้มันได้ผลขึ้นมา ให้มันได้คุณภาพขึ้นมาจริงนี่   เมื่อคุณเพียรเป็น

วิริยสัมโพชฌงค์    หรือเพียรมีอินทรีย์พละพอ   สั่งสมลงเป็นอธิจิต  หรือ  สมาธิ 

สมาธินทรีย์   สั่งสมลงเป็นสภาพคุณภาพของอธิจิต  คุณภาพของสมาธิ   ปฏิบัติแบบ

มรรคองค์   8  นี่แหละ  โดยสั่งสมมรรค 7 องค์นี่เข้าไปเรื่อยๆ   สั่งสมลงเป็น

สัมมาสมาธิ    ซึ่งเป็นสัมมาสมาธิมีอินทรีย์มีพละ มีคุณภาพถึงขั้นเรียกว่าอินทรีย์หรือ 

ขั้นเรียกว่าพละขึ้นได้จริงๆ   คุณก็จะตัดสินหรือคุณก็จะมีตัวจริง ก็คือตัวศรัทธานี่ มัน

จะเชื่อมั่น เพราะมันมีเห็นจริง  มันได้ของจริง  มันเป็นจริง โอ้โฮ! มันดีนะนี่ มัน

ลดแล้ว  มันก็เบาจางคลาย  มันก็สงบแล้วมันก็ไม่เป็นทุกข์  แล้วมันก็เจริญ มีคุณค่า 

มีประโยชน์ต่อตน ต่อผู้อื่นนะ  มันจะมีญาณปัญญาเข้าใจอย่างนั้น  คุณจึงมั่นใจ คุณจึง

เห็นว่า  โอ๋!  ได้อันนี้  ไม่ยอมเปลี่ยนหรอก  นี่  เอาดk;พระอังคาร  เอาดาวพระศุกร์  อีกสามดวงมาแลกก็ไม่เอา  อย่าไปพูดเลยถึงเอานางงามมาแลก  หรือ

ว่าเอาทองเท่าหัวมาแลกเลย   เสร็จแล้ว บางคนบอกว่า เอาทองเท่าหัวก็ไม่ยอม

เสียผัวให้ใครนะ  เอาแค่นั้นเอง ไอ้นี่  โอ๊! ทองเท่าหัวมาแลกก็อย่าไปพูดถึงเลย 

เล็กไป เอาทองเท่าลูกโลกนี่มาแลกก็ไม่เอา  

         คุณจะมั่นใจ  อวินิปาตธรรม เป็นความไม่ตกต่ำ  ปาตะ แปลว่าตกล่วง 

ไม่ตกต่ำจากนั้นเป็นธรรมดา  เป็นปกติ เป็นความมั่นใจ  เป็นความเห็นของคุณ คุณ

นะไม่ใช่คนอื่นนะ  คนอื่นก็ไม่รู้  แล้วคุณเอง คุณมั่นใจ แต่เสร็จแล้ว คุณทะลูดลาดลง

ไปอีก ลงไปนั่น ก็เรื่องของคุณ  คุณนะโกหกตัวเองหรือว่าหลงตัวเอง แต่ถ้าคุณเป็น

จริง   มันมีญาณ มันจะบอกเแาเลย น้ำหนักมันจะมีที่ต้วเรา   น้ำหนักความเชื่อมั่น 

อินทรีย์พละ   เพราะมันเห็นของจริง ความจริง เป็นสัจจะโดยตัวมันเอง  มันจะมี

คุณภาพคุณธรรม  คุณค่าของมันเป็นอย่างนั้นเลย คุณปฏิบัติแล้วสั่งสมแล้ว  คุณจะต้อง

ตรวจสอบ  เพราะฉะนั้น คุณเอง คุณเข้ากระแสไป  แล้วก็มีคุณภาพขนาดอวินิปาต

ธรรมมันไม่ตกต่ำ เป็นปกติแล้ว เป็นธรรมดาแล้ว  แน่ใจ

         จนกระทั่งสูงกว่านั้นอีกท่านก็บอกว่าเป็นนิยตะ     โอ้โฮ!เที่ยงแท้เลย  

นอกจากเที่ยงแท้แล้วยังสำทับด้วยคำว่าสัมโพธิปรายนะอีก    มีแต่จะตรัสรู้ในเบื้อง

หน้า  ไม่มีผิด  เพราะฉะนั้น คุณลักษณะที่พระพุทธเจ้าท่านยืนยันนี่จะต้องพิสูจน์  คน

นะพิสูจน์ไม่ใช่ให้ช้างตัวโตไปพิสูจน์ ให้ควายให้วัว        แม้แต่อเวไนยสัตว์ก็   

ไม่สามารถพิสูจน์ได้   เวไนยสัตว์ที่สอนได้  เป็นผู้ที่เจริญ   ผู้ที่ทำได้พากเพียรได้  

พิสูจน์   แล้วต้องพิสูจน์ได้ ถ้าพิสูจน์ไม่ได้ พระพุทธเจ้าโกหกเรา  ใช่มั้ย?   โอ๊! 

เอาของโกหกมาให้ฝึก   มันไม่จริง  เป็นไปไม่ได้  ไม่จริง  อาตมาว่าเป็นไปได้ 

เพราะฉะนั้น  ถ้าเราพิสูจน์ได้ เราจึงจะเชื่อ โอ้โฮ! พระพุทธเจ้าเป็นคนๆ  หนึ่ง 

ท่านทำได้จริงแฮ่ะ   แล้วท่านเอามายืนยัน เราก็ยังทำได้เลย  ขนาดเรายังทำได้  

เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงมีจริง พระพุทธเจ้าท่านเป็นของจริง  พระพุทธเจ้าสอน

สิ่งจริงไว้ให้เรา  เราได้รับแล้ว มีแล้ว เป็นแล้ว โอ้โฮ! ดีอย่างนี้  เพราะฉะนั้น 

คนที่มีของจริงที่พระพุทธเจ้าท่านสอนแล้ว  จึงเชื่อสนิทในพระพุทธเจ้า  เชื่อในพุทธ

ธรรม  ศรัทธาเต็ม  พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศรัทธาเต็ม   เราได้เป็นที่พึ่ง

ของเราก็ศรัทธาเต็มที่  มีศรัทธา  มีผู้รู้บางท่าน  อธิบายว่าพระอรหันต์ท่านไม่หมด

ศรัทธาแล้ว ท่านไม่มีศรัทธาแล้ว ท่านมีแต่ปณิธาณว่างั้นนะ (หัวเราะ)   อาตมาว่า 

เออ   เอาศรัทธาของพระอรหันต์ไปทิ้งซะนี่   (หัวเราะ)    เอาไปทิ้งได้ยังไง  

ศรัทธานั่นเป็นศรัทธาพละเลยแหละ   เป็นกำลังแห่งศรัทธา  เชื่อมั่น   เชื่อโดยที่

เรียกว่าใครมาพูดยังไง เหตุผลยังไง ก็ฟังเขา แล้วก็ไม่มีอะไรลบล้างความจริงอัน

นี้ได้

         ความจริงนี้ ตถตา อวิตถตา  ถ้ายิ่งสมบูรณ์แล้ว อวิถตา อนันยถตา ไม่

มีเป็นอื่น  ไม่แปรไปจากนี้ อวิตถตา    เป็นอย่างนี้เลย   โดยอัตโนมัติเลยตถตา  

เป็นอย่างนี้เอง  เป็นเช่นนี้ล่ะ เป็นอย่างที่เป็นอย่างนี้แหละ  เป็นจนกระทั่ง ฝึกฝน

มาจนกระทั่งลงตัว จนกระทั่งเป็นอัตโนมัติ จนกระทั่งไม่ต้องไปทำอะไรมันก็เป็นแล้ว 

เป็นเองเป็นปกติ เป็นธรรมดา เป็นของมันเป็นอย่างนี้  เราไม่ต้องไปช่วย ไม่ต้อง

ไปทำ   ไม่ต้องศึกษา ไม่ต้องไปเพียร  ไม่ต้องไปทำอะไรมันหรอก มันเป็น ยังไง

มันก็เป็นอย่างนั้นน่ะ ไม่รู้จะพูดภาษาไทยยังไงให้คุณฟัง

         ตถตาของอาตมาอธิบายนี่    ก็ไม่เหมือนท่านพุทธทาสทีเดียว   แต่ก็มี

ส่วนคล้ายอยู่บ้าง   หรือท่านอื่นๆ  อธิบายก็ไม่เหมือนกันเท่าไหร่   ตถตาที่อาตมา

อธิบาย  ถ้าคุณเข้าใจที่อาตมาอธิบายปรมัตถ์นี่         แต่คุณก็ต้องไปพิสูจน์ตรงนี้  

ตถตาเป็นอย่างที่อาตมาอธิบายนี่  ตถตา อวิตถตา อนันยถตา  อิทัปปัจจยตานี่ นี่คือ 

ปฏิจจสมุปปบาทที่ขึ้นอนุโลม   ปฏิโลมจนสมบูรณ์แล้ว    จบ   จนกระทั่งพ้นอวิชชา  

ดับอวิชชาได้แล้ว  ก็เป็นอิทัปปัจจยตา หรือ ปฏิจจสมุปปบาทที่สมบูรณ์

         อธิบายมาถึงตรงนี้แล้ว    มาต่ออีกนิดหนึ่ง    มาต่อตรงวิราคานุปัสสี  

เพราะฉะนั้น  คุณเห็นปรมัตถ์เห็นจิต  มีสติสัมโพชฌงค์ มีธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์  มี

วิริยสัมโพชฌงค์  ได้แค่อ่านกิเลสออก  เห็นกิเลสมันหนาขึ้นๆ  โอ๋ย!  อนิจจังจริง

หนอ  แต่อนิจจังก็หนา อนิจจังจริงหนอ  อนิจจังก็หนาหนอ  หนาขึ้นหนอ  มันทำไม

มันไม่อยู่กับที่ซักทีหนึ่ง  มันมีกิเลสร้อย มันก็ขึ้นเป็นร้อยห้า วันนี้ขึ้นร้อยสิบ  ปรอทขึ้น

เดี๋ยวก็ร้อยยี่สบ  โอ! นี่ คุณเองคุณก็รู้ความเป็นปุถุชนของคุณว่า อ๋อ!  อย่างนี้เอง 

มันหนาขึ้นหนาขึ้น   (คนฟัง  :  พ่อท่านใกล้จะบรรลัย)   ไม่ใช่ใกล้หรอก  เข้า

หาบรรลัยเลยละนะนั่น   คุณก็จะเห็นจริง คุณมีญาณปัญญารู้อย่างนี้นี้คุณก็ โอ๊ย! ปลง

กับชีวิตตัวเองแล้ว   กูหนอ  กูจะอยู่ยังไงนี่ คนที่เห็นขนาดนี้แล้ว มีหวังแล้ว มีหวัง 

มีหวังจะเดินทางต่อ    ก็จะต้องเข้าหาวิราคะแล้ว   คนนี้พ้นมิจฉาทิฏฐิแล้ว   อยู่

ปากทางแล้ว อยู่ปากทางอาริยมรรคแล้ว  ใช่มั้ย  จะเข้าหาการเดินการก้าวเข้าสู่

ทางอาริยะ  สัมมาอริยมรรคแล้ว 

         เพราะฉะนั้น  คุณจะทำอย่างไร   ศีล พรต  การประพฤติปฏิบัติ  วิธี

ต่างๆที่คุณจะต้องสังวรระวัง  ปหานอย่างไร       ธรรมวิจัยมาแล้ว     มีการ 

ปหานด้วนสมถภาวนา    วิปัสสนาภาวนา  เรียนรู้ด้วยจิต    แล้วก็เห็นด้วยปัญญา 

พิจารณาให้มาก ย้ำมันหนักๆ  มันดีจริงหรือ  มันพาเราไปเจริญจริงหรือ  เราเป็น

วรรคเป็นเวรกับมันมากี่ชาติ มันทุกข์ทรมานขนาดไหน  เห็นความไม่ดีไม่งามของมัน

ให้ชัดขึ้นไปมากๆ   ด้วยวิปัสสนาก็คือ รู้เหตุรู้ผล  รู้ฐานะความจริงของมันว่ามันไม่

ได้พาเราดีจริงๆนะ   สมถะก็กดข่ม  หรือลืม หรือ ทิ้งอะไรแบบวิธีง่ายๆนะ   วิธีวิขัมภนปหาน 

 

คนฟัง   : ขออนุญาตครับ พ่อท่าน  คือถ้าเราเห็นสภาพจิตนั้น แล้วก็ลดละกิเลสได้  

ทีนี้คิดว่า คนมีพละอินทรีย์เยอะๆนี่ พัวะเลย โดยหมดเลย 

 

พ่อท่าน : มี มี มี ถ้าบารมีสูงอย่างพระพาหิยะ ทารุจริยะ  ฟังธรรมพระพุทธเจ้าสี่

ประโยค   บึ้บ  ไม่ต้องไปนั่งสังวรระวัง  ไม่ต้องพากเพียร  คุณยังไกลท่านเยอะ  

ไม่ได้ดูถูกหรอก ไกลอีกเยอะ  เพราะฟังที่อาตมาพูดมานี่เกินกว่าสี่ประโยคมาหลาย

ร้อยประโยคแล้ว (คนฟังหัวเราะ)

 

คนฟัง   : อย่างพวกเรานี่ ต้องพหุลีกัมมัง คือทำบ่อยๆ 

 

พ่อท่าน  : ใช่ พหุลีกัมมัง ต้องทำบ่อยๆ  ต้องอเสวนา  ต้องเสพย์คุ้นมากๆ  ต้อง

ภาวนา    กระทำให้เจริญยิ่งๆ   เมื่อรู้แล้ว   ก็มีอีกสามข้อ  อเสวนา  ภาวนา 

พหุลีกัมมัง  ต้องทำให้จัดนะ  อเสวนา ต้องคบคุ้น  คบคุ้นอะไร? คบคุ้นภาคปฏิบัติที่

อย่างนี้แหละ   คบคุ่น ไม่ใช่ไปคบคุ้น ไอ้ แหม กเฬวรากที่ไหนนะ คบคุ้นการปฏิบัติ

ให้มาก   ภาวนาก็คือ ทำให้เจริญ ให้มันรู้จักตัวเจริญ  เจริญภาวนา ทำให้เกิดผล 

ทำให้เจริญมากๆ  พหุลีกัมมัง ทำเข้าไป  ประพฤติเข้าไป  เพียรเข้าไป นั่นแหละ 

พหุลีกัมมัง

         ทีนี้มาถึงจุดอนิจจานุปัสสี   เมื่อรู้แล้วว่า โอ้โห! ปุถุชนก็คือกูเองนี่หนอ  

แล้วหนาขึ้นๆ  ไม่รู้จักลดเลย  นั่นแหละคุณจะสำนึกมากเลย คุณเห็นอย่างนี้แล้วคุณก็ 

โอ้โฮ! ปลงตัวเองให้มากเถิด กูหนอกู มันทุเรศขนาดนี้นะ  แล้วถ้าเผื่อว่า ตัวเอง

ทำไม่ได้ ก็จะเห็นว่า ตัวเองมันทำไมมันอ่อนนัก  แต่ก็อย่าท้อแท้  เมื่อเห็นมาถึงขั้น

นี้แล้วนะ แล้วคนมีความสามารถขนาดนี้แล้ว มันถึงปากทางแล้วต้องเดินต่อ  เอาให้

มันพ้นสังโยชน์สามให้ได้    เพราะฉะนั้น   ถ้าคุณมีความสามารถในการพากเพียร 

ปหานปธาน  ปธานนี่แปลว่าการพากเพียร พากเพียรทำให้มันฆ่า ลด จางคลาย จน

เกิดอนุปัสสี  ตามเห็นในปัจจุบันใดก็ตาม เห็นของจริง ตามความเป็นจริง โอ้! ลด

ได้แฮ่ะ   ลดได้น้อยหนึ่งก็ยังดี  ได้แล้ว ลดได้แล้ว คุณตามเห็นอย่างนี้แหละ  เริ่ม

ต้นลดสักกายะ   แล้วเริ่มต้น ตามเห็น จะเห็นอย่างไร ?  เห็นด้วยความเป็นทุกข์  

เห็นด้วยความมีเหตุแห่งทุกข์   เห็นด้วยความลดเหตุแห่งทุกข์   คือปหานตัพพาเหตุ

แห่งทุกข์ นี่ในคำอธิบายของมรรคองค์ 8

         เห็นจริงๆ เลยนะ  คุณมีญาณเห็นว่าคุณลดได้จริงนะ  ลดตัวเหตุมันเลย ตัวการใหญ่  อาตมาแปลสักกายะว่าตัวการใหญ่เหมือนกัน  นี่แหละเหตุแห่งทุกข์ มัน

จึงทุกข์เพราะเหตุแห่งทุกข์มันไม่ลด   เพราะกิเลส ตัณหา ตัวนี้มันไม่ลด   เพราะ

อุปาทานตัวนี้มันไม่ลด    เพราะตัวโลภตัวนี้มันไม่ลด    เพราะอกุศลตัวนี้มันไม่ลด  

อกุศลธาตุตัวนี้  มันไม่ลด เราทำให้มันลดได้จริงๆ  อ่านออก มีญาณ มีตาทิพย์   มี

ความรู้  ในภายใน มีปรมัตถ์  อ่านออกว่า เออ มันลดได้ คุณลดได้น้อย มันก็ยังไม่

ถึงคุณภาพ และปริมาณใช่มั้ย  ก็ลดไปจริงๆ ตามเห็นความจางคลายเมื่อใด เมื่อนั้น

คุณเข้าหาหลักโพชฌงค์    เมื่อนั้นสติก็เป็นโพชฌงค์    นับได้ว่าองค์ตรัสรู้   เข้า

เขตองค์แห่งการตรัสรู้ นี้สติรู้ตัวทั่วพร้อม สามารถรู้ขนาดนี้  ธรรมวิจัยวิจัยได้ขนาด

นี้ วิริยะพากเพียร  พากเพียรจนถึงขั้นได้ดี เรียกว่าปีติ ได้ดี

         เอาชนะ ทีนี้ เป็นโพชฌงค์ตัวที่ 4  พ้นตัวที่ 3 ได้ผลเป็นปีติ  ได้ผลตัว

ได้ดี    มันได้ดี   อาตมาแปลมานานแล้ว   ปีติแปลว่ามันได้ดี    อย่าเพิ่งไปแปล

เป็นอุปกิเลส อุปกิเลสได้ดีแล้วก็ฟูใจ  นั่นมันเป็นกิเลสซ้อนถึงเรียกอุปกิเลส มันเป็น

กิเลสซ้อนขึ้นมาอีกทีหนึ่ง  ได้ดี เป็นปีติสัมโพชฌงค์ เพราะฉะนั้น  เมื่อได้ดีแล้ว คุณ

เองคุณไม่รู้ตัว คุณไม่ได้เรียนต่อ  คุณก็ไปฟูใจหลงแต่ปีติ นี่คุณไม่มีทางเป็นอรหันต์   

หรอก   คุณก็ได้ดีเหมือนกัน  แต่ฟูใจเป็นอัตตา อาตมัน ปรมาตมัน  เหมือนศาสนา

ทั้งหลายแหล่นี่เขาเอาปีติเป็นตัวเลี้ยง  แล้วมีกำลังเยอะ   ซึ่งบางที  เราก็อาศัย  

อาศัยปีติชูนำมีกำลัง   นำพา ก็อาศัย แต่เราต้องรู้ว่าถึงจะอาศัยมันก็เหมือนเรือนะ  

ถึงฝั่งต้อง  แหม นี่สอนให้ถีบเรือทิ้งนะ  อย่าไปนั่งติดเรือ   อย่าไปติดหรืออยู่อีกนี่ 

เพราะฉะนั้น  อาศัยปีติ  แล้วก็ทำให้มันเกิดผลสูงขึ้นๆ จนกิเลสนั้นระงับเป็นปัสสัทธิ

สัมโพชฌงค์   เป็นสมาธิในระดับขณิกสมาธิ  อุปจารสมาธิ  อุปจาระ  แปลว่าใกล้

เข้ามาๆ ใกล้เข้ามาสู่ความสำเร็จ  ใกล้เข้ามาสู่ความหมด ใกล้เข้ามาสู่ผลสุดท้าย  

คุณก็จะต้องทำเพิ่มขึ้น  เพราะฉะนั้น สมาธิก็คือ  ทำอธิจิต หรือ ทำสิ่งที่ ก็บอกแล้ว

ว่า  สัมมาสมาธิ ก็เกิดจากองค์ 7  องค์ 7 ของมรรค  ปฏิบัติองค์ 7  ของมรรค  

สั่งสมมาเรื่อยๆ   ปฏิบัติประพฤติเป็นธรรมดาธรรมชาติ  สังกัปปะ วาจา กัมมันตะ  

อาชีวะ  แล้วก็ปฏิบัติมาเรื่อยๆนี่แหละ

         เพราะฉะนั้น    เมื่อเห็นความจางคลายเมื่อไหร่     จึงจะเรียกว่า

เป็นสัมโพชฌงค์   หรือเป็นองค์โพชฌงค์  เป็นองค์แห่งการตรัสรู้  แค่พ้นมิจฉาทิฏฐิ  

ยังไม่พ้นสักกายะ   ยังไม่เข้าสังโยชน์   ยังไม่ลดสังโยชน์   พ้นมิจฉาทิฏฐิเท่านั้น  

ปากทางของมรรคสู่สัมมาอริยมรรค    แต่สัมมาสติ    สัมมาวายามะ   ทำงาน  

สังกัปปะ  วาจา กัมมันตะ อาชีวะ  ยังไม่เกิดผล ที่ลดละจางคลายได้ มันต้องมีผล

ลดละจางคลายได้   จึงจะพอเรียกได้ว่าเข้าสู่องค์แห่งตรัสรู้  หรือเป็นโพชฌงค์  

เพราะฉะนั้น      สติจะเป็นสัมโพชฌงค์    ต้องมีคุณภาพถึงขนาดนี้    วิริยะจะเป็นสัมโพชฌงค์   หรือธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์   ต้องมีคุณภาพถึงขนาดนี้   ต่างจาก

กัลยาณชนขนาดไหน?   ตัดเกรดออกหรือยัง?   ได้แล้วนะ  (คนฟังถามฟังไม่ชัด) 

เออ  ใช่   โยมใจพร้อมบอกว่า    ทบทวนวิชชา 9 วรยุทธนี่มาทบทวนวิชาการให้

อาจารย์ดู   ได้ซักซ้อมวรยุทธมาก็มาทบทวนให้ดู  เออ ใช่  อย่างนี้ถูกแล้ว  ตาม

เคล็ดวิชา (หัวเราะ)  ถูกแล้ว โยมใจพร้อมบอกว่าถอนได้  ถอนตอนที่ล้างได้หมด

แล้วนี่ ไม่ต้องทำอีกแล้วนะ ว่างั้น ก็ไปทำอันใหม่  ก็อย่างนี้แหละ  ทำแนวคล้ายกัน

นี่แหละ   มีอีกใหม่  ตัวใหม่  ฆ่ามันเหมือนอย่างนี้อีก ถอนใหม่  ใช่ ทบทวนเคล็ด

วิชาให้อาตมาฟัง(หัวเราะ)ใช่

         เอาละ     อาตมาพยายามที่จะอธิบายให้ละเอียด    อธิบายให้ชัดๆ  

อธิบายให้ดีๆ  ฟัง ถ้าขนาดนี้ ก็ยังไม่เข้าาใจนี่ก็อาตมาก็ เอ้! ต้องไปให้ปราชญ์อื่น

สอนซะแล้วละนะ  ปราชญ์นี้ สอนไม่ไหวแล้ว เพราะฉะนั้น  เราจะเข้าใจสติปุถุชน  

สติกัลยาณชน   สติอาริยชน   หรือสติสัมโพชฌงค์หรือสัมมาสติ   สติที่เข้าข่ายของ

อาริยบุคคล  สติที่มีมรรค มีผล สติที่พระพุทธเจ้าต้องการให้พวกเราเป็น เราฝึกให้

เป็น    ฝึกให้ได้ขนาดนี้ไปเรื่อยๆๆๆ  ถ้าได้จริง   เป็นจริงมันก็ได้ผลของมันจริง 

พิสูจน์ได้แน่นอน   

          ขออธิบายให้มันไปถึงอัตตานุทิฏฐิซะ จะได้รู้จักไตรลักษณ์ 3  อนิจจังรู้

แล้ว   เราฝึกให้เป็น  ฝึกให้ได้ขนาดนี้ไปเรื่อยๆๆ ถ้าได้จริงเป็นจริง  มันก็ได้ผล

ของมันจริง  พิสูจน์ได้แน่นอน  ที่ขออธิบายให้มันไปถึงอัตตานุทิฏฐิซะ จะได้รู้จักไตร

ลักษณ์ 3 อนิจจังรู้แล้ว เพราะฉะนั้น  คนที่พูดว่า โอ๊ย! ไปนั่งสมาธิ แล้วยกจิตขึ้นสู่

พระไตรลักษณ์   ก็ไปนั่ง  อาตมาก็ยังงงๆ ว่า เขาไปยกยังไงกันโว๊ย  ไอ้นั่งหลับ

ตาแล้วก็ยก  ยกจิตขึ้นสู่ไตรลักษณ์ เห็นอนิจจัง  ทุกขัง อนัตตา  เห็นความไม่เที่ยง  

เห็นทุกข์   เห็นอะไรก็ไม่มีตัวตน   ไอ้นั่น  มันก็คือการคิด  จินตา   จินตานึกไป  

โอ๊ย! จริงหนอ จริงหนอ มันไม่เที่ยงหนอ  โอ! มันทุกข์หนอ  มันไม่ใช่ตัวตนจริงๆ

หนอ  อย่าไปยึดมั่นถือมั่นเป็นของเเราเลยหนอ  คิดไป รำพึง  มีประโยชน์เหมือน

กัน มีน้ำหนัก  มีน้ำหนักให้จิตของเรารับซาบซึ้ง  เข้าใจ แล้วก็ปักมั่นลงไปในใจ มี

ผลทางใจเหมือนกัน   แต่มันยังไม่ใช่ปรมัตถ์   ไม่ใช่ไตรลักษณ์ที่เป็นไตรลักษณ์ที่แท้

อย่างที่พระพุทธเจ้าท่านตรัส   มิจฉาทิฐิสูตร   สักกายทิฐิสูตร  อัตตานุทิฐิสูตร  

เรียงเอาไว้ 3 สูตรนี้เรียงกันอยู่ในพระไตรปิฎกเล่มอะไรนะ?

(คนฟัง: เล่ม 18)  นี่ อาตมาถามอานูน (คนฟังหัวเราะ)  ไม่ต้องเอาไปเอามา

หรอก  แหม  เอาแค่นี้ เอาแต่แค่พอทำเนา เล่ม 18 ข้อ 254   อาตมาจำได้นิด

หน่อย  เพราะเอาไป QUOTE เขียนอยู่ในหนังสือ เราคิดอะไรอยู่

         254,255,256  เรียงกันนี่ 3 สูตรนี่ เรียงกันอยู่ สูตรแรกนี่  เห็นในความเป็นอนิจจัง   สูตร 2 เห็นในความเป็นทุกข์ สูตร 3 เห็นในความเป็นอนัตตา  

ผู้ที่ยังไม่ถึงขั้นอนัตตา หรือ ผู้ที่เป็นอาริยะธรรมดา  ยังไม่ถึงขั้นอนัตตาง่ายๆ หรอก 

อนัตตานี่มันตามหลัง  อนัตตามันถึงความสมบูรณ์นะ  (คนฟัง :  อนัตตาแต่ละเรื่อง

ใช่มั้ย)   อนัตตาแต่ละเรื่องได้   เอาล่ะ  คุณมีญาณสามารถรู้อนัตตาแต่ละเรื่องก็

วิเศษละ   เป็นโสดาขั้นมีอรหัตผลในโสดา   มีอนัตตาในโสดา  มีสุญญตาในโสดา  

จริง อาตมมาก็เคยอธิบายในสกิทา ในอนาคา มันก็เป็นเหมือนกับจักรวาลน้อย แล้ว

ก็หาซ้อนจักรวาลใหญ่ไปเรื่อยๆจนกระทั่ง โอ้โฮ! เป็นเอกภพเลยนี่ มันต้องอย่างนั้น 

แล้วก็วงวัฏฎะน้อยๆแล้วไปหาวัฏฏะใหญ่ๆ   ถ้าเราเข้าใจโครงสร้างของมัน  แล้ว

เราเข้าใจองค์ประกอบอย่างนั้นอย่างนี้     แล้วทำถูกไปก็ได้อย่างน้อยหลายๆน้อย  

รวมกันก็หลายๆ ใหญ่ขยายไปอย่างนั้นน่ะ  ถ้าไม่เรียนอย่างนี้ แล้วไปเรียนยังไงล่ะ 

ไปทำใหญ่ๆ  พรึ่บเดียวยังไงล่ะ  จะตายพอดี

         ทีนี้พระพุทธเจ้าท่านบอกว่าเราเห็นทุกข์  ก็อย่างที่อาตมาอธิบายแล้วว่า 

เข้าใจล่ะ   มันเป็นทุกข์ แล้วก็จับเหตุแห่งทุกข์ได้แล้ว ลดละจางคลายทุกข์ได้  จน

กระทั่งถึงเห็นนิโรธานุปัสสี    ทีนี้ตามเห็นความดับ    จากสักกายะแล้วก็เลื่อนไป

หาอัตตา   ในอัตตานั้น ก็ลดอัตตาลดตัวตนของกิเลสนั้นลงไปเรื่อย   สักกายะก็กิเลส

ใหญ่  อัตตานี่กิเลสกลางๆ  อาสวะนี่คือกิเลสปลายทาง  กิเลสเบื้องปลาย  กิเลส

สุดท้าย  ตัวตนเหมือนกัน อาสวะก็แปลว่าตัวตน สักกายะก็แปลว่าตัวตน  อัตตาแปล

ว่าตัวตน  อาสวะก็แปลว่าตัวตน  จนกระทั่งเราลดอัตตา ลดกิเลสจากใหญ่ จากลด

มาได้   จนกระทั่งเลื่อนเข้ามาหาในระดับหนึ่งแล้วก็เข้าสู่อัตตานุทิฏฐิ  มีสัมผัสเป็น

ปัจจัย   สามารถลดละสิ่งที่เป็นอัตตานี้ลงไปได้เรื่อยๆ  จนกระทั่งถึงขั้นอาสวะ  ก็

รู้จักอาสวะ  อาสวะนี่รู้แล้ว กำหนดรู้ได้เลยนะว่ามีญาณปัญญารู้ว่ามันน้อยมันเหลือ

เศษ  แหม มันจับยากแล้ว แต่ของเรา เราก็รู้ของเรา จนกระทั่งเราดับอาสวะสิ้น  

ไม่มีตัวตน หมดตัวตนไม่ต้องไปพูดถึงขั้นสักกายะ  ไม่ต้องไปพูดถึงคำว่าอัตตา  หมด

แม้แต่อาสวะ   หรือเขาเรียกอีกตัวหนึ่งว่าอนุสัย  มันจะนอนเนื่อง   มันจะกบดาน  

มันจะถูกกลบถูกปิด  ถูกหมักถูกหมก  มันยังเป็นชีวะนะ มันยังเป็นตัวที่จะฟื้นได้  มัน

เป็นตัวที่ยังจะทำชีวิตชีวาอยู่นะ  มันยังเป็นอยู่   เหมือนอาสวะเขาเรียกว่าเหมือน

หมักดอง   มันเเหมือนตัวยีสต์  มันเหมือนตัวเชื้อแบคทีเรีย ตัวละเอียด  จุลินทรีย์  

นี่อธิบายเป็นเชิงรูปธรรม  จับมันได้นี่ ถ้าเผื่อว่าไม่อย่างนั้นแล้ว  มันแตกตัวของมัน

เอง  ยังได้เลย  พวกนี้ผสมพันธุ์ตัเองยังได้เลย โอ๋! เก่งนะพวกนี้ ทำเป็นเล่นไป  

ไม่ได้รับเหตุปัจจัยจากข้างนอกตัวเองมันก็ยังฟักตัวขึ้นมา แตกตัวได้  แผ่เชื้อได้เอง

นะ   เขาเปรียบเทียบดี  หรือมันนอนเนื่อง  มันหลบ มันหมัก มันหมก  ไม่ให้รู้ได้

ง่ายๆ   มันอยู่ก้นบึ้งของจิตน่ะ  นอนเนื่อง นอนอยู่ใต้บึงบาดาล ก้นจิตอะไรของเรากต้องคุ้ยออกมา

         เพราะฉะนั้น  ถึงบอกว่า มีผัสสะเป็นปัจจัยนี่ เป็นองค์ประกอบ  ถ้าไม่

มีผัสสะไปกระแทกกระทุ้งกระเทือน    ไม่มีเหตุปัจจัยที่ทำให้มันขึ้นมานี่  มันก็อนุสัย  

มันก็นอนสงบอีกล้านๆๆๆ  ชาติ  มันไม่ตายง่ายๆนะ  เพราะสิ่งเหล่านี้  มันไม่ได้มี

ชีวิตชีวา  ต้องอาศัยออกซิเจน ต้องอาศัยไอ้นี่เมื่อไหร่  มันไม่ต้องอาศัยหรอก  มัน

กบดานของมันอยู่ได้นานับกัปกัลป์   เพราะฉะนั้น  ศาสนาพระพุทธเจ้าจึงบอก ไม่

เอาหรอก  ต้องกระทุ้งกระแทก  ต้องมีผัสสะเป็นปัจจัย  มันจึงจะยืนยันได้ว่า  ไอ้

ที่อยู่ก้นบึ้งก็ถูกกระแทกกระเทือนพื้นโลกาถล่มทลายออกมาเลย          อยู่ไม่ได้ 

(หัวเราะ)   กระทุ้งกระแทก  กระเทือน ให้พื้นโลกาออกมาเลย   เพราะฉะนั้น  

เราเองเราถูกใครเขากระทุ้งกระแทกกระเทือนนั่นน่ะ   อย่าไปโทษเขานะ  บอก

ขอบคุณ  โธ่! ถ้าคุณไม่กระแทก เราก็ไม่กระเทือน ไม่กระเทือนแล้วเราก็ยังนึกว่า

เราเป็นพระเอก   เราก็นึกเป็นพระอาริยะอยู่นั่นแหละ    แหม  กรึ่ม    นึกว่า

เป็นอรหันต์ได้  เหมือนอย่างกับพระอุบาลี  ท่านทดสอบคุณหญิง หรือคุณนายอะไรไป

หาท่านนั่นน่ะ   อู๋ย!  ดิฉันบรรลุแล้ว   นี่ฉันหมแล้วกิเลส  แล้วท่านก็ด่าให้หยาบๆ 

อีอะไรล่ะ?   นั่นก็อีนั่นใส่เชียว ขึ้นเลย ขึ้นเลย  แล้วบอกว่าตัวเองบรรลุ  นี่ท่าน

ถึงมาบอกทีหลังว่าก็นั่นไง  บรรลุน่ะ (คนฟังหัวเราะ)  เต้นผางเลย  นั่นน่ะบรรลุ  

แล้วไม่รู้ตัว   เพราะฉะนั้น ถ้าไม่มีสติสัมโพชฌงค์ รู้ตัวทั่วพร้อม  แล้วก็มีธรรมวิจัย

ชัดเจนว่า  เฮ้ย! นี่ผี นี่ออกมาเป็น  แหม ข้างนอก นั่น เป็นผีข้างนอกแล้วยังไม่รู้

ตัวเลย   มันจะยิ่งใหญ่ มันก็แย่ซิ  เพราะฉะนั้น ผัสสะ เป็นปัจจัย  จึงไม่ใช่เรื่อง

ง่ายๆ ไม่ใช่หนีผัสสะ

         ถ้าใครเข้าใจแล้วนี่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา  สามสูตรนี้ นี่แหละคือไตร

ลักษณ์   ไม่ใช่ไตรลักษณ์ธรรมดา ไตรลักษณ์โลกุตระ  ไตรลักษณ์ปรมัตถ์ ไม่ใช่ไตร

ลักษณ์แค่ตรรกะ   แค่ไปใช้ความคิดคำนึง นั่งหลับตาสะกดจิตเข้าไปแล้วก็  แค่คิด

คำนึง  โอ้โฮ! อย่างนี้ไม่เที่ยง  อย่างนี้เป็นทุกข์  อย่างนี้อนัตตา ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่

ตน  ไม่ใช่ตัวของเราของเขาอะไรแค่นั้น   มันเป็นตรรกะ  มันเป็นเหตุผลเท่านั้น  

ไอ้นี่มันจะต้องมีสภาวะรองรับ  คุณจะต้องมีญาณเห็นว่า โอ! กิเลสอัตตาเป็นอย่างนี้  

กิเลสอาสวะเป็นอย่างนี้   เห็นอยู่รู้อยู่เป็นปัจจุบันนั่นเทียว  บัดนี้ชาติสิ้นแล้ว ภพจบ

แล้ว   เราเป็นอรหันต์องค์ใดองค์หนึ่ง  อ้าว!  สำนวนพระไตรปิฎกว่าอย่างนั้นนะ  

แล้วก็เป็นความจริงตามนั้นจริงๆ  นะ เพราะฉะนั้น  จะต้องมีญาณรู้เห็นเป็นปัจจุบัน

นั่นเทียว    ชาติจบภพจบสิ้นชาติ   ไม่ต้องศึกษาอีกแล้ว    คุณจะไม่ศึกษาอีกแล้ว

คุณก็ต้องซ้ำต้องซาก  คุณจะต้องย้ำมาไม่รู้กี่ทีกี่ทีนะ  จนมั่นใจว่า โอ๊ย! ไม่ต้องอีก

แล้ว  มันก็ไม่เกิดร้อยที มันก็ไม่เกิดพันที มันก็ไม่เกิด  ถูกกระแทกอยู่ตั้ง แหม พันทีมันยังจะไม่แน่   เอ้า! กระแทกไปซักหมื่นที  แหม บางที กระแทกเล่นไม่รู้ตัวเลย  

มันก็ไม่เกิด   ไอ้ตั้งใจน่ะมันสู้ได้นะ  ไม่ตั้งใจนี่แหละ  ทีเผลอนี่แหละ เกิดเก่งนะ  

เกิดเก่งนะ  ไอ้ทีเผลอนะ  ที่ไหนได้เป็นยักษ์ไปตั้งนานแล้ว แล้วยังไม่รู้ตัว เพราะ

ฉะนั้น    เราต้องระมัดระวังจริงๆ   กว่าจะเรียบร้อยกว่าจะลงตัว   ต้องศึกษา

ต้องพิสูจน์กันจริงๆเลย

         วันนี้  โอ้โห!  เจาะอันนี้นะ  เจาะไตรลักษณ์  แล้วก็เป็นฌาน  เป็น

วิมุติอยู่ในนี้  เพราะฉะนั้น คำว่าอนัตตาจึงไม่ได้หมายความว่า  เอ๊อ! อะไรๆ  ก็

ไม่ใช่ตัวตน  อะไรๆก็ไม่ใช่ของเรา   ไม่ใช่ ต้องมีอนัตตาในตัวเราจริงๆ   รู้อยู่ 

เห็นอยู่  เป็นปัจจุบันนั่นเทียว  อนัตตา คือ  ความไม่มีตัวตนของกิเลสอนุสัยอาสวะ

นั้นๆ  ต้องเห็นว่า มันดับแล้ว ตายสนิทแล้ว

         ทีนี้เมื่อกี้อธิบายไปแค่นิโรธานุปัสสี   ตามเห็นความดับสนิท   อ่านออก  

เห็นอนิจจังมาแล้ว เห็นทุกขังมาแล้ว เห็นอนัตตา เห็นความดับสนิทแล้ว ยังไม่จบนะ  

ยังมีปฏินิสสัคคานุปัสสี   เพราะฉะนั้น  คนจริงแล้วนี่ ผู้ที่จะเป็นพระอรหันต์นี่จะต้อง

มีปฏินิสสัคคานุปัสสี   ต้องสลัดคืนได้   แต่ไม่ใช่ว่าเดี๋ยวขอไปทำให้มันนิโรธซะก่อน 

แล้วค่อยกลับมาสลัดคืน กลับมาสูงสุดคืนสู่สามัญ ค่อยมาเป็นพระมาลัยโปรดสัตว์  ไอ้

อย่างนี้มันก็ช้าไปแล้ว   มันก็ไม่เนียน  มันจะต้องเป็นธรรมชาตินี่ละไป   สัมผัสไป

เรื่อยๆ  แล้วก็รู้ รู้ไป  ไอ้ที่ดับก็ดับ อันนี้ก็ลองอนุโลมลองสลัดคืน โดยไม่ต้องไปให้

ใครรู้หรอก   เราทำของเรานี่แหละ เราจะยืดหยุ่นของเราได้เท่าที่เรายืดหยุ่นได้

อนุโลมได้   ปฏินิสสัคคะ  ก็คือ ยืดหยุ่นกลับคืนไป   อย่างนี้ดูในธรรมชาติวิธีสามัญ  

อันไหนมันน่าเกลียด   เราก็ไม่ไปมีหรอก  ไม่ต้องไปสัมผัส ไม่ต้องไปแตะต้อง ไม่

ต้องไปคลุกคลี  ไม่ต้องไปเเกี่ยวข้อง อย่างนี้ เรารู้แล้ว อย่างนี้หยาบๆ  แค่ปัด

โธ่!  ขั้นละเอียดอย่างนี้  เรายังไม่เอาเลย เล็กๆน้อยๆ อย่างนี้เราก็ยังแข็งแรง

ได้   ไอ้หยาบๆ อย่างนั้น ก็มันหยาบน่ะ ญาณที่ประเสริฐแล้วนี่ เรื่องอะไรจะไปวุ่น

วายกับความหยาบ   ความหยาบอย่างนั้น เราไม่ต้องไปทดสอบ  ไม่ต้องไปนี่หรอก  

มันไม่เป็นหรอก  ไม่เอาหรอก  หยาบอย่างนี้  หิริโอตตัปปะมันจริง มันละอาย มัน

กลัว    โอ๊ะ!   เรื่องนี้ไม่จำเป็นหรอก    เพราะฉะนั้น    ในระดับสูงขึ้นนี่นะ  

ไคลแม็กซ์ของอาริยะนี่นะมันไม่หยาบหรอก  แต่มันสมใจ  สำเร็จความใคร่อยากได้

อย่างอ่อนๆนี่แหละ

         ยิ่งภูมิธรรมของพระอาริยะสูงๆ ขึ้นนี่ มันไม่เสพย์ความอยากบางๆพลิ้วๆ 

แค่นี้ก็พอแล้ว  มักน้อย  แหม เป็นคนมักน้อยมาก  น้อยๆแค่นี้ แต่มันยังมีนะ  มันยัง

ไม่ละเอียด  มันยังไม่หมดนะ  เพราะฉะนั้น จะเป็นราคะ เป็นรูปราคะ อรูปราคะ 

อะไรอยู่  เพราะฉะนั้น  จริงๆแล้วหมดกามราคะ หมดปฏิฆะในฐานะสังโยชน์เบื้องต้นนี่นะ   พ้นเป็นโสดาสกิทาไป  เข้าสู่เขตอนาคานี่ กามหรือราคะไม่ใช่ว่ามันหมด

เกลี้ยงทีเดียวนะ ยังมีนิดๆ  แต่รู้โดยเรา โอย! บางทีมันก็จับไม่ทันด้วยซ้ำไป  นิด

หนึ่ง  มันเหมือนกับความสุขแล้ว สมใจแล้ว พอใจ  หยาบก็ไม่เอาหรอก   ไม่กล้า

หรอก  อาย ที่จะทำออกเป็นรูปนอก เป็นวาจา เป็นโน่นเป็นนี่ เฮ้ย!  (หัวเราะ)  

เราไม่กล้าทำจริงๆ  มันเป็นมนุษย์แบบนั้นจริงๆ  มันทำไม่ลงหรอก  ให้ตายก็ทำไม่

ลง   ดีไม่ดี ฆ่าแกง ก็ยังต้องให้ฆ่าให้แกงเลยไม่เอา (หัวเราะ) อย่ามาปลุกมา

ปล้ำซะให้ยากเลย ไม่ไหวหรอก  อย่างนี้เป็นต้น

         เพราะฉะนั้น   เราจะต้องอ่านอารมณ์ อ่านอาการทางจิตให้ชัด  เห็น

สภาพจริงพวกนี้เป็นจริง  เพราะฉะนั้น ที่อาตมาใช้ภาษาอังกฤษว่า CLIMAX มันสม

ใจ   มันเสพย์สุข  พอแค่นี้พอจริงๆ  มันนิดหน่อยเท่านั้น  มันไม่ต้องไปหยาบหรอก  

มันเสพย์ละเอียด   ไม่เอา เสพย์ละเอียดก็ไม่เอา  เพราะฉะนั้นแม้แต่จะเป็นเชิง

อบายมุข  แม้เชิงกามหยาบ   แม้เชิงอะไร  แม้เชิงอะไร รูป รส  กลิ่น  เสียง 

สัมผัสต่างๆเหล่านี้   เราก็จะต้องอ่านใจของเรา อ้อ!  อย่างนี้เหลือเชื้ออย่างนั้น

อย่างนี้อย่างนั้น   ลดลงไปให้ละเอียด  ให้สะอาดบริสุทธิ์   จึงจะนับว่าหมดอัตตา 

หมดอาสวะ  หมดอนุสัย  เพราะฉะนั้น ถ้าเมื่อคุณแข็งแรงแล้วสิ่งที่จะเป็นข้อพิสูจน์นี่ 

คนที่จะเป็นอาริยะอรหันต์จะกระทบหยาบได้  กระทบแรงๆได้  เรียกว่าปฏินิสสัคคา

นุปัสสี    กระทบสิ่งที่ยั่วยวนในโลกๆ   ถ้าเป็นคนธรรมดานี่  คนที่อินทรีย์พละอ่อน 

โอ้โห!  รูป รส กลิ่น เสียง หยาบขนาดนั้น เสร็จ  เหมือนกับบอกว่า  ถ้าพันหนึ่ง 

เอามั้ย  ไม่เอา หมื่นหนึ่ง ช้านิดหนึ่ง ไม่เอา แสนหนึ่ง ช้าไปอีกนิดหนึ่ง  ไม่เอา 

(คนฟังหัวเราะ) อ่อนไปหน่อยแล้ว ล้านหนึ่ง (คนฟังหัวเราะ) ขอคิดสองวันนะ ห้า

ล้าน  ?  เอา   (คนฟังหัวเราะ) ไม่คิดแล้ว มันยิ่งหนัก  ยิ่งแรงนี่  มันก็จะต้อง

ยิ่งพิสูจน์  เป็นข้อพิสูจน์

         เพราะโจทย์ยิ่งหนักยิ่งแรงนั่นล่ะ  พระอรหันต์ พระอรหันต์ต้องผุฏฐัสสะ 

โลกะ ธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นกัมปติ  อโสกัง วิรชัง  เขมัง จะกระทบสัมผัสโลก

ธรรมนี่  แรงอย่างไร  ก็ไม่หวั่นไหว  ไม่มีธุลีหมอง ไม่มีธุลีเริง  อโสกะ อาตมา

แปลว่าธุลีหมอง   เปรียญ 18 มาแปลแข่งกับอาตมาก็สู้อาตมาไม่ได้หรอก  วิรชะ 

ธุลีเริง  คือมันนิดหน่อยแล้ว ไม่มี  ผุฏฐัสสะ โลกะ สัมผัสโลกธรรมอย่างไร จะหยาบ 

จะแรงอย่างไรก็  แม้แต่ธุลีหมองก็ตรวจละเอียดไม่มี ธุลีเริงก็ไม่มี  รู้ว่าเป็นความ

เบาว่าง สบาย ยินดีธรรมดา อันไหนดียินดี อันไหนไม่ยินดี ก็คือไม่ยินดี  รู้ความน่า

ยินดี  ความไม่น่ายินดีชัด เกษม เขมัง สะอาดบริสุทธิ์ ว่าง เบา สบาย  จะต้อง

อ่านคุณลักษณะพวกนี้ตรงตามพระพุทธเจ้าตรัสไว้หมด  ตรงตามอันนั้นจริงๆ  

          เพราะฉะนั้น  ผู้ที่จะถึงขั้นอนัตตา มีไตรลักษณ์ครบสมบูรณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ใช่ยกพระไตรลักษณ์ขึ้นสู่จิต ไม่ยกหรอก  ปฏิบัติให้มันมีเลยแหละ  มี

ไตรลักษณ์นี้ในจิตเลยแหละ เห็นมั้ย  ว่ามันต่างกันตรงที่เขาเรียนกันมาตั้งเยอะ ตั้ง

แยะ   ฟังเข้าใจมั้ยล่ะนั่นทำให้เกิดไตรลักษณ์  ไม่ใช่ไปเอาแต่ปลง โอ๊!  อนิจจัง 

ทุกขัง  อนัตตา  ไม่เที่ยงหนอ  ทุกข์หนอ  มันก็มีผลประโลมใจได้   ทำให้เราไม่

ห่าม  ไม่ย่ามใจ  ไม่ แหม จะเอาแต่โลกียะอะไรอยู่อย่างนั้นน่ะ มันก็ยับยั้งได้บ้าง

เบาบาง ไม่ใช่เบาบาง  มันพอบรรเทาใจ  แก้ไขด้วยกาม  เหมือนกับปวด  ไม่รู้

มันปวดอะไร  ก็กินยาแก้ปวด  บำบัดไว้หน่อย  แต่มันไม่เข้าไปล้างตัวเหตุ  มันไม่

เป็น radical treatment  มันไม่ไปทำลายตัวสมุทัย เห็นมั้ย มันไม่ไปตัวนั้น มัน

ก็เลยไม่ค่อยตรงแท้ มันจะต้องไปล้างตัว radical ตัวมูล อนุมูล ตัวเหตุแท้  ต้อง

ล้างเหตุมันให้ตรงให้ถูกตัวมัน  ทำลายหรือประหารตัวนั้นให้จริง

         วันนี้อธิบายขยายไปถึงรายละเอียดของการปฏิบัติ   เพราะฉะนั้น เรา

มีผัสสะเป็นปัจจัย  กินอยู่หลับนอน  สำรวมอินทรีย์ 6  โภชเนมัตตัญญุตา   เมื่อคุณ

ปฏิบัติสองตัวนี้คุณจะสู่ความว่าง  เบาขึ้นมา  จะกลายเป็นภวตัณหา อยู่ในภพของตัว  

เสร็จแล้วก็เมื่อไม่เข้าใจ  เมื่อเข้าใจไม่ถูกแล้วคุณก็จะอยู่ในความว่างๆเฉยๆ  ไม่

ต้องเกี่ยวข้องกับใคร  มันจะเป็นคนอยู่ในภพ  ไม่ตื่น ไม่ชาคริยา เป็นคนไม่รู้  ไม่

ชาคริยา ไม่รู้ไม่ตื่น  เมื่อไม่ตื่นคุณก็จะอยู่ในภพของเรานี่แหละ          มันก็ไม่

มีปรโตโฆสะ   ไม่มีการสัมพันธ์ ไม่มีการมีโจทย์  ที่จะมากระทุ้งกระแทกกระเทือน 

ไม่เจริญขึ้น  ไม่ชำนาญ  ไม่มีสมรรถนะ  ไม่มีสมรรถภาพ   ประโยชน์ตน  จะว่า

ประโยชน์ตนก็ยังไม่สมบูรณ์   เพราะประโยชน์ตนกับประโยชน์ท่าน บอกแล้วว่าเป็น

อันเดียวกัน   ประโยชน์ตนกับประโยชน์ท่านนี่สุดท้าย  เป็นอันเดียวกัน   ตนมีเหตุ

ปัจจัยอันนี้ จึงจะกิเลสอันนี้ เมื่อเราละกิเลสอันนี้เราคือเป็นผู้ให้ผู้อื่น  เราเป็นผู้ได้ 

คือเราเป็นผู้ให้ เราเป็นผู้ไม่มีไปเรื่อยๆ คือเป็นผู้ที่มีคุณค่า มีคุณธรรม  เพราะเรา

ยิ่งไม่มีนี่เรายิ่งมีคุณธรรม   นี่ภาษาไทยนะ ฟังไหวก็ไหว ไม่ฟังก็ต้องฟัง ฟังไม่ไหว 

ก็ต้องฟัง   เพราะว่าพูดไปแล้ว เพราะฉะนั้น  ที่สุดแห่งที่สุดของมันนี่  ภาษามันพูด

เหมือนกลับไปกลับมายังไงก็ได้   มันเหมือนตลบตะแลงแล้ว ความจริงไม่ใช่ ไม่ใช่

ตลบตะแลง แต่สุดแห่งที่สุดมันเป็นเช่นนั้น

         เมื่อเราเองเราจะมาปฏิบัติเบื้องต้นของชาคริยานุโยคะนี่  เมื่อเรากิน

น้อยใช้น้อย   โภชเนมัตตัญญุตา   เราก็ปฏิบัติ   สำรวมอินทรีย์  เราก็ชำนาญพอ

สมควรแล้ว  สมควรมากด้วย   ผัสสะเป็นปัจจัยอะไรเราก็ลดก็ละได้    มันก็กรึ่ม

ตัวเองด้วย  โอ๊!  ไม่มีปัญหาหรอกเรา ไม่ต้องยุ่ง ไม่เกี่ยวอะไรใครนี่  มันว่างดี 

เบาดี   อาตมาก็เคยพูดว่าอาตมาไม่เถียง  คุณไม่เกี่ยวอะไรกับใคร มันก็ว่างมันก็

เบาน่ะซิ  ใครจะไปเถียงคุณน่ะ (หัวเราะ)  แต่คุณเองคุณก็เหมือนก้อนอิฐ ก้อนหิน ก้อนดิน   แต่คุณยังสูดอากาศเลี้ยงชีวิตนี่ คุณกินอากาศเขาอยู่นะ คิดราคามา คุณยัง

นั่งตรงนั้น  ยังเปลืองที่ตรงนี้นี่ มันหนักแผ่นดินนะ  คุณยังกินอาหารคุณยังกินน้ำ  คุณ

ยังกินไอ้โน่นไอ้นี่   อะไรอีกต่างๆนี่     หา    ทำเป็นเล่นไป     แล้วคุณไม่มี

ประโยชน์อะไรทดแทนลงไปมั่งเหรอ  เพราะฉะนั้น คนเราไม่มีค่ามันไม่ได้หรอกนะ 

มันต้องทำงาน   เอาแต่อยู่เฉยๆ  ได้เหรอ ว่าง อยู่เฉย เบาว่าง  เอาละคุณไม่

เปลืองมากก็จริงอยู่ แต่คุณก็ทำลายตัวเองไปทำไม ถ้าคุณจะขยัน คุณจะมีสมรรถภาพ  

คุณจะสร้างสรร   คุณจะพัฒนา   มีผัสสะเป็นปัจจัยแรงขนาดไหน  คุณก็ปฏินิสสัคคะ  

สามารถสลัดคืน   สูงสุดคืนสู่สามัญมาอยู่กับโลกียะ   เป็นเหมือนโลกียะเขานี่แหละ  

แต่จิตของเราแข็งแรงแล้ว  ตถตา อวิตถตา อนันยถตา  อิทัปปัจจยตาแล้ว ไม่เป็น

อื่นไปอีกได้เลยนี่อเสขะแล้ว   เป็นผู้ไม่ต้องศึกษาฝึกฝน ไม่ต้องอบรมอีกแล้ว  เป็น

แล้ว เป็นเลย เป็นจริงๆอย่างนี้

         คุณก็พิสูจน์ยืนยันความจริงอันนี้ให้โลกรู้บ้างปะไร    แล้วคุณก็ทำกับเขา

อนุโลมกับเขา ถึงยังไงบอกแล้วว่า จิตอุเบกขาที่ผิดคุณลักษณะ 5  อธิบายซ้ำๆซากๆ  

ในอโศกนี่แหละ ถึงจะได้ยิน ที่อื่นไม่มีขายนะ ศูนย์การค้าอื่นไม่มีขาย  มีศูนย์การค้า

อโศกเท่านั้น  ที่มีอุเบกขา  5  นี้ขาย  ปาริสุทธา   ปาริโยทาตา   มุทุกัมมัญญา  

ปภัสสรา   จิตนี่ผ่องใส ผ่องแผ้วอยู่ตลอดเวลา  บริสุทธิ์  บริสุทธิ์แล้ว บริสุทธิ์เลย  

เอาอะไรอาบ   เอาอะไรมาพอก   ผุสฐัสสะ   โลกะ ธัมเมหิ   จิตตัง  ยัสสะ 

นกัมปติ  ไม่มีหวั่นไหว ไม่มีธุลีหมอง ไม่มีธุลีเริง สนิท นิ่ง ไม่เกิดอื่น ไม่เป็นอย่าง

อื่น เป็นอย่างนี้เท่านั้น เป็นอย่างนี้ อยู่อย่างนี้ ตลอดไป  infinity internity 

เป็นอย่างนี้ตลอดไป  คุณภาพอย่างนี้  infinity  ยั่งยืนนานอย่างนี้ internity 

มันเป็นอย่างนั้นจริงๆ  เพราะฉะนั้น  จะมาอยู่กับบุคคลอื่น เพราะเราได้พิสูจน์เรา

ได้ฝึกฝน กระทบสัมผัส ปฏินิสสัคคะ  มีสัมผัสเป็นปัจจัย มีโน่นมีนี่  โลกียะมันจะใหญ่

ขนาดไหนเชียว

         อย่าว่าแต่เมื่อกี้สมมุติไปแค่ห้าล้าน   ต่อให้ล้านๆๆๆ มาให้ก็ไม่เอา ถ้า

มันทุจริต  จะไปเอามาทำไม  ไม่หวั่นไหว ไม่ได้เป็นทาสโลกียะ  ลาภ ยศ  สรร

เสริญ โลกียสุข  ว่ามันแซบมันอร่อย  มันวิเศษขนาดไหน  ก็ไม่ได้หลงโลกียสุขเขา

มีอีกแล้ว   อย่างนี้สบายกว่าจริงๆ   มันจะจริงเลย  เพราะฉะนั้น   คนอย่างนี้นี่ 

เป็นคนช่วยโลก  อยู่กับโลก   อาบพอกอย่างกับปาริสุทธา   ปริโยทาตา   ยังไง

ก็บริสุทธิ์อยู่  จิตก็เป็นจิตว่าง  เป็นมุทุธาตุ เป็นมุทุจิต ไม่ต้องดัดแล้วด้วย ตอนนี้มัน

ดัดของมันเป็นอัตโนมัติเลย   ดัดได้เร็ว    มันไม่มีตัวตนแล้ว   จิตมันไม่ได้ไปนั่ง

ติดโลกีย์อะไรอีกแล้ว มันเป็นสภาวะสะเทิน  สภาวะนิวตรอน  มันเป็นจิตกลางแล้ว 

ไม่มีบวก  ไม่มีลบ  ไม่มีติดอะไรอีกแล้ว   นี่คืออุเบกขา  จิตอุเบกขา  ไม่ใช่ไม่รู้ อุเบกขา กลับมีญาณปัญญาบริสุทธิ์บริบูรณ์  มีปัญญามาก  มีมุทุธาตุที่มีจิตแววไว มี

ญาณปัญญา มีปฏิภาณ มีปฎิสัมภิทาญาณ  

         ถ้าปฏิบัติตรงของพระพุทธเจ้าแล้ว อรหันต์ของพระพุทธเจ้านี่ อภิญญา ก็

คือความเก่ง   ปฏิสัมภิทาญาณ ก็คือผู้มีปฏิสัมภิทาญาณ 4  มีนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ  มี

ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ มีอัตถปฏิสัมภิทาญาณ  มีธัมมปฏิสัมภิทาญาณ   

มีปฏิสัมภิทาญาณ 4 นะ  รู้ทั้งภาษา  มีปฏิภาณ รู้ทั้งแก่นแท้ เนื้อหา  รู้ทั้งองค์ประกอ

บทั้งหมด   มีธัมมปฏิสัมภิทาญาณ  อัตถปฏิสัมภิทาญาณ  ก็คือแก่นเป้า  รู้ได้มาก ได้

น้อยก็เท่าที่ผู้ใดเป็นอาริยะองค์นั้นเป็นองค์นั้นมี   ซึ่งต่างกัน  ถ้าพระพุทธเจ้าก็ 

แหม มีปฏิสัมภิทาญาณนับไม่ถ้วน  พระโพธิสัตว์มหาสัตว์ก็มีพอสมควร หรือเป็น

พระอรหันต์ที่มีบารมีขนาดนั้น  ท่านก็มีเท่าที่ท่านมี  ช่วยคนได้มากหรือน้อย  เพราะ

ว่าท่านไม่ได้ย่นย่ออะไรแล้วนี่  อยู่ไหนก็อยู่นั่นได้  เพราะฉะนั้น  อยู่กับโลกเขาได้  

เหนือโลก  โลกุตระ   อยู่กับโลกเขารู้โลกียะนะ จึงเรียกว่าโลกวิทู   หรือพหูสูต  

ไม่ใช่ไม่รู้เขา  รู้  โอ้! อันนี้เราหนอ ดูตัวเราแล้วช่วยเขาไม่ได้   มันก็ได้เท่านี้ 

อาตมาก็ยังนึกตัวเองอยู่เลยว่า  โอ๊! อาตมานี่หนอ   มันจะช่วยพระโสภณคณาภรณ์  

อดีตนะ  ท่านไปเป็นเจ้าคุณราชแล้วได้มั้ยหนอชาตินี้นี่   เราก็เท่านี้หนอ   ไม่รู้จะ

ช่วยท่านได้หรือเปล่า  จะช่วยสังเวียน ภู่ระหงษ์  นี่ได้มั่งหรือเปล่า? ใครมั่ง  นี่ก็

ออกชื่อไปบ้างนะ  จะโกรธก็โกรธกันนะ

 

คนฟัง     :  ปีติสัมโพชฌงค์ กับปีติในฌานนี่ ตัวเดียวกันหรือเปล่า?

 

พ่อท่าน    : เหมือนกันนั่นแหละ  คุณลักษณะเหมือนกัน

 

คนฟัง     : เท่ากัน

 

พ่อท่าน    : มันจะเท่าอะไรละ  ก็อารมณ์ปีติ มันจะเป็นไปตามจริงน่ะซิ  จะอยู่

ในฌาน หรืออยู่ในสัมโพชฌงค์

 

คนฟัง     :  อุเบกขาก็เหมือนกัน

 

พ่อท่าน    : เหมือนกัน ก็คุณลักษณะคือธาตุอันเดียวกันนั่นแหละ  เป็นแต่เพียงว่า

อยู่ในองค์ธรรมอย่างนั้น  ท่านก็เอาไปไว้อย่างนั้น  ก็ทำหน้าที่อุเบกขาเหมือนกันนั่น

แหละ   มากหรือน้อยคุณภาพมากหรือน้อย  ก็เป็นจริงตามที่คุณมี คุณเป็น  คุณทำได้  จะมีความบริสุทธิ์    จะมีปริโยทาตาอย่างใด   ก็อย่างนั้น     มีมุทุธาตุอย่างไร  

มีกัมมัญญา หรือกัมมัญญะนี่ บอกว่าอันเดียวกัน เหมาะควรแก่การงาน ทำการทำงาน

เหมาะสม  ทำได้ดี ทำได้สละสลวย  ถ้าถึงขั้นอุเบกขา ก็เป็นจิตทีทำงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ   มีสมรรถนะ  มีสมรรถนะได้จริง    ทำได้เกิดประโยชน์คุณค่าจริง 

          เพราะฉะนั้น    คนอย่างศาสนาพระพุทธเจ้าจึงเป็นคนที่ช่วยโลก        

อนุเคราะห์โลก   ผู้ที่ศึกษาตามทางพระพุทธเจ้า  ตนเองก็พ้นทุกข์  ตนเองก็สบาย  

ตนเองก็ร่ำรวย  ร่ำรวยนะ ไม่จนหรอก  เป็นคนจนผู้ยิ่งใหญ่   จนยิ่งใหญ่จริงๆนะ  

โอ้! มันไม่มีสตางค์สักบาท  เป็นเศรษฐีเงินถัง แต่สตางค์ไม่มี  เป็นเศรษฐีเงิน

ถัง  แต่สตางค์ไม่มีนี่แหละวิเศษ  วิเศษจริงๆ  ซึ่งมันเหมือนกับพูดเล่น  เหมือนกับ

คำพูดตลบตะแลง   นี่มาถึงสัจจะย้อนสภาพ    ปฏินิสสัคคะตัวนี้นี่  โอ้โฮ!  ไม่ใช่

เรื่องเล่น   แล้วหลอกคนได้  หลอกคนได้นะ   คนที่จะเอาปฏินิสสัคคะไปหลอกคน  

บอก  เอ๊ย! นี่เราอนุโลมให้นะ  ที่จริงใจเราสะอาด  ไอ้ใจมันไม่รู้ใครรู้ของใคร

ได้ง่าย  ใช่มั้ย  ก็หลอกใจ  ใจหลอกได้ง่าย

         ช่างภาพนี่ก็มาจับหน้ายักษ์เอาตอนที่  ...(คนฟังหัวเราะ)   อะไรๆนี่ 

จับเอาให้มันได้ท่าที่เลวๆนี่ ไว้สำหรับไว้แบลคเมล์ทีหลัง (คนฟังหัวเราะ)  เอาไป

ขาย   บอกไม่สุภาพหแอก ใช่ ก็ขอพูดอะไรอันหนึ่งที่เขาพูดกันมาให้ฟังว่า  อาตมา

เคยพูดว่าอาตมาปางนี้ เป็นปางราม  มันเป็นรามจริงๆเลย โอ้โฮ!  ตอนนี้เขาไล่

ออกจากเมือง  (คนฟังหัวเราะ)  ไล่ออกจากเมือง ก็ไปไหนก็ไปก็... แหม  ผู้ที่

ช่วยเหลือก็มีแต่พวกลิงเท่านั้นแน่ะ  (คนฟังหัวเราะ)   แต่คนช่วยอีกฝั่งหนึ่ง  ก็นั่น 

โอ้โห!  ยักษ์นะ  ใหญ่ สิบเศียร ยี่สิบกร ลูกน้องลิ่วล้อมีแต่ยักษ์ขนาดกลาง  ขนาด

ยักษ์   ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง โอ้โห! เยอะแยะเลย มีแต่ระดับทั้งนั้นเลยนะ  พล

พรรคของอีกฝ่ายหนึ่งนะ  ยักษ์  อาตมานี่มัน เห็นมั้ย มันชัดเหลือเกิน เห็นมั้ย  คุณ

เห็นว่ามันชัดมั้ย          แล้วอย่าไปเข้าใจบ้าๆละว่าเป็นพระราม มาอีกละนั่น 

รามเกียรติ์น่ะ  ต้องรู้จักบุคคลาธิษฐานกันมั่ง  นี่ข้างนอกไปฟัง  ก็บอกเอาอีกแล้วนี่ 

ไอ้นั่น ไอ้นั่น เดี๋ยวๆ เอาไปตอนนี้ เดี๋ยวจะเกิด  เลือกผู้ว่าอีกประเดี๋ยวเอาไปอีก

แล้ว  (คนฟังหัวเราะ)  ตอนนี้ งวดก่อนนี้ เง็กเซียนฮ่องเต้   งวดนี้เอาพระราม

เลย  (คนฟังหัวเราะ)  นี่ ร.รามรักษ์ ร.รามรักษ์  แต่รามอย่างอาตมานี่ มันไม่

ค่อยงามหรอก   มันไม่เท่เลย  มันไม่เท่ห์เลย  โอ้โห!  รามยังมีเชื้อลิงเยอะ 

(หัวเราะ)  มันได้แค่ลิง แต่ฤทธิ์มากนะ  ลิงนี่ฤทธิ์มาก  ทำเป็นเล่นไปเถอะ  ลิง

นี่ฤทธิ์มันไม่เบา

 

คนฟัง     : พ่อท่านไปอยู่ที่ไหน ต้องสร้างป่าไว้ ลิงมันเยอะ

 

พ่อท่าน    :  ต้องสร้าง

 

คนฟัง     : ไว้ให้ลิงอยู่กับป่า

 

พ่อท่าน    : เออ (คนฟัง และพ่อท่านหัวเราะ)  สร้างป่าให้ลิงอยู่ (หัวเราะ)  

ไปไหนก็สร้างป่าให้ลิงอยู่  พูดยังไงมันก็ดูเหมือนนะ  ดูดี ดูเข้าท่า นี่ ราม แล้วก็มี

พลพรรค มีลิ่วล้อ  มีคนช่วยงานก็มีแต่จำพวกแบบลิง โอ๊ย! ตัวกะเปี๊ยก   แล้วต้อง

คล่องนะ    ไม่คล่องไม่ได้หรอก    ไม่คล่องถูกเขาจับฆ่าหมด     เพราะเขานี่ 

โอ้โห!สิบเศียร  ยี่สิบกรนะเขี้ยวยาวนะ   หน้าโอ้โห! ตัวใหญ่   เขาเอาไปแกง

พะโล้หมดนะ  (คนฟังหัวเราะ) ลิง  แต่ฤทธิ์ต้องมากด้วย แล้วฤทธิ์มากด้วย  นี่คือ

บุคลาธิษฐานนามธรรม  มันไม่ได้มียุคสมัยนี้เท่านั้น   อะไรๆ  มันก็มาอย่างนี้แหละ  

รามเกียรติ์ว่าไว้นี่ถูก   ถ้าคุณเข้าใจมันจริง  มันอย่างนี้แหละ  เมื่อไหร่ๆ ก็แบบนี้ 

แหละ   ในวัฏสงสารนี้มันก็มีอะไรๆ  เป็นจริงอย่างนี้  เป็นแต่เพียงว่า ผู้ใดปฏิบัติ

ถูกสภาพอย่างนี้มั้ย  เป็นอย่างนี้มั้ย  มันก็เป็นอย่างนี้    อาตมาก็เป็นอย่างนี้แหละ 

อาตมาบอกพวกคุณมาแต่ก่อน   คุณก็ฟังมา นี่ก็ฟังมา  ทุกวันนี้ มันมีเหตุปัจจัย   พอ

หยิบขึ้นมา  พูดตอนนี้ คุณเข้าใจขึ้นเยอะ  เออ ใช่แฮ่ะ  มองเข้าท่าแล้ว  เข้าใจ

แล้ว  มัน เออ นี่ นี่ตอนนี้ ถูกเขาไล่ออกจากเมืองอโยธยา  ต้องหาป่าอยู่ นี่ไม่ให้

เข้าเมือง  เขาไล่ออก  เขาไล่ออกมา อะไรอย่างนี้   เราก็อยู่กันไปตามประสา

เรา  แล้วก็พยายามพัฒนา ชิงสีดาคืน  สีตะ นี่แปลว่า ความเย็น สีดา สีตะนี่ แปล

ว่าความเย็น  ชิงความเย็นนี่คืนมา

         เอาละ อาตมาได้อธิบายอะไรต่างๆนานา  ก็คิดว่าเข้าใจเพิ่มขึ้น ก็ยัง

เหลือแต่ว่าเราจะเอาไปปฏิบัติ  ไปประพฤติกันจริงๆนะ  เราได้กันขนาดนี้  พรุ่งนี้

อาตมาจะอธิบายในคุณลักษณะให้ชัดๆ    เจาะลงไปในคุณลักษณะที่เป็นโสดาปัตติผล  

จนกระทั่งถึงอรหัตผล    จะมีสภาพหรือว่ามีสูตร  มีทฤษฎี   มีหลักตัดสินอย่างไร  

เกริ่นไว้นิดหนึ่งว่า โสดาบันนี่นะ โสดาปัตติยังคะ องค์คุณแห่งความเป็นโสดานี่คือศีล

ห้า  เพราะฉะนั้น  ศีลห้า อย่างไรที่เราจะเอาไปทำความเข้าใจว่าเราเองต้องมี

ศีลห้า    แล้วมีศีลห้าในลักษณะที่เป็นมรรคเป็นผลอย่างไร    เขาบอกว่าก็มีศีลห้า  

ศรัทธาในพระพุทธ   พระธรรม  พระสงฆ์   ต้องละสังโยชน์สาม   พระโสดาบัน  

หริอจะต้องมีองค์คุณแปด   เดี๋ยวจะได้อธิบายนี่แหละ   อธิบายขนาดนี้หมดแล้วนี่ไม่

รับรองว่าคุณเองคุณเข้าใจดีแล้วล่ะก็   เอาไปตรวจสอบ ทำแล้วก็ได้มรรคได้ผลว่า 

เออ   โสดาแล้วก็อย่าไปอาละวาดคนอื่นเขามากมายละ  พรุ่งนี้จะพยายามอธิบาย หรือแม้แต่ที่สุด คุณธรรมในระดับพระอรหันต์  องค์คุณของพระอรหันต์จริงๆ ก็บอกไว้  

อธิบายไว้แล้ว  ก็เกลี่ยมาหาสกิทา อนาคาบ้างนิดหน่อย  นี่อธิบายอาริยคุณ  เกรด 

หรือว่าความหมายเป็นทฤษฎี   เสร็จแล้วเราก็ปฏิบัติไป จะได้ไม่งมงาย  ทุกวันนี้นี่

ใครเป็นพระอาริยะ ไม่เป็นพระอาริยะ ไม่รู้ละ  เดาส่งเลย  องค์ไหนเคาะหัวคน

เก่ง  บ้วนน้ำลายใส่หน้าคนเก่ง ก็เป็นพระอาริยะแล้ว  ทำอะไรให้คนค้าได้ขายได้ 

ก็เป็นพระอาริยะแล้ว โอ๊! วุ่นวายมากเลย เดี๋ยวนี้มันบ้าหลงกันจนขนาดหนัก  เป็น

ที่พึ่งอันซมซาน ที่พึ่งอันแสน (พ่อท่านและคนฟังหัวเราะ)  โอ๊ะ! สำนวนนี้มันเป็นยัง

ไงล่ะ   ที่พึ่งอันซมซาน  ฟังแล้วหัวเราะเลย มันเป็นยังไงล่ะ ? หา?  (คนฟัง : 

พระอาริยะขี้ยา)   พระอาริยะขี้ยา  ว่างั้นไปว่าเขา (คนฟังหัวเราะ)  เป็นที่พึ่ง

อันซมซาน  เป็นที่พึ่งอัน มันน่า มัน(หัวเราะ)  เมตตาก็สุดเมตตานะ   ไม่รู้จะทำ

ยังไง   มันน่าเมตตาสุดเมตตาจริงๆเลย  คือมันน่าเวทนาน่ะ  มีความรู้สึกอย่างที่ 

มันน่าสงสารจริงๆนะ   จะเรียกว่าเมตตาก็ได้  เรียกว่าสงสารก็ได้   มันสงสาร  

โอ้! เป็นยังไงกัน  มันไปงมงายอยู่กันยังไง มันจริงๆนะ    แล้วก็ไปหลงว่านี่พระ

อาริยะ   ที่พึ่งอันเกษม น่าได้น่ามี น่าเป็นอยู่   ส่วนเรานี่พูดให้ปากเปียกปากแฉะ  

ก็หาว่าเป็นพวกมาทำลายศาสนา  เอา ก็ได้แค่นั้นละนะ

         เอาละ   คิดว่า อ้อ เดี๋ยวๆๆๆ มีกระดาษอะไรเขียนมานี่ยังไม่ได้อ่าน

เลย  มันติดพันนะ  อาตมาก็ไม่อยากแว๊บอยากแวะ

 

คำถาม    : เมื่ออารมณ์กาม ความกำหนัดเกิดอยู่ในจิต  เราจะวิปัสสนาอย่างไร 

ที่จะทำให้อารมณ์กาม ความกำหนัด จางคลายลงในขณะเกิด

 

พ่อท่าน    : คำที่ท่านอธิบายไว้มาก พระพุทธเจ้าอธิบายไว้มาก ก็คือ  จงมองให้

เป็นอสุภะ    กามนี่   จะพิจารณาอย่างไร   จะวิปัสสนาอย่างไร    เห็นว่ามัน

เป็นอสุภะ อสุภะ แปลว่าอะไร?  อสุภะ แปลว่า เป็นของไม่น่ารื่นรมย์  ไม่น่ายินดี  

เห็นความจริงให้ได้ว่ามันไม่น่ายินดี   มันไม่น่าหลงใหลจริงๆ เห็นด้วยญาณ   มอง

พิจารณา  พิจารณาเข้าจริงๆๆเลยว่า มันไม่น่ายินดีจริงๆอสุภะ    เราไปเห็นว่าดี 

หลงว่าดี  มันไม่ได้ดีอะไรหรอก จริงๆ อารมณ์ที่มันจะเสพย์เป็นอารมณ์กาม  สมใจ 

สุขใจด้วยรูป  รส  กลิ่น เสียง สัมผัส สัมผัสเสียดสี อย่างใดขนาดไหน  ก็แล้วแต่ 

โฮ้!  มันก็ไอ้เท่านั้น   มันก็ไม่ได้ดีอะไร  มันเลอะๆ เทอะๆ  เปรอะๆ  เปื้อนๆ 

เมื่อยๆ เพลียๆ  ยุ่งๆยากๆ  วุ่นๆวายๆ จริงจริ๊ง  ไม่เชื่อก็ตาม  เน้นจริงๆ  ถึง

ขนาดนี้แล้วน่ะ

         เพราะฉะนั้น ต้องพิจารณาจริงๆเลย  เห็นเหตุผล หรือ หลักฐานความจริงสิ่งที่ผ่านมา  คนอื่นคนใดเขาเป็น  หรือเราเองก็เป็นมาผ่านมา ทั้งหมดเอามา

ประมวลเข้าไปเลย ว่ามันไม่ได้น่ายินดี อสุภะ  กามนี่ เขาปลงเป็นอสุภะทั้งนั้นแน่ะ  

แม้จะหลอกด้วยรูปโฉมอะไร ก็ไม่จริงหรอก ไม่เที่ยง  อย่างนี้งาม สวยสด  นี่สดนี่

มันก็ไม่จริงหรอก   นี่สดก็อย่างนั้นแหละ  มันก็เป็นตามธรรมชาติของมัน  มันก็เป็น

อย่างนี้   เดี๋ยวมันก็จะต้องเหี่ยวไป   เอ้า!   เชื่อมั้ยนี่ไม่เหี่ยว   มาท้ากันนี่น่ะ  

พนันมั้ยนี่    ขี้หมาเอาลูกโลกสองโลกมาแลกกันน่ะ    อาตมาจะให้คุณลูกโลกเลย 

อาตมาถ้าชนะ    เอาขี้หมาของคุณกองเดียว    คุณเอาลูกโลกมาแลกกับอาตมานี่ 

อาตมารับรอง  อาตมาไม่เสียลูกโลกหรอก อาตมาจะได้ขี้หมาของคุณเลยละ  แลก

กันมั้ย    พนันกันมั้ย นี่เหี่ยว  แล้วมันก็โทรม  มันก็อย่างนั้น  มันก็เกิดขึ้น  ตั้งอยู่ 

ดับไป  เห็นทุกอย่าง ชี้ให้ชัด  มีอะไรไปยืนยัน  แม้แต่ตัวเรา  ชีวิตร่างกาย

ความเป็นจริงของเราผ่านมามันไม่เที่ยงแท้ มันไม่จริง เห็นความจริงที่มันไม่จริงอัน

นั้น    นั่นก็เป็นองค์ประกอบ   ไปเห็นกิเลสมันไม่เที่ยง   นี่อาตมาอธิบายไปแล้ว 

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา  ปรมัตถ์  มันก็จะลดลงไปนะ 


 

พ่อท่าน    : แถมนิดหนึ่ง  เมื่อกี้อธิบายยกตัวอย่าง แต่แค่ว่าห้าสิบล้าน  ร้อยล้าน  

ไม่หวั่นไหว   แม้แต่ให้งามยิ่งกว่านางงามจักรวาลร้อยคนมาผัสสะยั่วยวนอยู่  ก็ไม่

หวั่นไหว นั่นแน่ะ  กระแทกกระทุ้งกระเทือนไม่หวั่นไหว  พวกนี้ก็เหมือนกันนะ หรือ

เอายศตำแหน่งมาให้   มาให้เป็นนายกรัฐมนตรี  มาให้เป็นรัฐมนตรี   มาให้เป็น

อะไรก็แล้วแต่   ตำแหน่งใหญ่  โอ้โห! ดุษฎีบัณฑิตระดับโน้น  ระดับนี้ก็ไม่หวั่นไหว 

อะไรอย่างนี้

 

         ถอดเท็ป    โดย  ศิริวัฒนา   เสรีรัชต์       22/4/39

         ตรวจทาน 1 โดย  น.ส.เทียนฟ้า   บูรพ์ภาค    1/7/39

         พิมพ์โดย         สม. มาบรรจบ เถระวงศ์

         ตรวจทาน 2 โดย  สม.ปราณี               10/8/2539

         PRINTED   โดย  ปญ.ใจขวัญ เบญจโศภิษฐ์

         เข้าปกโดย       สมณะแดนเดิม พรหมจริโย

         เขียนปกโดย      พุทธศิลป์  

RW2+!@@@@


 

ที่มา ที่ไป

390304 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 4 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2539 เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20 ณ พุทธสถาน ศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

                    

           

        


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 10:17:49 )

390305

รายละเอียด

390305 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 5 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ ศีรษะอโศก

 

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

                   วันที่ 5 มีนาคม พุทธศัราช 2539

           ณ พุทธสถานศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

 

         ในยุคที่มันเลยๆมาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้นี่     ทุกอย่างพร่อง    โลกพร่องอยู่

เป็นนิตย์  ที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสนี่  คือมันพร่อง  มันงวดไปเรื่อยๆ  มันหมดลงไปเรื่อยๆ  

วัตถุดิบ  ทรัพยากร  มันก็พร่องลงไปจริงๆ  คนก็มากขึ้น   เมื่อคนมากขึ้น   ก็จะต้องใช้

ทรัพยากรหรือว่าใช่อาหาร  ใช้เครื่องอาศัยมากขึ้น  แล้วมันก็ไม่สมดุลกันเลยน่ะ  วัตถุดิบ 

ทรัพยากรที่เป็นของธรรมชาติ  ของโลกที่มันเคยมากมายแน่นหนา  เยอะแยะ  ไม่ว่าจะ 

เป็น   ต้นหมากรากไม้  ที่มันขึ้นมาเป็นสิ่งอาศัยกัน   และกัน  เป็นอาหารของสัตวโลกนี่

แหละ  มันก็ร่อยหรอลงไป  หมดไปจนกระทั่ง  ถึงขนาดเราไม่กล้า หรือไม่อยากจะพูดกัน

เลยว่า   มันเหลือเท่าไหร่ขณะนี้  ป่าไม้ในประเทศไทย  เหลือ...  อาตมาได้ยินมานะ  

แต่ตัวเลขนี่   แม่นหรือไม่แม่น   ไม่รู้  ว่าขณะนี้เหลือเพียง  8% ในประเทศไทยขณะนี้  

อาตมาก็ไม่รู้จะว่าอย่างไร

         อาตมาไม่ได้เคยพาพวกเราไปบุกป่า    ทั้งๆที่เป็นพระปฏิบัตินี่   อาตมาว่า

อาตมาเป็นพระปฏิบัติมาตลอด  ทั้งๆตอนแรกออกมานี่  อาตมาออกมาตอนแรกเลย   เลิก

จากทางโลกมา    ไปหาที่ที่เป็นป่า   แต่ก็ไม่ได้ไปคิดว่าจะไปหาป่าใหญ่   ที่จะไปบุกรุก 

บุกรุกอย่างที่เขาบุกรุกกันละนะ   จะออกมาตอนแรกที่สุดนี่   ไปนึกหาซื้อที่   ที่มันเป็นป่า  

เป็นต้นไม้  เป็นสวนให้แน่นๆ  แล้วก็จะเจาะเข้าไปให้อยู่ในนั้นน่ะ  ปลูกกุฏิ...ปลูกเรือน

เล็กๆอยู่  เพราะตอนแรกไม่คิดจะบวช  ตะรอนๆไปกับคุณชวน ชวนชัยที่...เคย  ถ้าใคร

ไปอบรมสัมมนากสิกรรมธรรมชาติที่ปฐมอโศกคราวนี้   ก็คงจะเห็น  ไปกัน  ไปหาซื้อที่สัก

แปลงหนึ่ง   ได้สัก 2 ไร่ 3 ไร่  ก็พอ  แต่ขอมีข้อแม้ว่าให้มี...นี่มีต้นไม้อย่างนี้   ให้มี

ต้นไม้นี่คลุมๆแล้วเราก็ไปอยู่   เจาะโพรงเข้าไปอยู่ในนั้น  มันก็เป็น   ไม่รู้มันเป็นอะไร  

ในสายเลือดก็เป็นอย่างนั้น  แต่หาซื้อไม่ได้  แล้วเราก็ไม่ไหวแล้ว  ไม่อยู่แล้ว  ในสังคม

โลกทางโน้นไม่อยู่แล้ว         สุดท้ายอย่างที่เคยเล่าให้ฟัง...มีเขาบอกว่า  จะไปซื้อ

ทำไมเล่า   ก็ไปเอาสินั่น  ป่าอยู่ที่วัดอโศการามโน่น  เยอะแยะไปป่าแสมน่ะไปจองที่นั่น  

ก็ไปปลูกกุฏิเข้า   ไม่ต้องไปซื้อไปหานี่  อยู่เท่าไหร่ก็ได้   อาตมาก็ฟังๆไปอย่างนั้นแหละ  

ตอนนนั้น     ไม่ได้รู้   เพราะอาตมาเป็นคนไม่รู้จักวัดวาอะไรเลย   เป็นคนไม่รู้เรื่อง

ศาสนา    ไม่รู้เรื่องพระๆเจ้าๆ   วัดวาอะไร  ไม่รู้เรื่อง   เพราะไม่ใส่ใจมาแต่ไหน  ปฏิบัติธรรมเสร็จแล้วก็   ก็รู้ของตัวเอง  ว่าอย่างนั้น่ะ   เขาพาไปดู...ก็คงจะเคยเล่า  

ก็เคยได้ฟัง    แม่บ้านที่อยู่ด้วยนั่น    เขาไปตลาด    ไปพูดบอกว่าคุณผู้ชายอยากจะหา    

สวนที่มีป่าๆ อะไรนี่...ไปพูดไปอย่างนั้นแหละ ไปซื้อเข้าซื้อของ...  พูดไปอย่างนั้นแหละ  

ไปพูดเอากับแม่ค้าขายผัก   แม่ค้าขายผักคนหนึ่ง   ก็บอกว่า   ก็จจะไปซื้อทำไม   ก็วัด

อโศการามออกป่าเยอะแยะ    ป่าแสม...จะไปปลูกกุฏิ   ปลูกอะไร   ก็ไปอยู่ที่นั่นก็ได้  

เขาก็รีบนำความมาบอกอาตมา     อาตมาเฉย...คะยั้นคะยออาตมาไปดูให้ได้     ไป

ดู...อาตมาก็ไปดูอย่างนั้นแหละ อย่างเสียไม่ได้นะ  เห็นเป็นน้ำใจของ...ที่จจริงน่ะคนๆ

นี้นี่ อาตมาเคยไป...ก็ได้ตัวมาจากกรมประชาสงเคราะห์  มาหางานทำ  อาตมาก็ไปหา  

          ที่จริงก็คือไปหาคนใช้   คนใช้มาไว้ในบ้าน  ก็ไปได้แกมา   มีลุกสาวติดมา

ด้วยตัวเล็กๆ  ซึ่งคนใช้มีลูกสาวติดน้อยๆนี่  บ้านไหนก็ไม่เอา  เขาต้องการคนไปใช้  แต่

มามีกระจองอแง   มีลูกเด็กเล็กแดงอยู่ด้วย  เขาก็ไม่เอา  อาตมาเห็น  เออ!ก็เอามา  

ช่วยงานอยู่ในบ้าน   ตั้งแต่เงินเดือน 150 บาท   ให้แกเดือนหนึ่ง   จนกระทั่งไม่รู้เงิน

เดือน  เท่าไหร่  เป็นพัน ตั้งแต่เป็น  จนกระทั่งอยู่มา  จนกระทั่ง   แต่ก่อนนี้เงินเดือน

พันน่ะ    มันไม่ใช่ธรรมดานะ    คนใช้นี่แหละ    เงินเดือนพันหนึ่ง    แต่ก่อนนี้ไม่ใช่    

ธรรมดานะ   ก็ไม่ได้คิดว่าเป็นคนช้ง  คนใช้   แต่คิดว่าเป็นคนอยู่ด้วยกัน   อาตมาไม่

มีนิสัยเป็นศักดินาอะไรมากมายหรอก   สุดท้าย...จะออกมาบวช  แกก็มาด้วย  ไม่เอา 

ไม่อยู่แกก็จะมา  ตอนหลังพวกเราคนเก่าๆคงจะรู้ อาคมาเรียก อุปัฏฐากนั่นแหละ แกก็พา

ไปดูที่วัดอโศกการาม    อาตมาก็ไป   ก็ไปเห็นป่าวัดอโศการามเข้าก็      บ๊ะ!ดีแฮะ  

แหม!มันมุดเข้าไปใน...ดงแสมน่ะ   แหม!ดีนี่  ของฟรี  แบบนี้ด้วย  แต่ที่จริง ไม่ได้คิด

เท่าไหร่หรอก  ไอ้เรื่องของฟรี  ไม่ของฟรีนี่นะ  คิดแต่ว่ามัน    เหมาะ  อ๊ะ!อย่างนี้ดี  

ห้อมล้อมไปด้วยวัดวาด้วย   ห้อมล้อมไปด้วยอะไรต่ออะไร      ใครเขาจจะเข้ามาถึงนี่  

ผ่านด่านมาเยอะนะ  สบาย  จึงได้เจาะ  ถ้าใครรู้จากเดิม  เจาะป่าแสมเข้าไป   ทำ

เป็นสะพาน  ที่จริง  นั่นก็ออก แบบเอาละนะ  เจาะ เข้าไป   แล้วก็ไปปลูกอยู่ในเกาะ

โน่นน่ะ   ตรงโน้น... เรื่องที่มีต้นไม้  หรือเรื่องที่เราจะต้องการอย่างนี้ก็  มันก็ไม่ต้อง

เล่าละนะ  เล่าประเดี๋ยวก็จะเล่าอะไรต่ออะไรไปเยอะ  เดี๋ยวไม่มีเวลาอีกหมดอีก

         ก็พาทำมาก็จะเห็นได้ว่า  อาตมาก็พยายามที่จะปลูกต้นไม้อยู่กลางกรุงเทพฯ

ท้องนาที่สันติอโศก   ก็พยายามระดมปลูกต้นไม้กันขึ้น  ปฐมอโศกก็ตาม  รุ่นแรกๆจะระลึก

ถึง  โอ๊ย!หัวแดง  แดงๆ ปฐมอโศก  ปลูกต้นไม้กัน  ปลูกกันขึ้นมา   เอาดินมาถมแล้ว  

เสร็จแล้วปลูกมันขึ้นมา    ก็หงิกบ้างงอบ้าง   อู๊ว์!...

          ที่สันติอโศก    ตอนแรกก็ขนาดกล้าวยปลูกแล้วก็หงิกหมดเลยนะ    ต้นทอง

หลางเอามาปลูกขึ้น  ตอนนแรกๆถมดินแล้วก็ปลูกขึ้น  ไม่ได้ถมหรอก  ตอนนั้นขุดขึ้น  ไม่มี 

ไม่มีตังค์   ขุดดินตรงนี้ขึ้นมากอตรงนี้  เพราะว่ามันเป็นลุ่มน้ำเน่าน่ะ   ไม่มีที่จะอยู่หรอก  ขุดให้เป็น  เอ้า!ขุดเป็นลำเป็นคลองไปเลย  เอาดินตรงนี้ขึ้นมาถมตรงนี้ให้มันสูง  ไอ้

ที่สูง  มันก็อยู่กันบนที่สูงๆนั่นได้ ใช่ไหม  ไอ้ตรงนี้  เอ้า!มันจะมีน้ำ  ก็น้ำไป   ขุดขึ้นมา  

ไอ้ที่สูงนั่น...ดินขนาดนั้นน่ะ     เอากล้วยปลูก   เอาต้นทองหลางมาปลูก    ขนาดนั้น

มันนยังไม่...มันยังขึ้นไม่ไหวเลย   ดินมันขนาดไหนนี่  จนเราได้ปลูกต้นไม้ ต้นไร่ ขึ้นมา

เรื่อย  พยายาม  อยู่ที่นี่  มาเห็นที่นี่เข้า  ท่านสันตะ กับใคร  กับท่านอัคควัณโณมา  

ก็มา   ที่นี่มันยังดีอยู่    อาตมาก็เอาเลยรักษาดูเอา    อยู่ที่นี่ป่าใด    ก็พยายาม  

โอ๊ะ!ทะเลาะกับคนชาวบ้านเขาจะแย่   ที่มาอยู่ที่นี่  ดูแลรักษาต้นไม้พวกนี้เอาไว้  นี่ปลูก

เพิ่มเติมเป็นพันๆหมื่นๆต้นนะ   ปลูกต้น...ไอ้นั่นแหละมาก  ต้น...มะค่าโมงมาก  นี่ป่านี้  

เราปลูกต้นมะค่าโมงแซมลงไป   เป็นพันๆหมื่นๆ  ปลูกลงไป   ทั้งๆที่มันเป็นป่าอยู่แล้วนะ  

ที่ศาลีอโศกก็ป่าช้าร้างๆ  มีแต่เศษแก้ว เศษขยะ  อะไรเลอะไปหมดเลย  ที่ศาลีอโศกน่ะ  

เราก็ไปจัดแจงปรับเข้า   ปลูกต้นไม้เข้า รักษา  จนทุกวันนี้มันยังร่มรื่นแล้ว   ใครจำได้

พุทธภิเษกฯใหม่ๆ   แต่ก่อนนี้ก็    โฮ้ย!เมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว  แดดเปรี้ยงๆ  กลางวันนี่  

เดินไม่ได้เลยน่ะ  ร้อนพื้นเท้ากันจะตาย  ถ้าขืนกลางวัน...  ร่มใครร่มมัน  หาร่มอยู่กัน  

พุทธาภิเษกฯที่ ศาลีอโศก  เดี๋ยวนี้ก็ร่มเย็นมีต้นไม้  ที่ไหนๆเราก็พยายามที่จะปลูกต้นไม้ไป  

อะไรต่ออะไรไป

         เราพยายามที่จะมาทางด้านนี่แหละกสิกรรม   มาทางด้านที่จะต้องดูแล  ก็มัน

เป็นอาหารน่ะ   ต้นไม้นี่ เป็นพี่เรา เป็นน้องเรา เป็นพ่อเรา เป็นแม่เรา  ต้นหมากราก

ไม้นี่   ที่เราจะต้องดูแล...ไม่ใช่ว่าจะเที่ยวได้ตัด   เที่ยวได้โค่น     ทำลาย  อะไร  

คือจิตวิญญาณของคน  ถ้าไม่ได้มีอะไรลึกๆในจิตนี่นะ  มันจะรู้สึกหยาบ  ถ้าเผื่อว่าได้ฝึกฝน  

ให้รู้จักอะไรที่มันลึกซึ้งขึ้นนี่  มันก็จะละเอียด ประณีต สุขุม  แล้วมีอะไรลึกๆ  มีความรู้สึก

ลึกๆ  มีปัญญาลึกๆ มีความลึกๆ   สิ่งเหล่านี้นี่มัน  มันจะประหลาด  มันจะไม่เหมือน  ไม่

เหมือนไอ้คนพื้นๆตื้นๆหยาบๆอะไรขึ้นไป...   แล้วก็ไปกันใหญ่เลย   จะเฉลียวฉลาดเท่า

ไหร่  ก็ยิ่งเฉลียวฉลาดหยาบ เฉลียวฉลาด ทำลาย  ยิ่งซับซ้อนหยาบเข้าไปอีก  มันไปไม่

รอด  ถึงเขาไปรอด  ก็ไปอย่างที่เขาเป็น  ไปรอดชนิดที่เป็นบาปน่ะชนิดที่เสียหาย

         เมื่อพวกเราได้มาทำ...มาทำอย่างที่พวกเราพากันทำนี่  ไม่ว่าจะกินจะอยู่จะ

หลับจะนอน   ตอนต้นๆอาตมาพาทำเน้นกรรมฐาน  กิน อยู่ หลับ  นอนนี่มากนะ   ฝึกกัน  

นอนก็จะต้องนอนอย่างสำรวมสังวรมีสติ   นอนตะแคงขวา...มีสติ พยายามฝึก  อย่าหลับ

ใหล   แม้ที่สุดก็ต้องรู้ในอารมณ์  ในความเสพ   หลับแล้วก็เสพ   ที่จริงหลับก็คือการอยู่

ในภวังค์  แล้วก็พัก...พักผ่อน  ไม่ให้มันออกมาทำงานกับทวาร ทั้ง 5   ในภายในถ้าจิต 

พักได้  พักดับสนิท  จนกระทั่งไม่มีนิมิตอะไรเลย  ไม่มีฝัน  อะไรเลย  ไม่มีความ   ดับ

เหมือนเงียบไปเลย   ตลอดก็ได้  แต่อันนั้นก็  เราก็รู้ว่า   นั้นไม่ใช่เป้าหมายของความ

เป็นชีวิต  ความเป็นชีวิต  หลับอย่างมีสติสัมปชัญญะ รู้สึกตื่น  แล้วยิ่งตื่นนี่นะ  เวลาหลับเข้าไปก็จริง...ตาหลับ  แต่รู้สึกเหมือนสติตื่น  สติเต็ม  สติที่มันเป็นชาคริยานี่  เรา

นอนหลับนี่แหละ   แต่เหมือนกับเราไม่  หลับเลย  เพราะฉะนั้นคนที่เขาบอก ว่าเขานอน

ไม่หลับเลย   แล้วก็  โอ้โห!เป็นน  ทุกข์เป็นร้อน   ไปเที่ยวได้หาหมอให้รักษา   เขา

บอก...นอนไม่หลับมาเป็นปีๆว่า     อย่างนั้นนะ   อาตมาว่าคนมันนอนไม่หลับเป็นปีๆนั่น  

มันตายไปแล้ว   ตั้งแต่ปีมะโว้   แล้ว  ตายไปตั้งแต่ปีมะโว้   ไม่ต้องนอนไม่หลับเป็นปีๆ

หรอก   นอนไม่หลับไม่กี่คืนก็  ตายแล้ว  นอนไม่หลับจริงๆไม่กี่คืนนี่  ก็ตายแล้ว  เพราะ

คนเรานี่นะอดข้าวยังได้นานนะ   อดนอนนี่ไม่ได้นานหรอก   อดนอนนี่ไม่ได้นานหรอก  

แล้วคนที่เขาบอกเขา  ว่านอนหลับ  ไม่หลับมาเป็นปีๆนั่น  จริงๆน่ะเขาตกเข้าไปในภวังค์  

เขาได้พัก  ได้พักทวาร 5 ...  ตกเข้าไปในภวังค์เสมอ  แต่จิตมันตื่นเพริด  มันตื่นมาก  

มันไม่อยู่   มันก็เหมือนกับตัวเองนี่ไม่ได้หลับ  รู้สึกอะไรก็ได้ยิน  อะไรก็ได้...  แต่เขา

ไม่รู้ว่านี่คือจิต   นี่คือจิต  มันเหมือนกับได้ยินหมด  เขาจะทำอะไร ใครจะทำอะไร  มัน

เหมือนกับไม่หลับเลย...เหมือนกับไม่หลับจริงๆ  เขาเป็นอย่างที่  เหมือนกับอย่างคนที่ฝึก

สติ   ฝึกการหลับ การนอน ฝึกความตื่นนี่  ฝึกจนกระทั่งสามารถนอน    หลับอยู่ในภวังค์  

แต่เหมือนคนตื่น  ใครพูดอะไร  ได้ยินไกลด้วยนะ ได้ยินก็ไกลน่ะ  ถ้าดีจริงๆเก่งจริงก็คือ  

ประสิทธิภาพของจิต   ที่เขาเคยบอก  ว่าถอดจิตออกมาจากร่าง แล้วก็เห็นด้วย  ใครทำ

อะไร   ก็เห็นด้วย  นั่นคือประสิทธิภาพของจิต พลัง  พลังสามารถของจิต  ได้ยิน  เห็น 

ได้กลิ่น  ได้รู้   สรุปแล้วก็คือรู้   จิตนี่มัน     สามารถตื่น   แต่ได้หลับ   แต่ได้พักอยู่

ในภวังค์  ส่วนหนึ่งพักแล้ว  แต่จิตก็มีประสิทธิภาพเป็นสมาธิ  หรือเป็นจิตที่รู้อะไรต่ออะไร

ได้พิเศษยิ่งกว่า   แล้วคนที่บอกว่าเขาเป็นโรคนอนไม่หลับนี่นั่น   ที่จริงจิตเขาฟุ้งซ่านมาก  

จนกระทั่งมัน   มันเป็นสมาธิแบบหนึ่ง  ฟุ้งซ้านแบบหนึ่งมันซ้อนน่ะ  อาตมาก็ไม่รู้จะอธิบาย

อย่างไร   แล้ว    มันก็เหมือนกับตัวเองนอนไม่หลับ  ที่จริงนอนได้พัก   แต่เขาไม่รู้ตัว  

อาตมาไม่รู้นะ    ในนี้มีหรือเปล่า   คนแบบนั้นน่ะ    หือ!...แล้วว่าตัวเองนอนไม่หลับ  

โอ้โห!นอนไม่หลับมาตั้งไม่รู้เป็นเดือน   เป็นปี   ไม่จริงหรอก    ถ้าคุณไม่ได้พักเข้าไป

ในทวาร  5  ได้พักเข้าไปในตา หู จมูก ลิ้น กาย นี่ก็ได้เข้าไปในภวังค์   แต่จิตมันเป็น

อย่างที่อาตมาว่านั่นนแหละน่ะ  ถ้าไม่ได้พักอย่างนั้นจริงๆ  เหวย!ตายมานานแล้ว  ไม่ได้

ถึงปีหรอก   ไม่ถึงเดือนหรอก  คนอดนอนนี่ตายก่อนคนอดกิน คนไม่ได้กินข้าว 7 วันอยู่ได้  

ไม่ได้นอนจริงๆไม่ได้พักไม่ได้นอนหลับจริงๆเลย 7 วันนี่นะ  แล้วก็ไม่เป็น  จิตสมาธิ  ไม่

เป็นจิตภวังค์  ไม่เป็นจิตได้พัก ตาย ตายจริงๆ   มันอยู่ไม่รอดหรอก น่ะ  นี่มันเป็นเรื่อง

ที่ซ้อน  มันเป็นเรื่องที่ลึก  ที่เขาไม่ค่อยเข้าใจตัว  แต่อย่างนั้นมันไม่ใช่การทำอย่างมีเจต

นา  มีปัญญา  กระทำเข้าไปสู่ภวังค์  เป็นคนหลับที่มีสติ  ในการรู้น่ะ

         เพราะฉะนั้นการฝึกนอน  ฝึกตื่น ฝึกหลับนี่  มันก็จะต้องรู้ว่าเราพัก พักให้สนิท  

ตื่น ตื่นให้เต็ม  แล้วก็ต้องรู้ว่าการเสพติดการพักนั่น มันก็มีจริง  เพราะฉะนั้นนักปฏิบัติธรรมก็เสพติดไป 2 ด้าน  ด้านไปติดความสงบ ความพัก  กับด้านติดสิ่งที่เป็นโลกๆ  เรา

ต้องรู้  2 ด้านหมดเลย  แล้วเราต้องไม่ติดทั้ง 2 ด้าน  เราก็ สามารถทั้ง 2 ด้าน  จะ

พัก  จะสงบ จะหลับจะหยุด...หยุดสนิทได้ทันที  จะตื่นก็ตื่นได้เต็ม  แล้วก็ตื่นอย่างผู้รู้เท่า

ทันโลก   ตื่นอย่างผู้ที่ร่วมจะปรุงจะแต่งไปกับโลกขนาดไหนก็ปรุงได้  แต่เราก็ไม่ได้ไปติด

ไปหลงอะไรน่ะ   ศาสนาพระพุทธเจ้าจึง   เป็นศาสนาที่รู้รอบน่ะ  รู้ครบ  รู้หมด  โลก

เขาเป็นอย่างไร รู้  แล้วก็สามารถที่จะอยู่กับเขาได้  อย่างที่ไม่ติดโลกเลย  ทำอะไรต่อ

อะไรกับเขาก็ได้   ช่วยเขาได้  แต่ตัวเราก็  ยิ่งเป็นพระอาริยะ  พระอาริยเจ้าชั้นสูง

ขึ้นไปแล้ว  ก็ยิ่งลอยตัวอิสระ  ไม่ติดยึด  สุดท้ายยิ่งเป็นอรหันต์แล้วก็   ของพระพุทธเจ้า  

ถึงนิพพาน   หรือเป็พระอรหันต์นี่  ก็เห็นทุกอย่างมันเป็นอย่างที่มันเป็นนั่นแหละ   ที่ภาษา

ไทยท่านบอกว่า   มันก็เป็นอย่างที่มันเป็นน่ะ  อะไรมันก็เป็นอย่างอันนั้น   ตามเหตุปัจจัย  

ตามเหตุปัจจัยของมัน  ตั้งแต่เหตุปัจจัย ทั้งรูปธรรม และพลังงานธรรมดา จนกระทั่ง  ถึง

เหตุปัจจัยที่เป็นรูปวัตถุ  รูป กับพลังงาน  ถึงขั้นระดับจิตวิญญาณ  และแล้วก็ประกอบกันขึ้น

มา   กำหนดมาเป็นสิ่งที่รู้ได้  เพราะฉะนั้นพระอรหันต์เจ้าจะเข้าใจ  ความหมาย   จะ

เข้าใจสภาพ   ที่กำหนดแบ่งออกไว้ 5 อย่าง เรียกว่านิยาม   กำหดจจำกัดความไว้ชัดๆ  

แต่  แหม!มันอธิบาย   อาตมาก็ขยายความไม่ ไม่ได้หมดน่ะ  มันลึก  มันละเอียด   มัน

สมบูรณ์จริง  แบ่งเป็นนิยาม  ธรรมนิยามไว้ 5 อย่าง       ธรรมนิยามนี่  เอารวมไว้

ทั้งหมด  ก็คือธรรมนิยามทั้งหมด  ทุกสิ่งทุกอย่างคือธรรม นนิยาม  กำหนดไว้อันนี้ 

         1.ก็คือ อุตุ  เป็นภาษาบาลีนะ   1.อุตุ

         2.พีชะ

         3.จิต

         4.กรรม

         5.ก็ธรรมะนี่แหละ

         อุตุนิยาม พีชนิยาม จิตนิยาม กรรมนิยาม ธรรมนิยาม   อุตุคืออะไร  พีชะคือ

อะไร   จิตคืออะไร   กรรมคืออะไร  ธรรมะคืออะไร  อย่างพระ   พระอรหันต์เจ้านี่  

เข้าใจ รู้เท่าทันพวกนี้หมด  กำหนดขนาดนั้น อย่างนั้น อย่างนี้  เข้าใจ รู้ทัน  แล้วก็รู้ว่า  

ทุกในเอกภพ ในมหาจักรวาลนี้  มีอยู่แค่นี้แหละ  ระบุ แบ่ง ระบุหรือแบ่งลงไปได้แค่นี้

         อุตุ  แหม!อธิบายไม่หมดว่าอุตุคืออะไร  เราเคยได้ยินคำว่า  อุตุนิยม   อุตุ

นิยมวิทยา  วิชาว่าด้วย...   พวกหยั่งรู้ดินน้ำ หยั่งรู้อากาศ   หยั่งรู้บรรยากาศ   หยั่ง

รู้องค์ประกอบอะไร  แหม!ไอ้น้ำจะท่วม ฝนจะตก   แต่ไม่รวมขี้จะแตกด้วยนะ  ฝนจะตก  

ลมสลาตันจะมา   ลมเหนือ  ลมใต้จะอ่อนจะแก่จะไอ้โน่น ฟ้าจะสว่าง  เมฆ  ฝนจะน้อย  

อะไรก็แล้วแต่   แผ่นดินจะไหว  อะไรก็ตามใจ  อุตุนิยม ทั้งนั้น   แหละ  รู้อะไรมันจะ

ไปจะมา   มันจะเป็น  มันจะอะไร  ก็อยู่ใน  คือจริงๆแล้ว   ก็คือจะต้องรู้ในเรื่องของการเคลื่อน  การรวม  การมีอิทธิพล  อำนาจของดิน น้ำ ลม ไฟ  ธาตุที่เป็นธาตุ ไม่ใช่  

ไม่ใช่จิตธาตุ   ไม่ใช่พีชธาตุ   ไม่ใช่ธาตุแห่งชีวิต  ไม่ใช่ธาตุแห่งวิญญาณ   แล้วก็ไม่ใช่

กรรม   รวมแล้วก็จะต้องมีค่า   เรียกว่าธรรมะ  รู้จักสิ่งเหล่านั้น   และแบ่งค่าของสิ่ง

เหล่านั้น   เรียกว่าธรรมะ   ผู้ที่รู้ธรรมะ  คือผู้ที่รู้ค่าของอะไรทั้งหมด   แล้วก็รู้จักค่าที่

เหมาะสมพอดี   เรียกว่ามัชฌิมา  หรือเรียกว่าสัมมา  แล้วก็อยู่กับอันนั้น  หรรือจะไม่อยู่

กับอันนั้น  หรือจะใช้อะไรที่จะจัดสมดุล  จัดสัมมา  จัดให้มันลงตัว  มัชฌิมาอะไร  เรียก

ว่าธรรมะ   สูงสุดสมบูรณ์สุด    ธรรมะ ถือ ถือว่าความรู้ก็แล้วกัน   เป็นความรู้สุดยอด

ธรรมะนี่  ธรรมะนี่รวมเป็น   ความรู้  ธรรมะก็คือสิ่งต้องรู้อุตุ ต้องรู้พีชะ ต้องรู้จิต ต้อง

รู้กรรม    อุตุก็อย่าง      อาตมาว่านั่นแหละ  มันไม่เกี่ยวกับธาตุรู้หรอก   มันเป็นตัว  

ถ้าแบ่งภาคก็แบ่งไป     ทางภาค  ภาคหนึ่งว่า มันเป็นเรื่องของวัตถุรูปทั้งหมด  และแม้

วัตถุรูปมันก็ไม่อยู่   แต่ว่าวัตถุรูปเป็นแท่งเป็นก้อน   มันแปรปรวน  มันไปมา   เกิดเป็น

ความพัดไหว ไปมา เกิดเป็นก้อน เป็นแข็ง เป็นอ่อน เป็นเหลว  เป็นอะไรต่ออะไรอยู่ทั้ง

หมดในมหาจักรวาลนี้  อุตุน่ะ เสร็จแล้วในส่วนที่เป็นอุตุ  เป็นธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ นี่แหละ

แล้วก็มีบทบาทธาตุดิน  น้ำ  ลม ไฟ ด้วยนะ อุตุ  จนกระทั่งเกิดเป็นร้อน เป็นเย็น  เป็น

เคลื่อน เป็นไหว  เป็นไป เป็นมา เป็นแข็ง เป็นอ่อน อะไรก็ตามใจ

         จากอุตุมันก็มาซ้อนอยู่ในอุตุ   เกิดมาเป็นพีชะ หรือเป็นชีวะ  เป็นพีชะ  หรือ

เป็นชีวะ เป็นชีวิต ก็ตัดเกรด   ตัด...ระดับกันว่า  มันไม่รู้ตัวเข้า  จนกระทั่งเรียกมัน

ว่า  ชีวะ    แล้วมันก็เป็นของมันเอง   มันก็เกิด ดูด  เกิดรวมตัว   เกิดเป็นพลังงาน

ที่สังเคราะห์กันขึ้นมาเป็นพีชะ   เป็นชีวะ   จนกระทั่งเป็นพีชะ   เป็นชีวะในระดับในพืช 

เป็นต้นไม้   เป็นอะไรต่ออะไรนี่   ตั้งแต่ละเอียดไป   จน      กระทั่งถึงต้นไม้ใหญ่ๆ  

รวมกันอยู่เป็นป่าเป็นอะไรเต็มไปหมดในโลกในอะไรนี่  พีชะ มันก็เป็นขนาดนั้นละ  พีชะ  

คนก็มาจาก  ดินน้ำลมไฟ    คนก็มมาจากความพัฒนาขึ้นมา   จนเป็นพีชะ    จนกระทั่ง

พลังงานในพีชะ   สูงขึ้นมาระดับหนึ่งก็เรียกว่าจิต   หรือ     วิญญาณ   จิตหรือวิญญาณ  

เพราะนั่นระดับหนึ่ง  พระพุทธเจ้าถึงแบ่งเอาไว้ว่า       เป็นสังขารที่มีพลังงานเหมือน  

  ...ชีวิต เป็นพีชะ   แต่ตัดรอบไปว่าอันนั้นเรียกว่า   สังขารที่ไม่   ยังไม่ถือว่าระดับ

พลังงานนั้นเป็นวิญญาณ   เรียกว่า...อนุปาทินกสังขาร  สังขารที่ไม่มีวิญญาณครอง  หรือ

สังขารที่มีพลังงานเป็นพีชะ  เป็นชีวะ  เป็น  ชีวิต   แต่ไม่ถือว่าพลังงานในชีวิตระดับนั้น  

เรียกว่าพลังงานระดับจิต  หรือระดับ  วิญญาณ  ไม่ถือว่าระดับจิตหรือระดับวิญญาณน่ะ

         แล้วก็แบ่ง   พลังงานที่   ที่ระดับจิต    หรือระดับวิญญาณขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง  

เป็นอุปาทินกสังขาร   สังขารก็คือ  ความมารวม มาปรุง  มาจับตัว   หรือมาอะไรกัน

นี่สังเคราะห์กันเข้า   ก็เรียกว่าสังขารที่มีวิญญาณครอง  นั่นน่ะ  คือจิตนิยาม  กำหนดลง

ไปว่าอย่างนี้เราเรียกว่าจิต   อย่างนี้เรียกว่าพีชะ  อย่างนี้เรียกว่าอุตุ  พอมีวิญญาณแล้ว  ก็มีการศึกษา   มีการรู้จักพฤติกรรมของอะไรต่างๆขึ้นมา   แล้วก็  รู้จักฉลาด   รู้จักจิต

วิญญาณ   ว่ามีพลังความสามารถในความเฉลียวฉลาด  รู้ดี รู้ชั่ว  รู้ถูก รู้ผิด รู้สิ่งสมควร

ไม่สมควร   รู้อะไรเข้าไปอีกจนกระทั่งมาเป็นสัตว์  มาเป็นมนุษย์  มาเป็นมนุษย์ก็มีมนุษย์

หลายระดับที่จะรู้    จนกระทั่งเป็นมนุษย์ที่รู้  รู้อะไร   จัดเข้าไปอะไรสำคัญที่สุดในสัตว์  

หรือในมนุษย์   มนุษย์ถือว่าเป็นสัตว์ที่สูงสุด   ใน   จำพวกสิ่งที่มีอยู่ในโลกนี่ขึ้นมานี่  ซึ่ง

ประกอบไปด้วยอุตุ ประกอบไปด้วยพีชะ ประกอบ ไปด้วยจิต  แล้วมันก็มามีสิ่งหนึ่งเรียกว่า

กรรม  พฤติกรรมของมัน  

         เพราะฉะนั้นไอ้เจ้ากรรมนี่    มันเกิดจากอะไร   เกิดจากจิต   จิตเป็นตัว

ประธานเอง     เพราะฉะนั้นอเวไนยสัตว์     หรือสัตว์ที่สอนกันไม่ได้     แม้แต่เป็น         

สัตว์ที่มีวิญญาณครองแล้วก็ตาม   ตั้งแต่เดรัจฉานมาทีเดียว  สัตว์เดรัจฉาน   มันก็มี

กรรม  แต่มันไม่มีความรู้  มันไม่รู้จักกรรม  มันไม่รู้จักพัฒนากรรม  จนแม้แต่ มนุษย์  แม้

แต่คน เป็นคนขึ้นมาสูงกว่าสัตว์    ก็ยังมีระดับอเวไนยสัตว์  ในมนุษย์   หรือว่าอมนุษย์  

มนุษย์ที่ยังไม่ชื่อว่า  มนุษย์จริง  อมนุษย์นะ  หยาบ คาย  แล้วก็พูดกันเป็นบุคลาธิษฐานว่า

อมนุษย์คือพวกยักษ์พวกมาร   พวกรากษส  พวกอะไรต่างๆนานา           ก็พูดกันไป  

ด้วยพยัญชนะ  ก็คือคนมันหยาบคาย  มันรุนแรง มันโหด มันเหี้ยม  มันไม่เป็นจิตสูงๆอย่าง

คนที่มีคุณธรรม   มีคุณงาม ความดีอะไร  รู้จักดี รู้จักชั่ว แล้วก็พัฒนาตนจนเป็นคนดี มันไม่

รู้จัก  พวกนั้นก็เรียกว่า  พวกอเวไนย สัตว์ หรืออมนุษย์   อมนุษย์คือคนนี่แหละ   แต่จิต

วิญญาณเป็น...  จิตวิญญาณมันเป็นอย่างนั้นจริงๆ  ความรู้มันก็ไม่รู้อะไรลึกซึ้ง  มันก็รู้ตาม

ประสา  รู้มากกว่าสัตว์         เดรัจฉาน  ปรุงแต่งเก่ง  จนกระทั่งกลายเป็นซับซ้อน  

จนกระทั่งทุกวันนี้กลายเป็น มนุษย์  ไม่ใช่มนุษย์  อมนุษย์ชนิดเทวดาซ้อน  รู้จักอมนุษย์ที่เป็

นเทวดาอยู่ในสังคมมนุษย์ไหมในโลกนี่  อมนุษย์ที่เป็นเทวดา  โอ้โห!หัวมังกุท้ายมังกรจริง  

อมนุษย์ที่เป็นเทวดา  หือ!จอมโจรบัณฑิตนั่นแหละอยู่ในสังคมทุกวันนี้  เพราะฉะนั้น   เมื่อ

พระพุทธเจ้าท่านมาตรัสรู้แล้ว  ก็เห็นว่า โอ๊!มาเกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว  มันก็เป็นแล้ว  มัน

เป็นเผ่า  เป็นพันธุ์ เป็นเชื้อ เป็นการพัฒนาความเกิด  เกิดกันมา...  หูหนวก  ตาบอด

อะไร   ก็ทำให้เกิดกันได้  โดยไม่ต้องมีความรู้อะไร  มันก็เป็นไป  ตามธรรมชาติ มา

เกิดมา  ต่อเผ่าต่อพันธุ์กันอยู่  มาหมุนเวียนกันอยู่ในมหาจักรวาลนี้  แต่เลวร้ายตรงกรรม

นี่แหละ  จิตนี่แหละเป็นตัวยอด   รู้ว่าเป็นประธานสิ่งทั้งปวง  ว่า ถ้าจิตไม่เจริญ  จิตไม่

เฉลียวฉลาดดี  และไม่มีกำลังที่จะยืนหยัดอยู่ในฝ่ายดี  จิตนั้นก็ไม่ทำให้กรรมดีขึ้น

         เพราะฉะนั้นต้องศึกษา  ให้รู้ทั้งหมด  ก็คือธรรมะ  แบ่งเป็นกุศลธรรม อกุศล

ธรรม   จนสุดท้ายสูงสุด อัพยากตธรรม อัพยกฤต  อัพยกตธรรมนี่  คือธรรมะที่อธิบาย

อย่างโลกียะ  ก็คือไม่ดี ไม่ชั่ว  แต่ไม่ดีไม่ชั่ว อย่างงมงาย  มันไม่ดีไม่ชั่วอย่างไม่รู้เรื่อง   

อย่างไม่ได้เจตนา   ซึ่งมันเป็นอยู่ธรรมดาธรรมชาติ  ตอนนี้มันพัก มันว่างเฉยๆ   มันไม่เป็นดี  เป็นชั่วหรอก   มันอยู่กลางๆ  อย่างงมงาย  อย่างคนไม่มีปัญญา   แต่อย่างมี

ปัญญา   หรืออย่างโลกุตระนั้น  ต้องรู้ดีรู้ชั่ว   แล้วเราก็ไม่ติดดี  ไม่ติดชั่ว  โดยเฉพาะ

ชั่วนั้น   เราจะต้องเลิกต้องละ  ไม่มี  หมายความว่าไม่ชั่วก่อน   จนจิตวิญญาณแข็งแรง  

มีปัญญารู้จริงแล้ว   จนกระทั่งจิตวิญญาณไม่เป็นชั่วได้  แต่เป็นดีได้    เป็นดีได้อย่างเก่ง

อย่างแข็งแรงอีก  เป็นดีได้อย่างอัตโนมัติ  สุดท้ายเป็นอัตโนมัติ  เป็นเองเลย  มันอย่าง

นั้นละเป็น   แต่แล้วก็ศึกษาในปัญญา  หรือในจิตวิญญาณที่มีปัญญาลึกเข้าไป   รู้อีกว่าถึงแม้

เราจะเป็นเช่นนั้น  อันเช่นนั้นเราก็มีทางที่จะทำให้จิตนี่   ไม่ไปยึดว่าเป็นเรา  เป็นของ

เราได้อีก   เมื่อไม่ยึดไม่ติด  ทั้งๆที่เราเป็น  ทั้งๆที่เรา เรามีดี นี่แหละ    เราเป็นดี

เรามีดี   อย่างอัตโนมัติด้วย  ไม่ต้องไปทำอะไร  มันก็เป็นเอง เป็นดี  กรรมกิริยาของ

กรรมในกรรม กายกรรม วจีกรรม  เกิดกรรม เกิดกิริยาอีกเมื่อไหร่  ก็เป็นกรรมกิริยาที่

ดีโดยอัตโนมัติ   ไม่ต้องเจตนา ไม่ต้องพากเพียร ไม่ต้อง...มุ่งหมาย  ให้มันทำอย่างไร 

มันเป็น   มันเป็นเอง ตถตา  เป็นอย่างนั้นแล้ว  เป็นเช่นนั้นเอง เลย   เป็นอย่างแข็ง

แรงด้วย   เป็นกรรมที่เป็นกุศลอยู่ตลอดไป  แต่จิตศึกษาให้สูงขึ้นไป  ก็ให้อย่าไปยึดว่านั่น

เป็นเรา   เป็นของเรา   จนสามารถไม่ติดไม่ยึดว่านั่นเป็นเรา   เป็นของเราได้จริงๆ  

เลิก จบ ผู้นั้นปลอดพ้น  ปรินิพพานก็ปลอดพ้น  ไม่วนเวียนอยู่ในวัฏสงสารนี้อีก หมดกรรม  

กรรมที่มีก็ลอย  ลอยบุญ  ไอ้บาปนั่นน่ะ  มันหยุดไปนานแล้ว  ลอยบาปไปนานแล้ว  แม้แต่

บุญก็ลอยบุญ ไม่ บุญไม่ยึด เป็นเราเป็นของเรา  กรรมวิบากนั้นไม่ต้องมานำพาเราเกิดอีก 

ไม่ต้องเวียนวน อีก  หมดวัฏสงสาร  เพราะรู้จักกรรม  สามารถควบคุมจิต   แล้วรู้จักพี

ชะ   รู้จักชีวิตทั้งหมด   รู้จักอุตุ  รู้จักดินน้ำลมไฟ  ความร้อน  ความหนาว  ความเย็น 

อะไร      ต่ออะไรต่างๆนานา     รู้ในโลกในสังคม     ในมหาจักรวาลนี้เข้าใจว่า  

เออ!มันย่อมเป็นเช่นนั้น   มันย่อมเกิดเช่นนั้น  มันย่อมมีเหตุปัจจัยอย่างนั้น  ถ้าเรายังอยู่  

เราก็อยู่อย่างผู้ที่ไม่เป็นผู้ร้าย    อยู่อย่างผู้ที่มีคุณค่า  มีประโยชน์แก่สิ่งเหล่านั้น  ทั้งหมด  

เพราะรู้จักค่า    รู้จักธรรมะ   รู้จักความหมายของธรรมนิยามทั้งหมด    แบ่งอย่างไร  

อะไรอย่างไร  ก็เข้าใจ

         รวมแล้ว  ถ้าผู้ที่ศึกษาในทางธรรมะสุดยอดและเป็นอย่างนั้นจริง  ก็เป็นคุณค่า

ของสิ่งที่เป็นคุณค่าในมหาจักรวาลนี้   ซึ่งอาตมาก็เคยอธิบายให้พวกเราฟัง  แล้วว่า  ถ้า

เผื่อว่าเราสามารถศึกษาตน  ทำจิตของเราให้เป็นจิตอรหันต์จิตอรหันต์นั้นก็สามารถที่จะอยู่

กับอุตุ   อยู่กับพีชะ  อยู่กับกรรม  อยู่กับธรรมะ  จิตนั้นเป็นตัวสูงสุด    มาเป็นอรหัตผล  

เป็นจิตที่ถึงอรหัต  อรหันต์แล้ว  จิตนั้นจะอยู่  หรือจะไม่อยู่...จะเลิกสนิทจะดับสนิท  จะ

สูญ  จะหมด ไม่เหลือเลย  ไม่มีอะไร มาวนเวียน   มาเป็นอะไรขึ้นมาในมหาจักรวาลนี้  

ทีนี้พวกเรานี่   มันได้เป็นอะไรขึ้นมาในมหาจักรวาลนี้แล้ว  ถ้ามันไม่รู้มันก็เลยเป็นสิ่งหนึ่ง

อยู่ในโลกนี่   อยู่ในมหาจักรวาลนี้   มันก็มีอยู่อย่างนั้นแหละ   ตั้งแต่รวมอุตุ   รวมธาตุ รวมวัตถุธาตุ  จนกระทั่งมารวมเป็นอะไรอยู่อย่างนี้  แท่งนี้มีทั้งอุตุ แท่งนี้มีทั้งพีชะ  แท่งนี้

มีทั้งจิต   แท่งนี้มีทั้งจิต  แท่งนี้มีทั้งกรรม  แท่งนี้ไม่ค่อยรู้จักธรรมะเท่านั้นแหละ  ยิ่งโลก

ไม่ศึกษา...มันก็เลยไม่รู้จักธรรมะ   บอกว่าปฏิบัติธรรม   มาศึกษาธรรม    มันก็เริ่มรู้  

เริ่มรู้สัจธรรม   เริ่มรู้ความจริงว่า  ความจริงมันมีอยู่แค่นี้  มันมีอุตุ มันมีพีชะ มันมีจิต มี

กรรม  มีธรรมะ  มันมีแค่นี้  ในมหาจักรวาลนี้    เขาบอกว่านี่กำลังพบดาวหางดวงใหม่  

มันก็ไอ้อุตุธรรมดาอันนั้นล่ะ  ไอ้ดาวหางดวงนั้น  ยังไม่ถึงขั้นพีชะหรอก   ดาวหางดวงนั้น  

ยังไม่ถึงขั้นพีชะน่ะ  ยังไม่นับว่าพีชะ  เป็นแค่อุตุ  วิ่งไปสิ  ลอยไปสิ   เหมือนลมมันก็พัด

ไปสิ  เหมือนน้ำมันก็ไหลไปสิ   ไม่รู้มันไหลไปถึงไหนแล้ว  ไม่รู้ว่าไปอย่างไรมาอย่างไร  

มันไหลอยู่อย่างนั้นแหละ   น้ำน่ะ  ประเดี๋ยวก็ไหลขึ้นฟ้า  ประเดี๋ยวก็ไหลลงดิน  ไหลลง

ดิน    ไหลไปถึงบาดาลไหนก็ไป   ไม่รู้ว่า    มันไปอยู่ไหนกันมั่ง   ดีไม่ดีไม่ไหลก็ลอย   

เป็นเมฆ เป็นฝน เป็นฟ้า เป็นหมอก   เป็นไอน้ำ   เป็นอะไรไปอยู่อย่างนั้นแหละ

         เพราะฉะนั้นทุกสิ่งทุกอย่างนี่ก็    เริ่มจากอุตุ  รวมตัวกันมาเป็นพีชะ    จน

กระทั่งสังเคราะห์กันเข้าไปเป็นจิต   ตัวจิตก็ยังไม่เรียนรู้   ให้กิเลสมันเป็นเจ้าเรือนจิต  

แล้วก็กลายเป็นกรรมน่ะ... กลายเป็นกรรม เป็นกิริยา  เสร็จแล้ว ก็เป็นกรรมอันฉิบหาย

วายป่วง    ไปทำลายพีชะ  ไปทำลายอุตุ   ไปทำลายอะไรมันหมดเลย  แทนที่จะสร้าง

สรรค์ เป็นพระเจ้า   เพราะมันไม่ได้เรียนธรรมะ    มันก็เลยเป็นพระเจ้าผู้สร้างสรรค์  

เป็นผู้ประทานเป็นผู้ดูแลโลกไม่ได้   เป็นผู้ทำลายโลกนั่นเอง   เพราะฉะนั้นผู้ใดไม่ศึกษา

ธรรมะ    จิตไม่ประเสริฐ   จิตไม่ฉลาดจริง   จิตไม่มีกำลังจริง   ก็เป็นผู้สร้างไม่ได้  

เป็นผู้ทำลาย   กลายเป็นปุถุชนนี่คือยอดนักทำลาย นักทำลาย  สัตว์มันก็ไม่ทำลายเท่าไหร่  

แต่คนนี่แหละมันทำลายจริงๆเลย   เพราะไม่ได้ศึกษาธรรมะ  กรรมต่างๆของคน   โดย

ความโง่   เป็นเจ้าเรือนของจิต  คืออวิชชา   มันทำลาย มันเป็นตัวทำลาย   ไม่ใช่ตัว

สร้าง   เป็นซาตาน  ไม่ใช่พระเจ้าน่ะ   เป็นตัวซาตาน   ถ้าไม่ศึกษา  ไม่ได้ทำให้จิต

เป็นผู้สร้าง   เป็นผู้อนุเคราะห์โลก  เป็นผู้เห็นคุณค่าแก่โลก   จึงมาสร้างจิตให้เป็นพระ

เจ้า  มาสร้างจิตวิญญาณ  จิตวิญญาณหรือจิตบริสุทธิ์นี่  คือจิตพระเจ้า   จิตพระเจ้าคือจิต

ผู้สร้าง   ผู้เสียสละ  หรือผู้ให้  ผู้ประทานให้แก่โลก   เป็นผู้จะเรียกว่าเป็นผู้รับใช้ก็ได้  

เป็นผู้ที่ยิ่งใหญ่    แต่ก็ท่าน  ก็คือรับใช้นั่นแหละ  ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา  จิตพระเจ้ามี

นิยามอย่างนี้    มีคุณลักษณะอย่างนี้    ถ้าศึกษาหรือว่าพัฒนา    ปรับปรุงให้จิตเป็นจิตที่

สะอาดบริสุทธิ์จากกิเลสหรือจากตัวผีร้ายไปได้เรื่อยๆ   ก็เป็นจิตพระเจ้าจริงขึ้นไปเรื่อยๆ   

          ศาสนาพุทธนี่     เกิดมานี่     มีศาสนาพระเจ้าอยู่มากมายแล้ว     แม้

ศาสนาคริสต์นี่   ยังไม่เกิด  พระเจ้าก็นัยเดียวกัน    อิสลามยังไม่เกิด   พระเจ้าก็นัย

เดียวกัน    พระพรหมพระอะไรต่ออะไรต่างๆที่เป็นพระเจ้า  ที่เขานับถือกันนะ    ก็คือ

พยายามเรียนรู้จิตวิญญาณนั่นแหละจิตวิญญาณที่พิเศษนี่   ยกไปเป็นจิตที่ยอดเยี่ยม  เป็นจิตที่ประเสริฐ   แต่เราก็พัฒนาให้เป็นจิตเหมือนอย่างพระเจ้า  ต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ

พระเจ้า  เป็นลูกเพระเจ้าเป็นเชื้อเผ่า  เชื้อพันธุ์ของพระเจ้าให้ได้  พระพุทธเจ้าตรัสรู้

ก็  เออ!ก็จริง   ดี  แต่สูงกว่านั้น...   สูงกว่าพระเจ้า   สูงกว่าที่เขาศึกษาก็เห็นว่า 

โอ้!จับพระเจ้าเพราะพระเจ้าก็คือพระจิต   คือพระวิญญาณ  ซึ่งอยู่ในคนนี่  มีพระจิต  มี

พระวิญญาณ   อยู่แล้ว  ก็มาพิสูจน์สิ คุณลักษณะพระเจ้าอย่างไร  เขาถึงเรียกว่าผู้ที่ดีที่สุด 

เป็น         ตัวแทนของพระเจ้า  เป็นฉายาพระเจ้านั้น  ก็คือ  ผู้ที่มีพระจิตวิญญาณอัน

หนึ่ง      อันเดียวกันกับพระเจ้า   ก็มาพัฒนาจิตวิญญาณในตัวเรานี่   ให้ไปเป็นอันหนึ่ง

เดียวกันกับคุณลักษณะอย่างนั้น   ก็หาวิธี       

          เพราะฉะนั้นคำสอนของพระพุทธเจ้า    ถึงเยอะเลย     สอนให้อบรมตน  

ให้ทำให้จิตนี่  เป็นจิตอย่างพระเจ้าให้สมบูรณ์    แบบ   เพราะฉะนั้นศาสนาพุทธ  มีทั้ง

พระเจ้าที่จิต มีทั้งพระเจ้าที่จริง  สุดท้ายไม่ต้องอยู่กับพระเจ้านิรันดร์  สามารถ แยก สูญ 

เลิก  ปรินิพพานได้ด้วย    เพราะฉะนั้นจึงครบหมดเลย  ศาสนาไหน   มีพระเจ้าสูงสุด

อย่างไร    มีคุณงามความดี    อย่างไร  ก็ต้องมีให้ได้  ให้จริง   แล้วก็อย่าไปหลงดี    

อย่าไปหลงพระจิตวิญญาณ   จิตวิญญาณก็ไม่ใช่ตัวเรา  จิตวิญญาณก็คือองค์ประกอบของเหตุ

ปัจจัย   ซึ่งเราต้องอยู่เหนือขึ้นไปอีก   มีความรู้ซ้อนอยู่ในจิตนี่   เป็นญาณปัญญาอันวิเศษ 

ซ้อน  รู้ขึ้นไปอีก  อาศัยจิตวิญญาณนี่แหละเป็นธาตุรู้เป็นวิญญาณอันวิเศษ  เมื่อรู้แล้ว  ก็ทำ

ให้ได้  ให้ดีสุด  โดยเฉพาะของเรา  ของใครของมัน  เมื่อดีสุดแล้ว   ก็อย่าไปหลงว่า

เป็นเราเป็นของเรา    ปล่อยวางให้ได้    ก็เป็นปรินิพพานได้หรือนิพพานได้   เพราะ

ฉะนั้นตั้งแต่พระอรหันต์ไป  ได้ความรู้อันนี้ทำอันนี้สำเร็จ  ก็มีสิทธิ์ที่จะทำดีต่อไปอีกนิรันดร์ก็

ได้   เป็นอย่างพระเจ้าจะบอกว่านิรันดร์เป็นพระอรหันต์ก็อยาก   นิรันดร์  ก็นิรันดร์ไปสิ  

ไม่เบื่อก็ไปสิ  จะไปอีกกี่ล้านๆๆๆชาติ  เชิญ แต่มีหลักประกันแล้ว

         ถ้าเป็นพระอรหันต์    แล้วมีความจริง   มีสัจธรรม    มีหลักประกันแล้วว่า   

เป็นคนละชั่วแแน่ๆ  ไม่ทำบาปแน่ๆ  เกิดมาอีกกี่ชาติก็ไม่ทำบาป...  ยิ่งเป็นอรหันต์ที่เป็น

อรหันต์โพธิสัตว์มหาสัตว์   สะสมไปอีกนาน  ยิ่งไม่ทำบาปมาตั้งแต่เล็กแต่น้อย   ไม่ทำมา

แต่เกิด    อาตมานี่ยังทำบาปมาบ้าง  ยิ่งเป็นมหาสัตว์โพธิสัตว์นี่  เกิดมาก็ไม่ทำบาปใดๆ

ทั้งนั้นแหละ  ทำแต่ดี  ทำแต่กุศล  จิตก็บริสุทธิ์  อะไรอาบ อะไรพอก ไม่ค่อยติด ไม่ค่อย

อะไรหรอก  ปริโยทาตา ผ่องแผ้วอยู่อย่างนั้นแหละ อะไรจะมาพอกก็พอก   มันเหมือนกับ

ของมาฉาบไว้เท่านั้นเอง   ฉาบไม่ติดหรอก   มีสัปปุริสลักษณะของพพระพุทธเจ้าอยู่อย่าง

หนึ่ง    ทางรูปธรรม   นึกออกไหม   ที่อาตมาจะพูดนี่อะไร   (คนฟังตอบเสียงไม่ชัด)  

เออ!คนมีปฏิภาณฟังพอเข้าใจ    เป็นสัปปุริสลักษณะพิเศษ   พระพุทธเจ้านี่ฝุ่นไม่ติด  ไม่

เกาะผิว  ผิวหนังพระพุทธเจ้านี่  เป็นมหาปุริสลักษณะ อย่างหนึ่งพิเศษ   ฝุ่นเฝิ่นไม่เกาะ  

ไม่ติดผิวของพระองค์    นี่เป็นบุคลาธิษฐาน  จริงด้วย  ในเรื่องอย่างนั้นก็จริงด้วย  ในธรรมาธิษฐานก็ยิ่งลึกซึ้งกว่า ธุลีละอองอะไรไม่แผ้วพาน ไม่ติดไม่ยึดจะหุ้มจะพอกอยู่อย่างไร

ก็ไม่เกาะไม่ติดพระพุทธองค์     เป็นมหาปุริสลักษณะ    เป็นลักษณะพิเศษสุดยอด    ก็

ตัวปริโยทาตะ   ปริโยทาตานี่แหละ  เพราะว่าท่านบำเพ็ญมา   แล้วก็มีสิ่งวิเศษนั้นได้ติด

พระองค์มาจริงๆ    จนกระทั่งถึงรูปธรรมนามธรรมก็แน่นอน   กิเลส  ตัณหา  อุปาทาน 

โลกียะในโลกนี่  หุ้ม พอกท่าน ไม่ติดหรอก  ฉาบท่านไว้  ดึงท่านไว้  ดูดท่านไว้อย่างไร  

ก็ไม่ติด  นี่เป็นคุณลักษณะจริงๆน่ะ  เพราะฉะนั้น ศึกษาได้สั่งสมแล้ว   มันก็จะได้จริงอันนี้  

เป็นคนก็พิสูจน์   พวกเราก็ศึกษานี่   อาตมาก็ว่า  พวกเราก็เกิดมากันไม่รู้กี่ชาติต่อกี่ชาติ  

แสวงหาก็มา...นี่เป็นคนโง่จำนวนน้อย   ในโลกนี้   พูดไปแล้วนะในวันมาฆะ     เป็น

คนโง่กลุ่มน้อย...มานั่งฟังอยู่อย่างนี้   มาศึกษา ใช้เวลาใช้ทุนรอน   ทั้งๆที่เวลาเดี๋ยวนี้  

เขาเป็นเงินเป็นทองกัน   เอาเวลาไปหาเงินหาทอง   โอ๊ย!ไม่ได้หรอก busy  งาน

โน้น  งานนี้   ติด โอ๊! งานโน้น  ดูสำคัญทั้งนั้นละ    เป็นเงินเป็นทองจะมานั่งเปล่าๆ

ดายๆมานั่งฟังเอา..   ไม่รู้พูดอะไร  ก็ไม่รู้   นั่งฟังอยู่ได้  เขาก็เห็นค่าของเขาอย่าง

นั้น      อย่างนี้เขาก็ไม่เห็นว่าเป็นค่าเป็นประโยชน์อะไร       แต่คนที่เห็นเป็นค่าว่า 

โอ๊ย!ต้องเอาอย่างนี้     ต้องเอา   อย่างโน้นไม่เป็นไร    ดีไม่ดีจะทิ้งเอาอย่างโน้น  

อะไรอย่างนี้  มันก็เป็น...เป็นความเห็นของแต่ละบุคคล

         เพราะฉะนั้น ผู้ที่เป็นพระอรหันต์แล้วจึงเป็นคนอมตะ   ท่านจะเกิดอีก   หรือ

ท่านจะตายอีก   ทางเถรวาทเมืองไทยนี่แหละ  อันนี้อาตมาพูดออกมา  ก็หาว่าอาตมาจะ

มาทำลายหลักการสำคัญของศาสนาพุทธ  มาทำลายศาสนาพุทธ สอนผิด   ทำให้ธรรมวินัย

วิปริต    จะถือว่าเคราะห์หรือโชคก็ไม่รู้ละนะ   ที่อาตมาสอนอย่างนี้   ถ้าเรียก   ว่า

เคราะห์ก็เคราะห์ดี   ที่อาตมายังพบพระสูตร...ในพระไตรปิฎกของเถรวาทเองนั่นแหละ         

ที่ตรัสเรื่องนี้เอาไว้ในยมกสูตร     ที่ว่าไว้ว่า   เอ้ย!..จะไปพูดว่าพระอรหันต์ตายแล้ว  

ย่อมขาดสูญ   ย่อมพินาศ   ย่อมไม่เกิดอีก  พระอรหันต์ตาย แล้วไม่เกิดอีก   อย่าไปพูด 

อย่าไปกล่าวอย่างนั้น    ใครกล่าวอย่างนั้น  เป็นมิจฉาทิฐิ   เป็นปาปกัง  ทิฏฐคตัง...  

ปาปกัง ทิฏฐคตัง  เป็นความเห็นที่เป็นบาป  ไม่ใช่มิจฉาทิฐิเท่านั้นนะ  ระบุบาปลงไปด้วย

นะ  เป็นทิฐิบาป  ไม่ใช่มิจฉาทิฐิคือทิฐิผิดเท่านั้นนะ  ถ้ามิจฉาทิฐิก็คือมันทิฐิผิด  เป็นความ

เห็นผิด  นี่ระบุลงไปเลยว่า  ทิฐิบาปนะ  ถ้าเป็นเห็นอย่างนี้แล้ว  บาปแล้ว  เห็นอย่างนี้ 

บาปแล้ว  ปาปกังทิฐคตัง  ไปสู่บาปแล้ว  ที่เห็นอย่างนี้  คุณเห็นว่า  พระอรหันต์ตายแล้ว  

ย่อมไม่เกิดอีก   ย่อมย่อมพินาศ  ย่อมขาดสูญพระอรหันต์น่ะ  แล้วในคำอธิบายนี่  อธิบาย 

ว่าไม่ใช่ตายอย่างที่กิเลสตายแล้ว  ไม่เกิดอีก  จริง มีนัยซ้อน  พระอรหันต์นี่  กิเลสตาย

แล้ว  จนกระทั่งสุด  เป็นอรหัตผล  จึงถือว่าเป็นอรหัตผลแล้ว  กิเลส  นั้นย่อมตายสนิท 

ไม่เกิดอีก  ใช่ ตรงนี้ ใช่  พระอรหันต์นี่ อรหัตผลนี่  กิเลสตาย  สนิทไม่เกิดอีก  มันใช่  

ต้องจิตวิญญาณที่มีกิเลสในของเรานี่  ตายไม่เกิดอีกจึงจะ  เรียกหรือชื่อว่า  หรือตัดสินให้เป็นพระอรหันต์ได้น่ะ   กิเลสไม่เกิดอีกนั่นใช่  แต่ว่าส่วนในพระบาลี ในสูตรนี้กล่าวไว้ชัด

เลยว่า  ตายชนิด  กายัสสเภทา  ตายร่างกายนี่แตก  กายัสสเภทา  ไม่ได้ไปหมายเอา

กิเลสดับสนิท   ตายที่เรียกว่าตาย   ชนิดกิเลสตาย  นี่เอากายนี่  กายัสสเภทา   กาย

ร่างกายแตกตาย   เพราะฉะนั้นอันนี้ตาย  และอันนี้เกิด  หมายถึงร่างกายเกิด  อย่าไป

พูดว่าไม่มีร่างกายอีกนะ  พระอรหัตน์นี้ไม่หยั่งลงสู่ครรภ์อีกแล้ว  พระอรหันต์นี้ไม่มีร่างกาย  

อย่างนี้เกิดมาในโลกมนุษย์อีก  อย่าไปกล่าว  อย่าไปเข้าใจ  อย่าไปเห็น  เดี๋ยวจะบาป

นะ  เป็นปุ๊บ บาปปั้บนะ  ปาปกังทิฐิคตัง  ไม่ได้หมายความว่า  แค่มิจฉานะ มันมิจฉาแล้ว  

มิจฉาใหญ่แล้ว  ถึงขั้นเป็นบาปเลย  ถ้าไปเห็นอย่างนี้  เพราะฉะนั้น  ทางไปก็มี 2 ทาง

เท่านั้นแหละ  เป็นนรก หรือเป็นเดรัจฉานเท่านั้นแหละ  ผู้ใดเห็นอย่างนี้

         มี   ในพระสูตรของ...เถรวาทเอง    อาตมาก็  โอ้โห!  แหม!   อันนี้

ช่วยอาตมาไว้  เพราะฉะนั้นคนที่เห็นผิด  จากอันนี้ต่างหากเล่า ทำวินัยให้วิปริตน่ะ  แต่ก็ 

แหม!เขาก็ยัง    ยังอยู่ในใจลึกๆอยู่   ยังเถียงอยู่ยังแย้ง   มันอธิบาย    มันแย้งเก่ง  

มัน...เถียงมันไม่ได้ตอนนี้   ยังเถียงอาตมาไม่ได้  ยังแย้งไม่ออก  แต่เขายังไม่ยอมนะ  

คนที่ทิฐิดื้อด้านนี่ ไม่ยอม  มันหลงตัว  มันอัตตามานะ  จะต้องยึด   เหมือนกับ...ชฎิลทั้ง 

3 ละนะ  พระพุทธเจ้าไปโปรด  ไป...อย่างโน้นอย่างนี้   บอก โอ๊!อรหันต์  สู้เราไม่

ได้   อรหันต์อย่างไหนที่พระพุทธเจ้าท่านว่ามา  ก็ยังสู้เราไม่ได้  สู้เราไม่ได้  ดึงดันอยู่

นั่นแหละ  สุดท้ายก็จำนนพระพุทธเจ้า  อันที่จริง  ชฎิลทั้ง 3 ก็เป็น...ก็ดื้อมีสินัยดื้อ  แต่

ก็เป็นบารมีคู่บารมีกันมา...  ถ้าไปอ่านประวัติชาดกอะไร ก็ โถ!  กว่าจะมาเป็นบริวาร  

กว่าจะมาเป็นผู้ที่     สนับสนุน  แต่เป็นบริวารดื้อ  อย่าดื้อนักเลยนะ อาตมาไม่อยากได้

บริวารอย่างชฏิลหรอก  เจอหน้ากันก็ เออ!ให้มันว่านอนสอนง่าย  ไปด้วยกัน  อ๊องล้องๆ   

หน่อยเถอะ  ภาษาอีสานไปด้วยกันอ้องล้องๆ  ไม่มีจัด ไม่มีแย้ง  ไม่มีอะไรที่ลำบากลำบน

อะไร  ไม่อย่างนั้น มันเหนื่อยน่ะ  มันกินกำลังเหลือเกิน

         พระอรหันต์จึงเป็นผู้อมตะ  จะเกิดหรือจะตาย  จะเกิดอีกหรือจะไม่เกิด  อีก  

ตรงนี้เป็นจุดสำคัญที่จะต้อง   นี่แหละ   ศักราชใหม่ของพุทธศาสนา ตอนนี้นี่   ทั่วโลกนะ

เดี๋ยวนี้   เชื่ออย่างที่เถรวาทที่เป็นหลักอยู่ว่าเลยนะ  เชื่ออย่างนี้กัน  ถือว่าอันนี้ เป็นสุด

ยอด   พระอรหันต์ตายแล้ว  ไม่เกิดอีก   ใช่ ใช่ ตรงไหน  ตอบ  นิสิต นี่ก็ก้าวหน้ามา

นิสิต  นิสิต ต้องอยู่ประจำนะ  อยู่ประจำนะไปไหนมาไหนไม่เอานะ  ไปอยู่จรหรือว่า จร

ประจำก็ไม่เอานะ   ประจำเลย   นิสิตนี่อยู่ประจำ...นักศึกษาประจำ   ตายไม่เกิดอีก  

ถูกตรงไหน   กิเลส แม้แต่สิ้นอาสวะ อาสวะนั้นก็ไม่เกิดอีก หมดเกลี้ยง ไม่เกิดแล้ว  อา

สวะ   ใช่นี่พระอรหันต์นี่ใช่  ไม่ผิดนี่  ความหมายที่ว่าไม่เกิดอีก  แต่มันโต่ง เห็นไหมมัน  

โต่ง   อีกอันหนึ่ง  มันก็ไม่รู้ ไม่รู้รอบ ไม่รู้รอบ  สิ่งที่เกิดอีก ก็มี สิ่งที่ไม่เกิดก็มี  พอสุด

ท้ายแล้วธรรมะของพระพุทธเจ้า   เหมือนกับตลบตะแลง  เหมือนกับ   นี่แหละเป็นสัจจะย้อนสภาพ ที่ เหมือนกับไม่อยู่กับร่องกับรอย อย่างที่ว่า  แต่ที่จริง    ไม่ใช่นะ  มันเรื่อง

สัจจะ  เพราะฉะนั้นท่านจะเกิดหรือไม่เกิดก็เรื่องของท่าน  เถรวาทนี่เรียนสั้น  เรียนแต่

แค่ภพอรหันต์      แล้วก็ไม่มีมหา...ไม่มีประโยชน์ท่าน      หนักเข้าเอียงมาทางฤาษี 

ประโยชน์ตน  ก็เลยเป็นภพเสียอีก   ภพหยุดอยู  ไม่เอาอะไร  เลยเป็นฤาษีไป   นี่มัน  

มันจริง    มันโต่งมาแล้ว   เลยเป็นสังฆเภท   เถรวาท  กับมหายาน   เป็นสังฆเภท  

ส่วนมหายานก็ไปกันใหญ่ก็เอาล่ะไม่ต้องพูด  มันมากมหายาน  

          เพราะฉะนั้นเป็นพระอรหันต์จึงเป็นผู้ที่อมตะจะเกิดจะตาย   ก็เรื่องของท่าน  

ถ้าเข้าใจตรงนี้แล้วจะเห็นได้ว่า     พระโพธิสัตว์นี่บำเพ็ญต่อไป    ก็ท่านมีอรหัตผลแล้ว  

ทางเถรวาทเข้าใจไม่ได้  ก็เลยกลายเป็น  ถ้าจะเป็นพระโพธิสัตว์ นี่  คือคนที่ปรารถนา

พุทธภูมิ   แต่ยังเป็นอาริยะไม่ได้  แค่อาริยะนะยังไม่ให้นะ    อรหันต์ไม่ต้องพูดเลย ไม่

ได้   โพธิสัตว์นี่  เพราะฉะนั้น เขาถึงมองอาตมานี่  อาตมาถึงสบาย   เขามองอาตมา

เป็นแค่โพธิสัตว์นะ  โพธิสัตว์ คือผู้ปรารถนาพุทธภูมิ    ผู้ปรารถนาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า

เท่านั้นแหละ   ยังไม่มี...ยังไม่มีเป็นอาริยคุณอะไรหรอก เป็นอริยะไม่ได้  เพราะอะไร  

เพราะเขาเรียนว่าอาริยะเป็นแบบตัวๆตนๆ   ตัวจิตวิญญาณ  เป็นอัตตา  จิตพวกนี้   ยัง

เป็นอัตภาพ   จิตวิญญาณเป็นตัวเป็นตน   เข้าใจอะไรต่ออะไรเป็นอย่าง   เป็นแบบฤาษี  

ยังมีอัตภาพอัตตา   ยังไม่ได้เรียนในเชิงอนัตตา   ท่องนะ  ท่องอนัตตา...   แต่ได้แต่

บัญญัติภาษา  ไม่รู้จักสภาวะ  

         เขาเข้าใจว่าอรหันต์นี่...อรหันต์นี่ต้องตายสูญ   ถ้าเกิดเป็นอาริยะนี่จะได้รับ

ความรู้มาว่า   อัตตาที่เป็นอาริยะ  ถ้าเป็นโสดา สูงสุดโสดานี่  เกิดมาได้อีก 7  ชาติ

เท่านั้นน่ะ   ต้องเป็นอรหันต์  ทีนี้ถ้าจะบำเพ็ญเป็นพระพุทธเจ้านี่  อะไรกันล่ะ  ก็เกิด 7 

ชาติ   แค่  7 ชาติ  มันบำเพ็ญไปเป็นพระพุทธเจ้าได้อย่างไร    เพราะฉะนั้นไม่ได้นะ  

เอาจิตไปเป็นอาริยะไม่ได้นะ    เอาจิตไปเป็นอาริยะแค่      โสดานี่เข้ากระแสแล้วนี่  

เที่ยงแท้เลยนะ   โอ้โห!ถอยหลังไม่ได้เลยนะ  เป็น   อาริยะแล้วต้องเป็นแล้วเป็นเลย

นะ  ต้องไปเป็นอรหันต์อีก 7 ชาติเท่านั้น  ตาย    เป็นอรหันต์แล้ว  ไม่ได้เป็นพระพุทธ

เจ้า  เลยไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า  เพราะบำเพ็ญ 7 ชาตินี่  ไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้าหรอก  

ไม่มีใครสามารถบำเพ็ญ  7 ชาติ  แล้วเป็นพระพุทธเจ้าได้...  อย่าเชียวนะ  อย่าเป็น

อาริยะเชียวนะ  โอ้โห!ซวยมหาซวยเลย    มนุษย์ให้เป็นอาริยะก็ไม่ได้แล้ว   เห็นไหม 

เขามัน  มันซับซ้อน      เห็นไหม  มันก็เลยโง่  ดักดานกันไปใหญ่เลย  บอกไม่ได้เลย  

ถ้าขืนเอาอย่างนี้  ก็เลยไม่นิยมมหายาน  ไม่เอาหรอก  ขืนเล่นบำเพ็ญทางโพธิสัตว์แล้วมั

นไม่ได้เป็นพระอรหันต์นี่    จะเอาอรหันต์น่ะ    จะเอาสูญน่ะ    จะเอาตายสูญเลยน่ะ  

เอาอรหันต์  เพราะฉะนั้น ไม่เอา...เลยทะเลาะกันใหญ่เลย  ใคระเอาแต่อรหันต์แล้วอ

ย่าไปเป็นโพธิสัตว์       ถ้าไปเป็นโพธิสัตว์แล้วก็       โพธิสัตว์ก็งมงายอีกเหมือนกัน  โพธิสัตว์ก็มาดูถูกอรหันต์   บอกอรหันต์ มันหนี ปลีกเดี่ยว   มันไม่มีประโยชน์ต่อมนุษยชาติ  

มันรื้อขนสัตว์ไม่ได้  มันไม่ช่วยใคร  มันเองแต่ตัว แต่ตน   แหม!ดีดกันใหญ่คนละข้างเลย  

มหายานก็เลยปาวไอ้ที่จะช่วยคน   ช่วยคนจนไม่รู้จักอัตตาอีกแหละ  ไม่รู้จักอัตภาพ   ไม่

รู้จักกิเลส ตัณหา อุปาทาน จิตวิญญาณ เป็นอย่างไร  งมงายไปใหญ่เลย  ใช้แต่...เฉกะ 

เฉกตา    ใช้แต่ความเฉลียวฉลาด   แบบโลกีย์   ไปกันใหญ่   อู๊ย!สอนเก่ง  เหตุผล 

ตรรกศาสตร์มากมาย  มหายานนี่   ใครสอนนิยม    หมดเลย   ความรู้   นิยมความรู้  

เพราะฉะนั้นพระเมือง พระนิสิต  พระนักศึกษา  พระนักวิชาการ  มหายานโตงเตงทั้งนั้น  

ในเถรวาทในเมืองไทยนี่แหละ

         ส่วนพระป่าก็เถรวาทสุดโต่งทั้งนั้น นี่ ในเมืองไทยนี่  มีเถรวาท กับมีมหายาน  

เพราะฉะนั้นพระที่ปกครองบริหาร  คือพระมหายาน  พระป่าพระหลับหู หลับตา อยู่ป่า อยู่

เขา  อยู่ถ้ำ พระกรรมฐาน ว่าอย่างนั้นเถอะน่ะ  นั่นคือพระเถรวาท   นี่มันก็สังฆเภทกัน

อย่างนี้   เรารู้ว่าเถรวาทเป็นอย่างนี้  เรารู้ว่ามหายานเป็นอย่างนี้  เราก็ เออ! มันมี

ส่วนดีของมหายาน  มีส่วนดีของเถรวาท   มันมีส่วนถูกต้องของเถรวาท  มันมีส่วนถูกต้อง

ของมหายาน   ทะเลาะกันทำไม...   (มีเสียงพูดแทรก)  พอมันเข้าใจผิด   มันก็แยก

ส่วน     แตกกันไปแตกกันมา     แล้วเข้ากันไม่ได้เลย    เข้ากันไม่ได้     มันรวม

กันยาก...มันประสานกันยาก   อาตมาบอก  เลยว่า  อาตมาเกิดมารวม   มาพยายาม

ประสานประสมเถรวาท  มหายาน  เอามาใช้ ให้มันสัดส่วนที่พอเหมาะ   ให้มันได้สัจจะ  

ถ้าเลยเถิดสุดโต่งไป   2   ด้านก็ถูกต้องตามพระพุทธเจ้าท่านเปิดศักราชสอนศาสนาแล้ว  

ท่านก็สอนส่วนสุดโต่ง    2  ด้าน  ส่วนสุดโต่าง 2 ด้าน  ไม่ใช่คำสั้น   ไม่ใช่เรื่องตื้น  

เรื่องลึกซึ้ง  สุดโต่ง 2 ด้านนี่ลึกซึ้ง  เถรวาท กับมหายานนี่  ก็สุดโต่ง 2 ด้าน  แต่เขา

ไม่รู้ตัวหรอก   ตกลงเขาก็หาว่าอาตมา   มาแยกสังฆเภท   ตอนนี้...มหายานก็ไม่เป็น  

เถรวาทก็ไม่เป็น    อย่าว่าแต่มหายาน   เถรวาทเลย   ธรรมยุต    ก็ไม่เป็นกับเขา  

มหานิกาย   ก็ไม่เป็นกับเขา   แล้วก็มาตั้งใหม่  เป็นนิกายใหม่  เป็นอะไรใหม่   เป็น

พวกอนันตริยกรรม...ทำสังฆเภท  ซึ่งอาตมาไม่ได้ทำ  อาตมาประสานอยู่   แต่เขาเอง

ยัดเยียดให้อาตมาเป็น  บังคับให้อาตมาเป็นเอง

         เอาละ      อาตมาจะไล่รายละเอียดขยายคาวมพวกนี้ไปหมดก็จะหมดเวลา  

อาตมาเจตนาอยากจะพยายามบอกปรมัตถ์อีกส่วนหนึ่งน่ะ   บอกไว้แล้วเมื่อวานนี้   ว่าจะ

อธิบายให้เห็นนัยของปรมัตถ์  นัยของจิตเจตสิก  นัยของเราจะไปศึกษา  ต้องรู้จิตเจตสิก  

ต้องรู้ปรมัตถ์พวกนี้  เราจะรู้ได้ว่า  ขีดเป็นโสดาขนาดไหน  แล้วก็เป็นพระอรหันต์ขนาดไ

หน  ส่วนสกิทา อนาคา ก็มีสังโยชน์เป็นขั้นๆตอนๆ  แบ่งเอาไว้  ก็จะเข้าใจ  ถ้าเข้าใจ

ตอนปลาย   ตอนท้ายนี่   ตอนกลางๆ  ศึกษาไปเถอะ  มันค่อยๆจะรู้   ถ้ามีสภาวะจริง  

มันจจะมีสิ่งเหล่านั้น   ค่อยๆเข้าใจเอาเอง  เป็นลำดับน่ะ  เกรดที่จะตัดนะ   คุณสมบัติของพระโสดาบัน   ผู้ที่เคยศึกษาอยู่ใกล้ชิดกับอาตมา   อาตมาเคยเทศน์   เคยบรรยาย  

เคยอะไรไว้แล้ว   ทีนี้มาคราวนี้ก็รวมกัน  นี่ก็เป็นหลายร้อยหลายพันแล้ว   ไม่ค่อยได้พบ

อาตมาหรอก  ปีๆหนึ่ง  บางคนก็มาพบครั้งเดียวนี่แหละ  บางคนก็อาจจจะได้พบบ้าง แต่ก็

ไม่มีโอกาสที่จะได้ฟังเทศน์      ฟังการบรรยายในจุดนี้     ทั้งๆที่เป็ฯเทปแล้ว     ก็

ไม่...ไม่แสวงหา   ไม่ค้นคว้า   บางคนไม่ได้พบ   ก็จริง   แต่ติดตามใกล้ชิด   ก็หา

เทปไปฟังบ้าง  ก็ยังได้  แต่อาตมาก็พูดอยู่หลายครั้ง  หลายคราว

         ในพระไตรปิฎกเล่ม  19 ข้อ 1475สังยุตตนิกายมหาวรรค  อันนี้บอกหลักฐาน

ไว้ในพระไตรปิฎก  ท่านตรัสถึงคุณสมบัติของพระโสดาบันเอาไว้อย่างนี้...  อันนี้เอาอันที่

เป็น 8 ข้อเสียก่อน  ที่จริงคุณลักษณะของพระโสดาบันนี่  มีสิ่งที่เอามาพิจารณาอยู่ได้ถึง 4 

หมวด  ธรรมสำคัญๆ   องค์คุณในพระโสดานี่  จะต้องมีศีล 5  เป็นอย่างต่ำ   "มี"คำนี้ 

หมายความว่าศีลนั้น   อันเป็นอธิจิต  อันเป็นอธิจิต  อันเป็นอธิปัญญาด้วยนะ  ศีลนี่   ศีล

สมาธิปัญญา  หรือศีลอธิจิต  อธิปัญญานี่  ไม่แยกกันนะ  ไม่แยกส่วนกัน  จะต้องทำงานอยู่

ร่วมกัน   แล้วมีองค์คุณพวกนี้อยู่ด้วยกัน   อย่างสอดคล้อง  จะต้องมีศีล 5  มีคุณภาพ  มี

คุณธรรมของศีล  5 อยู่ในตัว  เป็นแล้ว มีแล้ว ได้แล้ว  และเป็นผู้ที่ถึงศรัทธา   ในพระ

พุทธ พระธรรม พระสงฆ์น่ะ  อาตมาแบ่งแยกเป็นสอง

         1.ศีล  5   มีศีล 5  "มี"หมายความว่ามีคุณภาพของศีล 5  นะ   ไม่ใช่ไป

สมาทานศีล  5 แล้วก็มีเลยนะ ไม่ใช่    ศีล 5 นี่ได้ปฏิบัติ  จนกระทั่งเป็นอธิจิตอธิปัญญา  

เป็นสมาธิ   หรือเป็นฌาน  เป็นวิมุติในตัว  แต่ความหมายหยาบๆตื้นๆ   เบื้องต้น   ไม่

ฆ่าสัตว์   ไม่ลักทรัพย์  ไม่ผิดผัวเขา  เมียใคร มีผัวเดียว เมียเดียว นี่ก็ตาม  ไม่พูดปด  

ไม่เสพติด   มอมเมา  ในสิ่งที่หยาบก่อน...  ไม่ดื่มน้ำเมา  ไม่กินของเมา  ไม่กินของ

เมา    ไม่อะไรเมาพวกนี้   ก็แล้วแต่น่ะ   แล้วก็ศรัทธาในพระพุทธ  พระธรรม  พระ

สงฆ์อย่างจริง  

          ศรัทธานี่นะ   เมื่อวานนี้   ก็อธิบายไปบ้างแล้ว   เพราะไม่ใช่   เพราะ

ศรัทธาพระพุทธ  พระธรรม พระสงฆ์  ก็คือระลึกถึง  พระพุทธเจ้า  ตามความนึกคิดเท่า

นั้น  แล้วก็บอกศรัทธาท่าน  พระธรรมก็นึกถึงกลางๆว่าพระธรรมคือพระไตรปิฎก  หรือคำ

สอน  อย่างนั้น  ก็ศรัทธาในคำสอนดุ่ยๆไป ก็ได้  พระสงฆ์ก็ตัวตนบุคคลที่ไปบวชแล้ว   ก็

ศรัทธาพระสงฆ์เท่านั้น   อย่างนั้นก็เป็นรูปธรรม  เป็นสิ่งแทน ง่ายๆ   อย่างนั้น 

ไม่ใช่ปรมัตถ์     จะเป็นอาริยะ   มันต้องปรมัตถ์   

          เพราะฉะนั้นศรัทธาที่ว่านี่    ศรัทธาพระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์    ก็

ต้องปรมัตถ์จจะต้องจิตวิญญาณ  มีสภาวะ  รู้ว่าพุทธ คืออะไร   คุณธรรมหรือว่าพุทธธรรม  

ระดับพุทธธรรมที่เป็นอาริยะ    เพราะตอนนี้เราพูดถึงขั้นจะเป็นอาริยะโสดา    ศรัทธา

พระพุทธเจ้า   ศรัทธาพระพุทธ  พระธรรม   พระสงฆ์     ก็ต้องระดับโสดา   ระดับ อาริยบุคคล   ไม่ใช่ ใครๆศรัทธานี่ อู้หูย!  พุทธศาสนิกชินนี่  ในเมืองไทยนี่   ไปไล่มา

เลย   อาตมาว่าไม่ต่ำกว่า 80%  ศรัทธาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ไหม   ศรัทธาทั้ง

นั้นน่ะ  แต่ศรัทธาอย่างไม่รู้เรื่อง  บางทีเกาะติดเลยนะ  ใครอย่ามาแตะเชียวนะ  เอา

กันตายเลย  นี่ศรัทธาถึงขนาดนั้นเลยนะ  อย่าว่าเล่นไป  เป็นต้นว่า ศรัทธาพระพุทธรูปนี่  

โอ!ใครมาขี่คอพระพุทธรูป   เดี๋ยวฆ่าเลย...ถึงขนาดนั้นเลยนะจะฆ่าคนเลยน่ะ  ไปขี่คอ

พระพุทธรูปอะไรอย่างนี้        อย่างที่เคยมีข่าวมีคราว       มันก็ศรัทธาอย่างนั้นนะ           

เพราะฉะนั้นศรัทธาพระพุทธ  พระธรรม พระสงฆ์นี่  จะต้องถึงขั้นปรมัตถ์  ก็คือพุทธอยู่ที่นี่  

ธรรมอยู่ที่นี่   สงฆ์อยู่ที่นี่  เห็นสภาพที่เป็นสภาวะแล้ว  อ๋อ!นี่พุทธคุณ   พุทธคุณมีโลกุตระ  

เป็นโลกุตระอย่างนี้   เลิก ละ ลด อบายมุขโลก  ต่ำๆ  พอโสดานี่   ต้องเลิกโลกต่ำๆ  

อยู่เหนือโลกต่ำๆ  มีเป็นอาริยะ  อยู่เหนือจริงๆ ไม่เวียนกลับนะ  เพราะฉะนั้นใน 4 ข้อ

แรกของคุณสมบัตินี้   จึงหมายถึง  โลกต่ำๆทั้ง 4 โลกนั้นเลย   เมื่อกี้นี้อธิบายให้มันครบ

เสียก่อน 4 อาตมาบอกไว้  

          1)องค์คุณศีล 5   

          2)ศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์   

          3)สังโยชน์ 3...  พระโสดาบันต้องพ้นสังโยชน์ 3   

          4)องค์คุณ 8           4 ข้อแรกนี่ก็คือโลกต่ำๆ

               1.เรียกว่า นิรยะ  

               2.เรียกว่า ติรฉานโยนิยะ เดรัจจฉานโลกเดรัจฉานนั่นน่ะ

               3.เรียกว่าโลกเปรต ปิติวิสัย   

               4.โลกต่ำที่รวมไว้เลย                    ก็คือ...ทุคิตวินิบาต                         

4  โลกต้องรู้จักโลกอันนี้นะ  โลกนี่ คือจิตวิญญาณ มันไปหมุนเวียน  มันเป็นอาการ   ไป

เป็นอารมณ์อย่างนี้  อารมณ์สัตว์นรกเรียกว่านิรยะ  อารมณ์    อย่างนี้เรียกว่าเดรัจฉาน  

อารมณ์อย่างนี้เรียกว่าเปรต  อารมณ์อย่างนี้ เรียกว่า พวกทุคติวินิบาต  นี่เรามีปรมัตถ์แล้

วเราต้องอ่านจิตเจตสิกของเรารู้อารมณ์ของเราว่า  มันลักษณะนี้น่ะหยาบ แรง ร้าย  ต่ำ 

เลว  ขนาดนี้ นิรยะ  จะต้องมีขีณะ  จะต้องสิ้นสุดจะต้องดับโลกพวกนี้ให้ได้   นี่โสดาบัน  

จึงเรียกว่าผู้พ้นอบายนะ โสดาบัน  ผู้ต้องพ้นอบาย  นี่ต้องดับพวกนี้ได้  ต้องสิ้นสุดจากนรก  

ไม่มีนรก   คือคาวม อารมณ์หรือว่าจิตที่มันหยาบ  มันต่ำอย่างนั้น  มันร้อนเร่า  นรกนี่จิต

ร้อนเร่า  ถ้าจิตยังร้อนๆอยู่นี่  กระทบสัมผัส...อะไรร้อนๆ  ขนาดอาตมานี่ ดุให้ ด่าให้นี่

นะ โสดาจิตไม่ร้อนหรอก ใช่ไหม

         ขณะนี้ขอ  ขอถาม อย่าหาว่าอาตมา มานั่งเบ่ง นั่งอะไรเลย   คุณว่าอาตมา

เป็นครูคุณหรือเปล่า...  เป็นพ่อคุณหรือเปล่า   ถ้าพ่อก็ดี  ครูก็ดีนะ  ซึ่งเป็นยอดสุดแล้ว

ของลูกศิษย์   หรือลูกนี่นะ  จะต้องบูชาเทิดทูน  ยกไว้       ใช่ไหม  ด่าแรง  ขนาดไหน  ดุให้ขนาดไหนนี่   ถ้าจิตยังโกรธ วูบวาบ หรือชังอยู่นั่นไม่ใช่โสดาหรอก   นี่คือจิต

โกรธ   จิตวูบวาบ  จิตชัง ผลัก  นั่นแหละนรก ฟังไว้ดีๆ  นะ  นี่อาตมาขมวดเข้าไปจุด

สำคัญแล้ว   พิสูจน์เลย   นี่พูดอย่างนี้   เหมือนเอาประโยชน์ให้แก่ตัวเองนะ   เหมือน 

แหม!นี่ฉลาดพูดนะ  แหม!กันไว้  ไม่ใช่กันหรอก  กันให้คุณนั่นแหละ  อย่าไปเกิดอาการ

อย่างนั้น    มันไม่โง่   เอ๊ย!มันโง่   มันยังไม่รู้แล้วมันก็ทำอยู่  มีอย่างที่ไหนขนาดพ่อ  

อาตมา   แหม!พูดไปแล้วก็เหมือนทวงบุญทวงคุณ   อาตมาทำให้คุณเป็นคนขึ้นมาหรือเปล่า  

เป็นอาริยะขึ้นมาหรือเปล่า  จะทำให้เป็นอาริยะละ  เอ้า!ถ้าเผื่อว่าคุณเชื่อว่าคุณยังไม่ได้

เป็นอาริยะ  ก็ตาม  ใช่ไหม  เป็นคนประเสริฐขึ้นมานี่  จะต้องรอด  เป็นคนหลุด คนพ้น 

เป็นคนที่...จะต้องเดินทางนี้แหละ  อีกกี่ชาติ ๆ  คุณก็ต้องไปทางนี้ละวิเศษแล้ว  เชื่อไม่

เชื่อก็ตาม   เข้าใจ  ไม่เข้าใจ   ก็โง่  มันอยู่ตรงนี้   ถ้าไม่เข้าใจก็โง่อยู่ตรงนี้ต่อไป  

ขนาดนี้ อาตมาก็เจตนา  แล้วปรารถนา  แล้วทำจริงใจ  ปรารถนาดี  ถ้าเชื่อว่าอาตมา

มีภูมิปัญญา    อาตมาจจะด่าคุณนี่   อาตมาจจะด่าคุณเอาสะใจ   อาตมาว่าอาตมาไม่โง่ 

อย่างนั้นนะ  อาตมาเป็นอาริยะ  อาตมาด่า  คนให้สะใจนี่  มันยังเป็นคนชั้นต่ำอยู่นะ  รู้

ไหมพวกนี้    พวกแถวปากคลองตลาด   พวกท่าเตียนนั่น   รู้หรือเปล่าด่าคนให้สะใจน่ะ  

โธ่!ไปทำทำไม   อาตมาบอกคุณได้ว่า  อาตมาไม่ใช่แค่โสดาบันนะ พูดไปแล้ว  แล้วมันก็

ผยองดีนะ  นี่ก็พูดในที่ของเรา  ต้องลีลา  พวกนี้ ศิลปะ   วิธีศิลปะ   วิธีสื่อให้พวกเรา 

เข้าใจ

         เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่าคุณลองดูนะ  นี่อาตมายกตัวอย่างให้ฟังว่า  จิตนิรยะ  

จิตนรกมันเป็นอย่างไร  นี่เอาเหตุปัจจัย  เอาเรื่องสำคัญมาว่าใครก็ตามถูกอาตมาดุแรงๆ

นี่   นั่น คือโจทย์ของคุณ...โจทย์ของคุณ  เพราะฉะนั้น...  ถูกอาตมาดุแรงๆ  คุณก็ยัง

โกรธ   แหม!จิตร้อน ชังเลยตี เป็นอย่างนี้เลย  แหม!  ไปเลย  คนนั้นไปเลย  ไปได้

แล้ว   ยังไม่ใช่โสดาหรอก   แต่คนที่เข้ากระแสแล้ว  ไม่ไป ไม่ไป  ยังไงก็เจ็บอย่าง 

ไรก็ต้อง   วูบเกิด  ก็วูบเกิด  แต่ไม่กล้าไปหรอก  แต่ยังต่ำอยู่นะ   ยังผีนรกอยู่   ยัง

ไม่ขีณานิรยะ    ยังตัดสินเป็นโสดาไม่ได้นะ    ยังไม่ได้ขีณานิรยะนะ    ยังไม่ได้สิ้นสุด

อาการสัตว์นรกอย่างนี้     อาการของนี่จิตวิญญาณนี่ละ     มันเป็นสัตว์นรก...ฟังดีๆนะ           

เพราะฉะนั้น...อาการของจิตนี่แหละ  มันบอกความเป็นสัตว์นรก  ก็อาการของจิตนี่แหละ  

ถ้าว่าเดรัจฉานทีนี้น่ะ    ขีณติรฉานโยนิยะ    ติรฉานะ+โยนิยบวกการเกิดนี่   ก็ต้องดับ

ภูมิเดรัจฉานด้วย  ดับอาการของความเป็นเดรัจฉานในจิตได้ด้วย  เราลองคิดดู  ใจของ

เราเป็นอย่างไรอยู่   ใจเรายังวูบวาบ  โกรธ บังคับไม่ได้   ดับได้วางใจได้   ขนาด

อาตมา    ก็ยังไม่ยกให้    พ่อก็ไม่ยกให้   แม่ก็ไม่ยกให้   พ่อด่า   พ่อดุ    ก็ยังว่า  

ยัง...จิตยังขึ้น  เป็นนิรยะอยู่  โกรธพ่อโกรธแม่  โกรธครูบาอาจารย์  ผู้ที่ยก กราบ

เคารพด้วยนะ   ครูบาอาจารย์  ผู้ที่กราบเคารพด้วย  ก็ยังโกรธอยู่  โฮ้ย!พวกนี้ยังเติม

.pl37

.lh18

.fo             กรรมฐานของอาริยชน ตอน 5/FILE:5017J.TAP       #

โซดาอยู่   ทั้งนั้นแหละ   ยังไม่ใช่โสดา  ต้องดูภูมิจิตของเราจริงๆ   ตรวจจิตของเรา

จริงๆเลยน่ะ   เดรัจฉานนั่นแปลว่าโง่  หรือแปลว่าสิ่งที่ขวาง  เดรัจฉานนี่  โง่   ก็มัน

ยังโง่อยู่อย่างนั้นแหละ   มันอาจจะไม่วูบวาบอย่างนิรยะนะ   แต่มันก็โง่   มันไม่รู้เรื่อง  

หรือไม่มันก็กั้นเลย   อาตมาดุให้ว่าให้  จิตไม่ร้อนอย่างนั้นหรอกนะ  แต่บางที  ถ้าโง่ ก็

คือ  บื้อ  ว่าให้ดูให้อะไรนี่เหมือนคนว่างได้นะ  ฟังให้ดี  เหมือนคนวางได้นะ  แต่เปล่า

ไม่รู้เรื่อง   ไม่โกรธ  ไม่นิรยะหรอก  ไม่โกรธหรอก  แต่ด่านี่  คงไม่รักหรอกนะ  ใช่

ไหม...  มันคงจะ โกรธเท่านั้นละ  มันคงไม่รักหรอกนะ  มันคงไม่ดูดหรอกนะ  ถ้าดูดก็ 

โอ้โห!ทีนี้ก็หนักไปใหญ่นะ  ถ้าด่าแล้วก็ sadism เลย  ถ้าด่าแล้วมัน  ยิ่งด่า  ยิ่งด่า    

เท่าไหร่  ยิ่งรัก   พวกนี้เกิดมาอีกชาติหน้า   ชาติหน้าก็คงจะไปอยู่ในกลุ่ม   พวกเหน็บ 

ฝามั้ง   ถ้ามีคู่ก็ต้อง  คู่อย่างชนิดต้องเหน็บฝากันทุกวัน  ถึงจะอยู่กันรอด  ถ้าไม่เหน็บฝา

ไม่ถึงจิตไม่ถึงใจ  คือพวก sadism โอ๊ย!ต้องทำให้เจ็บให้ปวดกันน่ะ     พวก sadism   

มีคู่...   หรือคู่ของ  sadism  ก็คือ  พวก  masochism   พวก  masochism   ก็

คือ...ตัวเอง...เจ็บ  ไม่ใช่ทำร้ายตัวเอง...คนอื่นทำร้ายตัวเองก็ได้  คนอื่นทำให้เรา

เจ็บ  เราก็ชอบ  ขอให้เรา...คนอื่นทำให้เราเจ็บ  เพราะฉะนั้นพวก masochism ถ้า

มีคู่ sadism อยู่ด้วยกันได้เลย  พวกนี้ชอบทำให้คนอื่นเจ็บแล้ว  อื้อหือ!มันหัวใจ  ชอบทำ

ให้คนอื่น   ไอ้คนนี้ก็ชอบ  ใครทำให้เราเจ็บ  มันหัวใจ  มันก็เลยอยู่ด้วยกันได้ 2 คู่นี่ 2 

คนนี่   masochism กับ sadism  มันจะอยู่ด้วยกันน่ะ  เป็นคู่กัน  ไอ้คนนี้ แหม!ใครทำ

ให้เราเจ็บ    เจ็บเกินมนุษย์    ธรรมดา   มันเจ็บมัน...   เจ็บจนกระทั่ง   ถึงกัด

ถึงขีดถึงข่วน...มันแรงน่ะ   มันถึงจะถึงใจ  แล้วก็สุข  คนนี้  ไอ้คนนี้  ก็ แหม!เห็นคน

อื่นเจ็บสุขเลยอยู่ด้วยกันได้...ไปเลย...  อยู่ด้วยกัน ไปเลย  คู่นี้...สุขฉิบหายเลยนี่นะ  

พวกสุขฉิบหายนี่   พวกนี้พวกสุขฉิบหาย  (เสียงพูดแทรก)   แหม!นี่จะให้ชอบนะ   นรก 

โสดาบัน   ก็พูดอยู่แล้วว่า  มันร้อน  มันดิ้น  มันร้อน  มันเร่า  มันไม่เย็น   มันก็ขนาด

ไหนละ  ก็พอทนได้  ขนาดจีนซดน้ำชา  น้ำร้อนหรือ  ถ้าอย่างนั้น มันก็นิรยะแล้วละ  มัน

ก็ไม่น้ำร้อนหรอก   มันก็น้ำอุ่นๆเย็นๆ  ก็รู้สึกความอะไร   ก็ใช้ภาษากำหนดประมาณดูอา

รมณ์  อารมณ์ของเรา  มันร้อนเร่า  มันผลักไสไม่ไหวแล้วอย่างนี้  จะโกรธก็ร้อนเร่าจะ

ราคะก็ร้อนเร่า  มันแรงมาขีดหนึ่ง  ก็ไม่รู้จะไปขีดตรงไหน ตายตัวน่ะ

         2.มันเดรัจฉาน   อธิบายอย่างช้า  มันหมดเวลาแน่   วันนี้ไม่หมดหรอกไอ้นี่  

ต้องไปโสดาเอาต่อพรุ่งนี้อีกละ   เพราะฉะนั้น  ถ้ามันโง่  มันไม่รู้เรื่อง  มันบื้อ  อย่าง

นั้นละ   มันไม่ร้อนหรอก อาการทางจิต  มันก็ไม่ขึ้นร้อนอย่างนั้นหรอก  แต่มันก็บื้อ...โง่  

สิ่งนี้ก็เป็นสิ่งขวางทางเจริญ  ขวางทางนิพพาน  เรียกว่าเดรัจฉาน  มันหมายถึงโง่  

หมายถึงพวกต่ำจิตต่ำน่ะ   เดรัจฉานคือพวกจิตต่ำ  ในระดับที่อมนุษย์หรือ...อเวไนยสัตว์  

สัตว์ที่สอนยังไม่ขึ้น  ยังไม่เกิดปฏิภาณ  ยังไม่เกิดรับได้  ยังไม่เกิดอลังการอะไร  อย่างนี้ก็เป็นทิศหนึ่ง  เป็นทิศของจิต  อาการของจิต  นี่ก็จะต้องไม่มี  โสดาจะไม่มี

         3.ปีติวิสัย  ขีณปิตวิสย  ปิตะ หรือปิติน่ะ  ปิติวิสัยขีณปิติวิสัย  เปรต   เปรต

นี่   ความเร่าร้อนทางอยาก   อาการนิรยะนี่อาการ  มันเป็นเชิงทางโกรธทางร้อนเร่า  

แต่มันก็   รวมทั้งอยาก  ร้อนเร่าก็ได้  ปิติวิสัยนี่ ชัดลงไปอีกตรงอยาก  ร้อนเร่า  ต้อง

การปรารถนาให้ได้ดังใจ   ให้ได้  ได้ ร้อนเร่า  เปรตอยาก  อยากอะไร   ก็แล้วแต่  

อยากได้นิพพานอย่างร้อนเร่า   ก็เหมือนกับเปรตทั้งนั้นแหละ   อยากได้นิพพานอย่างร้อน

เร่า  มีที่ไหน  เอาแต่ใจนั่นแหละ  เอาแต่ใจอยากร้อนเร่า  อัตตามานะสูง  ไม่ใช่อนา

คามีนะนี่   อัตตามานะ นี่ ไม่ใช่อนาคามีนะ  ตั้งแต่เป็นพื้นเลย...ต้นๆ...โสดายังไม่ได้

เลย  นะนี่  ถ้ายังมีอยู่...โสดายังไม่ได้   ต้องไม่มีไอ้จิตวิญญาณที่เป็นอัตตามานะรุนแรง  

เอาแต่ใจตัว  เอาแต่ต้องการอะไร  จะต้องเอาได้  ดังใจ  เอาได้ดังใจ  ไม่ได้ดังใจ

จากเปรต   ก็ไปเป็นนรกน่ะสิ   เป็นนิรยะน่ะสิ          ต่อให้ฉลาดขนาดไหนก็ตาม      

ไม่โง่เง่าบื้อๆทื่อๆ     ปราดเปรียวแววไว    อู๊ย!เร็ว...คล่องแคล่ว...แต่ว่มันมีลึกๆ  

ตัวอัตตามานะ  กูจะต้อง ชนะ  กูจะต้องใหญ่  กูจะต้องเอา  กูจะต้องได้  กูจะต้องเป็น  

อยาก  อยาก ปรารถนา ตามต้องการ  มีอัตตามานะสูง อย่างนี้ตัดเกรดได้เลยว่ายังไม่

เป็นโสดาน่ะ

         ต้องเรียนรู้จริงๆเลย  อาการเหล่านี้  ต้องเลิกมันจริงๆ  ไม่เลิกมัน   มันก็

ไม่เจริญ    แล้วอยากจะไปใกล้อาตมาเกิด   เมื่อไหร่ก็อยากจะไป   แต่คนหนึ่งไปนรก  

อาตมาก็ไปเกิดสวรรค์   แล้วมันจะไปเจอกันอย่างไรเล่า  อาตมาไม่ไปเกิดหรอกนรกน่ะ  

แล้วคนที่สร้าแต่...ไอ้นรกให้แก่ตัวเองอยู่อย่างนี้  แม้แค่โสดาบันนี่ก็ยังไม่ตัด ไม่เลิก  ไม่

ขาด   แล้วมันจะไปอยู่ริม...ริมทางสวรรค์  ก็ยังไม่อยู่ได้ มันก็โน่นอยู่ในนรก...ไม่รู้สึก

แค่ไหนด้วย  แล้วมันจะไปด้วยกันได้อย่างไร

ไอ้อยากไป  แต่ปฏิบัติออกนอกทาง...นารก...น่ะ

         เพราะฉะนั้น  อาการที่ว่านี้นี่นะ  อาการที่ว่านี่  นรกนี่ก็ร้อนเร่ามันแรง  แต่

ถ้ามันไม่แรงนัก   เอาละ  ก็ใช้ได้  แต่จะบอกว่าประมาณนะอารมณ์  โสดาบัน   ไม่วูบ

วาบแรง   รุนแรง   ร้าย  ไม่ใช่หรอก   ระงับอยู่   ระงับอยู่    แล้วไม่ดึงดันหรอก  

โสดาบันไม่ดึงดันแล้ว   จะร้อนเร่าเป็นนรก ไม่  จะโง่บื้อมะลื่อทื่อ    โอ๋ย!ร่างยิ่งกว่า

ควาย 7 ตัว  แล้วแต่ละตัวอ้วนๆด้วย  หนักไม่ใช่อย่างนั้น  บื้อ เป็นเดรัจฉาน ขวาง  ดี

ไม่ดีก็อะไรเกๆเรๆอะไรอยู่อย่างนี้  นั่นมันทื่อๆบื้อๆอย่างไรไม่รู้  มัน      เกๆเรๆ ไม่

รู้จะใช้ภาษาไทยว่าอย่างไร  ฟังดูก็แล้วกัน  มันก็แย่น่ะ  อย่างนี้แหละ  ลักษณะพวกนี้ หรือ

อารมณ์ทางจิตว่าเราเป็นอย่างนี้  

         พอมาถึงขั้นปิติวิสัย  ก็เปรต อยาก  เป็นคนที่รู้สึก แหม!ปรารถนาแรงเร็วอยู่

นั่นเอง   อยากโน่นอยากนี่   อยากจริงๆ  แล้วร้อนแรง   ร้อนหนักเข้า   ก็ไปลงนรก  นิรยะ น่ะ  พวกนี้  มี  แหม!มีอารมณ์มีปฏิภาณปัญญา  มีความแคล่วแคล่วคล่อง  ในความ

คิดนึก    มากมายได้นะ    แต่ก็จะเอาตามใจข้า  เอาชนะ คะคานใหญ่   อยู่กับใครก็

ลำบากแบบนี้   ทางโลกเขาต้องการความคิดแบบนี้  เป็นคนคิดปราดเปรียว  คล่องแคล่ว 

แววไวนะ   ต้องอย่างนั้น ต้องอย่างนี้  อยากได้  อย่างโน้น อยากได้อย่างนี้ ลุย   จะ

เอา มีอัตตามานะเยอะ  อยาก เป็นช่างอยาก  แล้วอยากแรงๆด้วย  แต่คนเราถ้าไม่มี

ความอยาก   ไม่มีความต้องการ   ไม่มีความปรารถนา  ก็ไม่มีทางเจริญนะ   นี่มันซ้อน  

มันซ้อน 1.จะต้องมีปัญญา (เออ! ต้องสอดคล้องกับศีล 5 ข้อทั้งนั้นแหละนะ)

         เพราะฉะนั้นเผื่อว่าไม่มีอารมณ์อยาก  ไม่มีความต้องการในจิตก็ไม่เจริญ นี่มัน

ซ้อน   มีสาวะซับซ้อน   ต้องมีความเจริญ  อยากแล้ว  ก็ต้องรู้  

          1.ว่าอยากในกุศลหรือ

อกุศล      2.แม้จะกุศลก็   มันจจะเอาชนะคะคาน  แรงเกินไป   จนกระทั่งแตกร้าว 

ทะเลาะวิวาท  แตกแยก  ไม่มีสัมมาคารวะ ไม่รู้จักคนควรแย้ง  ควรโกรธ ใหญ่ ใหญ่ไป

หมด   ขนาดอาตมาก็โกรธลงคอนี่  มันไม่เป็นโสดาหรอกนี่   พูดไม่ใช่ว่าพูดเอาเข้าข้าง

อาตมานะ   หรือพ่อก็ตาม  แม่ก็ตาม  ก็ยังโกรธได้  ยังไม่ถึงจิตโสดา   ต้องเรียนรู้ตัว

เองจริงๆ   ไอ้ที่พกูดนี่บอกให้   คนที่ความ...สัมมาคารวะ   ควรยกให้  ยากไว้แล้ว  

โอ๋ย! อย่าไปโกรธเลย     คนที่เป็นโสดานี่จจะยกไว้มีฐานะที่ยกไว้อย่างสมควรจริงๆ  

ฟังดูนะ   อันนี้ รู้จักสัมมาคารวะ  โสดาบันมีสัมมาคารวะ  รู้จักบุคคลควรยกไว้  อันนี้ไม่

โกรธ  ระงับความโกรธเราได้  แต่อาจจะยังไม่เชื่อก็ได้  อาจจะยังไม่ ไม่เชื่อ  แต่จะ

อารมณ์ไม่วู่วามแล้ว   ไม่ทุกข์ให้ตัวเองแล้ว  เพราะเอาตรงไม่ทุกข์  อาริยะนี่ เอาตรง

ไม่ทุกข์   เป็นอริยสัจ  ไม่ทุกข์แล้ว  รู้แล้วว่า  ถ้าขืนกิเลสตัวนี้ออกไปอย่างนี้  มัน อาจ

จะยังไม่เชื่อก็ได้   แต่ก็วางปล่อย  ไม่เป็นไร   ยกให้แก่ท่านหยวน   วางปล่อย   ไม่   

อย่าไปละลาบละล้วงท่าน  ยกให้ยกไว้  โสดาบันเป็นอย่างนี้  ยังจะไม่เชื่อ  ก็ไม่เป็นไร  

แต่ก็ไม่ดื้อด้านถึงขนาดขวางเป็นเดรัจฉาน   ไม่เร่าร้อน   อื้อหือ!ไม่ได้ดึงดัน    แล้วก็

ไม่...ดันทุรัง  อยากจะต้องเอาชนะคะคาน  ไม่ ไม่ละลาบละล้วง  ยอม  อาจจะยังไม่

เชื่อ  แต่ก็ไม่ขวาง  ไม่เป็นเดรัจฉาน  ถ้าเดรัจฉานนั่นคือขวางอยู่น่ะ

         พยายามดีๆอาตมาอธิบายภาษาไทย        ถึงลักษณะจิตนี่       มันลึกซึ้ง  

มันนซ้อนเยอะเลย  เพราะฉะนั้นคุณลักษณะพวกนี้เป็นคุณลักษณะดี  มนุษย์ที่ดีโสดาบัน  เป็น

อาริยะ   อย่างน้อยก็ไม่แตกร้าวไปไหน  อย่างน้อย  ก็ไม่ลบหลู่คน  อย่างน้อยก็มีภูมิ   

ปัญญาว่า   คนนี้ต้องยกไว้  เหมือนคุณยกไว้  บางคนนี่นะ  ฉลาดน่ะ  พอมาเจออาตมานี่  

โอ้โห!เห็นอาตมานี่...มีสิ่งดี  ภูมิสูงจะพาไปทางสูงได้  ยกให้อาตมา  แต่ไม่ยกให้พ่อแม่  

พ่อแม่พาเราไปนิพพานไม่ได้   ไม่ยกให้พ่อแม่   พ่อ  แม่   ดีไม่ดีจจะข่มพ่อแม่เอาด้วย  

เพราะฉลาด   แต่ยกให้อาตมาคนเดียว  อย่างนี้ก็ไม่มีสัมมาคารวะ  พระโสดาบันไม่เลวร้ายถึงขนาดพ่อแม่ก็ไม่มีสัมมาคารวะ   พระโสดาบัน  พ่อแม่ก็ยังไม่มีสัมมาคราวะนี่   ไม่

เป็นโสดาบันหรอก   อาตมาไม่เอา   ศาสนาพุทธไม่เอาด้วย   ขนาดพ่อแม่ยังไม่มีสัมมา

คารวะนี่   ไม่ยกให้  จะมายกให้อาตมาคนเดียว  ก็ตามเถอะ  ไม่เอา  อาตมาก็ไม่รับ  

ไม่รับ ไม่นับด้วย อย่างนี้ เป็นต้น  เราต้องรู้ว่าคนควรสัมมาคารวะ   ไม่แต่เพียงพ่อแม่  

คนที่ควรจะยกไว้  ควรจะยกให้  ควรจะเข้าใจ  แม้แต่แค่สมมติ  เราก็ต้องยกให้  ผู้ที่มี

ฐานะทาง   สังคมที่เราเข้าใจว่าต้องยกให้  อย่างไรเราก็อย่าไปถือสา  อย่างนี้เป็นต้น  

แต่รู้ธาตุรู้ของเรานี่มันห้ามคนไม่รู้ไม่ได้หรอก   ถ้าคนที่ลึกซึ้งรู้ก็รู้  แต่รู้จักวาง  รู้  อันนี้

เราต้องยกให้  ก็ยกให้  แต่ธาตุรู้จะรู้ว่าสมควรหรือไม่สมควร  ดีหรือไม่ดีแท้  นี่ดีแท้แต่

ต้องจำนน  ต้องยกให้น่ะ  มันมีความฉลาดอย่างนั้น...เข้าใจ  แล้วความรู้  ก็คือความรู้  

สิ่งที่ต้องประพฤติ   ก็ต้องประพฤติ  ยกให้ก็ยกให้นะ  ยกให้ก็ไม่ใช่ยก  แต่ทางกายวาจา

เท่านั้นนะ   ใจก็วางด้วย  แต่รู้ก็รู้นะว่า  เออ!ก็ยกให้ไป  แต่ยังไม่ถึงภูมิ   ก็ไม่ถึงภูมิ

หรอก   คนนี้ยังไม่ถึงภูมิที่จะ...  ดีถึงขนาดว่าจะต้องยึดเป็น    ที่พึ่ง    เป็นที่จะต้อง

เคารพบูชาด้วย   ตามพิธีโลก  ก็เคารพบูชาอะไรอย่างนี้  ความเฉลียวฉลาดของคน     

มันจะแบ่งเอง   มันนจะบอกคนนั้นๆเองน่ะ  แต่คนนั้นดีจริงด้วย   ฐานะทางสังคมก็ดีด้วย  

ต้องยกให้ด้วย  ก็ยกให้ได้ทั้งนอก ทั้งใน  มันก็ประกอบกันไปน่ะ

         ส่วนข้อที่  4 เป็นทุคิตวินิบาตนั่นก็คือ  มันต่ำ  มันไปต่ำ  จนไม่รู้จะต่ำ  ตรง

ไหน   อติวินิบาต   มันต่ำจนไม่มีที่ต่ำอีกแล้ว  อาตมาแปลเป็นไทยว่าอย่างนั้น   เพราะ

ฉะนั้นต้องรู้ความต่ำ  ที่ไม่ต่ำกว่านี้อีกแล้ว  คนที่ต่ำกว่านี้  ไม่ได้อีกแล้วนี่  คือฐานะบุคคล

นะ  บุคคลที่เขาเห็นว่า โอ๊ย!ต่ำกว่านี้ฉันไม่เอาละ  แล้วคนนี้แข็งแรงจริงๆ  ไม่ต่ำกว่านี้  

ของใครของมัน   แต่ถ้าจะบอกว่าโสดา  ก็จะต้องประมาณว่า  โธ่เอ๊ย!ต่ำาดนี้นี่  มันไม่

น่าจะไปต่ำได้แล้ว   คุณก็ต้องรู้ว่า  เช่นว่าไปกินเหล้าอยู่นี่ เอ้อ!มันต่ำแล้ว  ถ้าคุณยังกิน

เหล้าอยู่  คุณก็ต่ำ  คนนี้บอกว่าต่ำกว่านี้  มันต่ำขนาดนี้  มันอติวินิบาต มันต่ำ  แต่ต่ำ

กว่านี้มีอีกนะในลักษณะ  คนต่ำกว่านี้มันไม่ใช่กินแต่แค่เหล้า  เล่นสิ่งเสพติดหนักหยำเปกว่า

นั้นอีก   ก็อีกขนาดหนึ่ง  แต่คนนี้นจิตสูงแล้วนี่  โอ้!เกรดนี้  เราตัดแล้ว  จะมากินแต่

เหล้าอยู่   เราไม่เป็นโสดาบันหรอก  เราไปดูดยาอยู่  ไม่ใช่  ว่าสำหรับเรานะอย่าไป

โทษคนอื่น    อย่าเอาไปตีคนอื่น   คนอื่นเขาอาจจะมีดีอันอื่นถัว   เขาอาจจะสูบยาแล้ว

ก็ไปตีขลุมไปหมดเลย    เกรดของเราสิ่งที่เราสำคัญของเรา   แล้วเราเอาไปว่าคนอื่น  

ไม่เอาน่ะ    ยังเป็นเหลาะแหละๆในเรื่องนั้น...เรื่องนี้   อย่างน้อยก็คือ    พูดกันรูป  

ธรรมง่ายๆ  ศีล 5 ไม่กินเหล้า  ถ้าบางคนก็ถือเอาไม่สูบบุหรี่  ไม่กินหมากอะไรก็แล้วแต่  

สิ่งเสพติดที่มันที่อยากอยู่นะ      มันน่าเลิกได้      ถ้าจิตเขาแข็งอันนี้     ก็ได้ทางนี้  

โสดาบันของจิต   เรื่องนี้แหละ   ให้มันได้ก็แล้วกัน  จะเอาเรื่องนี้ไปพิจารณา   พิสูจน์ 

เรื่องบุหรี่  เรื่องเหล้า  เรื่องหมาก เรื่องยา เรื่องสิ่งเสพติด  ซึ่ง...เราก็รู้อยู่แล้วว่า  สิ่งเสพติดแท้ๆอะไรอย่างนี้เป็นต้นได้    หรือแม้แต่เรื่องในภาษา  โอ!  เราจะพูดโกหก 

ลดเลี้ยว   อย่างโน้นอย่างนี้อยู่  อะไรต่างๆ  เราเอาขนาดไหนละ  อย่างนี้ถือว่าโกหก  

อย่างนี้ถือว่าส่อเสียด  ส่อเสียดคือการทำให้เกิดทะเลาะวิวาทแตกร้าว   อย่างนี้เรียกว่า

หยาบ   มันไม่เป็นสังคม  มันเป็นคำที่เขายอมรับกันว่าหยาบ   จะเอาแค่ไนนละ  อย่าง

นี้เพ้อเจ้อ  พูดแล้ว  ไม่ได้สาระ  พูดเปล่า ดาย สูญเสีย ไม่ได้ค่า ไม่ได้ประโยชน์คุณค่า

อะไรก็ว่าไปน่ะ  อย่างนี้ เป็นต้น

         เพราะฉะนั้นเราจะต้องตรวจสอบจริงๆ  คนเราจะหลงว่า...เราเอง  เป็น

โสดาบันนี่นะ  มันจะหลงตรง  ที่นึกว่าตัวเองฉลาด ฉลาดรู้ ฉลาดเข้าใจๆ    แต่อ่านจิต

ไม่เป็น  เพราะฉะนั้นอ่านจิตไม่เป็นแล้ว    ก็ตรวจสอบพวกนี้ไม่ได้ ตรวจจสอบอารมณ์    

นรก  อารมณ์เดรัจฉาน  อารมณ์เปรตวิสัย  โดยเฉพาะยิ่งอ่านเปรตวิสัยนี่ ยาก  เพราะ

เปรตวิสัย  คือต้อง ต้องการ  ความจริงต้องต้องการน่ะ  คือต้องการธรรมะ  เป็นธรรม

กาโม   ต้องใคร่อยากธรรมะ  เป็นนกามฉันทะน่ะ   ต้องมีความต้องการนะต้องการสิ่งดี  

ต้องการดี   มีความมุ่งมาด   มีพลังแห่งความต้องการ   คนเราไม่มีความต้องการก็

เฉื่อยๆไปหมดแหละ  ไม่ได้  เพราะฉะนั้นคำว่าอยากนี่  มันจึงซ้อนเหลือเกิน   ถ้าคนไม่

อยากก็ปล่อยเฉื่อยไปอย่างนั้นแหละ     หยุดอยากอะไรหมดเลย    ซื้อบื้อ    ซื่อบื้อไป 

โง่เง่าไปทิศเดียว   โดยไม่รู้เรื่อง  หยุด ไม่มีลำดับ  ไม่มีเบื้องต้น ท่ามกลาง บั้นปลาย  

แบบนั้นโง่ตายหมดเลย   เป็นฤาษีง่ายดี   ตัดปึ๊บ ปิดประตูทุกอย่าง   ได้แต่กดข่มไว้เลย  

ไม่ฟังเสียง...หยุด   แบบนั้นฤาษี  100% เพราะฉะนั้นเราต้องปรารถนา  เราต้องรู้ว่า

ปรารถนาวิเคราะห์ออกว่า   อันนี้เป็นธรรมะ  อันนี้เป็นอภิธรรม   จนกระทั่งทำให้มันลง

เป็นอัพยกฤต   อย่างมีปัญญา   อัพยกฤตก็คือหยั่งรู้เลยว่า   นี่มันกลางแล้ว   มัน

นิวตรอนแล้ว  มันไม่บวกไม่ลบ  มันไม่สุข มันไม่ทุกข์ อย่างที่ตัวทำเอง  ตั้งแต่ก่อนจิตเรา

เป็น    เดี๋ยวนี้จิตเราไม่เป็นแล้ว   เราวางได้   ปล่อยได้   อยู่เหนือมันแล้ว    คุณ

ลักษณะอัพยกฤต  อย่างเป็นโลกุตระอย่างนั้นน่ะ  จึงจะรอดพ้น  จึงจะสูงสุด  แต่ยังไม่สูง

สุด ก็มีอารมณ์ขนาดนั้นขนาดนี้  ก็ค่อยๆไล่ไป  แต่มันไม่รุนแรง  สรุปแล้ว  ก็คือโสดาบันนี่  

ไม่มีอารมณ์รุนแรง       แต่ปรารถนาที่จริงใจจริงจังมีพลังอิทธิบาท      มีธรรมฉันทะ  

หา!ธรรมกาโม เขาก็เรียก  คำว่ากาม  ก็แปลว่า ความใคร่ ความอยาก  ฉันทะ ก็แปล

ว่าความใคร่ ความอยาก  ความต้องการเหมือนกัน  ฉันทะเป็นความต้องการ  ความยินดี  

ยินดีในธรรม   ยินดีในกาม  เห็นไหม  แต่กามมันก็ซับซ้อน   ภาษามันซ้อน   ใคร่อยาก  

อยากอะไร   อยากในธรรมะ  ธรรมกาโม  ไม่ใช่ความผิด   เป็นโสดาบันก็ต้องมีธรรม

กาโมน่ะ  เพราะฉะนั้น  มันถึงซ้อนว่า  ความอยาก  ปิติวิสัย  แปลว่าอยาก  เปรตเป็น

ผู้อยาก   เมื่อมันอยากแล้วมันก็มีปัญญา  แล้วมันก็หลงตัวเอง อยาก  ฉันรุนแรงอย่างนี้ไม่

ได้  แรงไปก็เลยไปเป็น นิรยะ ปะทะ ทะเลาะ  อัตตาเอาแต่ใจตัว  เอาให้ได้ เอาให้ได้  เอาให้ได้  ทั้งๆที่มันเกิดการวิวาท บาดหมาง ทะเลาะ ไม่ประสาน  ไม่รู้จักถ่อมตน  

ไม่รู้จักยืดหยุ่น   ไม่รู้จักเขตควรหยุดควรพอ  ควรระงับได้แล้ว  ก็เรียกว่ามันไม่มีปฏิภาณ  

มีแต่อัตตามานะ  เป็นหลัก   อย่างนี้ก็ใช้  ไม่ได้  แล้วดึงดันดื้อด้านด้วยว่า   ไม่เปลี่ยน  

ฉันจะดึงดันอยู่อย่างนี้  ลึกๆ ปัญญาเข้าใจอยู่แล้วว่า  มันไม่ถูก  แต่ไม่ยอมแก้  ถ้าไม่ยอม

แก้    ก็ไม่ได้เจริญ   ไม่เจริญ   ไม่ขึ้นเขต   มันรู้สึก    ไม่ได้หรอก    นี่อัตตามัน  

โอ้โห!เรื่องอัตตานี่  อาตมาไม่รู้  จะทำอย่างไร  รู้ทั้งรู้ด้วยว่าจำนนแล้วละ  ว่ามันไม่ดี  

แต่กูก็จะเป็นอย่างนี้    ขอไปอย่างนี้อีกล้านชาติ   โธ่เอ๊ย!ไม่รู้จะทำอย่างไร   นี่แหละ

เลือดอัตตานี่   มันถึงขนาดนี้นะ  มันยึดอยู่อย่างนั้นแหละ  กู กู กูจะเอาอย่างนี้  ขนาดผู้

ใหญ่บอก  ว่าเลิกเถอะ  เฉย ไม่ใช่เฉยด้วยนะ  ขอ ขอเอาอย่างนี้...ขอดื้ออย่างนี้  นี่ 

คือเลือดอัตตาทั้งนั้นน่ะ  ปิติวิสัย  ต้องบำบัดความต้องการของกูให้สมใจ  แบบนี้คลายยาก  

แบบนี้จะไปเจริญ  จะไปสู่อรหันต์ยาก นาน น่ะ ยากนาน

         เพราะฉะนั้นสรุปแล้วอติวินิบาต  ทุคติวินิบาต นรกนี่รวม  รวมทั้ง 3 นี่  รวม

ทั้ง 3 สภาพนี่  ไอ้ที่มันต่ำขนาดที่ตัวเองต้องตัดเกรด  ของตนเอง  เพราะฉะนั้น ถ้าผู้ใด

นะ   มาตัดเกรดของวามต่ำของตัวเองไว้   สูงหน่อย สูงหน่อย   ว่าต่ำกว่านี้ข้าไม่เอา  

ข้าไม่เอา   คุณก็ทำให้ได้  มันก็เจริญของคุณ  คุณก็ประมาณของคุณเอา  เช่นว่าคุณตัดว่า  

เอาละ   คุณไม่มีอบายมุขแล้ว  หมด  เสร็จแล้วคุณก็  บอกว่ากาม โลกธรรม ลาภ  ยศ 

สรรเสริญนี่   เราก็  แหม!มัน...เร่าร้อน  มันยังอยาก   มันยังใคร่   มันยังต้องการ  

หอบ หาม กามก็ดี ตา หู จมูก ลิ้น กาย  มันก็ไม่ได้หยาบ  เหมือนพวกอบายมุขแล้ว  คุณ

ก็ตัดอันนี้ว่าเป็นเขต   ถ้าต่ำกว่านี้คือ  อติวินิบาตทุคติ  เราไม่เอาแล้ว  เราจะศีล 8 ก็

ตัดไป   เพราะฉะนั้น โสดา สกิทา ก็ไล่ขึ้นมาตามลำดับอย่างนี้...  

          ทีนี้คุณลักษณะอีก  4  ของโสดา  4  ข้อนี้  ขีณนิรยะ   ขีณเตรฉานโยนิยะ  

ขีณปิติวิสยะ ขีณาปายะทุคติ   วินิบาต   วินิปาตะ  ขีณาปายทุคติวินิปายะนี่ 4  ข้อแรกนะ  

หมายความว่า   จะต้องสิ้นสุดในภูมิต่ำนี้  ต้องอ่านภูมิภพ ของจิตวิญญาณเป็น   ทีนี้ตัวที่จะ

เป็นตัวยืนยันอันนั้นต้องหมด อันนี้ต้องมี   4  อันหลังนี่มี   คือโสตาปันนะ อวินิปาตธรรม  

นิยตะ   สัมโพธิ ปรายนะ  อีก 4 ลักษณะนี้  อันนี้ต้องมี  อันนั้นต้องหมด  4 อันแรกต้อง

หมด   4 อันหลังต้องมีคุณลักษณะอันนี้ต้องมีในตน  เข้ากระแสโสตาปันนะ  จิตของเรา

เข้าลักษณะกระแสทิศทางที่มันไม่ไปแล้วโลกต่ำเหล่านั้น  ดับไม่มี ขีณะสิ้นสุดกัน  ไม่เวียน

ลงไปต่ำนั้นอีก  มีแต่กระแสอีกทิศทางหนึ่ง  ไม่เวียนลงไปต่ำนั้นอีก น่ะ  ไม่  เวียนให้ได้  

แม้จะมีในจิตนี่นะ...  โสดาบันมีในจิตบอกว่า  เออ!ยังยินดีอยู่บ้าง  แต่อย่างไรๆ  คุณก็

ไม่เอา  นี่มันตัวสำคัญ  อย่างไรๆก็ไม่เอา  มันอาจจะมีใจ...   ดีบ้างเหมือนกันนะ     

บุหรี่นี่   ดีบ้างเหมือนกันนะ  เหล้านี่  แต่ให้ตายก็ไม่เอา  จิตใจไม่เอา   แหม!ไอ้เขา

ทาลิปสติกนี่ก็ดู   แหม!มันชื่น  เคยประทับใจด้วย...ไม่ได้ทานี่มันรู้สึก   ว่าขาดอะไรไป  แต่ก่อนนี้ละนะ   มันรู้สึก...มันทาแล้วชื่นใจ เป็นสุข  เดี๋ยวนี้มันก็ยังมีอา...อาการจิต

นิดๆ  แต่ให้ไปทำจริงๆไม่เอา... กระดากมากกว่าแล้ว  หิริโอตตัปปะ  เป็นเทวดาแล้ว  

อาย  มันหิริ   ถ้าจำเป็น ก็ทำไปอย่างนั้นแหล   ยอม  จะทาจะทำอะไร  ก็ยอมไป

แค่นั้นแหละ  จำเป็น   แต่จิตจริงๆ    ต้องอ่านจิตจริงๆตัวเอง  ไม่ได้ยินดี   ไม่ได้  

มันยังละอายอยู่ มันยับอะไร อย่างนี้เป็นต้นน ไม่ว่าอะไรละ  ทางโลกียะที่เราจะตัดเกรด

ที่ว่า  ถ้าเราจะไปแต่งแบบโลกๆ  แบบนี้นะ  แต่งตัว

         อย่างผู้หญิงนี่อาตมาอธิบายๆ   เพราะว่าทุกวันนี้  คนเราทุกข์ร้อน   ผู้หญิงนี่

ทุกข์ร้อนเรื่องพวกนี้มากจริงๆ  มันมอมเมาประเล้าประโลมกันมากเหลือเกิน  เเรื่องแต่ง

ตัว เรื่อง...อะไรต่ออะไรต่างๆนานานี่  มันเยอะไป  

          เพราะฉะนั้นเราก็ตัดเกรดของเรา   ที่อาตมาบอกแล้วว่า  ไอ้เรื่องเครื่อง

แต่งตัวนี่  มันเป็นอบายมุขของผู้หญิงนี่  นี่เรามาพิสูจน์จิตของเราสินี่ เราไปติดไปยึดอะไร

นักหนา   ลดมาได้  เราก็จะได้รู้  อ๋อ!อันนี้  อาตมาขอบอกว่าพวกเราชาวอโศกนี่   ผู้

หญิงชาวอโศกนี่  แต่ก่อนนี่เฟี้ยวฟ้าวมา  แต่งอะไรมา  ยังกับอะไร  ก็แล้วแต่  มาถึงวัน

นี้แล้วนี่นะ   หลายผู้หลายคน  พวกเรานี่  ไม่ใช่ภูมิ  เรื่อง ถ้าเอาแต่เรื่อง แต่งตัวนี่    

มันไม่ใช่ภูมิโสดาหรอก  พวกคุณหลายคนเป็นอนาคาขึ้นไปแล้ว    อนาคาในโสดานะ  ใน

เรื่องของการแต่งตัว    สำหรับผู้หญิง   บางคนนี่เป็นอนาคาขึ้นไป     คือมันมีรูปราคะ 

อรูปราคะ  นิดๆพริ้วๆพรายๆหรอก  ที่จริงเหนื่อยๆเอาไม่ทำหรอก   แต่ก็ไม่ถึงขนาดผลัก

ชังแล้วทุกข์นะ   ถ้าใครทำก็ทุกข์ ถือสากันหมด  อย่างนั้นไม่ใช่อนาคา  ยังปฏิฆะ  ยังใช้

ไม่ได้...     อนาคาต้องไม่มีปฏิฆสังโยชน์    ใช่ไหม     เพราะฉะนั้นใครจะแต่งก็ 

เออ!เรื่องของเขา  แต่เราเอง เราไม่หรอก   สำหรับตัวเราอย่างนี้เป็นต้นน่ะ

         เพราะฉะนั้น  โสตาปันนะเข้ากระแสแล้ว   จิตนี่มีภูมิเข้ากระแสมาทางนี้แล้ว  

อวินิปาตธรรม   ไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา  นี่ท่านแปลเป็นภาษาสำนวนในพระไตรปิฎก  แปล 

อวินิปาตธรรมไว้อย่างนั้น   ดีแปลไว้สวย  ไม่ตกต่ำไปเป็นปกติ เป็นธรรมดา  เป็นเรื่อง 

normal   เป็นเรื่องสามัญของผู้นี้แล้วไม่ตกต่ำอย่างไรก็ไม่ตกต่ำหรอก  เป็นแล้วเป็นเลย 

ว่าอย่างนั้นเถอะ   แปลเป็นไทยชัดๆว่าเป็นแล้วเป็นเลย  แล้วไม่ต่ำไปอีกหรอก  เป็นข้อ

ยืนยันนะ   มี    อาจจะไม่ต่ำ  แต่ก็เลื่อนอย่างนั้น  บางทีก็วื้ด  วื้ด...เป็นยางยืด  

จนกระทั่งสุดท้าย นิยตะ แน่แท้ เที่ยงแท้  ยืนหยัดขึ้นมา  นิยตะ  ไม่ลงไปขีดนี้เด็ด...ไม่  

มีเกรดเท่าไหร่คุณก็ว่าไว้  เกรดนี้ เขตนี้ ไม่ล่วงล้ำไม่ตกต่ำกว่าอันนี้จริง  แล้วเที่ยงแน่ๆ  

ชัวร์ป๊าบ  นี่ต้องใช้สะแลง   สมัยใหม่เสียหน่อย  ชัวร์ป๊าป แน่ เที่ยงแท้ นิยตะ  ไม่แปร

เปลี่ยน

         เพราะฉะนั้นอาตมามั่นใจในศาสนาพุทธนี่  คุณธรรมของศาสนาพุทธนี่  ได้จริง  

เป็นของจริง   เป็นสัจธรรมแล้ว  มันไม่เปลี่ยนแปลง  มันยืนหยัด  เพราะฉะนั้น คนได้คนเดียว    ก็แล้วแต่   คุณก็เป็นของคุณอยู่คนเดียว   คุณไม่เปลี่ยนไปอื่นหรอก   แต่มัน

มีอิทัปปัจจยตา  มันมีลูกมีหลาน  เอาลูกเอาหลานทางธรรมนะ ไม่ใช่เป็นลูกเป็นหลานทาง

โน้น  อย่าเพิ่งคิดมาก... จริงๆมันมีลูกมีหลาย        อิทัปปัจจยตา  ต่อลูกต่อหลาน

ได้ยิ่งเที่ยงแท้   แล้วก็มีคุณภาพสมบูรณ์ เป็นพ่อ เป็นแม่คนได้ อย่างว่า อย่างนั้นนะ  เป็น

พ่อเป็นแม่ของทางอาริยะนะทางโอปปาติกโยนิ   เกิดทางนามธรรม  ไม่ใช่ไปเกิดพ่อแม่

ทางโน้น   ต้องเข้าใจสัมมาทิฐิ 10 มิจฉาทิฐิ 10 ให้ได้   มาตา ปิตา  ก็อย่างธรรมะ  

อย่างไม่ใช่ไปทางพ่อแม่ตัวตน   บุคคล  แท่งก้อน  ผู้หญิงผู้ชายน่ะ แล้วก็เกิดทางนี้ มีลูก

ทางนี้จริงๆ    

          เพราะฉะนั้นอาตมาไม่กลัวว่าจะสูญพันธุ์อาริยะ     หากเกิดอาริยะจริงแล้ว  

อาริยะต้องมีลูกมีหลาน    เพราะไม่ถอยไปไหน   ไม่ถอยไปต่ำกว่านี้   มีแต่จะแพร่พันธุ์  

กรรมพันธุ์  แพร่โดยทางกรรมนั่นแหละ  เราก็ทำทุกวันนี้  เรามีกิจกรรมมีพฤติกรรม   มี

พิธีกรรม   มีกรรมกันอยู่  ทุกวันนี้...น่ะ  เพราะฉะนั้นนผู้ที่เที่ยงแท้   นิยตะจะต้องมีคุณ

ลักษณะอันนี้   คุณจะต้องตรวจว่า  เออ!อันนี้มันต้องเรียกว่านิยตะได้แล้วนะเรา   มันยัง

กระดุ๊งกระดิ๊งอยู่นะอันนี้   คุณจะต้องรู้เลยว่า  โถ!เราทำไมไม่มั่นคง  ไม่เด็ดขาด  ไม่

แน่นอนน่ะ   ยังวูบๆวาบๆ  ยังไอ้โน่น แหม!มันก็ดีอยู่นะ  โลกียะอย่างนี้ไอ้อย่างนั้นเลย  

อะไรก็แล้วแต่   มันก็ไม่จริงน่ะสิ  แต่ถ้าจริงแล้ว มันเด็ดเดี่ยว  มัน เอ้อ!มันจะรู้เลยว่า

ใจเราว่าง  โล่ง สบาย  ไม่ฝืน ไม่ฝืด โอ้ย!สบาย ง่าย  วันหนึ่ง คืนหนึ่ง ปีหนึ่ง  5 ปี 

10  ปี 100 ปี มันก็จะยืนหยัดยืนยัน  บอกเราเองเลยว่า  อันนี้  มันจะมีเหตุปัจจัยนี่ทด

สอบ  ถึงบอกว่าไม่ต้องหนีไปไหนหรอก  อยู่ตามธรรมชาตินี่   ไม่ต้องเจตนา  มันจะเป็น

จะมีเอง  ไม่ต้องเจตนา มันก็ เออ!โจทย์ อันนี้  ไม่มีปัญหาน่ะ

         มีแต่ข้อสุดท้ายข้อที่  8  หรือส่วนดีข้อ  4  สุดท้ายนี่   สัมโพธิปรายนะ   มี

แต่จะเป็นผู้ที่ถึงที่สุดได้อย่างแน่แม้      เป็นผู้ที่มีการตรัสรู้เป็นที่สุด     ในเบื้องหน้า  

สัมโพธิปรายนะ   เป็นผู้ที่จะถึงที่สุดแห่งการตรัสรู้ในเบื้องหน้า   เที่ยงแท้ที่จะเป็นอรหันต์  

สรุปง่ายๆ  โสดาเราก็เที่ยงแท้ที่จจะเป็นอรหันต์ แน่นอน  เด็ดขาดเข้ากระแสนี้แล้วยืนยัน  

เพราะฉะนั้นในคุณลักษณะที่เที่ยง     แล้วก็ไม่มีทางเปลี่ยนเป็นอื่นยืนหยัดยืนยัน    สัจจะ 

สัจธรรมของพระพุทธเจ้า    อาตมาจึงมั่นใจว่า    ถ้าแน่แล้วได้แล้ว   ไม่มีใครทำลาย  

ถอนรากไปไม่ได้หรอก    เพราะว่าหยั่งลงไปแล้วไม่เปลี่ยนแปลง เป็นหนึ่ง  มีแต่ทิศทาง

สัมโพธิปรายน่ะ   มีแต่จะเจริญท่า   เดียว  ของจริงต้องเป็นอย่างนั้นนะ  ไปติดแป้นอยู่

กับหลัก  กับที่... มันโสดาบันแบบไหน  โสดาอยู่กับที่  โสดาก็มีแต่วุฒิๆๆๆ  ให้มันตรงให้

มัน  แหม!ไม่ใช่   วุฒิ... นาน   ที่  มันยาวเหบือเกิน  มันเล่นขึ้นแบบเอนๆแบบนี้ (นี่

อาตมาทำมือให้ดูนะ) คนไม่ได้มาดู  ฟังแต่เทป  ก็ไม่รู้เรื่องว่าอาตมาทำอะไร มันขึ้นสูง

เหมือนกัน  มันสู่ที่สูง...แต่สูงแบบ  แหม!ไม่ตกลงไปอย่างนี้  ก็บุญแล้วละนะ  องศาแบบงูเลื้อยอย่างนี้  โอ๊!ตาย ช้าตาย  มันต้องวุฒิๆ นี่  แหม!คนนี้ถ้ารักษาอย่างนี้ได้  แต่หา

ยากนะ   อย่างนี้    หมายความว่าตรง  90  องศาขึ้นไปเรื่อยๆ   นี่   โอ๊ย!หายาก  

หา!จรวดเขายังเป๋บ้างเลย   นั่นน่ะ  แบบจรวดนั่น  วุฒิๆ   เอาเถอะมันจะ   อย่างนี้

บ้างก็   ไม่ใช่อย่างนี้  อย่างนี้  โอ๋!เลื้อยอย่างนี้  ไม่ไหวหรอก   ดีไม่ดีเลื้อยไปอย่าง

นี้...  อุตส่าห์ลดไปนิดหนึ่ง  เอ๊ย!ดึงขึ้นมาทัน  อะไรอย่างนี้  โอ๊!ตาย  มันวาบ มัน

วูบวาบ มันไม่ไหวแล้ว  หวาดเสียว...ตกเอาง่ายๆน่ะ

         เพราะฉะนั้นเราจะต้องพากเพียรจริงๆ         พากเพียรไปให้มันได้กำลัง

อินทรีย์พละที่ดีตรงวุฒิ   พระพุทธเจ้าท่านไม่สรรเสริญคนหยุดอยู่     หยุดอยู่ไม่ใช่เนื้อแท้

หรอก   ต้องพัฒนาเจจริญ   แล้วเราก็ไม่ได้หยุดการสั่งสอนกัน   ไม่ได้หยุดการพัฒนากัน  

มิตรดี  สหายดี สังคมสิ่งแวดล้อมดี  โอ๊ย!ช่วยกันยังกับอะไรดี  เทศน์ทีไร เกินเวลาทุกที  

เสร็จแล้วก็แช่ง   โอ๋ย!เกินเวลาอีกแล้วไม่ซื่อสัตย์ต่อเวลา  แน่ะ   เห็นไหม  เก่งเสีย

ด้วยนะ...เก่งเสียด้วยนะ  ไม่ซื่อสัตย์ต่อเวลา ดูซิ แล้วยังจะมาเป็นอาจาย์  เป็นครูคน  

เลยเวลาแล้ว    ยัง โธ่!อยากหยุดตั้งนานแล้ว(เสียงพูดแทรก เป็นสัญชาติแห่งคนตรงน่ะ 

เดี๋ยวพ่อท่านไม่เป็นสัญชาติแห่งคนตรง ต้องตรงสิ)  ไม่ตรงเวลานี่ ไม่ใช่สัญชาติแห่งคน   

ตรงนะนี่  ก็ว่าไป  หา!...ใครอะไรนะ  ใครแช่งก็ไม่ใช่โสดาบันหรือ  ใครแช่งก็ไม่ใช่

โสดาบัน

         เอาละนี่ได้ขยายความอย่างง่ายๆ  มีเวลามากหน่อย  ขนาดมากขนาดนี้ยังแค่

นี้นะ  เพราะฉะนั้นใครอยากฟังมากกว่านี้  ก็ต้องมาอยู่ใกล้ชิด  ท่านบอกว่าเป็นผู้ที่เข้านั่ง

ใกล้  พยายามเข้านั่งใกล้  เงี่ยโสต สดับแล้วก็รับธรรมน่ะ  เพราะฉะนั้นการเข้านั่งใกล้

เสมอๆนี่   ก็เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้านะ  แต่ผู้หญิงระวัง    หน่อยน่ะ  เข้านั่งใกล้ก็

ระวังหน่อย  ผู้หญิง  ต้องรู้จักลีลา  ว่า โอ๊ย!เข้านั่งใกล้มากเกินไป   คนเขาก็ไม่ไว้ใจ

หรอก   เฮ้ย!มันมานนนั่งใกล้เอาอะไรกันแน่   ทั้งๆที่ใจบริสุทธิ์ว่าจะมาเอาธรรม  เอา

ธรรม  ก็ไม่ค่อยดี ต้องดู ระมัดระวังท่าที  มาแต่มาประกบเรื่อยเลย  โอ้โห!จนพวกเรา

มีศัพท์สำนวนว่ากุมารทอง    เขาไม่ว่าผู้ชายหรอก    ผู้ชายกับสมณะเขาไม่ว่ากุมารทอง  

เขาว่าผู้หญิงใช่ไหม   กุมารทอง ก็หมายความว่าไปไหนไปด้วย        ไอ้ลูกไปไหนไป

ด้วย...แง งอแง เกาะติดไปอย่างนั้นละนะ  อย่างนั้นเขาเรียกว่ากุมารทองกัน  พวกเรา

มีสำนวนนี้   ก็ระมัดระวัง  ต้องมีลีลา รู้จักกาละเวลา  รู้จักว่า เออ!ควรเข้าใกล้   ที่

จริงพระพุทธเจ้าสอนให้เข้าใกล้  ให้นั่งใกล้  เข้าเงี่ยโสตสดับรับธรรม  แล้วก็ปฏิบัติตาม  

มันก็จริงคำสอน  แต่ไม่ใช่ซื่อบื้อ ทำจนน่าเกลียด  ก็ต้องรู้ว่า เออ!เราเป็นผู้หญิง  ผู้ชาย

แท้ๆยังไม่ค่อยเข้านั่งใกล้อาตมาเท่าไหร่เลย  ขนาดผู้ชายท่านยังมีเวลา วาระนะ  ผู้ชาย

อย่างสมณะอย่างนี้   ท่านก็มาตามวาระเวลา  ทั้งๆที่ท่านก็นั่งใกล้อย่างนี้   ไม่มีใครเพ่ง

โทษหรอก  ใช่ไหม ผู้ชาย...  หือ!เป็นตุ๊ดหรือ หือ ติด อ๋อ! ติดอาตมามากไป  ผู้ชายติดอาตมามากไป   ไม่มีนี่   ไม่ค่อยมี มีหรือ ติดมากไปหรือ...ระวัง   ผู้ชายก็มากเกินไป  

ติดมากเกินไป  เห็นไหม  ไม่มองไปในแง่ตุ๊ดหรอก  แต่มันแค่มากไปก็ยังได้  เห็นไหม  

เป็นผู้ชายก็ตาม   แต่ไม่นะ   อาตมาว่าดูขนาดนี้ ใช้ได้น่ะ  แต่ก็เถอะ  เราก็ต้องรู้ นี่

แหละคือค่าที่มันอธิบาย  ตัดเกรด   ตัด พัวะๆ    ตรงไหน  มันยาก   แต่ก็ต้องควรพอ

เหมาะพอดีน่ะให้รู้จักความสมควรพอเหมาะน่ะ

         ผู้ที่เข้ามานั่งใกล้    ผู้ที่เข้ามารับฟัง   ติดตามเสมอก็ได้มาก   เสร็จแล้ว

ต้องวุฒิๆ   ต้องเจริญตลอดเวลาน่ะ  ไม่ตกต่ำเป็นธรรดมา  

          อันนี้ก็คุณธรรม  8 ประการของโสดาบัน  

          อาตมาไม่ทวนสังโยชน์   ก็อธิบายประกอบอยู่เสมอ  ศีล 5  ก็อธิบายเสมอ  

พุทธ  ธรรม สงฆ์ก็อธิบายเสมอ  อันนี้นี่เอามาตัวล่า ตัวหลัง  ก็เอามาอธิบาย   เพราะ

ฉะนั้นในนัยที่ว่า   ผู้ที่มีองค์คุณคือศีล 5 นี้สมบูรณ์บริบูรณ์  เป็นพระโสดา  ศรัทธาพระพุทธ 

พระธรรม  พระสงฆ์   ชนิดปรมัตถ์นะ  ไม่ใช่ศรัทธาพระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์ชนิด  

หมายถึงพระพุทธรูป  แล้วก็พระไตรปิฎกอะไร  หรือก็แค่พระสงฆ์  ก็คือเอาคนนโกนหัวห่ม

จีวรก็เป็นพระสงฆ์เฉยๆ  ไม่ใช่  ต้องมีพุทธ ธรรม สงฆ์ ที่เข้าใจอย่างนัยมีปัญญาน่ะ  ถึง

พระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์  เข้าถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์   ศรัทธาพระพุทธ 

พระสงฆ์ อย่างจริง  มีปัญญามีอินทรีย์ 5  มีศรัทธินทรีย์  มีปัญญินทรีย์ด้วยนะ  เพราะเรา

ได้ฝึกหัดวิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ที่จริงนะ  และเป็นผู้ที่พ้นสังโยชน์ 3  แล้วก็

เข้าข่ายในองค์คุณ  8 นี้  สิ่งที่ดับใน 4 ข้อแรก  ขีณะ ก็ได้สิ้นสุดหมด   สิ่งที่จะต้องเข้า

กระแส   เป็นคุณลักษณะ  4 ตั้งแต่โสตาปันนะ ถึง...สัมโพธิปรายนะก็ต้องมีจริง   จึงจะ

เรียกว่าโสดาบันน่ะ

         อาตมาว่าที่ฟังๆกันนี่   ก็เข้าใจภาษา  โดยเฉพาะคนที่ใหม่   ก็คงจะยากอยู่

แล้วละ    พยายามฟังอีก    แล้วก็มาเรียนรู้    ผู้ที่ฟังภาษา    ก็ฟังภาษาไปอย่างนั้น  

ภาษาบาลงบาลี   ก็ไม่ค่อยกระดิกหูเท่าไหร่ละนะ  แต่ฟังแล้วขยายความไอ้โน่นไอ้นี่   ก็

เข้าใจได้นัยที่มันชัด  เป็นภาษาไทยๆ  ภาษาที่อาตมาอธิบายขยายกระจายความ  เข้าใจ  

เนื้อหานี้  ได้แล้ว  จำบาลีพวกนี้  มันไม่ได้ก็ไม่ต้องไปติดใจ  อะไรมากมายหรอก  คนที่

จำได้   เพื่อที่จะอาศัยไว้ เพื่อประกอบการอธิบาย  ก็เอา จำไปได้  คนจำไม่ได้แต่เข้า

ใจความหายที่ชัดเนื้อหาที่แท้  เอาไปตรวจจสอบความจริง นั่นละ  คือตัวแท้  ตรวจสอบ

แล้ว   โอ!คุณลักษณะอย่างนี้  สิ่งนี้ควรดับ    สนิทสิ้นขาด  ขีณะ ให้ได้ ก็ ขีณะ   อันนี้

ต้องเข้ากระแสอย่างนี้   แล้วก็ต้องเป็นการไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา  มั่นคง เที่ยงแท้ ขนาด

นี้   มีแต่เจริญๆ  เราก็เจริญไปอยู่ตลอดเวลา  โสดาบันมันก็ต้องเป็นเช่นนั้น   โสดาบัน  

มีความไม่เจริญ  ไม่ใช่  โสดาบัน  ติดแป้นหยุดเฉื่อยอะไรต่ออะไรไม่เป็นหรอกนะ  

          นี่คือขอบเขตที่อธิบายสู่ฟังว่า    เราจtความรู้อย่างไร   

          มีคนถามมาว่า   ถ้าโสดาบันยังม่หมดโทสะ   แล้วจจะพ้นนรกได้อย่างไรคะ  

          นรกก็บอกแล้วว่า   มันความเร่าร้อน   ถ้ามันยังมีความอึดอัดความขัดเคือง  

ความอะไรอยู่บ้าง  ไม้พ้น ปฏิฆะ  ยังไม่หมดหรอก  ความไม่สบายใจ ยังโทสมูลในสาย 

ปฏิฆะ   ยังมีโกรธนิดๆ  ไม่รุนแรง  มันมีโกรธก็นิดๆ  มันมีโน่นก็หน่อยๆมันก็ไม่ถึงขั้นต้าน  

ขั้นดื้อ  อย่างที่ว่านี่  ดื้อ จนไม่ยอม  ไม่มีสัมมาคารวะอะไร  อธิบายไปมากมายแล้วย่อม

จะรู้  

          เพราะฉะนั้นคนที่ยังโกรธ   ยังเคือง  ยังถือสา  ยังผลัก ยังใส ยังชิง ยัง

ชัง ยัง ยังมาก มันก็มาก   มันก็ใช้ ใช้ไม่ได้  มันก็ไม่ใช่โสดา  มันไม่มากไม่มาย มันไม่ 

มันไม่  แต่มันก็ยังมีโสดายังมีโทสะ  โสดายังมีโลภะ  ยังมีราคะ  สกิทา ก็มาลดสิ่งเหล่า

นี้ลงไปอีก   ถ้าเราประมาณไว้นะว่า  ไอ้ขนาดนี้คือแรง  แต่คุณไปประมาณว่าที่จริง  มัน

ไม่แรงเท่าไหร่  มันไม่แรงเท่าไหร่  แต่คุณว่ามันแรง  แล้วคุณจะต้องเอาให้ดี  กว่านี้  

มันไม่เสียหลายนี่    แต่ขนาดว่านี่แรงแล้ว   คุณก็ยังว่าไม่แรง   เมื่อไหร่คุณจะเป็น

โสดาสักทีละ  นี่มันเป็นการประมาณของเรา  คือการรู้อารมณ์นะ  อารมณ์ ขนาดนี้   มัน

แรงแล้วนะ   คนอื่นนี่  โอ้โฮ!แรงแล้ว  คุณก็บอกไม่แรงหรอก  ขนาดีนี้นี่   ถ้ามีอาการ

ขนาดนี้เป็นโสดาบันได้   คุณก็ตัดเกรดของคุณเอาเอง   มันโสดาอะไรกันแรงๆแบบนี้  

มันต้องพ้นแรงนี้ไปในขนาดนี้  คุณไปเข้าใจผิดอีกว่า  มันที่จริงมันไม่แรงแล้ว แต่คุณก็ยัง

เห็นว่า    อื๊อ!ยังแรงอยู่นะสำหรับเรา   ถ้าคุณ เข้าใจอย่างนี้  ไอ้ที่แรงจริงๆนั่น  คุณ

หมดแล้ว   เหลือแรงขนาดนี้   คุณก็ยังว่าแรงสำหรับคุณ   แต่ความจริงคนอื่นเขาเห็นว่า  

โอ๋!นี่มันเกรดของสกิทา   ก็ไม่เห็นแปลกอะไรนี่  คุณก็กำไรแล้วละ   ยังตัดเกรดอันนี้ว่า  

ถ้าโสดาแรงแรงขนาดนี้  จนกระทั่งคุณมาอยู่ในเกรดของสกิทาแล้ว  คุณก็ยังบอก  ว่าแรง  

นี่ยัง ยังไม่พ้น   โสดา  ยังไม่พ้นโสดา  ยังแรงอยู่  จริงๆนี่  คุณหยุดแรงๆ พวกนี้มาได้

แล้ว   ใช่ไหม   แต่คุณก็บอกว่านี่มันยังแรงสำหรับเรา     ความจริงคุณอยู่ในเกรด

ของสกิทา  แล้ว  ถ้าคุณเป็นจริงอย่างนั้น  ก็จะไปแปลกอะไรเล่า  ยี่ห้อผิด  แต่เนื้อแท้

มันใช่  ชื่อเจ้าจน แต่มันมีเยอะแยะ  ชื่อเจ้ามี...แหม! โอ้โห!อดอยากปากแห้งเลย    

เจ้ามี  แต่มันอดอยากปากแห้ง แค่นั้นเอง  ยี่ห้อมันผิดแต่ตัวความจริงเขาได้แล้ว  มันก็ไม่  

เป็นไร  แต่จะให้จริง ทั้งบัญญัติ ทั้งพยัญชนะ อนุพยัญชนะ ทั้งสาระ ให้มันตรงกันสิมันจะดี  

แต่ถ้ามันผิดพลาดแบบติดพยัญชนะอยู่เท่านั้น  แต่เนื้อแท้นั่นมันดีแล้ว ก็ดี  แต่ก็ระวังอย่า

ไปหลงติด   ไอ้ตัวพยัญชนะว่าดีแต่เนื้อแท้เลว   ก็แล้วกัน  ไอ้อย่างนั้นเสียหาย  

ไม่เข้าท่าแน่นะ

 

         พระโสดาบันยังขี้เกียจอยู่  หรือเปล่าครับ  

         มี จะบอกให้  ไอ้ตัวขี้เกียจนี่ กินลึกมาก  มันไม่ใช่ขี้เกียจหยาบๆหรอกนะ  ขี้เกียจอืดอาด  ขี้เกียจ มันจะรู้น่ะ  ท่านจัดเอาไว้  ในอบายมุข  และสุดยอดไปถึงความขี้

เกียจนี่   เราอยู่ที่ประมาณ   เรารู้สึกว่า เอ๊!ทำไมเราไม่ขยัน  ไม่กระปรี้กระเปร่า  

ทำไมเราอืดอาดอะไร    อย่างนี้   มันก็ขี้เกียจ  นัยอย่างนี้   เราจะรู้   เอ๊ะ!นี่เรา

สมควรนะ   เราเมือยก็ไม่เมื่อย  ป่วยก็ไม่ป่วย โอกาสก็มีเวลาก็มี แต่ร่องแร่งๆอะไร    

เอ๊!เราคนขี้เกียจ หรือเปล่า  ทำไมเราไม่ทำสิ่งที่ดีที่งาม  ทำไมไม่ขยัน  ทำไมไม่เอาใจ

ใส่เรื่องการงาน  ปล่อยเปล่าๆ ทำไม  เราก็ต้องรู้ลักษณะพวกนี้ของเรา  แล้วก็พยายาม

อย่ากลายเป็นคนขี้เกียจ   อย่ากลายเป็นคนเปล่าดาย  วันนี้ว่าจะอธิบายให้ถึงคุณลักษณะ 

ของพระอรหันต์  เขตตัดก็หมดเวลาแล้ว  เลยเวลาไปแล้วก็เอา ขอต่อไว้คราวหน้า

         โพชฌงค์   7  ตัวธัมมวิจัย   ต้องมีหิริโอตตัปปะด้วยหรือไม่   ธัมมวิจัยต้อง

มีหิริโอตตัปปะด้วยหรือไม่    

          เมื่อเรามีธัมมวิจัยนั่นแหละ  เมื่อวิจัยออก รู้จักว่าอาการอารมณ์ของจิต   ที่  

หิริเป็นอย่างไร    อาการอารมณ์ของจิต   สภาวะของจิตที่เป็นโอตตัปปะ  เป็นอย่างไร   

หิรินั่นมันละอาย  แค่ละอายนะ   แต่มันไม่ถึงขั้นกลัว  แต่โอตตัปปะนี่  มันขั้นกลัว  บอก 

เอ๋อ!ไม่เอาหรอกอย่างนี้  แต่หิรินี่ ไม่แน่ ยั่วหน่อยๆ  มันไม่กลัว มันเอานะ  มันอายเท่า

นั้นเอง   แต่ถ้าได้ช่อง  ได้โอกาสนี่  เอานะ  หิรินี่ยังอ่อนกว่าโอตตัปปะ   โอตตัปปะนี่

คุณภาพเข้มกว่าหิริ   มันละอายต่อบาป    มันกลัวต่อบาป   เขาแปลเป็นภาษาไทยว่า  

หิรินี่อาย   โอตตัปปะนี่กลัว เกรงกลัว  เพราะฉะนั้นน้ำหนัก ความเลิกบาป  หรือว่ากลัว

บาป   หรือไม่ทำบาปนี่  หิริกับโอตตัปปะ มันต่างกัน  ถ้าคุณมีธัมมวิจัย วิจัยธรรมะของคุณ  

วิจัยจิตใจของคุณนั่นแหละ   ถามว่าในธัมมวิจัยนี่  จะต้องมีหิริ โอตตัปปะหรือเปล่า  ก็คุณ

วิจัยเจอหิริ  เจอโอตตัปปะของคุณหรือเปล่าเล่า  คุณเข้าใจหรือไม่ล่ะว่า  อาการของจิต

ที่มันมีหิริ  โอตตัปปะ มันเป็นอย่างไร  ถ้าคุณวิจัยออก  คุณมี คุณก็มี  คุณไม่มี  คุณก็ไม่มีสิ  

ธัมมวิจัย มีหิริ โอตตัปปะ หรือเปล่า  คุณวิจัยดูสินะ

         เอ้า!สำหรับวันนี้ พักก่อน  แล้วไว้ต่อพรุ่งนี้  วันสุดท้ายค่อยม้วนหัวม้วนหางกัน

อีกทีหนึ่ง

          จัดทำโดย         โครงงานถอดเทปธรรมะฯ

          ถอดโดย          ประสิทธิ์ ฝ่ายทอง           28 มี.ค.39

          ตรวจทาน 1 โดย   เทียนฟ้า บูรพ์ภาค           5 เม.ย.39

          พิมพ์ โดย          ปะใจขวัญ                8 พ.ค.39

          ตรวจทาน 2 โดย    สม.ปราณี                13 พ.ค. 2539

          printed   โดย    ปญ.ใจขวัญ เบญจโศภิษฐ์     13 พ.ค. 2539

 

ที่มา ที่ไป

390305 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 5 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20 วันที่ 5 มีนาคม พุทธศัราช 2539 ณ พุทธสถานศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

       

             

      


เวลาบันทึก 13 กรกฎาคม 2567 ( 10:16:09 )

390306

รายละเอียด

390306 กรรมฐานของอาริยชน ตอน 6 โดย พ่อท่านโพธิรักษ์ ศีรษะอโศก

 

            เนื่องในงานปลุกเสกพระแท้ๆของพุทธ ครั้งที่ 20

                   วันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2539

           ณ พุทธสถานศีรษะอโศก อ.กันทรลักษ์  ศรีสะเกษ

 

         ไปสมมุติเข้าแล้วมันก็เลยยึดน่ะ     สมัยโบราณเขาก็ไม่นุ่งผ้าอะไรกันนักหนา

หรอกน่ะ   คนพวกป่าพวกเถื่อน พวกเขาอะไร  เขาก็ไม่ได้ใส่เสื้อ ใส่ผ้าอะไร  มันเห็น 

มันดู  แล้วมันเอาไปสมมุติกัน  ไม่ได้ไปกำหนดกันอย่างนี้นะ  จุดนี้เป็นอย่างนี้นะ  อันนี้จะ

เกิดอย่างนี้นะ   มันก็สมมุตกันไป  ก็เกิดอะไรต่ออะไร อย่างนั้น น่ะ  แล้วก็ไปยึดติดตาม

นั้น  เชื่อตามนั้น  เสร็จแล้วก็ปรุง  แล้วก็เป็นรส เป็นชาติ  เป็นอารมณ์  เป็นอย่างโน้น

อย่างนี้อะไรไปตามเรื่อง ตามราว  คนเราก็เลยบ้า  ตามไอ้ที่สมมุตินั้น  ยึดติดกันไป  

          เพราะฉะนั้นผู้ใดเห็นมันเป็นธรรมดา  เป็นเรื่องสามัญ  เป็นเรื่องที่ว่าไม่ได้

เป็นเรื่องอะไรหรอก    เราก็เข้าใจโลกเขาสมมุติ    เมื่อเราไม่สมมุติแล้วเราไม่ปรุง  

เราไม่ได้ไปบ้าจี้กับเขา   เราไม่ไปเป็นรสเป็นเรื่องอะไรกับเขา  มันก็วาง  มันก็เฉยๆ  

นี่เป็นลักษณะที่สัจจะจริงๆ   คนนเราก็ไปบ้ากับเขามากเกินไป   แล้วเราก็ปรุงในจิตของ

เราเอง  เราก็เป็นอารมณ์  เป็นทุกข์  เป็นสุข  เป็นเดือด  เป็นแค้น  เป็นชอบ  เป็น

ชัง   อะไรอยู่อย่างนั้นละ  เพราะฉะนั้น  ถ้าเผื่อว่าเราเอง  เราเอาจริงๆ  พยายาม

ฝึกเรียนรู้  แล้วก็พิจารณาชัดเจน  แล้วก็วาง ปล่อย  ทำจริงๆแล้วเราจะเห็นอารมณ์สงบ  

คือมันไม่เป็นรสเป็นเรื่องวุ่นวายอะไร    ตามที่เราเคยติดเคยยึด   แล้วมันก็ว่าง  เบา 

สบาย เฉย  ทำได้เมื่อไหร่กับอะไรต่างๆนานา  เมื่อกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

แล้ว  ทำได้มาก   ได้ทุกเรื่อง   คุณก็เป็นพระอรหันต์เท่านั้นเองแหละ   ง่ายจะตายไป  

หัวเราะเยาะไม่เชื่อหรือ  หือ...เรื่องจริงนะ...หือ  ง่ายจะตาย   แหม!เหลือเกินนะ  

หยิบหมด   จับหมดทุกคำทุกความเลยนะ   เอามาตีย้อน  ง่ายจะ  ตายไป   สำนวนน่ะ  

สำนวนน่ะ   มันง่าย   ที่จริงน่ะ  มันคนเราไม่ยอมน่ะ  มันติดมันยึดนี่แหละ   มันไม่ยอม  

เออ!อย่างนี้มันก็ยังดูดีนะ  มันยังอร่อย มันหลง  มันยังอร่อย  มันยังสุข  ยังติดอยู่น่ะ

         เพราะฉะนั้น   พยายามเห็นความจริงว่า   อย่าไปยอม   อย่าไปติดอยู่เลย  

อย่าไปยึดไว้อยู่เลย   ต้องพราก  ต้องเลิกออกมาเถอะ พราก เลิกออกมา  ว่าง  เบา 

สบายแล้วนะ  มันว่างๆ  เขาก็บอกว่าอารมณ์ว่างๆ  เดาเอาน่ะ  เอ๊ะ!อารมณ์  แล้วมัน

ไม่อร่อย  หรือว่ามันไม่สุข  แล้วมันจะมีชีวิตชีวาอะไรล่ะ  แล้วคงแห้งๆจืดๆ เฉยๆ  แล้ว

มันจะเป็นอย่างไร   โลกนี้มันจะอยู่อย่างไร  โลกนี้เราก็คงเป็นคนจืดๆ  เขาสนุก  เขาอร่อย   เราก็เฉย   โอ๊!แล้วมันน่าอยู่อะไรละในสังคม... ก็เดาไปอย่างนั้นละนะ  น่ะ  

มันไม่ถึงกับอย่างนั้นหรอกน่ะ   เราจะเห็นอานิสงส์ของมัน  ถ้าเผื่อว่าทำได้แล้ว  ไอ้สิ่งที่

เราทำได้   เราเลิกมาได้            อย่างพวกเรานี่  มาปฏิบัติธรรม   ถึงขนาดนี้

แล้วนี่  ก็คงจะลดกันมาได้  ไม่ใช่น้อย  เพราะสิ่งที่เราลด  ออกไปได้แล้วนั่น  มันก็ว่าง

ดี   มันไม่เป็นภาระไม่ต้องไปยุ่งยาก  วุ่นวายอะไรนี่  แล้วเราก็ไม่ได้มีอารมณ์ว่า  เมื่อ

เวลา   แม้แต่เราลดนะ   สมมุติว่าเราอยู่กันนี้น่ะ  รูปบ้าง รสบ้าง  สีบ้าง  เสียงบ้าง 

อะไรอย่างนี้บ้าง    เราก็ไม่ได้จี๋จ๋าอะไรกับเขา    แต่เราก็รู้กับสังคมเขาเหมือนกันว่า  

เออ!อันนี้  เขาสมมุติว่าสวย  อันนี้เขาสมมุติว่าเพราะ  อันนี่สมมุติว่าหอม  อันนี่สมมุติว่า

อร่อย   นี่สมมุติว่าอย่างนั้นอย่างนี้อะไร  เราก็รู้กับเขา  เขาสุขกัน   คนที่เขายังติดอยู่  

เขาก็สุข   เขาได้รับเสพสมใจ  ที่เขากำหนดอุปาทานไว้  เขาสุข  เราก็รู้ก็เห็นกับเขา  

แต่เราก็ไม่ได้กระดี๊กระด๊าอะไรเขา   ไม่ได้อยากไปมี...อยากได้อย่างเขา   เราก็ไม่

เห็นว่าเราเหี่ยวอะไรนี่      เพราะเราไม่ได้ริษยาอะไรเขา      เรากลับจะเห็นว่า  

เออ!เอา ก็เอา  คนนี้เขายังเป็นเด็ก  เขายังเล่นตุ๊กตาอยู่  เขาก็สุขกับตุ๊กตา  น่าเอ็น

ดู   เท่านั้นเอง  แต่เราไม่ต้องไป  โอย!เราไม่ได้เล่นตุ๊กตา  เราไม่ได้สุข   เพราะ

เราไม่ได้เล่นตุ๊กตากับเขากับเด็ก   เรา โอ๊!เราเหี่ยวแห้งเหลือเกิน  ไม่เหมือนเด็กนะ  

สนุกรื่นเริง  มันมีสุข  มันได้ตุ๊กตาเล่น  มันก็ยึดกับตุ๊กตา  มันสมมุติ  กับตุ๊กตา  ว่ามันสุข  

มันก็สนุกสุข  ไอ้เราเองหรือ  ก็เลิกมาแล้ว  วางมาแล้ว  เราก็ไม่ได้สุขอย่างเด็กจริงๆ  

แต่เราก็ไม่ได้ไปจืดไปชืดอะไรนี่   สุขแต่ไม่มีของเล่น มันก็มี  ถ้าเราจะสร้างของเล่นนะ 

ยังสร้างได้เลย  ช่วยเด็กสร้างของเล่นให้เด็ก  เด็กแกยังติดตุ๊กตาอยู่  ถ้าไม่มีตุ๊กตาเด็ก

แกก็แย่ แย่จริง  เราก็ เอ้า!ช่วยสร้างตุ๊กตาห้เด็กเล่นด้วยซ้ำไป  เหมือนกับแม่ครัว  ทำ

อาหารให้เขากิน   เขายังติดอย่างนี้ๆอยู่  แต่เราเป็นแม่ครัวโลกุตระแล้ว  เราไม่ได้ติด

หรอกรสนี้น่ะ   เราอยู่เหนือแล้วละ   แต่เราก็ปรุงให้เขากิน  อนุโลมเขา   อยู่กับเขา  

เราเองเราก็ไม่ติดอะไร  เราก็จืดๆเฉยๆ  เราก็วางแล้วจริงๆ  ไม่ได้ติดยึดในรสอร่อย  

รสของอาหารนั้นๆแล้ว  แต่เราก็ไม่ได้เหี่ยวอะไรนี่  อย่างน้อยเราก็เป็นคนอยู่กับโลกเขา  

รู้จักสังคมรู้จักมนุษยชาติ   รู้จักสมมุติสัจจะ   แล้วเราก็อยู่กับสมมุติสัจจะนั้นแหละ    ไม่

ได้จืดไม่ได้ชืดอะไร   อาตมาลองยกตัวอย่างให้ฟัง   คุณลอง สิ่งที่คุณเป็นจริงก็มี   แล้ว

อาตมายกตัวอย่างตุ๊กตากับเด็ก  หรือว่าแม่ครัว  กับอาหารอะไรก็ตาม  อันอื่นก็นัยเหมือน

กัน

         เพราะฉะนั้นพระอรหันต์เจ้านี่        อยู่กับโลก        เมื่อจิตตรัสรู้เป็น      

อรหันต์แล้วอยู่กับโลกเขานี่   ท่านก็ไม่ได้เดือดร้อนอะไรหรอก  ท่านก็ไม่ได้อยู่...อยู่จืดๆ

ชืดๆอะไรหรอกอยู่กับสังคม   อะไรก็เป็นอย่างโน้นอย่างนี้ ก็รู้ ก็มีมุทิตาจิต  คือจิตยินดีกับ  

เออ!อันนี้เขาก็ค่อยยังชั่วนะ  เขาก็ดูพอเป็นไป  เขาก็สุขอะไรอย่างนี้ก็เห็นกับเขาไป  ก็ยินดีกับสิ่งที่เขาเป็นสุขอยู่บ้าง  อะไรอย่างนี้เป็นต้น แต่ท่านก็ไม่ได้ไปกระดี๊กระด๊าอะไรกับ

เขา   ถ้าจะช่วยเขาให้ว่างกว่านั้น  สุขอย่างวูปสโมสุข  สุขอย่างสงบระงับกว่านั้นอีกได้  

ท่านก็ช่วยเขาไปตามลำดับ     เท่าที่มีปัญญา    มีความรู้     มีเจตนาจะเกื้อกูลกันให้

เป็นโลกุตรบุคคลขึ้นมาอีก   ท่านก็ทำไปตามความจริงนั้นๆ  ส่วนท่านเองนั้น  เมื่องจบกิจ

แล้ว   อเสขะแล้ว  ท่านไม่ได้มีอะไรหรอก  ท่านอยู่กับสมมุติสัจจะ  แล้วก็ปรับปรุง หรือ

ว่าช่วยในเรื่อง   ของสมมุติสัจจะนั่นแหละ   อยู่กับสมมุติสัจจะ   มีแต่จะประมาณคำนวณ    

แต่เรื่องสมมุติสัจจะ    กับที่ท่านอยู่กับเขา   อยู่กับคที่เขายังอยู่กับสมมุติ    ส่วนท่านนั้น

มีปรมัตถสัจจะ    อย่างสุดแล้วจบแล้ว   อเสขะแล้ว  ไม่ต้องศึกษาไม่ต้องอะไร   เป็น

อัตโนมัติแล้ว  อยู่ได้สบาย อยู่เอง ไม่ต้องไปทำอะไรอีก  มันเป็นเองของมันแล้ว  เสร็จ

กิจแล้ว   ท่านก็ไม่ได้อยู่  กับปรมัตถสัจะอะไร  ไม่ต้องไปคำนึง  ไม่ต้องไปควบคุม  ไม่

ต้องไปจัดแจง  ไม่ต้องไปทำอะไรกับมันอีกแล้ว  มันเป็นของมันเอง  อัตโนมัติ  มันเป็นที่

พึ่งอันเกษมแล้ว  มันเป็นเครื่องอาศัยที่เป็นเอง  ตถตา  อวิถตา อนันยถตา อิทัปปัจจยตา  

ท่านเป็นตัวจริง   เชื้อแท้แล้ว  มีแต่ท่านจะแพร่เชื้อแท้ออกไปกับคนอื่น  เป็นอิทัปปัจจยตา  

เพราะท่านมีสิ่งนี้   จึงเป็นสิ่งใหม่อีกได้  จึงเกิดสิ่งใหม่อีกได้  จึงเป็นสิ่งโน้น   เกิดสิ่ง

โน้น  มีสิ่งโน้นไปต่อ  ท่านก็แพร่  ต่อสิ่งนั้นๆ  ต่อไป  เท่านั้นเอง

         เพราะฉะนั้นพระอรหันต์เจ้านี่   อยู่กับสมมุติ  ทำกับสมมุติ  ท่านไม่ได้เป็นตัว

ท่าน  ท่านเป็นอะไร ก็ไม่ใช่ท่านเป็น   จึงดูพระอรหันต์ยาก   เข้าใจพระ อรหันต์ไม่ได้

ง่ายๆหรอก   พระอรหันต์นี่  ถ้าท่านไม่บอกว่าท่านเป็นอรหันต์นี่  มีอรหันต์เท่านั้นนะ  จะ

รู้อรหันต์กัน   ถ้าท่านไม่บอกว่าท่านเป็นอรหันต์ คนธรมดา ไม่รู้หรอก  ว่าท่านเป็นอรหันต์  

ก็ท่านเป็นเหมือนอย่างเราเป็นน่ะ   ลึกๆในใจท่านจะว่าง  มันก็เรื่องของท่าน...  ใคร

จะไปเห็นไปรู้ในใจของท่านได้  ท่านก็ปรุง    ตามเราได้  แต่ท่านไม่ได้ติด  ท่านไม่ได้

ติดสังขาร  เพราะว่าท่าดับสังขารทุกอย่างได้แล้วน่ะ  ท่านดับได้แล้ว  สังขารที่ปรุงอย่าง

นั้นปรุงอย่างนี้   ก็ปรุงสักแต่ว่ากิริยา  สักแต่ว่าปรุง  สักแต่ว่าทำ  เป็นความจริง  เรา

อย่าไปหลงว่า   เราทำ  สักแต่ว่าทำ  ทั้งๆที่เราเอง  ไม่ได้สักแต่ว่า   กิเลสมันก็ปรุง  

กิเลสมันก็เสพ  กิเลสมันก็ติด  มันก็อะไรอยู่  เสร็จแล้วเราก็ไปทำพล่อยๆ  ไปโกหกผู้อื่น  

ลวงผู้  อื่น  เออ! เราเสพกามด้วยจิตว่าง  อย่างที่เคยได้ยินมา  จะไปเสพ ยังเสพอยู่  

แล้วยังไปโกหกคนอื่นว่าว่าง  แบบนี้โกหกสิ่งที่สำคัญ  โกหกสิ่งที่สูงส่ง  อวดอุตริมนุสธรรม  

มันไม่ใช่อะไรหรอก   มันแค่โกหกเท่านั้แหละ ถ้าเป็นพระ ถ้าโกหก ธรรมดา โกหกไม่ใช่

เรื่องอุตริมนุสธรรม  ก็แค่ปาจิตตีย์  แต่ถ้าโกหกอุตริมนุสธรรม  นี่ ปาราชิก  ไม่ใช่เรื่อง

เล่นนะ    ค่าของบาปมันต่างกัน   โกหก      เหมือนกัน    แต่ค่าของบาปมันต่างกัน  

เพราะว่ามันใหญ่   เรื่องสำคัญ  ไม่ใช่เรื่องที่จะเอามาทำเล่นมาพูดเล่น   มาโกหกเล่น  

ทำให้คนอื่นเขาเข้าใจผิด  แล้วมันเสียหายมากเลย  น้ำหนักของสัจจะอันนี้  มันเสียหายอย่างร้ายแรง  มันร้ายแรง  จริงๆ  

          ถ้ารู้ความจริงแล้วจะรู้ว่า   โอ้โห!คนที่เข้าใจความจริงแล้ว  อำนาจกิเลส  

ไม่มี  เขาไม่ทำหรอก  นอกจากว่าคนที่รู้ความจริงแล้ว  อำนาจกิเลสมันมาก  แม้รู้ความ

จริง  อำนาจกิเลสมันมาก  กิเลสชนะ  มันก็ทำไปได้  ระวังนะตรงนี้  กิเลสนี่คน  คนที่

ถามมาว่า  บอกว่า  เข้าใจหมดแล้ว  แต่ทำไมมันทำไม่ได้สักที  ก็เพราะคุณอินทรียพละอ่

อน   คุณยังไม่ได้ฝึกปรือสร้างเจโตมุติ  กำลังของเจโต  กำลังของจิต  มันยังไม่ได้ส่วน 

กำลังทางสมถะ  กำลังทางความเป็นไปได้  ยังไม่ได้สะสม  ได้แต่เชิงปัญญา  ได้แต่เชิง

เหตุผล  ได้แต่เชิงความรู้  แต่ว่าตัวจริงของตัวเป็นได้  มันยังไม่เกิดเป็นได้  จะเหมือน

กับปทปรมบุคคลนะรู้เข้าใจ   หมด ละเอียดลออ  เรียนแต่ปริยัติ  เดี๋ยวนี้มีเยอะ   และ

เดี๋ยวนี้นิยมอย่างนั้นด้วย   นิยมอย่างนั้นจริงๆนะ  ค่านิยมของสังคม  นิยมความรู้เปลือกๆ

ผิวๆนี่   เหตุๆผลๆฝึกสมองให้มีความเฉลียวฉลาด  คิดนึกได้เร็ว  คิดได้ลึก   คิดได้มาก  

โอ้!นักคิด     นักวิชาการ     จนกระทั่งเป็นปราชญ์    เยอะ     ปราดเปรื่องด้วย  

แหม!ปราดเปรื่องนะ   ปราชญ์น่ะ  เสร็จแล้ว  ไม่มีผลแห่งการบรรลุธรรม ปทปรมะ  รู้

พระพุทธพจน์ก็มาก   ทรงจำไว้ก็มาก  สอนคนอยู่ก็มาก  แต่ไม่บรรลุธรรมในชาตินั้นๆ ไม่

บรรลุธรรมอะไรเลย  หรือบรรลุธรรมแค่ไหน  ก็แค่นั้น  อยู่แค่นั้น  ไม่บรรลุต่อ  ก็เป็นผู้

ที่ปทปรมะอยู่นั่นแหละ   อาตมาแปลปทปรมะว่า  เป็นพวกเอาหัวยันเท้า  กลายเป็นอะไร  

เอาหัวยันเท้า  ไม่เคลื่อนเลย  ไม่เคลื่อนหรอก  ติดกับอยู่ตรงนั้นละ  ไม่เคลื่อน เอาหัว

ยันเท้า  อะไรก็ทำอะไร  เท้าก็ทำงานไม่ได้  หัวก็ทำงานไม่ได้   ตาย

         อาตมายังค้างอยู่เรื่องของคุณลักษณะ  สภาพของความเป็นอรหันต์น่ะ  เราพูด

ตอนต้น   โสดาบัน   น่ะ    อธิบายไปแล้ว    เดี๋ยวจะได้ทวนอีก   ทวนหลักใหญ่เลย  

อปัณณกธรรม  3  แล้วก็โพชฌงค์ 7 มรรคองค์ 8 นี่สำคัญ  เดี๋ยวจะได้ทวนให้ครบ  วันนี้

แหละ  และอธิบายลักษณะของโสดาบัน  คุณภาพ คุณลักษณะเป็น  อย่างไร  เมื่อเราเข้า

ใจแล้ว   เราก็ไปอ่าน  ต้องอ่าน  ต้องฝึก  ฝึกที่ในเรานี่ละ  มันไม่มีที่อื่นหรอก   เรา

เป็นนักวิทยาศาสตร์   ต้องลงมือฝึก  ต้องลงมือ ทดสอบ ต้องลงมือทำจริงๆ  มีเครื่องมือ

อยู่แล้วในตัว   ตัวเราทั้งตัวนี่  กายยาว วา หนาคืบ กว้างศอก  นี่คือ test tube คือ

หลอดทดลอง   ของนักวิทยาศาสตร์   เสร็จแล้วในตัวเรานี่  มี โอ้โห!  the  great 

subject  คือวิญญาณอยู่ในนี้แล้ว  เรามีของจริง  เรามีสิ่งที่จะต้องพิสูจน์วิจัยอยู่ในนี้แล้ว  

คือจิตวิญญาณ...สัญญาและใจ   อยู่ในนี้แล้ว   ทุกคนมี   ลงมือ   อาตมาสอนให้เป็นนัก

วิทยาศาสตร์นะนี่        ลงมือวิจัย       ลงมือทดสอบ       ลงมือทดลองห้องแล็บ     

น่ะ(laboratory)   พอเกิดสัมผัสปั้บ  ก็จะมีเหตุปัจจัยเข้ามาสู่ great subject เรา

เลย   มาสู่จิตวิญญาณเราทุกทีไป   เราก็พยายามสิ  มีเครื่องมือ  มีอะไร   ทำให้ใจวิ

เคราะห์ให้ออกเลย  ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์  มีสติสัมปชัญญะ  เป็นตัวต้น  ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์เป็นตัวสำคัญ     พยายามตั้งใจนะ    วิริยะให้ได้     วิริยะให้ถึงขั้นสัมโพชฌงค์นะ   

พากเพียรทำงานปฏิบัติธรรมไป  พร้อมกัน  ไม่ต้องเสียเวลา  ประกอบไปพร้อมกันกับงาน

การอะไรอื่นๆ   สัมผัสกระทบอยู่  กับทั้งวัตถุ ทั้งบุคคล ทั้ง สิ่งแวดล้อม   ทั้งองค์ประชุม  

ขนาดไหนก็แล้วแต่   เรียก  ว่ากาโย  เสร็จแล้วก็  เรียนรู้เวทนา  อ่านไปรู้ถึงความรู้

สึก  ถึงอารมณ์ของตนเสมอ  วิจัยอารมณ์  วิจัย ข้างนอก  ก็วิจับิ่งประกอบอยู่  โอ้!มีคน  

คนนี้   อ้อ!คนคนนี้นี่   มีอย่างนี้นะ  อ้อ!ปากก็ร้ายนะ  ทำอย่างนั้นอย่างนี้   ก็สำคัญนะ  

ยั่วยุเราอยู่ทั้งนั้น  แหม!ยั่วให้เกิดกาม  ยั่วให้เกิดพยาบาทอะไรอยู่ต่างๆนานา  เห็นกาย

นอกอยู่   องค์ประชุมข้างนอกอยู่  แล้วก็อ่านในเวทนาในความรู้สึกในอารมณ์เรา  ก็วิจัย

ออกไปอีกในเวทนา  เวทนาในเวทนา  มันปรุงเร็ว ปุ๊บ แล้วเป็นสุข เป็นทุกข์ เป็นโกรธ 

เป็น  เคืองอะไร  ก็ปรุง เห็น วิเคราะห์  จับมันมาบี้ต่อ  ไอ้ที่มันโกรธ  มันเคือง  มัน

พยาบาท   มันทุกข์นี่  มันอะไรไปเป็นตัวสำคัญตัวร้ายอยู่ในตัวนั้นอีก  วิจัยเข้าไปในนั้นอีก  

เวทนาในเวทนาอีก จนไปบี้  เอาตัวเหตุมันมาได้  ว่า อ๋อ!ไอ้นี่มันถือสาอย่างนี้  ไอ้นี่มัน

ยึดอย่างนี้  เราจะเอาดังใจของเราอย่างนี้  เสร็จแล้วเราก็เอาสภาพบอกว่า  ถ้าไม่ได้

ดังใจเราก็จะโกรธ   หรือไม่ได้ดังใจเราก็จะโลภจะยึดจะดึงแจะแย่งจะชิงอะไร  ก็เห็น

มันให้ชัดเลยว่า   โอ๋!อย่างนี้เอง ตัวเหตุ  หยุดเจ้าเหตุนั่น  อย่าไปแย่งเขาเลย   พอ 

อย่าไปโกรธ  อย่าไปเคือง  อย่าไปทำร้าย ทำลายอะไรเขา   จะออกไปทางกายกรรม

อย่างนั้น   วจีกรรมอย่างนั้น   หรือแม้แต่จิตเกิดอาการที่จะต้องคิด นึก  หรือยึดติดอยู่ว่า  

แหม!จะต้องแค้นจะต้อง    ชำระ  หรือว่ารัก  ก็จะต้องเอามาให้เป็นตัวกู  ของกูให้ได้  

อะไรอยู่ก็วาง  ปล่อย เลิกเสีย  เห็นให้จริง  แล้วทำให้จริง  ทำทุกที

         คุณก็ได้ทดสอบ   เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้ทดลองทุกที  ทดลอง  แล้วทำจริงๆ  

ไม่ใช่ทดลองเท่านั้น   ทำจริงนั่นแหละ  เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทดลองของจริงเลย  แล้วก็

เกิดจริง   เป็นจริง  แล้วก็อ่านต่อไป  หรือว่าอารมณ์ที่ทำได้แล้ว  มันวาง มันจาง  มัน

ปล่อยไปได้  เอ๊ะ!อารมณ์นี้มันว่างอย่างไร  มันเบาอย่างไร  รสชาติมันเป็นธรรมรสที่ลด

ละจางคลายได้   มันเป็นอย่างไร ดีไม่ดี  วางได้  ถึงขนาดดับสนิทเลยไม่เกิด  นิ่งเลย  

เอ๊!นี่เป็นวิมุติรสนะ   วิมุติรสนี่   รสมันอย่างนี้  เองนะ  รสมันว่างๆ เบาๆ  มันง่ายๆ 

โปร่งๆ  ใสๆอะไร  มันเป็นอย่างไร  ไอ้ที่อาตมาพูดนี่ภาษา  คุณก็ไปทำเอง  รับรสเอง 

ของคุณเอง  แล้วดีไหม  อย่างนั้นดีไหม  ดีกว่าเร่าร้อนอย่างนั้นไหม  ดีกว่าเหน็ดเหนื่อย

หนักหนา  ต้องไปต่อเรื่องอยู่นั่นน่ะ  ไม่ขาด สันตติไม่ตัด  ไม่ขาดสักทีหนึ่ง  มันเป็นอย่าง

นั้นแหละ   แต่ตัดขาดแล้ว  ไม่มีแล้ว  เออ!อย่างนี้เอง  เป็นอย่างไร   อ่านเวทนาใน

เวทนา    ในขณะที่เราทำอยู่นั่น    มันก็รู้จิต   รู้จิตในเรา    รู้จิตในจิตน่ะ    รู้จัก 

รู้จักสราคมูล   สราคจิต เป็นอย่างนี้  หมายความว่า  มันยังมีราคะ  จิตที่เรียกว่าราคะ 

มันเป็น สภาพอย่างนี้เอง  เมื่อลดราคะ  หรือลดกาม  ลดกามลงไป  มันก็ลดลงไป  ก็นี่ละ   ลักษณะมันไม่เหมือนเก่าแล้วมันลด   วีตราคจิต  เรียกว่าวีตะ   โทสะก็เหมือนกัน  

อย่างนี้เป็นสโทสจิต   อย่างนี้เป็นวีตโทสะน่ะ  มันลดลง  ก็อ่านก็รู้ เห็น    อาการของ

มัน  ภาษาเรียกอย่างนี้  ถึงแม้คุณท่องภาษาไม่ได้ก็รู้แล้ว  พอเข้าใจความหมายว่าอย่างนี้

นี่   มันเป็น มันมี  ราคะก็อาการอย่างนี้  นิมิตหมายอย่างนี้  เราจับนิมิตมันได้  เครื่อง

หมายว่ามันราคะมันอย่างนี้  มันไม่ใช่โทสะ  มันคนละตระกูล  มันคนละอาการ   เครื่อง

หมายบอก  มันคนละเรื่อง  คนละแบบ  มันต่างกัน เรียกว่าลิงคะ  เรารู้อาการ รู้ลิงคะ 

รู้นิมิตของมัน   อ๋อ!จับได้  นี่     เรียกว่ารู้รูป รู้นาม  ญาณของเราจะเป็นนาม ปัญญา

ของเรานั่นน่ะตัวธัมมวิจัย  สัมโพชฌงค์   ตัวญาณอ่านซ้อนอยู่ในนั้นละ  รู้ของจริง  เรียก

ว่าญาตปริญญา  วิจัยไตร่ตรอง ตรวจตรา  วิเคราะห์ออกไปเรียกว่า ตีรณปริญญา  เสร็จ

แล้วก็วิจัยตัวที่มันเป็นราคะโทสะอะไรออก   ก็ประหารมัน  มีสมถวิธี  มีวิปัสสนาวิธี   ก็

ประหารมัน   ลดลงไปให้ได้   เมื่อมันลดลงไปได้  ก็เป็นปหานปริญญา   รู้ว่าเราลดได้  

ปหานปริญญาน่ะ   เมื่อมันลดลงไปได้แล้ว  อารมณ์อ่านต่อ อารมณ์ที่มันลดไปได้แล้วนี่  มัน

เป็นอย่างไร  มันเข้าท่า มันดูดี  มันเป็นรสที่เบาที่ว่าง  ที่โปร่งอย่างไร  คุณก็เป็นการรู้

ของคุณเอง   ในตัวคุณเอง   เป็นปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ    เป็นบัณฑิตเสียเอง  

บัณฑิตไม่ต้องไปรับใบจากใครเขาหรอก   ไม่ต้องไปรับใบบัตรรับรองจากใครก็ได้  รู้ของ

ตนเองให้ชัดเจนจน พ้นวิจิกิจฉา  พ้นสงสัย  โอ๊!ของจริง  มันเป็นจริง  เป็นเช่นนี้  ได้

เช่นนี้  มีลักษณะอย่างนี้น่ะ  

         เราก็จะเห็นจิต  เป็นเจโตปริยญาณ 16 ไปเรื่อยๆนะ  สราคจิต  ก็รู้ว่านี่จิต

มีราคะเป็นอย่างนี้   วีตราคจิตนี่จิตไม่มีราคะเป็นอย่างนี้  สโทสจิต จิตมีโทสะเป็นอย่างนี้  

วีตโทสจิต  จิตไม่มีโทสะ  ก็เป็นอย่างนี้  แม้ว่ามันยังไม่หมด  ละเอียดในเบื้องต้น  เรา

ก็รู้ทิศทางว่า  อย่างนี้ละนี่ ราคจิตนี่  เราพยายามรู้ว่ามัน  มันมีราคะขนาดนี้เลยนะ  มัน

แรงขนาดนี้นะของเรา    มันมากขนาดนี้   วัดค่ามันไว้    หามิเตอร์สร้างมิเตอร์ขึ้นวัด  

เออ!ราคะของเรามันขนาดนี้นะ   เสร็จแล้ว  เมื่อเรามาเรียนรู้  ปฏิบัติแล้ว   ตามทิศ

ทางนี้

         มีฝึกวิทยายุทธเอกกับโพธิปักขิยธรรม  37 นี่แหละ  หรือโพชฌงค์ 7 มรรค 8 

ที่เป็นหลักใหญ่ๆนี่   นับหมดก็มาตั้งแต่สูตร  4578   โดยมีสติปัฏฐาน 4  สัมมัปปธาน  4 

อิทธิบาท  4 นี่คือชุดของสูตร 4   สั่งสมอินทรีย์ 5 พละ 5 นี่สูตร 5   ด้วยโพชฌงค์  7  

มรรค   8   นี่ละ    ทฤษฎีสำคัญของเรา  4,5,7,8   เราก็ปฏิบัติไป    แล้วมันจะ

เกิดเจโตปริยญาณจริงๆน่ะ  ในสติปัฏฐานน 4 นี่ละ  ความรู้ทั่วพร้อม  มันจะรู้  ปฏิบัติไป  

มันก็จะรู้กาย   รู้เวทนา  รู้จิต  แม้แต่เจโตปริยญาณ 16 ในจิตนี่  เราก็จะรู้ไปนี่  นี่จิต

อย่างนี้เป็นราคะ  มีราคะ  แต่นี่มันลดลงมาแล้วนะ  เรียกว่า วีตราคะจางคลายลดหย่อน  

มันไม่มี  มันน้อยลง  วีตราคะ อย่างนี้โทสะ  พอทำได้  มันก็ เออ!นี่  สโทสจิต   เมื่อเราลดก็เป็นสภาพของวีตโทสะ   โทสะลด  โทสะจางคลายลงมา  นี่เป็นสโมหจิต  เรา

ทำได้  เออ!ชัดขึ้น เข้าใจขึ้น ไม่หลง ผิด  แต่ก่อนนี้หลงผิด  เลยหลงว่าไอ้นี่ดี  หลงว่า

ไอ้นี่สุข   ที่แท้มันตัวหลอก  ผีหลอกน่ะไอ้สุขนี่  ผีหลอกร้ายๆเลยไอ้ตัวสุขโลกียสุขนี่  หลง

มาทุกคนละ   ความจริงแล้ว ยิ่งไปหลงมัน  แล้วก็เสริมให้มันเรื่อย  มันหนาขึ้นสิ  กิเลส 

ไปเป็นสวรรค์หอฮ้อ   แล้วก็ตก  ตกแล้วก็ขึ้น  ตก เป็นพวกตกสวรรค์   เดี๋ยวตกสวรรค์  

แล้วเดี๋ยวขึ้นสวรรค์  ลงนรก  ตกสวรรค์ ขึ้นนรก ตกสวรรค์อยู่อย่างนั้นละ วนเวียน  ไม่

รู้จักจบ   ดีไม่ดี  ก็ไปหลงสร้างอุปาทาน  เป็นเรื่องใหญ่  อู๊ย!สวรรค์สูง   สวรรค์ใหญ่  

สวรรค์ลวงทั้งนั้น   ก็เลยยิ่งหนักเข้าไปใหญ่เลย   เพื่อที่จะได้มาก   ยิ่งตกนรกลงไปลึก  

ยิ่งแบก อยากจะได้สวรรค์ใหญ่ๆอีก  ยิ่งจะขึ้นไปเอาสวรรค์ใหญ่ๆก็ยิ่งยากอีก  เอ้า!ยากก็

เอา  เราก็ติดแล้วน่ะ  ติดแค่บุหรี่ไม่พอ  ไปติดเฮโรอีน  ติดเฮโรอีนไม่พอ  ไปติดอะไร

เข้าไปอีก   ติดฝิ่น ติดกัญชา  ติดมันเข้านุงนังเข้าไปอีก  มันก็ไปกันใหญ่สิ  ใช่ไหม  นั่น

ละสวรรค์  นรกอยู่อย่างนั้นละ    สวรรค์นั้นน่ะ  คือสวรรค์ของสมมุติเทพ  เป็นเทวดาที่

รู้กันทุกคนน่ะ   ปุถุชนทุกคนเป็นหมด   รู้กันทั่ว  สมมุตินี่แปลว่ารู้กันทั่ว   รู้กัน  ใครๆก็รู้  

เป็นปุถุชนมาทุกคนน่ะ   สวรรค์อย่างนั้น  นรกอย่างนั้นน่ะเป็น  พอได้เสพสวรรค์อย่างสม

มุติเทพ   ก็นึกว่านี่แหละประเสริฐ  นี่แหละเป็นคนมีบุญ  เป็นคนมีความสุข  ก็จริง   ก็ดี

กว่าทุกข์ ละนะ  ดีกว่าทุกข์  ที่มันไม่ได้ ไม่เป็น ไม่มีอะไรเลย  อุตสาหะอย่างไรก็ถ้าว่า    

วิบากแย่ๆ   ก็ไม่ได้อะไรกับเขา  ได้แต่โหยหา ร้องโอดครวญไปเท่านั้นละ   เป็นเปรต 

เป็นอสูร...   เป็นเปรต เป็นเดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก  ดิ้นรน...จะแย่งจะชิงกับเขาไป

อย่างนั้น   ดีไม่ดี  ก็คอยลักขโมยเอา  คอยยื้อยุด  เหมือนอย่างที่เขาทำหนังเลย   ให้

เป็นตัวเปรต  ตัวสัตว์นรกอะไร  หรืออะไมาก็ยิ่งกว่า  ได้แต่รุมทึ้งรุมดึงเอากับเขานั่นน่ะ

         เพราะฉะนั้น  เมื่อเรารู้จิตนี่  เรารู้ 6 อย่างแล้วนะ  เจโตปริญญาณ 16 นี่  

เรารู้  6  แล้วนะ   สราคะ สโทสะ สโมหะ แล้วมันไม่ใช่ สะ   มันก็ลดลงเป็น  วีตะ  

วีตราคะ  วีตโทสะ วีตโมหะ 6 แล้ว  เมื่อเราเรียนรู้ธรรมให้มันได้    ดีขึ้น  แต่มันยัง

ไม่ได้ดีมากหรอก   มันยัง...โอ้โห ฝืดฝืน  ยังเคร่ง ยังคุม ยังพยายามทำ   แต่ทำเป็น

บ้างแล้ว   เพราะจะมี  2 ลักษณะ  อย่างหนึ่งก็ทำแล้ว  มันก็ตื้อ  ก็เรียกว่า  สังขิตตัง 

จิตตัง  สังขิตจิตน่ะ สิงขิตตจิต หรือสังขิตตัง  จิตตัง  เขาแปลเป็นภาษาไทยว่า หดหู่  ก็

คือมันได้มาแล้วมันก็ตื้อๆ   คุณลองฟังดูนะ  มันได้...แต่มันก็ยัง  บางทีเราก็ล้วงลึก   ดู

ความได้ของเรา   มันก็ยังไม่ได้  เอ๊!มันอย่างไร  มันได้แล้วมันก็ตื้อๆ  หดหู่   มันไม่มี

ปัญญาเข้าไปรู้มาก   มันได้แล้ว  มันเหมือนมันหมก มันหมักอยู่ กับเราเอง  หรือมันยังไม่

คล่อง  มันยังตืด มันยังหนืด มันยังทำไม่คล่อง  แต่ก็รู้ว่าได้  รู้ว่าลดได้บ้าง   แต่มันก็ยัง

ขลุกขลักอยู่   เป็นแค่ระดับหนึ่ง  นี่ความหมายของมัน  แต่ทีนี้มาแปลเป็นไทยแล้ว  เขาก็

แปลง่ายๆ  แปลไปโดยที่ว่า แค่หดหู่  มันเป็นลักษณะ  ถีนะ ถีนังมิทธัง  ตกผลึก  หรือว่าเป็นก้อนจับตัว   มันยังไม่ยืดหยุ่น  หรือว่ามันยังไม่ได้สภาพที่สมบูรณ์น่ะ   ส่วนอีกทิศหนึ่งก็

เป็นวิกขิตตังจิตตัง  หรือวิกขิตตจิต  น่ะวิกขิตตจิต  วิกขิตตังจิตตัง   เขาแปลมาเป็นไทย  

ตรงข้ามกัน  ว่าฟุ้งซ่าน  แปลอันนี้ว่าฟุ้งซ่าน  แปลสังขิตตัง  จิตตัง  สังขิตตจิตว่า  หดหู่ 

จิตหดหู่  แปลวิกขิตตจิตว่า ฟุ้งซ่าน  มันกระจาย  มันกระเส็น กระสาย ซ่าน  อันนี้ ก็จับ

ไม่ติด   ก็ต้องมาเรียง  มาร้อย มารู้  มันยังไม่ได้  แต่ก็รู้ว่า  มันก็ได้บ้าง  แต่มันก็ยัง

ไม่ดี  มันได้แต่ขั้นตอนเบื้องต้นน่ะ  คุณธรรมเราได้เบื้องต้น

         อย่างพวกคุณนี่   เป็นโสดาบันหรือเป็นอะไรนี่  มันอ่านจิตพวกนี้   มันยังเป็น

อย่างนั้นละ    ยังไม่ค่อยเก่ง    แล้วก็คุณยังไม่ได้มาก    แล้วยังไม่ได้ชัด    มันก็จะ  

เอ๊!เราได้หรือไม่ได้ แล้วมันเป็นอย่างไร  มันก็จะมีลักษณะที่รู้ยากก็คือ...สังขิตตัง จิตตัง  

มันรู้ยากประเภทที่ลึกๆ   ส่วนประเภทที่วิกขิตตังจิตตัง  ก็รู้ยากประเภท       กระจาย  

อันหนึ่ง ก็เหมือนตกผลึกจับก้อน  อันหนึ่งก็เหมือนกระเส็นกระสาย         กระดอนออก

ไปไกลๆไหนๆอะไรอย่างนี้  มันก็ มีลักษณะ 2 ด้าน  เราก็ทำต่อ  มีวิธีที่เราเห็นว่ามันได้

ผลก็ฝึกเข้าไป   ฝึกเข้าไปต่อ  ฝึกเข้าไปต่อ  เมื่อรู้แล้ว  ทิศทางนี้  ถูกทางแล้ว  เป็น

สัมมาอาริยมรรคแล้ว   ทำต่อ ฝึกต่อ    พระพุทธเจ้าบอกเมื่อรู้แล้ว   ก็มีอย่างเดียวน่ะ  

เสพคุ้นเข้าให้มาก  เสพคุ้นท่านใช้ภาษาบาลีว่า อเสวนา คบคุ้น เสพคุ้น ทำให้คุ้น ภาวนา 

ทำให้เจริญ...ให้รู้ว่าทำถูก   ถ้า  เจริญแล้วทำเข้า  ให้มันเจริญ   ให้มันก้าวหน้าเข้า 

มากๆ   พหุลีกัมมัง 3 ตัว  อเสวนา ภาวนา พหุลีกัมมัง   เมื่อชัดเจนแล้วนี่เป็นสัมมาอา

ริยมรรคแล้ว   ลุย  กด 3 ปุ่มนี่เลยนี่  อเสวนา ภาวนา พหุลีกัมมัง  กด 3 ปุ่ม  นี่เลย  

เดินเครื่อง  ทำ    ต่อไป  เมื่อคุณชัดแล้วว่านี่คือสัมมาอาริยมรรค   ทำอย่างนี้แหละถูก

แล้ว  ปฏิบัติอย่างนี้แหละถูกแล้ว  พากเพียรต่อไป อย่าให้ตกหล่น

         เมื่อเราทำอีก   มันก็จะรู้ว่า  เออ!เราเจริญขึ้นเป็น มหัคคตจิต  จิตก็เจริญ

ขึ้นอีกแล้ว  แต่ถ้าเราทำมันไม่ถูก  หรือว่าทำอ่อนแอเหยาะๆแหยะๆ  เพราะว่าทำไปแล้ว

นี่   ถ้าเพิ่มภูมิไปแล้วนี่  ภูมิมันชักจะไม่มีบารมีหนุนนี่นะ  มันจะยาก  เหมือนกับเรามาพบ

ธรรมะใหม่ๆ   มันยังมีบารมีเก่า   มาถึงทำอย่างนี้หรือ  ก็ทำไป  ทำอย่างนี้หรือ   ทำ

อย่างนี้หรือ   โอ้โห!ง่าย  คนมีบารมีนะ  อย่างนี้ๆ           ทำได้ๆๆๆ   พอได้ไป

แล้ว  เรียนต่อไปว่าทำอย่างนี้ต่อไป  ทำอย่างนี้ต่อไป  ตอนนี้ชักบารมีหมด   อย่างนี้หรือ  

โอ้โห!ทำไมต้องฝืนจังล่ะ   ทำไมมัต้องพยายามจังล่ะ  ตอนนี้แหละต้องเร่งเครื่องเต็มตัว  

พากเพียรเต็มลำแล้ว  โอ๊ย!ทำไมมัน  มันไม่เหมือน  ไอ้ที่มันแรกๆไอ้ที่มันได้มา  ไอ้ที่มัน

มีบารมีมาเก่าละนะ  มันก็ โธฺ!มันก็    ง่ายน่ะสิ  ทีนี้มันหมดทุนแล้ว  มันหมดทุนเดิมเรา

แล้ว   เราก็จะเพิ่มทุน  เพิ่มรายได้ใหม่  ตอนนี้มันต้องฝึก  อันนี้แหละ   ชักจะหนืดแล้ว  

ชักจะไม่ใช้  อุตสาหวิริยะแล้ว  ต้องอุตสาหวิริยะกว่ากันเยอะ   เพราะฉะนั้นจึงต้องเติม

ความเพียร  คนมาตายตรงนี้แหละ  

          พวกเรานี่   มากองๆอยู่นี่   ก็ติดแป้น  แล้วก็มาเฉื่อยอยู่ตรงนี้แหละ   ไม่

อุตสาหะต่อ   มันต้องทำยากกว่าเก่าใช่ไหม   สูงใช่ไหม   สูงมันควรจะยากกว่าใช่ไหม  

ไอ้ที่มาแต่ก่อนนี้   ไฟแรง  แล้วก็มี แหม!พยายามดีนะ  ไฟแรงด้วย   แล้วก็ของเก่าก็มี

ด้วย   มันก็ง่ายน่ะสิ   องค์ประกอบทุกอย่างมันเสริมทั้งนั้น  พอจะยากขึ้น   สูงขึ้นอีกนะ  

ตอนนี้ต้องเพิ่มพลังเพียร  เพิ่มพลังอุตสาหะ   กลับน้อยกว่า เก่าอีก  เพราะอะไร  ข้าว

มีกิน   ดินมีเดิน  ตะวันมีส่อง  พี่น้องมีเสร็จ นี่อยู่กับหมู่นี่นะ  เห็ดมีเก็บ  แต่เราไม่ค่อย

ช่วยเก็บหรอก   ป่วยเจ็บมีคนรักษา   ใครจะเป็นอย่างไร   ก็คนอื่นเขาช่วยกันรักษากัน  

ไม่เป็นไร      เราเดิน...ทอดหุ่ยก็ได้     ไม่เป็นไรหรอก     ขี้หมามีคนช่วยกวาด  

เออ!คุณกวาดเถอะ  ฉันไม่ต้องกวาดฉันก็  สะอาดแล้ว  เพราะว่าคนกวาด  คุณกวาดให้  

มันก็ขี้เกียจ  มันก็เกี่ยงเขา  ผ้าขาดมีคนช่วยชุน  เราเป็นคนทำให้ขาดแล้วให้เขาชุน  ก็

เป็นบาป  เป็นหนี้เขาอยู่  อย่างนั้นแหละน่ะ  บุญไม่ทำ  มันก็กำไม่แบ  อย่างว่า บุญก็ไม่

ทำ   กำก็ไม่แบเท่านั้นเอง ก็ตายอยู่อย่างนั้นเลย  เน่า ฝังอยู่ตรงนั้นอย่างเก่า   กำไม่

แบน่ะ

         นี่อาตมาพูดแล้ว  ก็เข้าใจความหมายขึ้น  เพิ่มขึ้นไหม  พูดซ้ำ พูดซาก  ท่อง

จนพวกคุณซะเองจะท่องได้แล้วนี่   ข้าวมีกิน  ดินมีเดิน  ตะวันมีส่อง  พี่น้องมี    เสร็จ  

เห็ดมีเก็บ  ป่วยเจ็บมีคนช่วยรักษา  ขี้หมามีคนช่วยกวาด  ผ้าขาดมีคนช่วยชุน  บุญกูไม่ทำ  

กรรมกู ก็กรรมของกูไป  เท่านั้นเองน่ะสิ  จะไปไหนรอด  นี่อาตมาพูด  ไม่ใช่พูดเล่นนะ  

ให้เร่งพยายามอุตสาหวิริยะ   เราได้ดีมาขนาดนี้   เราต้องดีต่อให้เป็นมหัคคตจิต   อัน

นี้อมัคคตจิต ก็รู้น่ะ  เจโตปริยญาณในจิตตัวที่ 7 ที่ 8  อันนี้เป็นมหัคคตจิต  เออ!มันเจริญ

ขึ้นได้   เพราะเราพากเพียร   ดีขึ้นเจริญ ขึ้น  อุตสาหะขึ้น   ดีขึ้นไปเรื่อยๆๆๆ   จน

กระทั่งรู้ว่า  โอ้โห!ดีขึ้นน่าพอใจ  เป็นจิตที่ดีขึ้นอย่างน่าพอใจเลย   ทีนี้บางทีบางอย่างก็

เลยขีดสอบได้   ได้  60%  70%  80%   อุปจารสมาธิ   ใกล้แล้ว   ใกล้นิพพานแล้ว  

อุปจารสมาธินี่  จนกระทั่งเป็น      อัปปนาสมาธิ โน่นแหละ  เอาให้มันสมบูรณ์เป็นอัปป

นาสมาธิให้ได้น่ะ   อุปจาระนี่แปล  ว่าเข้าใกล้ไปเรื่อยๆน่ะ   เข้าใกล้ไป    เอาแปล

สำนวนน่ะ   ถ้าแปลโดย  ความหมาย  อุปจาระ ก็แปลว่าเข้าใกล้ไปเรื่อยๆๆๆ  ที่จริงก็

คือการเกิดพฤติกรรม   จริง  เกิดของจริง  อุปจารนี่ แปลว่าเกิดของจริง  แต่เขาแปล

สำนวนว่าเข้าใกล้  เป็นสมาธิที่เข้าใกล้  ใกล้อะไร  ใกล้ความสำเร็จ  ฝึกไป  เมื่อฝึก

ไปเรื่อยๆ  จนกระทั่งเห็นว่าจิตเราได้ดี  โอ!ถ้าคำนวณเป็นแบบคณิตศาสตร์ก็  เราได้ไป

ถึง  70% แล้ว 75 แล้ว 79 แล้ว  แหม!เข้าไปเรื่อยๆ  ดี ดีกว่าก่อน  สูงกว่าสังขิตตัง 

จิตตัง  สูงกว่าวิกขิตตังจิตตังไปมาก  แต่เราก็รู้ว่ายังมีส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์  ดีกว่านี้  ยังมี

อีก เรายังรู้

         เพราะฉะนั้นเราจะต้องให้สุดยอด   ให้ได้เป็นอนุตตรังจิตตัง  เป็นอนุตตรจิต  จิตที่ดี แต่ว่ายังไม่สมบูรณ์  เราก็เรียก...สอุตตรจิตนี่  เราก็รู้...มีเจโตปริยญาณข้อที่ 8 

ที่  9...9   สอุตตระ   อ้อ  11 หรือ  มหัคคตะ  อมหัคคตะ  คือ  9  คือ  10  นี่   

สังขิตตังคือ  7 วิกขิตตังคือ 8 มหัคคตจิตคือ 9   อมหัคคตจิตคือ 10  สอุตตรจิตคือ  11 

เราจะต้องให้เกิดอนุตตรจิตให้ได้  คือเป็นจิตที่เหนือ  ยอดสุด   ไม่มีจิตใดเหนือนี้อีกแล้ว  

อนุตตระ   จิตสมบูรณ์จิตอรหัตผล   จิตสุดท้าย   จะต้องให้ได้   เราต้องรู้โดยปริยัติมา 

เรียนปริยัติ   เรียนความหมาย  เรียนจุดเป้า  เรียนเป้าหมายสุดยอดมา  นิพพานนี่ก็คือ

จิตต้องเป็นอนุตตรจิต  จะต้องเอาให้ได้  เราก็พากเพียรต่อไป  เรารู้ว่าจิตดี  ดีแล้วละ  

เราได้มากแล้วละ   เราจะเข้าใจเลยว่า   เออ!เราก็ได้ดีมาเยอะ   แต่อย่าไปนั่งแช่  

อย่าไปติดแป้น    อย่าไปผัดผ่อนแวะชมสวนเรื่อยเลยนะ    โอ้โฮ!สวนสวรรค์ทั้งนั้นและ  

เจอ  สวนแรก  แหม!แค่ดอกบานบ่เหี่ยวเท่านั้น  ก็ปัดโธ่!มันยังไม่งามเท่าไหร่หรอกสวน 

นี้    มีสีสันบ้างเท่านั้นแหละ  รู้จักดอกบานบ่เหี่ยวไหมละ  ดอกบานไม่รู้โรย   สวนดอก

บานไม่รู้โรย   ก็แค่นั้นเอง  สวนอื่นต่อๆไปพากเพียรเดินต่อไปอีก พากเพียร ปีนต่อไปอีก  

สวนนี่ โอ้โห!ต่อไปนั่นจะเป็นสวนที่สีสันงดงาม มีกลิ่นด้วยนะ  จะดี     กว่านั้นอีก  สวน

ดอกอะไรอีก   มีสวนงามๆ  สูงขึ้นไปได้อีก  พากเพียร  อุตสาหะปีนขึ้นไป  ติดใจแต่แค่

สวนต้นๆเท่านั้น  ก็แช่อยู่ตรงนั้นแหละ  ไม่ไปไหน  มันจะได้เรื่องอะไร เพราะฉะนั้นเรา

พากเพียรอีก   อนุตตรจิตจะต้องมีคุณธรรมของความตั้งมั่น   มีความสะอาด   ตั้งมั่นก็คือ

สมาหิตะ  ความสะอาด  หลุดพ้นหมดก็คือวิมุติ

         เพราะฉะนั้นเราจะต้องรู้ว่า  เออ!มันยังขาดอะไร   เจโตจะต้อง   ตั้งมั่น  

ฐีเต   อเนญชัปปัตเตจะต้องสมบูรณ์     วิมุติ  หลุดพ้น   หลุดพ้นในลักษณะที่อยู่เหนือมัน  

เป็นนอุเบกขา  เป็นปริสุทธา  ปริโยทาตา  มุทุ กัมมัญญา ปภัสสรา  เป็นลักษณะอุเบกขา

ฐาน   แม้ในที่สุดอุเบกขาเอง  มันก็เป็นอุปกิเลสในตัว  ซึ่งจะต้องไม่ติดยึดว่า   มันเป็น

เรา   แต่มันก็เป็นอุเบกขาน่ะ  เจตสิกตัวนี้  เป็นเจตสิกตัวสุดท้ายเลยนะ   เมตตาเป็น

เจตสิก   ตัวที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น  อุเบกขา  เป็นเจตสิกตัวที่เราอาศัย   เป็นเครื่อง

อาศัยเท่านั้น   แปลว่าอาศัย   แม้แต่ที่สุดภาษาบาลีเรียกว่าอาลัย  ก็แปลว่าที่อยู่   เป็น

เจตสิกที่เราจะอาศัยที่จะอยู่กับมันเท่านั้นเอง    แต่ไม่ใช่ว่ามันเป็นเรา    เป็นของเรา  

อาศัยได้  เป็นบารมี  บารมี 10 ตัวสุดท้าย  เมตตา อุเบกขาเป็นตัวสุดท้าย  ต้องสะสม

บารมีพวกนี้   เพราะฉะนั้นในฌาน  4  อุเบกขา   ก็เป็นตัวสุดท้าย   หรือในการปฏิบัติ  

เวทนาก็จะต้องสุดท้าย  ต้องเป็นเนกขัมมอุเบกขา ให้เป็นอุเบกขาน่ะ  เป็นเนกขัมมสิตตัง 

อุเบกขาเวทนาน่ะ  รู้ ความรู้สึกอันนี้ให้ชัด  แล้วเราก็เรียน  เวทนามาตั้งแต่ 108 แล้ว  

 

          เพราะฉะนั้นเราจะรู้จิตนี้ต่อไป   เพราะฉะนั้น  สมาหิตะ  เราก็รู้ว่าจิตมัน

ตั้งมั่น   จิตมันมีประโยชน์   จิตมันแข็งแรง  สมาธิอย่างสำคัญ  สมาธิ  เป็นที่เป็นสัมมาสมาธิที่   อยู่เหนือโลก ไม่ต้องหนี  แต่ว่าที่อาตมาพูดนี้  เป็นเรื่องของทางปฏิบัติ   เป็น

ทางเอก  เรียกว่า ทางมรรค 8  ส่วนที่จะไปนั่งสมาธิ  ทำอานาปานสติ  ทำเจโตสมถะ

อะไรนั้นน่ะ    ก็เป็นอุปการะมาก   ควรทำเราจะได้มีพลัง    บางทีก็ทำสมถภาวนาก็ดี  

อย่างถาม  บอก  โอ้โฮ!สัมผัสแล้ว  ผมทนไม่ได้  อย่างเมื่อวานนี้  มา  ยืนถาม  บอก  

โอ้โห!สัมผัสไอ้โน่นไอ้นี่แล้ว  ผมก็ทนไม่ได้  นั่นแหละเราไม่มีกำลังที่จะระงับมันก่อน  มัน

จิตของเรามันอ่อนแอ  เราต้องนั่งสมถะ ฝึก  กดข่ม หรือว่ามีวิธีหลบ  มีวิธีหนีมันก่อน  มี

วิธีชะลอมัน เพลา มัน

         เพราะฉะนั้น  นั่งสมถะ จะทำให้จิตเรามีพลังทางเจโต  พลังทาง      กด

ข่ม   พลังทางวิกขัมภนปหาน  พลังทางกดข่มเอา  ส่วนตทังคปหานนั้น  ใช้ทั้งสมถภาวนา  

ใช้ทั้งวิปัสสนาภาวนา    ทำได้เป็นคราวๆครั้งๆช่วงๆ   ตทังคะทำได้เป็นครั้งๆเป็นช่วงๆ  

ทำไปก็ปหานไป   ในปหาน 4 ปหาน 5 นี่  วิกขัมภนปหาน  ตทังคปหาน  เราก็ทำค่อยๆ

ลดละได้ตามวิธีของพระพุทธเจ้า    แต่วิกขัมภนปหาน ก็ ช่วย  เป็นอุปการะ  เราทำได้

เก่งเข้าก็เป็น   ปฏิปัสสัทธิปหาน  คือทำกลับไป  ทวนไป ทวนมา  ก็มีความสงบ  ความ

ระงับได้  ปฏิปัสสัทธิ  สงบได้  เพราะเราทำซ้ำทำซาก  ทำทวน ทำบ่อยๆ ทำเสมอ  ก็

ได้ผลสูงขึ้น   เป็นปฏิปัสสัทธิปหาน  ทำปฏิปัสสัทธิปหานสูงขึ้นไปอีก  เป็นปหานที่ 4 ก็เป็น 

เก่ง   เป็นนิสสรณปหาน  ปหานได้อย่าง แหม!สลัดได้เร็ว คล่องแคล่ว  แทบจะมีพลังใน

ตัวเป็นเอง   ถ้าให้กิเลสมาเจอหน้า   มันหลบเลย  แหม!ชักจะเป็นเจ้าพ่อ   เห็นหน้า

เกรงเลยนี่    นิสสรณปหาน   พลังจิต  หรือว่าอำนาจจิต   หรือว่าความยิ่งใหญ่ของจิต  

อินทรียพละของจิตมันเก่ง  มันมีประสิทธิภาพ จริง มีคุณภาพจริง กิเลสเจอหน้านี่ หลบ วูบ

เลยนี่    นิสสรณปหานน่ะ    จนกระทั่งทำได้เด็ดขาด   กิเลสไม่กล้าเกิดเลย    เป็น  

สมุจเฉทปหาน   เด็ดขาด  หมายความว่าขาดอย่างต่อเนื่อง  สมุจเฉทะ   ขาดอย่างต่อ

เนื่อง  สูญสิ้นอย่างต่อเนื่อง  ไม่มีอย่างต่อเนื่อง  สมุจเฉทปหาน  ปหานได้อย่างเด็ดขาด  

นี่ก็ฝึกไปมันก็จะเจริญ  ด้วยปหานทั้ง 5 นี่  มันจะเจริญขึ้นไป ตามลำดับ  ตามลำดับจริงๆ

น่ะ

         เพราะฉะนั้นเมื่อเราฝึกไป      สั่งสมสมาธิ      แบบสัมมาสมาธิ     ที่ 

ด้วยหลักมรรคองค์  8   คือปฏิบัติองค์ทั้ง  7 ของมรรค  ตั้งแต่สัมมาทิฏฐิ  เป็นประธาน  

สัมมาสติ  สัมมาวายามะ  เป็นเครื่องช่วย  มีความพยายามมีสติ  ซึ่งเราก็เรียนรู้แล้วว่า

สติ    ต้องให้เป็นสัมโพชฌงค์   หรือจะต้องเดินบทสติปัฏฐาน  4  ด้วยสัมมัปปธาน   4 

ด้วยอิทธิบาท  4  3 หลักใหญ่นี้นี่  เป็นเกลอกัน เป็น 3 เส้าที่ต้องไปด้วยกัน  มาด้วยกัน  

เลือดสุพรรณยิ่งกว่าบรรหาร   ต้องพูดสำนวนทันสมัย  ยิ่งกว่าจริงๆ  ไปด้วยกัน  อย่าไป

แยก   ไม่แยก   สติปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4  อิทธิ บาท 4 ไม่แยก   คุณไม่มีอิทธิบาท  

แล้วมันจะไปมีกำลังอะไรที่จะทำสัมมัปปธาน   สังวร อะไร...  ก็วอนเสียแล้ว  เท่านั้นเอง   สังวร  สัวแวนอะไรน่ะ   หือ!เลือด   พรหมจรรย์   ไม่เอาเลือดบรรหารหรือ  

เลือดสุพรรณ  เลือดสุพรรณน่ะ  เลือดสุพรรณแห่งบรรหาร  

          เพราะฉะนั้นผู้ใดที่ทำสมาธินั้น  ให้เป็นสมาหิตะ  เราก็รู้ว่านี่ยังไม่ดีนะ  ยัง

ไม่แข็งแรง   ยังไม่ฐีเต  ยังไม่อเนญชัปปัตเต  สัมผัสโลกธรรม  อย่างอ่อน   อย่างแก่  

หรืออย่างหยาบ      พอเจองามๆอย่างนี้     ก็ชักไม่ไหว      งามหน่อยไม่เท่าไหร่  

งาม...ไม่งาม   งามเหมือนกัน  แต่ยังไม่งามเท่านั้น  เสร็จแล้วมีมารยาหญิงอีก  100 

เกวียนมาอีก   แหม!ทำ  ท่านั้นท่านี้อีก  หนักเข้า สู้ไม่ได้             เพราะฉะนั้น

ในเมถุนสังโยค  7   ข้อที่สูงๆนี่   ข้อเมถุนสังโยค 7  ข้อที่ว่าเจอกับบุตรคหบดี   ข้อที่

เจอ...ที่พรั่งพร้อมไปด้วย  เบญจกามคุณ  ข้อที่เลยจาก แม้แต่ที่ปั้นเสพเอง  เลยไปจาก

ปั้นเสพเอง  จากในภพภวตัณหาแล้ว  สูงขึ้นไปเป็นข้อ 6 สัมผัสกับ  ผู้ที่เป็นบุตรคหบดี  ก็

แสดงว่าเป็นนี้แหละ  บุตร หรือบุตรี  ถ้าบุตรก็หมายความว่า  มันเป็นทางลาภ ยศอะไรก็

ได้  ใช่ไหม    บุตรี ก็เป็น พรั่งพร้อมไป  ด้วยเบญจกามคุณ  มายั่ว  มาสัมผัส  แล้วก็  

แหม!มันพรั่งพร้อมละนะ  มันคหบดีด้วยนะ  หมายความว่ามันหนัก ใหญ่ มันมาก   หรือว่า

ทางลาภ  ทางเงินทอง อย่างที่ว่าแล้ว  ล้านหนึ่ง ก็ไม่เป็นไร  5 ล้านละ ชะงัก  หน่อย 

20  ล้าน  เอ๊ะ!ชักต้องคิดนานหน่อย   100 ล้านไม่คิดแล้ว เอาเลย เสร็จ    เพราะ

ฉะนั้น   เราจะต้านต่อโลกธรรมที่มันสูงขึ้นได้ไหม  สวยเท่านี้ ยั่วเท่านี้ ไม่เป็นไร  สวย

กว่านี้ ยั่วกว่านี้  เลศเล่ห์ยิ่งกว่านี้  คุณรู้ทันไหม  อย่างนี้เป็นต้น  อยู่กับโลก  อยู่กับโลก

ธรรม  อยู่กับโลกียะนี่  ต้องมีโลกวิทู  มีพหูสูต  จะต้องอยู่กับมันอย่างเหนือมันจริงๆ  มัน

จะมาเหลี่ยมไหน  อย่างไร  มีความรู้รอบ  มีความตั้งมั่น  มีมุทุภูเต มีกัมมนิเย  มีวิตกวิ

จาร  สามารถที่จะพิจารณารู้เท่าทัน  แล้วก็จบ รู้จบ  มีแรงของจิต  สามารถยืนหยัด ยืน

ยันได้   ตรรกะ วิตรรกะ สังกัปปะ มีอัปปนา พยัปปนา เจตโส อภินิโร ปนา  มีสังขารา  

อย่างมีความสามารถเป็นปุญญาภิสังขารน่ะ   อันที่ไม่สังขาร  เพราะถ้าสังขารไปเป็นบาป  

ก็หยุดได้ อปุญญา ที่เป็นปุญญาภิสังขาร ก็ได้ เพราะฉะนั้น  แม้จะเป็นอภิสังขารมารมากระ

ทับสัมผัส   ก็ เออ!ไม่เป็นไร  เทวบุตรมารมายั่ว มายวน อย่างไร  ก็ไม่เป็นไร   อภิ

สังขารมาร ขนาดไหน  ก็อยู่เหนืออย่างนี้ เป็นต้นน่ะ

         เพราะฉะนั้นสั่งสมไปด้วย...สมาธิที่ปฏิบัติองค์ทั้ง 7 ของมรรค  มีสติสัมมาวา

ยามะ   ห้อมล้อมแล้วรู้หลักแล้ว   มีสัมมาทิฏฐิ  เข้าใจดีแล้วนี่  เรียนไปนี่   เป็นปริยัติ  

สัมมาทิฏฐิ  ปริยัติ  แล้วคุณก็ไปฝึกปรือ  ฝึกปรือให้  แล้วก็สัมมาทิฏฐินี่  จะสูงขึ้น  สูงขึ้น

เป็นปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละ  เพราะฝึกโดยมี  ธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์  มีองค์แห่งมรรค  

สัมมาทิฏฐิ  ก็จะเป็น 3 เส้าอีก  ธัมมวิจัย สัมมาทิฏฐิ มัคคังคะ  เป็นอีก 3 เส้า  สั่งสม

เจริญ ขึ้นเรื่อยๆ เพราะเรามีหลักปฏิบัติอยู่แล้ว  สติมันก็มาแล้ว  สัมมาวายมะ  สัมมาสติ

มาช่วย   แล้วก็พยายามทำขึ้นไปเรื่อยๆ   สัมมาสติกับสัมมาวายามะ  ก็คือสติสัมโพชฌงค์  กับวิริยสัมโพชฌงค์นั่นแหละ       กับธัมมวิจัยสัมโพชฌงค์มาร่วมกัน       ปฏิบัติให้ตรง  

เต็มมัคคังคะ   องค์แห่งมรรค  คุณก็จะเลื่อนฐานของสัมมาทิฏฐิขึ้นมา  สั่งสมมา  อธิบาย

เหมือนวิทยาศาสตร์  แล้วมันก็ต่อมาเป็นปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญาพละเรื่อยๆ  สัมมาทิฏฐิ ก็

จะเกิดเป็นปัญญา   เกิดเป็นอธิปัญญา   หรือเกิดเป็นสัมมาญาณน่ะ  มันก็จะสั่งสมองค์  6 

ของสัมมาทิฏฐินี่   มันจะเกิดจริงๆเลย   ปฏิบัติครบองค์ แห่งมรรค ก็คือ อีก 4  ตัวก็คือ  

สังกัปปะ  วาจา  กัมมันตะ อาชีวะ  คุณก็ต้องปฏิบัตินั่นน่ะ   สัมมาทิฏฐิ   สัมมาวายามะ  

สัมมาสติ  3  ตัวนั่น   ลงมือทำกัน  ร่วมมือกันอย่างเก่ง  แล้วก็พยายาม   ตัวปฏิบัติแท้  

ก็สังกัปปะ   สัมผัสเมื่อไหร่  ก็ต้องรู้ทันความคิด  สัมผัสเมื่อไหร่ก็รู้ทันวาจา   สัมผัสเมื่อ

ไหร่  ก็รู้จักกรรม    ทั้งหลาย   กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม  เป็นกัมมันตะ   เป็น

กรรม   เป็นกิริยา  ทั้งหลาย  หรือทำอาชีพการงานใดๆอยู่  ก็รู้จักหมดเลยนี่  ทั้งอาชีพ 

ทั้งกรรมต่างๆนี่    ร่วมกันทั้งกรรมทั้งอาชีพ   อาชีพนี้ควรเลิกได้ตั้งนานแล้ว   ไปอยู่มัน

ทำไมน่ะ    ขายแต่เหล้า  ขายแต่บุหรี่  อยู่อย่างนี้  หรืออาชีพฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์   หรือ

อาชีพนี้ก็ยังโกง   อาชีพนี้  ก็ยังใช้เล่ห์ใช้เหลี่ยม  อาชีพนี้ก็ยังเอาเปรียบเอารัดอะไรอยู่    

อย่างนี้  ไปทำอยู่ทำไม  ก็จะเลื่อนชั้นไป

         เดี๋ยวอาชีพค่อยพูด  ประเดี๋ยวจะเกิด  เมื่อวานนี้รู้สึกจะปลุกเร้าให้ลา  งาน

ออกมากันมา  แรงไปหน่อย  อาตมาก็เสียววาบๆๆๆอยู่นี่  กลัวไฟจะแรง  แล้วเลิกรากัน

มา   อย่า อินทรีย์ พละ ไม่พร้อม  แล้วเลิกมาตูมๆเข้ามา  แล้ว...  ตายละนะ  นี่ถัง

ขยะนี่   รับเละเลยนะ  อย่าไปรีบร้อนเกินไป  ก็ดีอยู่นะ  หมาย   ความว่า  พยายาม

ปลุกเร้ากัน    อย่าให้เฉื่อย    มันก็ดีอยู่หรอกน่ะ    แต่อย่าเพิ่งรีบร้อน    จนกระทั่ง 

แหม!ไฟแรง  พอฟังแล้ว   โอ้โห!นั่นเขาก็ออกมาแล้ว ยิ่งมีเหตุ มีผลด้วยนะ  คนจะตาย

ไว   แล้วพ่อท่าน...พ่อท่านจะอายุไม่เอา  100  แล้วนะนี่   จะรีบ   ช้าไม่ทันแล้วนะ  

ประมาทได้หรือเปล่า  อะไรนี่  ปลุกเร้ากัน  เอาให้มั่นคง   เอาให้แน่ใจ   ให้ชัดเจน  

อย่าไปทำทะร่อทะแร่  ทำเป็นเล่นๆ  ไม่ได้น่ะ

         เพราะฉะนั้นเมื่อเราเรียนรู้เท่าทัน  อ่านออกจริง  อ่านทันสังกัปปะ  อ่านทัน

วาจา  อ่านทันกัมมันตะ  อ่านทัน  รู้กรรมกิริยาของเราทุกอัน  อ่านทันแม้แต่เราทำอาชีพ

อะไรอยู่    ก็รู้ว่างานอาชีพไม่ได้แปลว่างานใด   ได้เงินมาเลี้ยงชีพ    เรียกว่าอาชีพ  

เหมือนอย่างโลกๆเขาแปล  ไม่ใช่อย่างนั้น 

          อาชีพหมายความว่า    งานใดที่เราทำอยู่เป็นหลัก    งานที่เราทำอยู่เป็น

ส่วนมาก  หรืองานที่เรารับผิดชอบ เป็นสำคัญ  เราก็ทำอยู่เป็นส่วนมากนั่นแหละ  หรือว่า

ทำเป็น   สำคัญ   ทำเป็นอะไรอยู่   อันนั้นก็...มัน  เอ๊!เลิกได้แล้วนี่งานนี้   หรือว่า  

เปลี่ยนงานดีกว่า   อะไรอย่างนี้  มันสิ่งนั้นน่ะ   อย่างคนที่อาตมาเคยยกตัววอย่างละนะ  

ผู้หญิงไปทำงาน...ไปทำงานก็มีเวลาเป็นส่วนมากนี่  ประเดี๋ยวก็ควักกระจก  ควักพั้บแตะ  เขียนโน่น  เขียนนี  ประเดี๋ยวก็ทำอะไรนิดๆหน่อยๆ  เอ้า!ควัก อยู่  อย่างนั้น   เดี๋ยว

เข้าห้องน้ำ    โอ๋ย!ไอ้นี่ไม่ได้งาน   ทำงานอันโน้น  เราทำงานอันนี้   มาก    เป็น

ส่วนมากเป็นงานเป็นอาชีพ   แต่งตัวเป็นอาชีพ  เสริมสวยเป็นอาชีพ  แหม!กลัวมันจะไม่

สวยอยู่ นั่นแหละ  หรือคนผู้ชายไปทำงาน  ประเดี๋ยวก็งัดบุหรี่สูบ  ประเดี๋ยวก็งัดบุหรี่ สูบ  

หมด พักไปหน่อย งัดต่อ  บางคนมวนต่อมวนไปได้ 3 มวน  แล้วก็ดับ  ไอ้นี่มันอาชีพสูบยา  

ไม่ใช่อาชีพทำงาน   เป็นชีวิตชีวาเหลือเกิน  หรือบางคนไปทำงาน  ก็หอบไม้กอล์ฟนั่นละ

ติดรถไป  ถึงไปที่ทำงาน  หอบขึ้นไปที่ทำงานด้วยนะ  เดี๋ยวก็เอาไม้กอล์ฟมาเช็ด  มาปัด 

มาถู  มาตรวจ  เดี๋ยววางแล้วทำงานไปหน่อย   เอ้า!ไม้กอล์ฟมาตี  ประเดี๋ยวได้เวลา

ไปตีกอล์ฟแล้ว   ไอ้นี่มันอาชีพดีกอล์ฟ  ไม่ใช่อาชีพทำงาน  นี่ละข้าราชการชั้นสูง   ยังมี

อย่างนี้ด้วย  อย่างนี้เป็นต้น  หรือคุณหญิง คุณนาย อยู่บ้าน  ก็ไม่ได้อยู่บ้านหรอก  ตื่นเช้า

ขึ้นมา   แต่งตัวเสร็จแล้ว  ก็สั่งงาน บึ๊บๆ ไปแล้ว  นั่งเล่นไพ่  เย็นสามีกลับมา  มารับ

หน้าสามี   วันทั้งวัน  ก็ทำอย่างนี้ละ  เล่นแต่ไพ่  อาชีพ ไม่ใช่อาชีพแม่บ้าน  อาชีพเล่น

ไพ่     อย่างนี้เป็นต้น  อาชีพไม่ใช่...เสียเงินด้วยอาชีพบางอาชีพ นั่นน่ะ  ฉิบหายเงิน

ด้วย    ไม่ใช่ว่าได้เงินเลี้ยงชีพนะ  สิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ  สิ่งที่ทำอยู่เป็นหลัก  สิ่งที่ทำ

อยู่เป็นส่วนมาก  สิ่งที่ทำอย่างที่เรา  ใช้อุตสาหวิริยะทำอันนั้น  หรือว่าชอบอันนั้นแล้ว  ก็

ทำอันนั้นมาก   เราไม่เอาทำด้วยชอบ  เราไม่ได้ทำด้วยว่า  เราต้อง   ถูกผูกมัดอะไร  

จนกระทั่งเอาลาภมามัดเรา  เอายศมาทมัดเรา อะไร  ไม่ใช่อย่างนั้น

         เราต้องรู้ว่าอาชีพอย่างนี้    ทำงานอย่างนี้ประจำ    หรือเป็นส่วนมากอยู่นี่  

สมควรจะลงแรง  สมาควรจะเสียเวลา  สมควรจะใช้แรงงานไปทำ...อาชีพอันอื่นดีกว่า

นี้   เราต้องพัฒนาอย่างนั้น  ไม่ใช่ด้วยชอบหรือไม่ชอบ  แม้มันไม่ชอบ  แต่ไอ้สิ่งนี้สมควร 

นี่เป็นอุปสงค์ของสังคม  เป็นดีมานด์ (demand) ของสังคม แล้ว เราควรจะทำ  ดูในหมู่

สังคมเรา  กลุ่มเรา   อันนี้เป็นดีมานด์นะ เราต้อง  ไปช่วยอันนี้ให้มาก   ทั้งที่เราไม่

ชอบน่ะ เราก็ไปช่วย อันนี้เป็นหลักเป็นงาน เราลงมือทำเป็นอาชีพเลย เอางานนี้แหละ   

ฝึก   ถ้าไม่เป็นก็ฝึก  ถ้าเป็นก็ยิ่งดี  เราถนัดด้วย เข้าไปช่วย  เพราะว่าอันนี้   ตอนนี้ 

เราต้องซัพพลาย(supply)   เราต้องอุปาทานให้แก่สังคม  ให้แก่มนุษยชาติ  หรือให้แก่

หมู่เรา   เป็นอุปทานให้แก่หมู่เรา เป็นอุปสงค์ด้วย   อุปะ ไม่ใช่อุปา นะ   อุปทานเขา

แปล  คำว่าซัพพลายว่า  อุปทาน    แปล ดีมานด์นี่ว่า  อุปสงค์น่ะ    เป็นคนรู้จักอาชีพ  

รู้จักการงาน   รู้จักกิริยา  รู้จักกาย  รู้จักคิด  รู้จักสิ่งที่มันตรรกะ วิตรรกะ สังกัปปะอยู่

ในใจ    สังขารอยู่ในใจ   แล้วมีหลักของใจไหม   มีอัปปนา   มีพยัปปนา   มีเจตโส 

อภินิโรปนา  ไหม     มีจิตที่มันแข็งแรงตั้งมั่น   มีหลักยึด   มีความชัดเจน   ว่าอะไร

ที่...ควรจจะยืนอยู่อย่างไร  จุดไหน จุดยืน  น้ำหนักของคุณค่าอะไรอยู่อย่างไร  อนุโลม

หรือไม่อนุโลมแค่ไหน   ก็อยู่ที่ตรรกะ วิตรรกะ สังกัปปะ  ก็ไตร่ตรอง ใคร่ครวญ  จะยืดหยุ่น  หรือไม่ยืดหยุ่น จะยืนหยัดหรือไม่ยืนหยัดอะไร ก็ทำกันอย่างมีปัญญา  เสร็จแล้วก็ปรุง

อยู่กับ  อยู่กับองค์        ประกอบต่างๆ  นี่ละฝึกปรือไปอย่างนี้  ปรับ 

          อันนี้ใจเรานี่แหละ   อันนี้มันมีมิจฉา 3 ของสังกัปปะ  มีมิจฉา 4 ของวาจา  

มีมิจฉา  3 ของกัมมันตะ  มีมิจฉา 5 ของอาชีวะ  ก็ปรับ เป็นมิจฉา  เราก็ปรับไม่ให้มัน

เป็นมิจฉา...  กามวิตกในสังกัปปะ  พยาบาทวิตกในสังกัปปะเกิดที่ใจเรา  เราก็อ่านให้

มันออก   วิจัยซ้อนลงไปให้ลึก  ปรับ ล้าง  วิหิงสาวิตก  ก็ล้าง   วาจาของเรามันเป็น 

พูดปด พูดส่อเสียด พูดหยาบ พูดเพ้อเจ้อ อย่างไร  ก็ปรับ...  กัมมันตะ ไอ้นี่  มันเที่ยว

ได้ไป  โหดร้าย  เรียกว่าปาณาติบาต  มันทำร้าย  โหดร้ายอยู่  ก็ปรับ  อทินนา  มันก็

ชักโลภจัด   อทินนานี่แหละ  ปรับ   กาเมสุมิจฉาจาร  ราคะมันจัดอยู่   ก็ปรับน่ะ   นี่   

อธิบายความมิจฉา  3  ของกัมมันตะ  สรุปแล้วก็แกนของโทสะ โลภะ  ราคะ  นั่นแหละ  

หยาบ กลาง ละเอียดของกัมมันตะ ทั้งหมดก็ปรับ

         อาชีวะ  5 ตั้งแต่ระดับ กุหนาเรียกว่าทุจริตหยาบ  ลปนา  ทุจริตที่เป็นเรื่อง

ของปาก  โกหก หลอกลวงอะไรอยู่  พวกนี้ลปนา  คำพูดที่มันไม่ดี อะไรนี่  เพราะฉะนั้น 

กุหนา  ลปนานี่เป็นตัวหยาบ  ที่ระดับหยาบต้น  อาชีพที่มันหยาบๆอยู่อย่างนี้ เลิก  ฉ้อโกง 

ทุจริตอย่างโน้น  อย่างนี้  หรือว่าใช้ปากนี่แหละ  ปาก        โอ้โห!อาชีพที่หากินทาง

ปากนนี่นะ   ทุกวันนี้ เยอะ  ใช้คารม  แหม!ลิงหลับน่ะ  ซับซ้อนเก่งนะ  มีปัญญาหรือไม่  

ใช้ปากนี่แหละ  หลอกลวงเลศเล่ห์ได้  อือ!ไม่ไหว  หรอก เราใช้คารมอย่างนี้  มันเกิน

ไป  มันหยาบ  เราจะรู้ของเราว่ามันหยาบ  มันรู้สึกว่ามันใช้ปากมันไม่เป็นกุศล  มันปาก

อกุศลได้เปรียบละนะ  ยิ่งหยาบๆเลย  ล่อลวง  หลอกอะไรต่างๆนานา  ด้วยภาษาคารม

เฉลียวฉลาดมาก   แต่ก็หลอกลวงมาก  อะไรนี่   จะต้องรู้ อาชีพนี้   ไม่เอา   สูงขึ้น

มาเนมิตตกตา   มีกุหนา  ลปนา  เนมิตตกตา  นิปเปสิกตา  ลาเภน ลาภัง นิชิคิงสนตา  

อันที่ 5  เราต้องรู้อาชีพต่างๆนานาพวกนี้  ให้จริง  เราอยู่ในอาชีพระดับใด  

         กุหนา  ลปนานี่   ควรก่อนอื่นเลยน่ะ  ถ้าเป็นพระอาริยะแล้ว   ไม่ทำหรอก  

กุหนา  ลปนานี่  อาริยโสดา  สกิทา ขึ้นไป  อาจจะมีเนมิตตกตา  นิปเปสิกตา  อยู่บ้าง  

หรือลาเภน ลาภัง นิชิคิงสนตาอยู่บ้าง  เนมิตตกตา ก็ ยังเป็นเรื่อง...เนมิตตกะ แปลว่า 

เสี่ยงโชค   มันยังไม่แน่นอนนั่นเอง  มันยังเหมือน   เสี่ยงอยู่  ทำไปตั้งใจดีนะ  แต่มัน

ก็  เออ!ยังบกพร่อง  มันยังไม่ดี  เอาใหม่  พากเพียรไป  พากเพียรไป  เพราะฉะนั้น

เราตั้งใจ  เหมือนกับคนมาถามว่า  เราตั้งใจสังวรแล้วนะ  ข้างนอกดีนะ  แต่ใจเรายัง  

บางทีก็มันไม่จริง   มันยังข้างหน้าเหมือนว่าเราไม่เอา  แต่ใจเรายังอยากจะเอานี่  มัน

ไม่ใช่ว่าหมายความไม่จริงใจนะ